อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของแท่นผลิต ก๊าซธรรมชาติ กลางอ่าวไทย
เอราวัณคอมเพล็กซ์ยามสนธยา เมือ่ มองไปทาง
120 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔
ทิศตะวันตก ทางขวา (หลังเสาไฟ) คือแท่นผลิต กลางก๊ า ซธรรมชาติ แหล่ ง เอราวั ณ ของบริ ษั ท เชฟรอนประเทศไทยส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด ถัดไป คื อ แท่ น อุ ป กรณ์ เ พิ่ ม แรงดั น ซึ่ ง เชื่ อ มต่ อ กั น ด้ ว ย สะพานเหล็ ก และที่ อ ยู ่ ริ ม ขอบฟ้ า คื อ เอราวั ณ แทงค์เกอร์หรือเรือกักเก็บก๊าซธรรมชาติเหลว ส่วน แท่นที่อยู่กลางทะเล คือแท่นหลุมผลิตก๊าซของ บริษัท ปตท.
๑๗ สิงหาคม ๒๕๒๔ ก๊าซธรรมชาติก้นอ่าวไทยเดินทางเข้าสู่ กระบวนการผลิตและส่งขึ้นฝั่งจังหวัดระยองผ่านท่อส่งก๊าซใต้น�้ำ ซึ่งยาวที่สุดในโลกเวลานั้น ๔๒๕ กิโลเมตร เป็นวันประวัติศาสตร์ ที่จารึกว่าประเทศไทยผลิตเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติของตนเอง ขึ้นเป็นครั้งแรก
เรื่อง : ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล ภาพ : ประเวช ตันตราภิรมย์
<<
การสื่อสารระหว่างเจ้าหน้าที่ ฝ่ายควบคุมการผลิตของแท่นผลิต กลางก๊ า ซธรรมชาติ (ERCPP) กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆ
<
การท�ำงานภายในห้องวิเคราะห์ คุณภาพ เจ้าหน้าทีก่ ำ� ลังตรวจสอบ ส่วนประกอบของก๊าซธรรมชาติ และวิเคราะห์หาค่าความดันไอ
แม้เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตก๊าซธรรมชาติจะควบคุมด้วยระบบ คอมพิวเตอร์แทบทั้งหมด แต่มนุษย์ยังคงความส�ำคัญในฐานะผู้ควบคุม และตรวจสอบระบบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุดในการท�ำงาน และการรักษาความปลอดภัย 122 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔
เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยผลิตเปิดวาล์วรับก๊าซธรรมชาติ
ภายในแท่นผลิตกลางก๊าซธรรมชาติ (ERCPP)
< รอยต่อระหว่างท่อโลหะทาสีแดงสลับขาว เป็นสัญลักษณ์ของการส่งมอบก๊าซธรรมชาติ จากแหล่งก๊าซเอราวัณของบริษทั เชฟรอนฯ กับ บริษัท ปตท. จากนั้นก๊าซธรรมชาติจะเดินทาง ผ่านท่อส่งก๊าซใต้น�้ำไปขึ้นฝั่งที่จังหวัดระยอง และนครศรีธรรมราช
124 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔
กลางทะเล หากเป็นพนักงานประจ�ำบนฝั่งจะ เรียกว่า “ออนชอร์”
< เรือโดยสารรับส่งพนักงานจากแท่นทีพ ่ กั อาศัย ไปยั ง แท่ น หลุ ม ผลิ ต วิ ธี ขึ้ น และลงเรื อ มี ๒ รูปแบบ คือโหนเชือกทีห่ อ้ ยจากคานข้ามน�้ำไปยัง กราบเรือ หรือใช้กระเช้าขนส่ง
<
การเดิ น ทางจากเอราวั ณ คอมเพล็ ก ซ์ ไ ปยั ง แท่ น หลุ ม ผลิ ต ซึ่ ง อยู ่ ก ระจายไปเป็ น ระยะทาง ตัง้ แต่ ๓๐๐ เมตร ถึง ๓๐ กิโลเมตร ต้องใช้เวลา เดินทางโดยเรือตั้งแต่ ๑๕ นาทีถึง ๓ ชั่วโมง พนักงานบนแท่นกลางทะเลต้องกร�ำงานหนัก ต่อเนื่องประมาณ ๒-๓ สัปดาห์ บนแท่นที่พัก อาศั ย จึ ง จั ด สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกและสิ่ ง นันทนาการครบครัน อาทิ สนามฟุตซอล ห้องฉาย ภาพยนตร์ โต๊ะสนุกเกอร์ ในภาพคือกิจกรรม ออกก�ำลังกายบนชัน้ ดาดฟ้าท่ามกลางบรรยากาศ ท้องทะเลอ่าวไทยกว้างไกลสุดสายตา
<
ส่วนหนึ่งของพนักงาน “ออฟชอร์” หรือผู้ปฏิบัติงาน
ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔ นิตยสารสารคดี
125
ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงพลังงาน ใช้ประโยชน์ด้านการผลิต กระแสไฟฟ้า อุตสาหกรรมพลาสติก เชื้อเพลิงรถยนต์ ปุ๋ยเคมี ฯลฯ เฉพาะการผลิตกระแสไฟฟ้า ประเทศไทยใช้ก๊าซธรรมชาติเป็น เชื้อเพลิงถึงร้อยละ ๗๐
126 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔
เมื่อต้องการเปลี่ยนบรรยากาศจากห้องอาหารสะอาด
ติดแอร์ฉ�่ำเย็น พนักงานสามารถน�ำอาหารมานั่ง รับประทานบริเวณระเบียงด้านนอก อาหารเหล่า นี้เป็นสวัสดิการส�ำหรับพนักงานรับประทานฟรี มือ้ หลักมี ๔ มือ้ คือ เช้า กลางวัน เย็น และเทีย่ งคืน โดยมีอาหารว่างคั่นกลางทุก ๖ ชั่วโมง
ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔ นิตยสารสารคดี
127
เอราวัณคอมเพล็กซ์อยู่ห่างจากชายฝั่งจังหวัดนครศรีธรรมราช
128 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔
๑๔๕ กิโลเมตร นับเป็นแหล่งก๊าซธรรมชาติที่อยู่ใกล้ ชายฝั ่ ง ภาคใต้ ม ากที่ สุ ด ในยุ ค บุ ก เบิ ก ประกอบด้ ว ย ๓ แท่นหลัก คือ แท่นทีพ ่ กั อาศัยหมายเลข ๑ (ERLQ1) แท่ น ผลิ ต กลางก๊ า ซธรรมชาติ (ERCPP) และแท่ น หลุมผลิตเอราวัณอัลฟ่า (ERWA) ซึง่ เป็นทีต่ งั้ ของหลุม ก๊ า ซธรรมชาติ ห ลุ ม แรกของประเทศไทยชื่ อ “อั ล ฟ่ า หมายเลข ๖” ต่อมาติดตั้งเพิ่มอีก ๓ แท่น คือ แท่น อุปกรณ์เพิม่ แรงดัน (ERCP) แท่นทีพ ่ กั อาศัยหมายเลข ๒ (ERLQ2) และแท่ น แยกสารปรอท (ERMRP) ติดตั้งล่าสุดเมื่อปี ๒๕๔๙
แหล่งก๊าซธรรมชาติเอราวัณอยู่ในบริเวณที่มีระดับน�้ำลึกเฉลี่ย ๖๐ เมตร นับว่าตื้นเมื่อเปรียบเทียบกับแหล่งก๊าซธรรมชาติอื่นทั่วโลก แต่ต้องติดตั้ง “แท่นหลุมผลิต” จ�ำนวนมากตามต�ำแหน่งแหล่งกักเก็บ ก๊าซธรรมชาติที่กระจายตัวเป็นกระเปาะเล็กๆ แล้วส่งก๊าซธรรมชาติ ผ่านเครือข่ายท่อใต้น�้ำเข้าสู่แท่นผลิตกลาง
ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔ นิตยสารสารคดี
129
ก๊าซธรรมชาติที่เดินทางมาตาม “หลุม” หรือ “ท่อก๊าซ” ประกอบด้วยส่วนประกอบส�ำคัญ ๓ ชนิด คือ ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติเหลว และน�้ำ การแยกองค์ประกอบทั้งสามออกจากกัน ใช้ความแตกต่างเรื่องสถานะของสสารและค่าความถ่วงจ�ำเพาะ
“เอราวัณแทงค์เกอร์” หรือเรือกักเก็บก๊าซธรรมชาติเหลว (ล�ำใหญ่)
130 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔
ลอยล�ำอยูห่ า่ งจากเอราวัณคอมเพล็กซ์ราว ๘ กิโลเมตร หัวเรือ ยึดอยู่กับทุ่นเสาเหล็กเพื่อให้เรือลอยอยู่ตำ� แหน่งเดิม เอราวัณ แทงค์เกอร์ท�ำหน้าที่เก็บกักก๊าซธรรมชาติเหลวไว้ชั่วคราว รอ เวลาจ่ายให้แก่เรือบรรทุกก๊าซธรรมชาติเหลวของบริษัท ปตท. ที่เดินทางมารับซื้อทุก ๔-๕ วัน
“แท่ น เดี่ ย ว” หรื อ แท่ น หลุ ม ผลิ ต ติดตัง้ เหนือแหล่งกักเก็บก๊าซธรรมชาติ ที่แหล่งก๊าซธรรมชาติเอราวัณมีแท่น เดี่ยวแบบนี้ติดตั้งอยู่ทั่วไป เนื่องจาก แหล่งกักเก็บก๊าซในอ่าวไทยมีลกั ษณะ กระจายตัวเป็นกระเปาะเล็กๆ
<
<
การเดินทางระหว่างฝั่งกับเอราวัณ แทงค์เกอร์หรือเอราวัณคอมเพล็กซ์ ใช้เฮลิคอปเตอร์กันเป็นเรื่องปรกติ
ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔ นิตยสารสารคดี
131
“อั ล ฟ่ า หมายเลข ๖” หลุมก๊าซธรรมชาติหลุมแรกของ
132
นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔
ประเทศไทยทีม่ กี ารผลิตก๊าซธรรมชาติสำ� หรับใช้ ในเชิ ง พาณิ ช ย์ เริ่ ม ต้ น กระบวนการผลิ ต เมื่ อ วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๒๔ ปัจจุบันมีสถานะเป็น “หลุมตาย” หมายถึงไม่มีก๊าซธรรมชาติเหลือ อยู่แล้ว