ย า ก ม ? ร ] ร )
พระสงฆ์ก�ำลังเดินออกจากลานมหาธรรมกายเจดีย์ ซึ่งประดิษฐานเจดีย์ขนาดยักษ์ที่ทางวัดระบุว่าได้ต้นแบบมาจาก “สาญจี” สถูปโบราณของอินเดีย แต่ส�ำหรับคนภายนอกอาจคุ้นเคยว่าคล้ายรูปทรง ของ “จานบิน” (UFO) มากกว่า พื้นที่โดยรอบลานยังประกอบด้วย “มหารัตนวิหารคด” ซึ่งกว้างด้านละ ๑ กิโลเมตร สามารถจุสาธุชนได้มากถึง ๑ ล้านคน
ธ ด ั ก ำ � จ [
์ ณ ร า ก ฏ
ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช
ก า ร ป
น ช า ห (ม
เรื่อง : สุเจน กรรพฤทธิ์ ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช, ประเวช ตันตราภิรมย์, สุเจน กรรพฤทธิ์
70
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
71 ๗๕
ฯ ํ า ้ น ก า ป ั ด ว ่ ี ท า ้ ง ห เ ก รา
รูปประติมากรรมขนาดเล็กแสดงอิริยาบถหลวงพ่อสด ขณะก�ำลังสอน “วิชชาธรรมกาย” จัดวางไว้ในตู้กระจก บนชั้น ๒ ของพระมหาเจดีย์มหารัชมงคล วัดปากน�้ำฯ
แม้จะมรณภาพตั้งแต่ปี ๒๕๐๒ สรีระพระสมุห์สด จนฺทสโร ผู้ค้นพบ “วิชชาธรรมกาย” อดีตเจ้าอาวาสวัดปากน�้ำฯ ยังคงได้รับการรักษาไว้ที่ “หอสังเวชนียมงคลเทพนิรมิต” เรือนไม้ทรงไทยภายในวัดปากน�้ำภาษีเจริญ กรุงเทพฯ ตามค�ำสั่งเสียที่ว่า “พระตาย...จะเลี้ยงพระเป็น” อันหมายถึงจะมีคนมาท�ำบุญสวดอภิธรรมอย่างต่อเนื่อง
ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช
76
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
“วัดปากน�้ำฯ กับ วัดพระธรรมกาย เป็นวัดพี่วัดน้อง หรือเสมือนหนึ่ง ว่าเป็นวัดเดียวกัน มีอะไรก็ช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน” สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺโญ) ผู้ปฏิบัติหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช/เจ้าอาวาสวัดปากน�้ำภาษีเจริญ ทบทวนบุญ ๔, วารสาร อยู่ในบุญ พฤษภาคม ๒๕๕๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
77
ย า ก ม รร
ธ
ิวชชา
หลวงพ่อสดตั้งใจเผยแผ่ “วิชชาธรรมกาย” ไปทั่วโลก ความตั้งใจนี้ ได้รับการสืบทอดมายังแม่ชีจันทร์ ขนนกยูง และพระราชภาวนาวิสุทธิ์ (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย สัญลักษณ์ของวิชานี้คือการเพ่ง “ดวงแก้ว” หรือ “ลูกแก้ว” ในภาพเป็น “ลูกแก้วจากญี่ปุ่นจากในตู้ห้องนอนของสมเด็จ พระมหารัชมังคลาจารย์” ที่จัดแสดงภายใน “ห้องสังฆคุณารมณ์” ชั้น ๓ ของพระมหาเจดีย์รัชมงคล วัดปากน�้ำฯ
78
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
79
ะ ร พ ด ั ว ด ิ �ำเน
ก
ย า ก ม รร
พระประธานในพระอุโบสถวัดพระธรรมกาย ซึ่งมีพุทธศิลป์แปลกตา เอกสารของวัดระบุว่า จ�ำลองมาจาก “ลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ” ในพระไตรปิฎกและหนังสือลักษณะมหาบุรุษ และ “ใครประพฤติปฏิบัติธรรมมากขึ้น ก็จะพบพระพุทธรูปลักษณะเช่นนี้อยู่ในศูนย์กลาง กายฐานที่ ๗ ของตนเอง”
ธ
พระอุโบสถวัดพระธรรมกาย สร้างเสร็จในปี ๒๕๒๕ เป็นสถาปัตยกรรมไทยประยุกต์ เอกสารของวัดระบุว่าได้ต้นแบบจาก พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรฯ ความโดดเด่นคือการลดทอนช่อฟ้า ใบระกา และรายละเอียดอื่นทางสถาปัตยกรรม เพื่อให้บ�ำรุงรักษาง่าย เคยได้รับ รางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์เมื่อปี ๒๕๔๑ ส่วนอาคารทรงพีระมิดด้านหลังคือ “มหาวิหารคุณยายอาจารย์ มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง” สูง ๒๙ เมตร สร้างเสร็จเมื่อปี ๒๕๔๖
กุมภาพั กุมนภาพั ธ์ ๒๕๕๗ นธ์ ๒๕๕๗
ภาพ : ประเวช ตันตราภิรมย์
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
ภาพ : ประเวช ตันตราภิรมย์
80
81 81
ย า ก ม รร
มหาธรรมกายเจดีย์ท่ามกลางพื้นที่ ๒,๐๐๐ ไร่ ซึ่งถือครองโดยมูลนิธิธรรมกาย และวัดพระธรรมกายบนพื้นที่ ๑๙๖ ไร่ ซึ่งผู้สร้างวัดคาดหวังให้เป็น “มักกะฮ์ของพุทธศาสนา” มองเห็นได้โดดเด่นทางอากาศเมื่อนั่งเครื่องบิน มาลงที่สนามบินดอนเมือง
ธ
ร ก ั จ า ณ า
อ
ภาพ : ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล
82
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
83
ร า ก ด ั จ บ บ ระ
ง ็ ข แ ีท่เข้ม
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช
84
งานอัญเชิญหลวงพ่อสดทองค�ำหนัก ๑ ตัน ประดิษฐานในมหาวิหารมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ในช่วงปลายปี ๒๕๕๖ ซึ่งแม้จะจัดขึ้นท่ามกลางสายฝน แต่ผู้ศรัทธาจ�ำนวนมากก็เข้าแถวร่วมงานอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย เอกสารของวัดระบุว่าวิหารแห่งนี้สร้างด้วยวัสดุที่แข็งแรง อยู่คงทนได้นับพันปี
85
“นี่คือการบริหาร ‘ศาสนชุมชน’ ที่ขยายได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด” นายแพทย์มโน เลาหวณิช อาจารย์ภาควิชาการแพทย์บูรณาการ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อดีต “พระมโน เมตตานนฺโท” แห่งวัดพระธรรมกาย
พระสงฆ์ก�ำลังใช้คอมพิวเตอร์ท�ำแอนิเมชัน (การ์ตูน) ธรรมะ เพื่อเผยแพร่ผ่านสื่อของวัด การด�ำเนินงานหลายอย่างภายในวัด ใช้บุคลากรของวัด คือพระสงฆ์ เพื่อช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย แทนที่จะจ้างคนภายนอก
ย า ก ม รร
ธ บ บ แ ร า บริห
หมู่กุฏิแบบมุงหลังคาจากภายในมุมหนึ่งของวัดพระธรรมกาย ส�ำหรับใช้เป็นที่จ�ำวัดของพระนวกะ (บวชใหม่) ภาพลักษณะนี้ทางวัดบอกเราว่าคนภายนอกไม่ค่อยมีโอกาสเห็นนัก เพราะมักเห็นแต่ภาพอาคารสถานที่อันโอ่โถงใหญ่โต พระสงฆ์ติดอุปกรณ์เครื่องมือสื่อสารที่ข้างหูเพื่อใช้สื่อสาร ระหว่างบุคลากรของวัดในระหว่างการดูแลจัดการงานตักบาตรพระสงฆ์นอกสถานที่ ส�ำหรับวัดพระธรรมกาย ไม่ว่าพระหรือฆราวาสล้วนมีประสบการณ์ ในการจัดการงานใหญ่มาแล้วมากมาย
ภาพ : สุเจน กรรพฤทธิ์
ภาพ : ส�ำนักสื่อสารองค์กร วัดพระธรรมกาย
ภาพ : ประเวช ตันตราภิรมย์
86
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
87
ผู้มีจิตศรัทธานั่งอย่างเป็นระเบียบพร้อมภาพหลวงพ่อสด ระหว่างร่วมงานอัญเชิญรูปหล่อหลวงพ่อสดทองค�ำเข้าประดิษฐาน ในมหาวิหารมงคลเทพมุนีท่ามกลางสายฝน จุดเด่นของวัดพระธรรมกายคือความสามารถในการบริหารจัดการ ผู้เข้าร่วมงานบุญหลักหมื่นหลักแสนได้อย่างเป็นระบบ ไกลออกไปด้านหลังคืออาคารจอดรถยนต์ที่อยู่ระหว่างก่อสร้าง เพื่อรองรับญาติโยมที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช
88
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
89
ย า ก ม ร ร
รศ. ดร. รอรี แมกเคนซี (Rory Mackenzie) นักวิชาการด้านศาสนา ข้อความจาก “New Buddhist movements in Thailand” วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก University of Sunderland
ธ
ก ี ป ย า ย ส
ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช
“...วัดพระธรรมกาย ก�ำลังเป็นปัจจัยก่อความเปลี่ยนแปลง ในวงการสงฆ์ไทย...”
ทีมงาน DMC TV ทีวีดาวเทียมของวัด มีลักษณะการท�ำงานและเครื่องมือ ไม่แตกต่างจากสื่อมวลชนอาชีพนอกวัด
พื้นไร้กระเบื้อง เพดานปราศจากฝ้า อากาศถ่ายเทเต็มที่เย็นสบายตลอดปี เมื่อรับแสงธรรมชาติอย่างเหมาะสม ก็เปิดไฟฟ้าเท่าที่จ�ำเป็น นี่คือโรงเรียนที่เปี่ยมด้วยอากาศบริสุทธิ์
เมื่อมีการจัดงานบุญนอกวัด นอกจากการตั้งต้นไม้ทองให้ญาติโยม ได้ร่วมท�ำบุญแล้วยังมีการตั้งจุดบริจาค อยู่ในบริเวณใกล้เคียงด้วย
90
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
เจ้าหน้าที่วัดก�ำลังแนะน�ำการเดินแถวของพระสงฆ์ที่เข้าร่วมงานตักบาตรที่ถนนสีลม โดยจัดเรียงโต๊ะและเตรียมภัตตาหารส�ำเร็จรูปแด่พระสงฆ์ทุกรูปไว้อย่างพร้อมเพรียง กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
ภาพ : สุเจน กรรพฤทธิ์
ภาพ : สุเจน กรรพฤทธิ์
91
ภาพ : สุเจน กรรพฤทธิ์
การตักบาตรพระหมื่นรูปหน้าห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัลเวิลด์ใกล้กับแยกราชประสงค์ ในช่วงปลายปี ๒๕๕๖ ท�ำให้ต้องปิดถนนในช่วงเช้ามืดไปจนถึงช่วงสาย ด้วยมีผู้เข้าร่วมงานจ�ำนวนมาก เป็นหนึ่งในกิจกรรมนอกวัดที่เป็นลักษณะเฉพาะ ของวัดพระธรรมกาย
92
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
93
ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช
ญาติโยมเวียนเทียน รอบมหาธรรมกายเจดีย์ในช่วงพลบค�่ำ วันวิสาขบูชาปี ๒๕๕๖
94
กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
“...ธรรมกายเข้ามาเป็นพันธมิตร กับโครงสร้างเก่าที่ก�ำลังหมดสมัย เอาค�ำตอบของเขาเข้ามาผนวกกับค�ำตอบเดิม ประจวบกับโครงสร้างเก่าก็รู้ว่าสื่อสารกับ คนรุ่นใหม่ไม่ได้ ผีตัวเก่ากับผีตัวใหม่ก็สร้าง นวัตกรรมร่วมกันขึ้นมาอย่างที่เราเห็น”
วิจักขณ์ พานิช นักเขียนผู้สนใจศึกษาประวัติศาสตร์ศาสนา กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
95