วิกฤตการณ์นิวเคลียร์ที่ฟุกุชิมะไดอิชิ

Page 1

วิกฤตการณ์

นิที่ฟวุกเคล ย ร ี ์ ุชิมะไดอิชิ ภัยไรพ้ รมแดนและบทเรียนคนทั้งโลก สุเจน กรรพฤทธิ์

(ภาพหน้าขวา) บน : อาคารครอบเตาปฏิกรณ์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิขณะเกิดระเบิด อาคารเสียหายและท�ำให้เกิดการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีปนเปื้อนสู่อากาศ  (PROFILE/REUTERS) ล่าง : ชาวญี่ปุ่นกว่า ๒๐๐ คนร่วมชุมนุมประท้วงต่อต้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์หน้าส�ำนักงานใหญ่ของบริษัทเทปโก้ในกรุงโตเกียว เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๔  (AFP)

126 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๕  พฤษภาคม ๒๕๕๔


วิกฤตการณ์

นิที่ฟวุกเคล ย ร ี ์ ุชิมะไดอิชิ ภัยไรพ้ รมแดนและบทเรียนคนทั้งโลก สุเจน กรรพฤทธิ์

(ภาพหน้าขวา) บน : อาคารครอบเตาปฏิกรณ์ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิขณะเกิดระเบิด อาคารเสียหายและท�ำให้เกิดการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีปนเปื้อนสู่อากาศ  (PROFILE/REUTERS) ล่าง : ชาวญี่ปุ่นกว่า ๒๐๐ คนร่วมชุมนุมประท้วงต่อต้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์หน้าส�ำนักงานใหญ่ของบริษัทเทปโก้ในกรุงโตเกียว เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๕๔  (AFP)

126 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๕  พฤษภาคม ๒๕๕๔


ฉบับที่ ๓๑๕  พฤษภาคม ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

127


โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ

ข้อมูล จ�ำเพาะ

ชื่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ : ฟุกุชิมะไดอิชิ (โรงไฟฟ้าฟุกุชิมะ หมายเลข ๑) ที่ตั้ง : จังหวัดฟุกุชิมะ

ภาพถ่ายดาวเทียมพื้นที่บริเวณโรงไฟฟ้าฟุกุชิมะไดอิชิ ก่อนเกิดสึนามิ

หนึ่งในหลายภาพที่ GISTDA มี สารคดี ได้รับการสนับสนุนภาพจากส�ำนักงาน พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) (สทอภ.-GISTDA) ส่วนหนึ่งของภาพเหล่านี้รัฐบาลไทยได้ส่งมอบให้รัฐบาลญี่ปุ่นไว้ใช้ประโยชน์ต่อไป อาคารครอบ กังหันก�ำเนิดไฟฟ้า

จ�ำนวนเตาปฏิกรณ์ : ๖ เตา ปีที่เปิดใช้งาน : พ.ศ. ๒๕๑๔ ก�ำลังผลิตไฟฟ้าสูงสุด ๑๔,๑๙๗ เมกะวัตต์

สายส่งไฟฟ้าขนาด ๕๐๐ กิโลวัตต์

ฝั่งท

ก�ำแ ิศเห

พงป

นือ

้องก

ันคล

ื่น

ันค

้องก

งป ำ� แพ

ิศใต

ั่งท ลื่นฝ

จุดปล่อยน�้ำหล่อเย็น ศูนย์ฝึกอบรม อาคารตรวจสอบมลพิษ ห้องแสดงนิทรรศการ

สายส่งไฟฟ้าขนาด ๒๗๕ กิโลวัตต์ อาคารท�ำความสะอาดอุปกรณ์ปนเปื้อนรังสี จุดพักเชื้อเพลิง ส�ำนักงานบริหารโรงไฟฟ้า

128 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๕  พฤษภาคม ๒๕๕๔


ที่ตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ๒๑ แห่งในญี่ปุ่น

(ตัวเลขในวงเล็บคือ จ�ำนวนเตาปฏิกรณ์ทั้งที่มีอยู่ในโรงไฟฟ้านั้นและที่ก�ำลังมีแผนก่อสร้าง) โทมาริ (๓) โอมะ (๑) ฮิงาชิโดริ (๔)

โอนางาวะ (๓) คาชิวาซากิ-คาริวะ (๗) จุดศูนย์กลาง แผ่นดินไหว

ชิกะ (๒) มิฮามะ (๓) โอฮิ (๔)

สึรุงะ (๔)

นามิเอะ-โอดากะ (๑) ฟุกุชิมะไดอิชิ (๘) โรงไฟฟ้าที่เกิดอุบัติเหตุ ฟุกุชิมะไดนิ (๔) โทไกไดนิ (๒)

ฮามาโอกะ (๕) ชิมาเนะ (๓)

ทากาฮามะ (๔)

อิกาตะ (๓) คามิโนเซกิ (๒) เกนไค (๔)

ยามางาตะ

เซนได

เซนได (๒)

หมายเหตุ : หลังเกิดอุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์  ญี่ปุ่นต้องปิดโรงไฟฟ้าไปแล้ว ๕ โรง

ชิโรอิชิ ฟุกุชิมะ คากุดะ

โยเนซาวะ

มินามิโซมะ

อาคารครอบเตาปฏิกรณ์หมายเลข ๖ อาคารครอบเตาปฏิกรณ์หมายเลข ๕

อิวากิ

ท่อระบายน�้ำภายใน ท่าเทียบเรือขนส่ง

ฟุกุชิมะ ไดอิชิ

ไอสุวากามัตสึ โคริยามะ

ชิรากาวะ

อาคารเก็บอุปกรณ์

อาคารครอบเตาปฏิกรณ์หมายเลข ๔ อาคารครอบเตาปฏิกรณ์หมายเลข ๓ อาคารครอบเตาปฏิกรณ์หมายเลข ๒ อาคารครอบเตาปฏิกรณ์หมายเลข ๑

รัศมี ๒๐ กิโลเมตร รัฐบาลญี่ปุ่นบังคับให้ประชาชน อพยพออกนอกพื้นที่ รัศมี ๓๐ กิโลเมตร เขตอพยพโดยสมัครใจ ผู้ที่ไม่อพยพต้องใช้ชีวิตอยู่ในบ้าน และงดกิจกรรมกลางแจ้ง รัศมี ๘๐ กิโลเมตร ที่ทางสถานทูตสหรัฐฯ ประกาศให้ ชาวอเมริกันถอยห่างจากโรงไฟฟ้า

อุตโซโนมิยะ ฮิตาชินากะ มหาสมุทรแปซิฟิก

โ ต เ กี ย ว

ชิบะ

“โรงไฟฟ้าและเขตภัยพิบัตินิวเคลียร์”

นับแต่วิกฤตน�้ำมันในทศวรรษ ๑๙๗๐ ญี่ปุ่นเน้นการพึ่งพาพลังงานนิวเคลียร์มากขึ้น จนทุกวันนี้มีเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ใช้งานถึง ๕๔ เตา ก�ำลัง ก่อสร้างอีก ๖๘ เตา และมีแผนเพิม่ การใช้พลังงานนิวเคลียร์ผลิตกระแสไฟฟ้ามากขึน้ อีก  แต่จากวิกฤตการณ์ทเี่ กิดขึน้  ท�ำให้ชาวญีป่ นุ่ ในรัศมี  ๒๐ กิโลเมตรรอบโรงไฟฟ้านิวเคลียร์กว่า ๗๗,๐๐๐ คนต้องทิ้งบ้านมาอยู่ในศูนย์อพยพ  ผู้อยู่ในรัศมี  ๓๐ กิโลเมตรอีกกว่า ๖๒,๐๐๐ คน ต้องอยู่แต่ ในบ้านเพื่อหลีกเลี่ยงการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี   แผนงานด้านพลังงานนิวเคลียร์จึงก�ำลังถูกทบทวนอย่างหนัก (ที่มา : ปรับปรุงจาก www.nytimes.com)

ฉบับที่ ๓๑๕  พฤษภาคม ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

129


การท�ำงานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ อาคารครอบเตาปฏิกรณ์ สระเก็บ แท่งเชื้อเพลิงใช้แล้ว

บริเวณนี้จะเต็มไปด้วยน�้ำทะเล ที่ถูกฉีดเข้าไปเพื่อลดอุณหภูมิ ของเตาปฏิกรณ์

เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์

ก�ำแพงคอนกรีตเพื่อป้องกัน การรั่วไหลของรังสี

(ที่มา : ปรับปรุงจาก www.ipatt.com และ www.bakkenoil.org)

แท่งเชื้อเพลิงซึ่งมี ลักษณะรวมกันเป็นมัด แต่ละมัดจะมีแท่งเชื้อเพลิง มากกว่า ๑๐๐ แท่ง และมีความสูงราว ๔.๓ เมตร

ธาตุยูเรเนียม หรือ “เค้กเหลือง” ที่ถูกอัดเป็นเม็ด

ที่โรงไฟฟ้าฟุกุชิมะไดอิชิ มัดเชื้อเพลิงแต่ละมัด จะมีแท่งเชื้อเพลิงประมาณ ๓๗๐-๘๐๐ แท่ง

130 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๑๕  พฤษภาคม ๒๕๕๔

(ที่มา : ปรับปรุงจาก www.tohoku-epco.co.jp.)


ยามปรกติ

โรงไฟฟ้าแห่งนี้อาศัย ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ที่เกิดขึ้นในเตาปฏิกรณ์ สร้างความร้อนมา ต้มน�้ำจนเดือดเป็นไอ แล้วไปปั่นกังหัน ผลิตกระแสไฟฟ้า

ผนึกครอบแกนปฏิกรณ์

ไอน�้ำ

แท่งเชื้อเพลิง

แกนปฏิกรณ์

หน่วย ก�ำจัดการ ปนเปื้อน

เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า เครื่องควบแน่นไอน�้ำ

ช่องระบาย

ช่องระบาย

ทางระบายน�้ำออก ช่องระบาย

ช่องระบาย

ช่องระบาย

ช่องระบาย

กังหัน

ปั๊มน�้ำกลับ เข้าสู่เตาปฏิกรณ์

ปั๊มควบคุมระบบ แท่งควบคุม หมุนเวียนน�้ำ ปฏิกิริยา นิวเคลียร์

สระน�้ำภายในเตาปฏิกรณ์

หม้อแปลงไฟฟ้าเพื่อ จ่ายไฟให้บ้านเรือน

ปั๊มน�้ำทะเล

น�้ำหล่อเย็น ทางระบายน�้ำเข้า (น�้ำทะเล)

ปั๊มควบคุมระบบ หมุนเวียนน�้ำ

สระน�้ำภายในเตาปฏิกรณ์

เตาปฏิกรณ์แบบน�้ำเดือด (Boiling Water Reactor–BWR) รุ่น GE-Mark I (ที่มา : ปรับปรุงจาก http: dkpaladinx.files.wordpress.com  แปลข้อมูล : เกศินี   จิรวณิชชากร)

หลักการท�ำงานคืออาศัยปฏิกิริยาการแตกตัวของเชื้อเพลิง (ยูเรเนียม พลูโทเนียม) เกิดความร้อนไปต้มน�้ำจนเดือดกลายเป็นไอ แล้วไปปั่นกังหัน ของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าจ่ายให้ภาคส่วนต่าง ๆ ต่อไป ทั้งนี้นอกจากเตาปฏิกรณ์แบบ BWR ยังมีเตาปฏิกรณ์แบบความดันสูง (Pressurized Water Reactor-PWR) เตาปฏิกรณ์น�้ำมวลหนัก (Pressurized Heavy Water Reactor-PHWR) ซึ่งมีรายละเอียดในทางเทคนิคแตกต่าง กันแต่ก็ล้วนมีหลักการท�ำงานคล้ายคลึงกันทั้งสิ้น

หากไม่ฉีดน�้ำทะเลหล่อเย็นเตาปฏิกรณ์ จะเกิดอะไรขึ้นที่ฟุกุชิมะไดอิชิ (ที่มา : ปรับปรุงจาก www.abc.net.au/news/infographics/japan-quake-20”/meltdown.jpg)

๑. เมื่อระบบหล่อเย็นไม่อาจท�ำงานได้  ระดับน�้ำในเตาปฏิกรณ์จะลดลงท�ำให้แท่งเชื้อเพลิงโผล่เหนือน�้ำ  เหล็กเซอร์โคเนียม (Zirconium) ที่หุ้มสาร กัมมันตรังสีจะท�ำปฏิกิริยากับน�้ำจนเกิดก๊าซไฮโดรเจนสะสม   ๒. เมื่อความร้อนพุ่งขึ้นสู่ระดับ ๒,๐๐๐ องศาเซลเซียส เซอร์โคเนียมจะละลาย สาร กัมมันตรังสีจะสัมผัสกับอากาศโดยตรง และอาจกลายสภาพเป็นของเหลวเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นถึงระดับ ๓,๐๐๐ องศาเซลเซียส   ๓. เตาปฏิกรณ์จะร้อน ขึน้ เรือ่ ย ๆ และสารกัมมันตรังสีอาจจะละลายลงไปกองรวมกันอยูท่ กี่ น้ เตาปฏิกรณ์  (คาดว่าสถานการณ์ทฟี่ กุ ชุ มิ ะไดอิชอิ ยูใ่ นขัน้ นี)้    ๔-๕. สารกัมมันตรังสี จะไหลลงมาอยู่ในโดมคอนกรีต ในกรณีเหตุการณ์เลวร้าย สารกัมมันตรังสีอาจจะทะลุโครงสร้างที่ป้องกันเหล่านี้ออกมาภายนอก

ฉบับที่ ๓๑๕  พฤษภาคม ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

131


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.