ไทยพรีเมียร์ลีก TPL

Page 1

เรื่อง : ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล ภาพ : วิจิตต์ แซ่เฮ้ง

ไทยพรีเมียร์ลีก ก่อนแข่งขัน

๓ ชั่วโมง ๑ ชั่วโมงครึ่ง ประมาณ ๑ ชั่วโมง  ๖๐ นาที ๑๘ นาที  ๙ นาที ๗ นาที ๐ นาที

ผู้จัดการสนาม ผู้ประสานงานทั่วไปเดินทางมาถึง ประชุมผู้จัดการทีม ตรวจสอบไอดีการ์ดและอุปกรณ์ แฟนบอลคลาคล�่ำ การจราจรคับคั่ง หน้าทางเข้าสนาม นักเตะสองทีมอบอุ่นร่างกาย เสียงเชียร์ดังกระหึ่ม ประกาศรายชื่อนักเตะตัวจริง นักเตะสองทีมตั้งแถวใต้อัฒจันทร์ เดินเข้าสนามด้วยธงน�ำ ตั้งแถวหน้ากระดาน จับมือ ถ่ายภาพ กัปตันแต่ละทีมแลกธงที่ระลึก

---ปรี๊ด--- ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีกได้เวลาคิกออฟแล้ว

< สาวกทีม “กิเลนผยอง” เมืองทอง-หนองจอก ยูไนเต็ด  รวมพลังส่งเสียงเชียร์ทีมรักลงท�ำศึกฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก  ฤดูกาล ๒๕๕๔

62 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 62-63

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

63

13/12/2011 10:20


อัฒจันทร์สนามไอ-โมบาย สเตเดียม จ. บรุ รี มั ย์  สนามเหย้ าของที มบุ รีรั ม ย์   พีอี เอ ติด ตั้ ง เก้าอีพ้ บั ทัง้  ๔ ด้าน  มีความจุ ๒๔,๐๐๐ ทีน่ งั่   ว่ากันว่าเป็นสนามฟุตบอลที่งดงามและ  ทันสมัยที่สุดของไทยในเวลานี้ (ภาพล่าง) ไอ-โมบาย สเตเดียม เป็นสนามฟุตบอล  ที่ ผ ่ า นมาตรฐานของสมาพั น ธ์ ฟุ ต บอล  แห่งเอเชีย (เอเอฟซี)  พื้นสนามใช้หญ้า พาสพาลัมสายพันธุ์ต้นก�ำเนิดจากบราซิล  ความเข้มของแสงไฟส่องสนาม ๑,๕๐๐ ลักซ์  ติดตัง้ ล�ำโพงระบบเสียงเซอร์ราวนด์รอบทิศ  อัฒจันทร์ฝง่ั หลังโกลอยูห่ า่ งจากขอบสนาม เพียง ๕ เมตรเพื่ออรรถรสในการชมการ แข่งขันฟุตบอล

ภาพผู้ชมบนอัฒจันทร์บางตา ดูจะเป็นเรื่องปรกติส�ำหรับ  วงการฟุตบอลไทยเมื่อ ๑๐-๒๐ ปีที่แล้ว  จนกระทั่งปลายปี  ๒๕๕๒  ประวัติศาสตร์หน้าใหม่ก็ได้รับการจารึกเมื่อสถิติยอดผู้เข้าชม  การแข่งขันฟุตบอลในสนามเฉลี่ย ๔,๙๐๔ คน เพิ่มขึ้นเกือบ ๓ เท่า 64 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 64-65

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

65

13/12/2011 10:20


เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยภายในสนามไอ-โมบาย สเตเดียม  ก่อนเริ่มการแข่งขันฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก ระบบรักษาความ ปลอดภัยทั้งภายในและนอกสนามเป็นเรื่องส�ำคัญหากต้องการ  ยกระดับวงการลูกหนังไทย  ปัจจุบันการแข่งขันบางนัด เจ้าบ้าน อาจจัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยมากถึง ๒๐๐ นาย ทว่า  ข่าวการปะทะกันระหว่างแฟนบอลยังปรากฏให้เห็นเนืองๆ

66 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 66-67

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

67

13/12/2011 10:20


การแข่งขันฟุตบอลสโมสรก่อนปี  ๒๕๓๙ ประกอบด้วย  ทัวร์นาเมนต์ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานประเภท ก ข ค และ ง    ต่อมาสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ ริเริ่มให้มีการ  แข่งขันระบบลีก  ให้ทีมที่มีคะแนนสะสมสูงสุดในวันสิ้นสุดฤดูกาล เป็นทีมชนะเลิศ  เป็นจุดเริ่มต้นของฟุตบอลลีกอาชีพ  ในอีกกว่า ๑๐ ปีต่อมา

กิจกรรมระหว่างพักครึง่ เวลา แฟนบอลทีม “กิเลนผยอง” เมืองทอง-หนองจอก ยูไนเต็ด แลกเปลีย่ นของทีร่ ะลึกกับ แฟนบอล “กูปรีอันตราย” ศรีสะเกษ เมืองไทย เอฟซี

68 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 68-69

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

69

13/12/2011 10:20


เนวิน ชิดชอบ อดีต ส.ส. จังหวัดบุรีรัมย์หลายสมัย ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งประธานสโมสรบุรรี มั ย์ พีอเี อ  การปรากฏตัวของ เขาท�ำให้ทีม “ปราสาทสายฟ้า” กลายเป็นสโมสรชั้นแนวหน้า และเป็นเต็งจ๋าทีจ่ ะคว้าแชมป์ในไทยพรีเมียร์ลกี ฤดูกาล ๒๕๕๔  หากแต่กท็ �ำให้ภาพฟุตบอลกับการเมืองเชือ่ มโยงกันอย่างเลีย่ ง  ไม่ได้

(ภาพหน้าขวา) บน : แตรเชียร์ อุปกรณ์พื้นฐานของกองเชียร์ในสนาม ใช้เป่ากดดันคู่ แข่งขันหรือให้ก�ำลังใจทีมรักระหว่างการแข่งขัน  ล่าง : ก่อนเริ่มการ แข่งขันประมาณ ๑๐ นาที ผูต้ ดั สินและผูช้ ว่ ยผูต้ ดั สินลงตรวจสภาพสนาม และอุปกรณ์ภายในสนาม  ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลกี ใช้ผตู้ ดั สินของสมาคม ฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ ส่วนหนึง่ ขึน้ ทะเบียนกับฟีฟา่   ท่ามกลางเสียง วิพากษ์วิจารณ์เรื่องมาตรฐานการตัดสินจากแฟนบอล

ปี  ๒๕๔๙ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ และการกีฬา  แห่งประเทศไทย รวม “ไทยลีก” กับ “โปรลีก” เข้าเป็นหนึ่งเดียว   ให้สองสโมสรที่มีผลงานดีที่สุดจากโปรลีกเข้ามาร่วมฟาดแข้ง  กับสโมสรในไทยลีก ท�ำให้การแข่งขันฟุตบอลลีกประกอบขึ้นจาก สโมสร “องค์กร-หน่วยงาน” และสโมสร “ท้องถิ่น”  scpTPL (preview).indd 70-71

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

71

13/12/2011 10:20


กระแสคลั่งไคล้ฟุตบอลไทยลีกก่อตัวขึ้นช้าๆ ทว่ามั่นคงแข็งแรง    ครึ่งหลังฤดูกาล ๒๕๕๒ ความสนใจฟุตบอลไทยลีก “ฟีเวอร์”   ขึ้นอย่างเห็นได้ชัด  ด้วยรูปเกมสนุกเร้าใจ  ด้วยความผูกพันระหว่าง  แฟนคลับกับสโมสร  เป็นสัญญาณบอกว่า วงการฟุตบอลไทย  ตื่นจากการหลับใหลอันยาวนานแล้ว

ผ้ า พั น คอ-ของที่ ร ะลึ ก สโมสร “กิ เ ลนผยอง” เมื อ งทอง  -หนองจอก ยูไนเต็ด เป็นหนึ่งในสัญลักษณ์ที่แฟนบอล  ชูขึ้นโบกสะบัดระหว่างการแข่งขัน

72 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 72-73

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

73

13/12/2011 10:20


พริตตี้ สาวงามในชุดยูนิฟอร์ม อีกหนึ่ง สัญลักษณ์ประจ�ำสโมสร  พริตตีฟ้ ตุ บอล เป็นอีกหนึง่ แรงดึงดูดทีส่ ร้างสีสนั แก่ผชู้ ม ในสนาม

74 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 74-75

สาวกทีม “ปราสาทสายฟ้า” บุรรี มั ย์ พีอเี อ  ในนาม “นั ก รบลาวา-ปราสาทสายฟ้ า ”  คนนี้ส�ำแดงตัวตนด้วยองค์ประกอบต่างๆ  บนร่างกาย

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

75

13/12/2011 10:20


นักฟุตบอลทีม “ปราสาทสายฟ้า” บุรีรัมย์ พีอีเอ ยืดเหยียด ร่างกายระหว่างการฝึกซ้อมที่แคมป์เก็บตัวจังหวัดบุรีรัมย์  ใน ภาพจะเห็นโค้ชอรรถพล บุษปาคม ก�ำลังให้สัมภาษณ์เพื่อท�ำ สื่อประชาสัมพันธ์สโมสร

ปี  ๒๕๕๑ เอเอฟซีประกาศวิสัยทัศน์  “Vision Asia”   ตั้งเป้าให้สโมสรฟุตบอลในเอเชียด�ำเนินกิจการอย่างมืออาชีพ   เป็นเหตุให้สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ ต้องตั้งบริษัท  ไทยพรีเมียร์ลีก จ�ำกัด ขึ้นมาดูแลการแข่งขันเป็นการเฉพาะ   และก�ำหนดให้สโมสรฟุตบอลอาชีพต้องจดทะเบียนนิติบุคคล  เพื่อบริหารสโมสรในเชิงพาณิชย์อย่างเต็มตัว   76 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 76-77

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

77

13/12/2011 10:20


ศึกชิงความเป็นเจ้าเวหาระหว่างนักฟุตบอลทีม “กูปรีอนั ตราย” ศรีสะเกษ เมืองไทย เอฟซี กับนักเตะผิวสีของทีม “กิเลนผยอง” เมืองทอง-หนองจอก ยูไนเต็ด  ฤดูกาล ๒๕๕๔ ไทยพรีเมียร์ลกี กลายเป็ น ขุ ม ทองของนั ก ฟุ ต บอลต่ า งชาติ   ทั้ ง ไอวอรี โ คสต์  กานา บราซิล แคเมอรูน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ลาว ฯลฯ

78 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 78-79

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

79

13/12/2011 10:20


ทัพ “ฉลามชล” (Shark Army) กองเชียร์สโมสรชลบุรี เอฟซี  ผู้อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จของยอดทีมภูธรจากดินแดนชายทะเล ตะวันออก แชมป์ฤดูกาล ๒๕๕๐  กล่าวกันว่าชลบุรี เอฟซี คือ สโมสรฟุตบอลอาชีพสโมสรแรกของประเทศไทย เป็นตัวอย่างให้ หลายสโมสรเจริญรอยตามทั้งเรื่องผลงานในสนามและการสร้าง ฐานแฟนคลับ

80 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 80-81

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

81

13/12/2011 10:20


ระบบจ�ำหน่ายตัว๋ อันทันสมัยของสโมสรบุรรี มั ย์ พีอเี อ   แฟนบอลเลือกที่นั่งได้ทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ เช่นเดียวกับซื้อตั๋วชมภาพยนตร์

82 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 82-83

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช

“ฟุตบอลไทยวันนี้แตกต่างจากอดีตอย่างสิ้นเชิง  เมื่อก่อน  คนดูไม่มี  เล่นกันเองดูกันเอง บางครั้งเอาตลกมาเล่นช่วง  พักครึ่ง แต่วันนี้ฟุตบอลไทยก�ำลังเดินไปถูกทาง ท้องถิ่นนิยม   คนดูเยอะ สินค้าที่ระลึกขายดี   แต่ยังมีหลายจุดที่ต้องแก้ไข   เช่นเรื่องโปรแกรมการแข่งขันหรือมาตรฐานผู้ตัดสิน”     เทิดศักดิ์  ใจมั่น มิดฟิลด์สโมสรชลบุรี เอฟซี และทีมชาติไทย

83

13/12/2011 10:20


สิ้นเสียงนกหวีดหมดเวลาแข่งขัน เหล่านักฟุตบอล สตาฟฟ์โค้ช ทีมงาน กอดคอฟังเสียงร้องเพลงประจ�ำสโมสรจากแฟนบอลบน อัฒจันทร์  เรื่องนี้ดูเหมือนจะเป็นวัตรปฏิบัติส�ำหรับหลายทีม  เมื่อคนไทยมีฟุตบอลลีกของตัวเองให้สัมผัสชนิดจับต้องได้ถึง ขอบสนาม

84 นิตยสารสารคดี  ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔ scpTPL (preview).indd 84-85

ฉบับที่ ๓๒๑  พฤศจิกายน ๒๕๕๔  นิตยสารสารคดี

85

13/12/2011 10:20


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.