74 เมษายน ๒๕๕๖
(ภาพ : อุทยานแห่งชาติคลองลาน)
ชีวิตสมบุกสมบัน ขณะไต่ขึ้นผาสูงชัน ที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน จ. ก�ำแพงเพชร
เรื่อง : ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล ภาพ : วิจิตต์ แซ่เฮ้ง ฐิติพันธ์ พัฒนมงคล
ภารกิจผูพ้ ทิ กั ษ์ปา่ ยุคใหม่
smart patrol ranger วิทยาการเพือ่ “ชีวติ ”
ออกปฏิบัติภารกิจท่ามกลาง ภยันตรายจากสัตว์ร้าย ผู้ลักลอบกระท�ำผิดกฎหมาย และสถานการณ์คับขัน เพื่อพิทักษ์ป่าไม้ คุ้มครองสัตว์ป่า
สมาร์ตพาโทรลเรนเจอร์
ลึกเข้าไปในผืนป่า
เมษายน ๒๕๕๖
75
หลักสูตรการลาดตระเวนเชิงคุณภาพครอบ คลุมทั้งเรื่องการใช้อาวุธปืน ยิงปืนในภาวะ กดดัน ระเบียบวินัย และการท�ำงานร่วมกัน เป็นทีม
สมาร์ตพาโทรล เรนเจอร์ หรือหน่วยลาดตระเวน เชิงคุณภาพคือเจ้าหน้าที่ พิทักษ์ป่าที่ฝึกฝน พัฒนาเทคนิคลาดตระเวน ในพื้นที่อนุรักษ์ จนมีประสิทธิภาพ รู้จักใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม และทันสมัย
76
เมษายน ๒๕๕๖
เมษายน ๒๕๕๖
77
การก้าวสู่ความเป็น “นักรบเพื่อ พงไพร” ใช่จะส�ำเร็จได้โดยง่าย มีก�ำแพงตงั้ อยู่ ในการฝึกอันเคี่ยวกร�ำ ทั้งทางสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ทงั้ ในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 78
เมษายน ๒๕๕๖
หน่วยก้านอาจไม่บึกบึนอย่างทหาร แต่ความห้าวหาญอย่างผู้พิทักษ์ป่า เปี่ยมหัวใจคนเหล่านี้ ในภาพเป็น การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย สะกด รอย และบังตัวซ่อนพราง
เมษายน ๒๕๕๖
79
ตราสัญลักษณ์ รูปเสือโคร่ง ของสมาร์ตพาโทรลเรนเจอร์ >
เส้นทางข้ามล�ำธาร มีปรากฏอยู่ทั่วไป ในป่าสมบูรณ์
(ภาพ : อุทยานแห่งชาติแม่วงก์)
หุงหาอาหาร ด้วยหม้อสนาม ด�ำเมี่ยม > ไหว้เจ้าป่าเจ้าเขา วัตรปฏิบัติอย่างหนึ่ง
งานลาดตระเวน ถือเป็นหัวใจของการ ท�ำงานในพนื้ ทอี่ นุรักษ์ สมาร์ตพาโทรลเรนเจอร์ ต้องใช้ชีวิตอยู่กลางพงไพร ครั้งหนึ่งไม่ต�่ำกว่า ๓-๔ วัน 80
เมษายน ๒๕๕๖
เส้นทางลาดตระเวนในป่าอุทยานแห่งชาติคลองลาน
เมษายน ๒๕๕๖
81
82
ในระบบลาดตระเวนเชิงคุณภาพ จะน�ำเทคโนโลยีด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การลาดตระเวน เช่นประมวลผล แล้วพบว่าพื้นที่ใดมี “ปัจจัยคุกคาม” ก็เพิ่มความเข้มของการลาดตระเวน ในจุดนั้น เมษายน ๒๕๕๖
เจ้าหน้าทีเ่ ผาท�ำลายปางพักผูล้ กั ลอบล่าสัตว์ หลังจากบันทึกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว (ภาพ : อุทยานแห่งชาติคลองลาน)
เมษายน ๒๕๕๖
83
ในการติดตั้งกล้องดักถ่ายภาพสัตว์ป่า เจ้าหน้าที่ ต้องลง “คลานอย่างเสือ” หรือเลียนแบบพฤติกรรม สัตว์ปา่ เพื่อตรวจสอบการท�ำงานของกล้อง
แผนที่เดินป่าถูกใช้ร่วมกับเครื่องจีพีเอส หรือเครื่องบันทึกพิกัดภูมิศาสตร์ (ภาพ : อุทยานแห่งชาติแม่วงก์)
(ภาพ : อุทยานแห่งชาติคลองลาน)
84
เมษายน ๒๕๕๖
“ก้าวต่อไปควรเป็น ก้าวที่ใช้ความรู้ น�ำวิทยาศาสตร์มา เป็นตัวจับขับเคลื่อน แล้วขยายระบบ ลาดตระเวน เชิงคุณภาพไปยัง ผืนป่าส�ำคัญ ก็จะ ยิ่งเพิ่มความหวัง ในการอนุรักษ์สัตว์ป่า และป่าไม้”
เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลจากเครื่องจีพีเอส ลงในใบรายงานการลาดตระเวนอย่าง ละเอียดอีกครั้ง < ดร. อนรรฆ พัฒนวิบูลย์ ผู้อ�ำนวยการสมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่า (WCS) ประเทศไทย เมษายน ๒๕๕๖
85
“จุดไทรย้อย” และร่องรอยหมูป่าเป็น “ปัจจัยนิเวศ” และ “ปัจจัยสัตว์ปา่ ” ตาม ล�ำดับ
จุดสังเกตในป่าถูกบันทึก ลงเครื่องจีพีเอสอย่าง เคร่งครัด ไม่ว่าจะเป็น ต้นยวนผึ้ง โป่งน�้ำ โป่งดิน เพื่อระบุพิกัด ต�ำแหน่ง เช่นเดยี วกับ การบันทึกภาพด้วย กล้องถ่ายภาพดิจิทัล 86
เมษายน ๒๕๕๖
เมษายน ๒๕๕๖
87
ข้อมูลที่ได้จากการลาดตระเวน “สอดส่องเอกซเรย์ ไปทั่วทั่งป่า” จะถูกรวบรวมน�ำมาท�ำระบบ ฐานข้อมูลการลาดตระเวนอย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อบริหารจัดการ พื้นที่อนุรักษ์ต่อไป โดยมีเป้าหมาย เพื่อเชื่อมข้อมูลในผืนป่าใหญ่ เข้าด้วยกัน
บางส่วนของภาพสัตว์ปา่ โดยใช้กล้องดักถ่ายภาพสัตว์ปา่ (camera trap) (ซ้าย) ภาพประมวลผลจากคอมพิวเตอร์โปรแกรมมิสต์ (MIST) แสดงความถี่สัมพัทธ์ของปัญหาการคุกคามใน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์และอุทยานแห่งชาติคลองลาน ช่องตารางสีเ่ หลีย่ มหรือ “กริดส�ำรวจ” สีแดงและสีสม้ คือ บริเวณที่พบการคุกคามมาก
88
เมษายน ๒๕๕๖
[ภาพ : กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื และกองทุนสัตว์ปา่ โลกสากล (WWF) ประเทศไทย]
เมษายน ๒๕๕๖
89
อช. คลองวังเจ้า
อช. คลองลาน
โฉมหน้าของ “เสือโคร่ง ๓ ป่าอนุรักษ์” เสือโคร่งตัวเดียวกันที่ถูกบันทึกภาพไว้ได้ใน ๓ พื้นที่อนุรักษ์ของป่าตะวันตก ได้แก่ เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ปา่ ห้วยขาแข้ง (๗ เมษายน ๒๕๕๔) อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ (๙ มกราคม ๒๕๕๕) และอุทยานแห่งชาติคลองลาน (๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๕) ซึ่งมีระยะห่างรวมกันนับ ๖๐ กิโลเมตร นับเป็นเสือโคร่งที่มีอาณาเขตหากินกว้างไกล [ภาพ : กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล (WWF) ประเทศไทย]
ขสป. อุ้มผาง
อช. แม่วงก์
ขสป. ทุง่ ใหญ่นเรศวร (ออก)
90
เมษายน ๒๕๕๖
ขสป. ห้วยขาแข้ง
เมษายน ๒๕๕๖
91
smart patrol ranger
สมาร์ ต พาโทรลเรนเจอร์ กั บ เช้ า วั น ใหม่ กลางพงไพรอุ ท ยานแห่ ง ชาติคลองลาน
วิทยาการเพื่อ “ชีวิต” ภารกิจผู้พิทักษ์ป่า ยุคใหม่
92
เมษายน ๒๕๕๖
เมษายน ๒๕๕๖
93