หลวงพ่อ
ทวด เหยียบน�้ำทะเลจืด พระเครื่อง เรื่องเล่า ต�ำนานความศักดิ์สิทธิ์
เรื่อง : วีระศักร จันทร์ส่งแสง ภาพ : สกล เกษมพันธุ์
58 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
หลวงพ่อทวด หรือสมเด็จเจ้าพะโคะ ตามบันทึกทางประวัติศาสตร์คือพระภิกษุผู้ใหญ่สมัยกรุงศรี อยุธยาทีเ่ ป็นผูน้ ำ� ทางศาสนาและมีอำ� นาจทางการปกครองหัวเมืองแถบทะเลสาบสงขลาเทียบเท่า เจ้าเมือง โดยมีศนู ย์กลางอยูท่ วี่ ดั พะโคะ กระทัง่ อีก ๓๐๐-๔๐๐ ปีหลังจากนัน้ มีการสร้างพระเครือ่ ง “หลวงพ่อทวดเหยียบน�้ำทะเลจืด” ขึ้นที่วัดช้างให้ และเขียนต�ำนานว่าเป็นองค์เดียวกับสมเด็จ เจ้าพะโคะ จากนั้นมาเรื่องราวความศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์ของหลวงพ่อทวดก็เป็นที่ เล่าขานและเคารพบูชามาจนปัจจุบัน ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ นิตยสารสารคดี
59
สถานทีใ่ นต�ำนานชีวิต ช่วงวัยเยาว์ของหลวงพ่อทวด เมื่อ ๔๐๐ กว่าปีก่อน ปรากฏเป็น อนุสรณ์อยู่ในปัจจุบัน ที่ต�ำบลชุมพล อ�ำเภอสทิงพระ (สงขลา) ภาพซ้ายบน-ต้นเลียบที่ว่าเป็นที่ ฝังรกของท่าน ปัจจุบันเป็นที่ตั้ง ส�ำนักสงฆ์ต้นเลียบ บน-ท้องทุ่งที่พญางูมาขดพันเปลแล้วคาย ดวงแก้วไว้ให้ มีการสร้างประติมากรรม จ�ำลองไว้ที่ส�ำนักสงฆ์นาเปล ซ้าย-วัดดีหลวง วัดเก่าแก่สมัย กรุงศรีอยุธยา ตามต�ำนานว่า หลวงพ่อทวดบวชเณรที่วัดนี้ 60 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
เมื่อยังแบเบาะแม่พาไปนาด้วย ผูกเปลให้นอนใต้ต้นหว้า แม่ ลงเก็บเกีย่ วข้าวในนา เมือ่ หยุดพักเหนือ่ ยขึน้ มาจะกินน�้ำ เห็น งูขดพันเปลลูกอยูก่ ต็ กใจร้องโวยวายให้สามีมาช่วย ข้างพ่อมา เห็นว่างูไม่ได้ทำ� ร้ายลูก ก็เชือ่ ว่าเป็นพญางูศกั ดิส์ ทิ ธิ ์ จึงจัดหา ดอกไม้ธูปเทียนมาบูชา ชั่วครู่งูก็เลื้อยไป เมื่อเข้าไปดูลูก ในเปลก็พบแก้วดวงหนึ่งที่พญางูคายไว้ให้ ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ นิตยสารสารคดี
61
การกลับสูบ่ า้ นเกิดของสมเด็จพระราชมุนฯี ไม่ได้ใช้ทางเรืออย่างที่ พระภิกษุปเู ดินทางมา แต่เป็นการจาริกรุกขมูลตามทางบก เลาะ ไปริมฝั่งทะเลอ่าวไทย จุดพักตามเส้นทางจาริกกลับบ้านเกิด ของสมเด็ จ พระราชมุ นี ฯ ต่ อ มากลายเป็ น สถานที่ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ ์ เป็นที่สักการบูชาของผู้คนมาจนทุกวันนี้ (บน) วัดสีหยัง ใกล้ชายทะเลระโนด (สงขลา) ห่างจากวัดดีหลวงราว ๓ กิโลเมตร ตามต�ำนานว่า หลังบรรพชาและรับการศึกษาชั้นต้นแล้ว หลวงพ่อทวด มาเรียนธรรมบทกับพระชินเสนที่วัดนี้ ซึ่งแต่เดิมมีคูน�้ำ ล้อมรอบวัด แต่ทุกวันนี้เหลือร่องรอยอยู่เพียง ๒ ด้าน (ขวา) สถานทีใ่ ดมีตำ� นานกล่าวว่าเกีย่ วข้องกับหลวงพ่อทวด ก็มักมีการสร้างอนุสรณ์เกี่ยวกับองค์ท่านขึ้นมาในที่นั้น อย่างที่วัดประสาทบุญญาวาส ย่านท่าน�้ำสามเสน กรุงเทพฯ ที่ว่าท่านเคยธุดงค์มาพักบ�ำเพ็ญภาวนา หรือที่วัดแค (ราชานุวาส) บนเกาะลอยนอกก�ำแพงเมือง อยุธยา (ในภาพซ้าย) ที่ท่านเคยพ�ำนักจ�ำพรรษา
62 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ นิตยสารสารคดี
63
วัดพะโคะ ในอดีตคือศูนย์กลางของชุมชนและวัดรอบทะเลสาบสงขลา
โดยได้รับพระราชทานกัลปนาจากกษัตริย์กรุงศรีอยุธยา หลวงพ่อทวดเคยเป็นเจ้าอาวาสวัดนี้ และได้พัฒนาบูรณะวัดโดยช่างหลวง และศิลาแลงที่ขนใส่เรือส�ำเภามาจากกรุงศรีอยุธยา ส่วนภาพล่าง เป็นภายในวิหารที่เก็บลูกแก้วและไม้เท้า ๓ คดของหลวงพ่อทวด และเป็นที่เช่าบูชาวัตถุมงคล
การพระราชทานกัลปนาแก่วดั ต่างๆ รอบทะเลสาบสงขลา นอกจาก ที่ดิน ทรัพย์สิน และผู้คนแล้ว พระมหากษัตริย์ยังทรงให้อ�ำนาจ แก่พระสงฆ์อีกด้วย เนื่องจากบริเวณนี้อยู่ไกลจากราชธานีมาก การให้อ�ำนาจแก่พระสงฆ์เป็นการคานอ�ำนาจฝ่ายบ้านเมืองใน ท้ อ งถิ่ น ยามมี ศึ ก สงคราม หากเจ้ า เมื อ งมี ก� ำ ลั ง ไม่ ม ากพอ ทางกรุงศรีอยุธยาก็อนุญาตให้ผู้น�ำสงฆ์ท�ำหน้าที่เป็นผู้น�ำทัพ อีกฝ่ายหนึ่งด้วย
ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ นิตยสารสารคดี
65
วันหนึ่งขณะท่านเดินถือไม้เท้า ๓ คดอยู่แถวริมทะเล โจรสลัดจีน ก็จับตัวท่านลงเรือไป แต่ออกห่างฝั่งไปไม่ไกลก็เกิดเหตุอัศจรรย์ เรือแล่นไปต่อไม่ได้ แก้ไขอย่างไรก็ยังหยุดนิ่งอยู่กับที่อย่างนั้น ผ่านไปหลายวันจนเสบียงและน�้ำจืดในเรือหมด พวกโจรทรมาน วุ่นวายด้วยความกระหายน�้ ำ สมเด็จเจ้าพะโคะยื่นเท้าออกไป เหยียบบนผิวน�้ ำทะเล แล้วบอกให้พวกโจรตักน�้ ำนั้นขึ้นมาชิม ก็ปรากฏว่าเป็นน�้ำจืด
66 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
ทะเลสทิงพระ ในต�ำนานว่าเป็นที่สร้างต�ำนานเหยียบน�้ำทะเลจืด ในช่วงปัจฉิมวัย ก่อน “โละ” หายไปจากวัดพะโคะ เหลือไว้แต่รอยเท้าบนแผ่นศิลาในภาพขวา กับดวงแก้วของพญางู ในภาพขวาล่าง
ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ นิตยสารสารคดี
67
หลวงพ่อทวดมีชีวิตอยู่ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งโลกยังไม่มี เทคโนโลยีในการบันทึกภาพ รูปลักษณ์หน้าตาของท่านที่เห็น จากพระเครื่องหรือประติมากรรมที่เกิดขึ้นในชั้นหลังซึ่งกินเวลา ห่างกันหลายร้อยปี ล้วนเป็นภาพจากนิมิตที่ว่ากันว่าท่านแสดง อภินิหารให้เห็น
68 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
“เขื่อนท่านช้างให้”
หรือสถูปบรรจุอัฐิหลวงพ่อทวด ริมทางรถไฟหน้าวัดช้างให้ ต้นต�ำนานที่มาของพระเครื่องและสมญานาม “หลวงพ่อทวดเหยียบน�้ำทะเลจืด”
ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ นิตยสารสารคดี
69
ตามต�ำนานหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่า หลวงพ่อทวด หรือ สมเด็จพระราชมุนีฯ เป็นผู้มีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก เป็นพระสงฆ์ผู้มีบทบาทส�ำคัญในการสร้างชุมชนพุทธแถบรอบ ทะเลสาบสงขลา เป็นศูนย์รวมทางจิตใจของชาวบ้าน และเป็น ผู้น�ำส�ำคัญในการบูรณะวัดและก่อสร้างศาสนสถานในแถบสอง ฟากฝั่งทะเลสาบ อีกทั้งยังเชื่อกันว่าท่านคือองค์พระโพธิสัตว์ ศรีอริยเมตไตรย
นอกจากพระเครื่องแขวนคอและบูชาตามบ้านเรือน ในช่วงหลังมานี้ยังมีการสร้างหลวงพ่อทวดองค์ใหญ่ขึ้นในที่ต่างๆ เป็นที่นิยมแวะสักการะของบรรดากลุ่มทัวร์ อย่างที่วัดห้วยมงคล อ�ำเภอหัวหิน (ประจวบคีรีขันธ์) ส่วนที่พุทธอุทยานมหาราช ริมถนนสายเอเชีย ในอ�ำเภอมหาราช (อยุธยา) ก�ำลังอยู่ในระหว่างก่อสร้าง ดังที่เห็นในภาพบนนี้ 70 นิตยสารสารคดี ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
ฉบับที่ ๓๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ นิตยสารสารคดี
71