Illustration
Scientific
ภาพวาดทางวิทยาศาสตร์
๔ ๑
วาดศิ ล ป์ งานสื่ อ ภาพธรรมชาติ
๕
๒
ภาพวาดโดย กมล โกมลผลิน จากหนังสือ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในประเทศไทย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒
๖
บ่าง ลิงลม กระจงเล็ก เพียงพอนเหลือง หมาไม้ หมีขอ ชะมดแผงหางปล้อง อีเห็นลายพาด กวางผา เก้งธรรมดา เนื้อทราย หมูป่า
๗
กล้วยไม้สามร้อยต่อใหญ่ (ธัญลักษณ์ สุนทรมัฏฐ์)
◆
เรื่อง : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ
๓
62 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๒๓ มกราคม ๒๕๕๕
๘
> ดร. ศศิวิมล แสวงผล ให้ค�ำแนะน�ำนักศึกษา วาดภาพผลสับปะรด ซึ่งเป็นแบบฝึกหัดในวิชา นิทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ ที่เน้นให้ผู้เรียนรู้จักการวัด และสเกลของวัตถุ เพราะภาพวาดทางวิทยาศาสตร์ ต้องมีสัดส่วนถูกต้อง (ภาพ : บันสิทธิ์ บุณยะรัตเวช)
ฐิตา ครุฑชื่น วาดภาพไส้เดือนบกด้วยกล้องจุลทรรศน์ camera lucida แกนท่อสีด�ำที่ยื่นจากตัวกล้องจะส่งภาพ “มือ” ไปปรากฏในเลนส์ตาซ้อนเข้ากับ ภาพ “ตัวอย่างไส้เดือน” ที่ถูกผ่า ท�ำให้ลากเส้นตามชิ้นส่วนขนาดเล็กได้สัดส่วน ถูกต้องและรายละเอียดครบถ้วน > สุนิตสรณ์ พิมพะสาลี ก�ำลังวาดภาพฝักพวงทองปีกผีเสื้อ ด้วยเทคนิคสีน�้ำแบบ dry brush เขาให้ข้อมูลว่าเทคนิคนี้ต้องใช้กระดาษที่เหมาะสม “กระดาษเนื้อ cotton แบบ hot pressed คุณภาพดีที่สุด มีผิวเรียบเก็บรายละเอียดได้ดี และลงสีทับหลายชั้นโดยกระดาษไม่เสียสภาพ” (ภาพ : ประเวช ตันตราภิรมย์)
กบูรณาการระหว่ ารวาดภาพทางวิทยาศาสตร์เป็นงาน างศิลปะกับวิทยาศาสตร์ เพื่อเสนอข้อมูลด้วยภาพที่มีรายละเอียด ถูกต้อง แม่นย�ำ มีขนาด มาตราส่วน และสั ด ส่ ว นถู ก ต้ อ ง ไม่ มี ก ารตกแต่ ง ดัดแปลง ทั้งมีความสวยงามตามหลัก องค์ประกอบศิลป์ 66 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๒๓ มกราคม ๒๕๕๕
ฉบับที่ ๓๒๓ มกราคม ๒๕๕๕ นิตยสารสารคดี
67
ค่างด�ำ
ค่างแว่นถิ่นใต้ ชะนีธรรมดา
ชะนีมงกุฎ
ค่างหงอก
ค่างแว่นถิ่นเหนือ
“ผมมองสัตว์ป่า ด้วยสายตาศิลปะ เห็นเป็นรูปของฟอร์ม สี เส้นสาย texture... ผมใส่ฉากหลังลงไป เพื่อประกอบให้คนดู รู้ถึงสิ่งแวดล้อม ที่สัตว์นั้นอาศัยอยู่ ช่วยให้ภาพ มีรสชาติขึ้น”
ชะนีมือด�ำ
ชะนีเซียมัง
กมล โกมลผลิน
64 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๒๓ มกราคม ๒๕๕๕
ฉบับที่ ๓๒๓ มกราคม ๒๕๕๕ นิตยสารสารคดี
65