โกเอ็นก้า
ถึงธรรมบนหนทางวิปัสสนา สัตยา นารายัน โกเอ็นก้ า--วิปัสสนาจารย์ผู้ยิ่งใหญ่ทางธรรมคนหนึ่งในยุคนี้ เป็นฆราวาสชาวฮินดูที่เกิดในพม่า ได้รับการฝึกปฏิบัติวิปัสสนาตามแนวพุทธศาสนา กระทั่งได้เป็นผู้สืบทอดสอนการปฏิบัติธรรมในแนวทางนี้ต่อจากอาจารย์ เผยแผ่แนวทางการปฏิบัติที่ไม่ผูกพันหรือยึดติดอยู่กับศาสนาใด กว้างไกลออกไปทั่วโลกรวมทั้งในเมืองไทย
�
เรื่อง : วีระศักร จันทร์ส่งแสง ศูนย์วิปัสสนาของท่านซายาเท็ตจีที่เปียวบ่วยจี ส�านักสอนวิปัสสนาโดยฆราวาสที่ยังคงเหลือร่องรอย และสืบต่อมาไม่ขาดสายจนปัจจุบัน
ภาพ : นคเรศ ธีระค�าศรี
78
มิถุนายน ๒๕๕๖
มิถุนายน ๒๕๕๖
79
ภาพ : คัมภีร์ ผาติเสนะ
80
มิถุนายน ๒๕๕๖
เช้าวันเยือนแผ่นดินธรรมที่มีพระคุณ ท่านโกเอ็นก้ามาถึงลานเจดีย์ชเวดากองพร้อมแสงแรกของวัน ท่ามกลางคลื่นคนที่มารอร่วมปฏิบัติภาวนากับท่านต่อหน้ามหาเจดีย์ที่ศักดิ์สิทธิ์และยิ่งใหญ่ที่สุดในแผ่นดินพม่า มิถุนายน ๒๕๕๖
81
ภาพภายในกรอบข้างฝาบ้าน เมื่อท่านยังอยู่ในวัยหนุ่มใหญ่ บริเวณบ้านหลังเล็กที่เรียบง่าย ของท่านโกเอ็นก้าในกรุงย่างกุ้ง ต้อนรับคนนับพันในเช้าวันที่ เจ้าของบ้านกลับมาท�าบุญ ถวายสังฆทานในแผ่นดินเกิดอีกครั้ง
ภาพ : วีระศักร จันทร์ส่งแสง
82
มิถุนายน ๒๕๕๖
ในเมื่อ “ทุกข์” และ “ธรรม” เป็นสิ่งสากลที่ไม่ ทุกข์ ไม่แบ่งแยกหรือจ�าเพาะว่านี่เป็นทุกข์ของ ทุ ก ข์ ข องคนผิ ว ด� า ผิ ว ขาว ทุ ก ข์ แ บบพุ ท ธ การปฏิบัติเพื่อเข้าถึงธรรมก็ไม่ควรถูกแบ่งแยก
ได้ผูกติดอยู่กับศาสนาหรือเชื้อชาติ คนเอเชีย ยุโรป อเมริกัน มุสลิม คริสตชน ก็ไม่ต่างกัน หรือกีดกันด้วยความแตกต่างทางศาสนา
มิถุนายน ๒๕๕๖
83
ข่าวการมาของท่านโกเอ็นก้า น่าจะถือเป็นวาระใหญ่ของย่างกุ้ง มีการขึ้นป้ายแจ้งข่าวในวงกว้าง เช้าวันที่ท่านมาน�าปฏิบัติธรรม หน้าเจดีย์ชเวดากอง ลูกศิษย์หลากหลายเชื้อชาติศาสนา รวมทั้งสาธุชนในท้องถิ่น หลั่งไหลมารอร่วมวาระบุญใหญ่ กันอย่างเนืองแน่นตั้งแต่ก่อนฟ้าสาง (ภาพ : วีระศักร จันทร์ส่งแสง)
84
มิถุนายน ๒๕๕๖
มิถุนายน ๒๕๕๖
85
ภาพ : คัมภีร์ ผาติเสนะ
บรรยากาศของห้องปฏิบัติรวมที่ศูนย์วิปัสสนานานาชาติในกรุงย่างกุ้ง เมื่อปลายปี ๒๕๕๕ ที่ยังคงความสงบสงัดและเรียบง่ายไม่ต่างจากเมื่อ ๕๐ กว่าปีก่อน ซึ่งท่านโกเอ็นก้าเคยเข้ารับการฝึกวิปัสสนาจากท่านอูบาขิ่นที่ศูนย์ฯ แห่งนี้
86
มิถุนายน ๒๕๕๖
มิถุนายน ๒๕๕๖
87
ห้องปฏิบัติรวมของศูนย์ฯ ทุกแห่ง เป็นเขตรักษาความเงียบเคร่งครัด และผู้ปฏิบัติจะเข้าไปได้เฉพาะในชั่วโมงปฏิบัติเท่านั้น นอกเหนือจากนั้นผู้ปฏิบัติอาจอยู่ในที่พักของตน หรือในห้องปฏิบัติเดี่ยว (ภาพเล็ก) ตามที่อาจารย์ผู้ช่วยก�าหนดให้ (ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช)
การฝึกท�าอานาปานัสสติ ก�าหนดรูอ้ ยูก่ บั ลมหายใจเข้าออก แต่ความยากอยู่ที่ใจไม่ยอมอยู่กับลมหายใจ มักเอาแต่ ตามธรรมชาติของจิตใจ 88
มิถุนายน ๒๕๕๖
ดูจะเป็นงานง่าย ๆ ล่องลอยไปโน่นนี่อยู่ตลอดเวลา มิถุนายน ๒๕๕๖
89
โกเอ็ น ก้ า ถึงธรรมบนหนทางวิปัสสนา
ความจริงที่เกิดขึ้นภายในขอบเขตของร่างกายนั้น ก็เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ไม่มีสิ่งใดอยู่คงที่ การก�าหนดความสนใจไว้ที่ร่างกายตน ช่วยให้เราได้รู้ว่าทุก ๆ สิ่งล้วนเปลี่ยนแปลง ตามหลักที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า นิจจัง กายคตาสติ
�
เรื่อง : วีระศักร จันทร์ส่งแสง
หนทาง (วิปัสสนา) ท่านโกเอ็นก้าในวิดีโอธรรมบรรยายดูหนุ่มกว่าตัวจริง
ท่านโกเอ็นก้าในวัยใกล้ ๙๐ ปีเคลือ่ นกายด้วยรถเข็น แต่แววตายังแจ่มใส ดูเปี่ยมความเมตตา
ภาพ : นคเรศ ธีระค�าศรี
ที่ข้าพเจ้าได้เห็นเมื่อปลายปีก่อน ภาพในวิดีโอถูกบันทึกตอนท่านอายุ ๖๗ ปี เป็นการ บรรยายธรรมในหลั ก สู ต รการอบรมวิ ป ั ส สนาให้ แ ก่ ช าว อเมริกันที่แคลิฟอร์เนีย ซึ่งต่อมาถูกน�าไปใช้ในการอบรม หลักสูตร ๑๐ วันในประเทศต่างๆ ทั่วโลก เฉพาะในเมืองไทยมีศูนย์วิปัสสนา ๖ แห่ง แต่ละแห่ง จัดการอบรมปีละหลายครั้ง และจ�านวนผู้เข้ารับการอบรมก็ เพิ่มขึ้นทุกปี ตามสถิติเฉพาะในปี ๒๕๕๕ มีจ�านวน ๘,๐๐๐ กว่าราย ปลายปีทแี่ ล้วท่านโกเอ็นก้าเดินทางจากถิน่ พ�านักปัจจุบนั ในประเทศอินเดียมายังพม่า ซึ่งท่านนับว่าเป็นดินแดนแห่ง ธรรมที่มีพระคุณต่อท่าน ลูกศิษย์จากเมืองไทยจ�านวนหนึ่ง เดินทางไปร่วมต้อนรับท่าน ข้าพเจ้าได้รับการชักชวนให้ร่วม ทางไปด้วย ท่านโกเอ็นก้าทีข่ า้ พเจ้าได้เห็นตัวจริงเมื่อเดือนธันวาคม ๒๕๕๕ อยูใ่ นวัย ๘๘ ปี รูปร่างท้วมขึน้ กว่าเมือ่ ตอนทีย่ งั หนุม่ กว่านี ้ เคลือ่ นไหวเชือ่ งช้าตามความชรา แต่แววตายังแจ่มใส ดูเปี่ยมความเมตตา เช่นเดียวกับน�้าเสียงทุ้มเย็นที่ยังก้อง
กังวานอยู่ไม่เปลี่ยน หน้าตาของท่านดูมีเค้าของชาวอินเดีย แต่ความจริง ท่านเกิดในประเทศพม่า ที่เมืองมัณฑะเลย์ เมื่อปี ๒๔๖๗ มีชื่อเต็มว่า สัตยา นารายัน โกเอ็นก้า เอกสารไม่ กี่ ห น้ า เกี่ ย วกั บ ประวั ติ ข องท่ า นระบุ ว ่ า เอส. เอ็น. โกเอ็นก้า เกิดในครอบครัวนักธุรกิจ และท่านเอง ก็เป็นนักธุรกิจทีป่ ระสบความส�าเร็จอย่างสูงตัง้ แต่ยงั หนุม่ ตัง้ โรงงานน�้าตาล โรงงานทอผ้า โรงงานผ้าห่ม และเปิดบริษทั น�าเข้า-ส่งออก โดยมีสา� นักงานอยูท่ วั่ โลก ได้รบั เลือกให้เป็น ผู้น�าชุมชนชาวอินเดียในพม่า รวมทั้งเป็นประธานองค์กร ต่างๆ อาทิ หอการค้ามาร์วารีแห่งพม่า สมาคมพาณิชย์และ อุตสาหกรรมแห่งย่างกุ้ง แต่พร้อมกับชือ่ เสียง เกียรติยศ และความส�าเร็จในชีวติ ที่ได้มา ความตึงเครียดทางใจก็เพิ่มขึ้นเป็นเงา ท่านเล่าไว้ ว่าทุกๆ คืนหากการเจรจาธุรกิจในวันนัน้ ล้มเหลว ท่านจะคิด ใคร่ครวญหาข้อผิดพลาดและหนทางแก้ไข แต่ในวันทีป่ ระสบ ความส�าเร็จอย่างมาก ท่านก็ยังนอนไม่หลับเพราะมัวแต่ ชื่นชมความส�าเร็จของตัวเอง
มิถุนายน ๒๕๕๖
91