กรรม-บัง-กฎ แปลกจริงวิทยาศาสตร์

Page 1

เรื่องจริงที่วิทยาศาสตรอธิบายได และะ (ยัง) ไมได แปลกจริง วิทยาศาสตร

เชื่อไหม การเวียนวายตายเกิดก็เปนวิทยาศาสตร จริงหรือที่นอสตราดามุสรูเหตุการณ 911 ตั้งแตเมื่อกวา 400 ปกอน คาถาพอมดนอย แฮรรี่ พอตเตอร ในโลกความจริง ซานตาคลอสตองใชพลังงานเทาไรจึงจะแจกของขวัญไดครบ กฎแหงกรรม กับมุมมองทางวิทยาศาสตร ถนัดขวา ถนัดซาย ใครไดใครเสีย เซ็กซสำคัญไฉน

ดร. นำชัย ชีววิวรรธน

หมวดวิทยาศาสตร

ISBN 978-974-484-301-2

ราคา 170 บาท

170.-

ดร. นำชัย ชีววิวรรธน

แปลกจริง วิทยาศาสตร


หนังสือ  กรรม-บัง-กฎ  แปลกจริงวิทยาศาสตร์ ผู้เขียน  ดร. น�าชัย ชีววิวรรธน์ © สงวนลิขสิทธิ์โดยส�านักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด ห้ามการลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต

พิมพ์ครั้งที่ 1 มีนาคม 2553  จ�านวนพิมพ์  4,000 เล่ม ราคา 170 บาท ข้อมูลบรรณำนุกรม น�าชัย ชีววิวรรธน์. กรรม-บัง-กฎ แปลกจริงวิทยาศาสตร์.-- กรุงเทพฯ : สารคดี, 2553.     208 หน้า.  1. วิทยาศาสตร์ทั่วไป.  I. ชื่อเรื่อง. 500 ISBN 978-974-484-301-2

คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการเล่ม : ปณต ไกรโรจนานันท์  ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นฤมล สุวรรณอ่อน ออกแบบปก/รูปเล่ม : ชาญศักดิ์ สุขประชา  พิสูจน์อักษร : นวลจันทร์ ศรีแก้ว  ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ จัดพิมพ์  ส�านักพิมพ์สารคดี (ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด) จัดจ�ำหน่ำย  บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด 28, 30 ถนนปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทร. 0-2281-6110 (อัตโนมัติ) โทรสาร 0-2282-7003 เพลต  เอ็นอาร์ฟิล์ม โทร. 0-2215-7559 พิมพ์  โรงพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ โทร 0-2433-7704 ส�ำนักพิมพ์สำรคดี ผู้อ�านวยการ : สุวพร ทองธิว  ผู้จัดการทั่วไป : จ�านงค์ ศรีนวล ที่ปรึกษากฎหมาย : สมพจน์ เจียมพานทอง ผู้อ�านวยการฝ่ายการตลาด/โฆษณา : ปฏิมา หนูไชยะ ผู้อ�านวยการฝ่ายศิลป์/ฝ่ายผลิต : จ�านงค์ ศรีนวล ผู้จัดการฝ่ายตลาด : พิเชษฐ ยิ้มถิน  ที่ปรึกษาส�านักพิมพ์ : สุดารา สุจฉายา บรรณาธิการส�านักพิมพ์ : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ

AW1 1-104.indd 2

11/3/2010 18:48


3

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

จำกส�ำนักพิมพ์ นิพพาน การเวียนว่ายตายเกิด กฎแห่งกรรม เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์  อย่างไร   หากมองแต่เพียงผิวเผินแล้ว สัจธรรมดังกล่าวไม่น่าจะเกี่ยวข้อง  กับวิทยาศาสตร์ตรงไหน  แต่สิ่งหนึ่งที่คนทั่วไปอาจนึกไม่ถึงก็คือ จริง ๆ  แล้ว วิทยาศาสตร์เป็นการเรียนรู้สัจธรรมของชีวิต  ดังนั้นหากเราน�า  แก่นของวิทยาศาสตร์ อันได้แก่ กระบวนการคิดวิเคราะห์และพิสูจน์  อย่างเป็นระบบ มาเป็นเครือ่ งมือในการพิจารณาสัจธรรมต่าง ๆ ปัญญาที่  เกิดอาจช่วยให้เราเข้าใจชีวิตได้ดีขึ้น   กรรม-บัง-กฎ แปลกจริงวิทยาศาสตร์เล่มนี้ ดร. น�าชัย ชีว-  วิวรรธน์ ได้หยิบสัจธรรมที่เราคิดว่าเราเข้าใจกันดี เช่น การนิพพาน  การเวียนว่ายตายเกิด มาพิจารณาด้วยมุมมองทางวิทยาศาสตร์ได้อย่าง  น่าสนใจ  นอกจากนี้เรื่องสนุก ๆ อย่างนิยายขายดี แฮร์รี่ พอตเตอร์  กระทั่งเรื่องแปลก ๆ อย่างอาถรรพ์เลข 11 ในเหตุการณ์ก่อการร้าย  เมือ่ วันที ่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 ก็มมี มุ มองทางวิทยาศาสตร์ทน่ี า่ สนใจ  ไม่แพ้กัน   เมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้จบแล้ว ส�านักพิมพ์สารคดีขอเชิญชวนคุณ  ผูอ้ า่ นลองหยิบยกสัจธรรมเรือ่ งอืน่  หรืออาจเป็นเรือ่ งธรรมดา ๆ ทีพ่ บเห็น  ในชีวิตประจ�าวัน มามองในมุมของวิทยาศาสตร์ดูบ้าง สิ่งที่ท่านค้นพบ  อาจน�ามาประยุกต์ให้เป็นประโยชน์แก่ตนเองได้บ้างไม่มากก็น้อย ส�านักพิมพ์สารคดี

AW1 1-104.indd 3

11/3/2010 18:48


4

กรรม-บัง-กฎ

พิของลุนงยั ซำนตำคลอส กรรม ปัญหำข้อหนึง่ ทีผ่ มพบอยูเ่ สมอก็คอื  เด็กนักเรียนไทยมักบ่น (ทัง้ ทำง  วาจาและผ่านเว็บบอร์ด) ว่า “วิทยาศาสตร์” เป็นเรือ่ งเข้าใจยาก น่า  เบือ่  แถมยังเต็มไปด้วยศัพท์แสงยุง่ ยากรกรุงรังเต็มไปหมด  แต่ทแี่ ย่  ยิ่งไปกว่านั้นก็คือ บางคนมองว่า ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เรียนใน  ห้องเรียนไม่มีความสัมพันธ์ใด ๆ กับสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจ�าวันอีก  ต่างหาก ท�าให้รู้สึกว่าไม่รู้ว่าจะเรียนไปท�าไม เจ้าวิชาวิทยาศาสตร์  เนี่ย !   ในหนังสือเล่มนี้ ผมขออาสาน�าทุกท่านกลับมานั่งคิดทบทวน  และพินจิ พิจารณาถึงสิง่ ละอันพันละน้อยในชีวติ ประจ�าวันของเราเอง  ในแบบที่ผมเรียกว่าเป็นการ “ชี้นกชมไม้ในสวนวิทยาศาสตร์หลัง  บ้าน” ของเรานี่เอง เพื่อที่แต่ละคนจะได้มีโอกาสเห็นมุมมองใหม่ ๆ

AW1 1-104.indd 4

11/3/2010 18:48


5

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

และมีโอกาสได้มองเห็นความจริงเพิ่มขึ้นอีกอย่างหนึ่งว่า นอกจาก  วิทยาศาสตร์จะไม่ใช่วิชาเรียนที่น่าเบื่อแล้ว วิทยาศาสตร์ยังอยู่ใกล้  ตัวของเรามาก และหากเราเรียนวิทยาศาสตร์อย่างพินิจพิจารณา  แล้ว มันก็อาจเป็น “เครือ่ งมือ” ทีช่ ว่ ยให้เราได้ “เข้าใจโลกและเข้าใจ  ชีวิต” ได้อย่างที่มันเป็นอยู่จริง ๆ มากยิ่งขึ้น และยังอาจเป็น “ค�า  ตอบ” ส�าหรับการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่พบเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน และ  เป็น “กุญแจ” ทีส่ ามารถช่วยไขสูค่ วามจริงในอดีตและช่วยแย้มภาพ  ของโลกอนาคตได้อีกทางหนึ่งด้วย    คงจะถือว่าหนังสือเล่มนีป้ ระสบความส�าเร็จอย่างงดงาม หาก  ผู้อ่านตระหนักว่ากระบวนการเรียนวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการ  ศึกษาเพือ่ เข้าใจชีวติ ของเราเอง โดยทีท่ งั้ ตัวของกระบวนการเองและ  ชีวติ ทีเ่ ป็นเป้าหมายของการศึกษา ต่างก็เต็มไปด้วยความงดงามและ  ชวนสนเท่ห์เป็นที่สุด !   หากคุณลุงซานตาคลอสยังมีชีวิตอยู่ และต้องการเขียนพินัย  กรรมเผื่อไว้แล้วละก็ … แกก็อาจอยากเขียนขอให้คนที่ยังอยู่เบื้อง  หลัง ได้ชว่ ยกันท�าตามค�าขอของเด็กชายชาวไทยคนหนึง่ ทีข่ อไว้เมือ่   เกือบ 30 ปีทแี่ ล้ว ให้สงั คมไทยเป็นสังคมใฝ่รแู้ ละสังคมใฝ่ดี และแก  ก็อาจเชื่อเหมือนเด็กชายคนที่ว่าซึ่งบัดนี้เข้าสู่วัยกลางคนแล้วว่า …   ควำมรู้และกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์นี่เองที่น่ำจะเป็น  หนึ่งในวิธีกำรที่ช่วยให้คนไทยเข้ำใกล้และเข้ำใจ “ควำมจริง” ตำม  ธรรมชำติได้ดีที่สุด

AW1 1-104.indd 5

11/3/2010 18:48


6

กรรม-บัง-กฎ

สำรบัญ  7  นิพพานยุคดิจิทัล 25  วิทยาศาสตร์ของการเวียนว่ายตายเกิด 39  กฎแห่งกรรม   61  ความบังเอิญ หรือใครก�าหนด? 87  ปริศนาเลข 11 อาถรรพ์ 911 105  ไขคาถาพ่อมดน้อย แฮร์รี่ พอตเตอร์  125  โศกนาฏกรรมของซานตาคลอส  140  ถนัดขวา VS ถนัดซ้าย 153  โลกนี้ไม่อาจขาดเซ็กซ์  185  ปฏิบัติการตามล่าหาชีวิตสุดขอบจักรวาล

AW1 1-104.indd 6

11/3/2010 18:48


7

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

1

นิพพำนยุค

เมือ่ ตอนอำยุยงั น้อยอยู ่ ผมเคยอ่ำนหนังสือหลำยเล่มทีท่ ำ่ นพุทธทำส รจนาไว้  จ�าได้ว่าท่านเคยระบุไว้ว่า เรื่องการเข้าถึง “นิพพาน” นั้น ไม่จา� เป็นต้องรอให้ถงึ ชาติหน้าหรือชาติไหนดังทีห่ ลายคนเข้าใจ ท่าน ว่าถึงแม้ปัจจุบันนี้ตอนนี้เลยเราก็เข้าถึงนิพพานได้ แต่เป็นนิพพาน แบบสั้น ๆ ไม่คงทนถาวร เพราะจิตเรามักจะตกกลับไปอยู่ที่ภาวะ การปรุงแต่งที่ท�าให้เกิด “ตัวกูของกู” ขึ้นเสมอในช่วงพริบตาเดียว   ท่านเรียกนิพพานแบบสั้น ๆ นี้ว่าเป็น “นิพพานชิมลอง”    นับเป็นการน�านิพพานให้เข้ามาถึงชีวิตใน “ปัจจุบันขณะ” อย่างที่ผมไม่เคยได้ยินได้ฟังจากที่อื่นใดมาก่อนเลย  แต่ความ ที่ตั้งแต่เป็นเด็กเล็ก ๆ แล้วที่ผมสนใจเรื่องทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมาก ขณะที่เรียนวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อยมา ก็พยายาม

AW1 1-104.indd 7

11/3/2010 18:48


8

กรรม-บัง-กฎ

แสตมป์ร�ำลึก เนื่องในโอกำสพุทธทำส 100 ปี

หาทาง “เชื่ อ มโยง” ว่ า  มี สิ่ ง ใดที่ อ าจใช้ อ ธิ บ ายความจริ ง หรื อ  “สัจธรรม” ทางศาสนาได้บ้างหรือไม่   ผมเคยสงสัยอยู่บ่อย ๆ ว่าเวลาคนเรียนวิชาวิทยาศาสตร์กัน  จะมี ใ ครเคยรู ้ สึ ก บ้ า งไหมครั บ ว่ า อั น ที่ จ ริ ง แล้ ว เราก� า ลั ง เรี ย นรู ้  “สัจธรรมของชีวิต” ผ่านกระบวนการหรือวิธีการจ�าเพาะแบบหนึ่ง  ซึง่ จะว่าไปแล้วก็นา่ จะเป็นคนละเรือ่ งกับการเรียนเพือ่ ท่องจ�าสูตรหรือ  ข้อมูลเพื่อน�าไปใช้ในการสอบเอ็นทรานซ์ (สอบเข้ามหาวิทยาลัย)  อันที่จริงสูตรหรือข้อมูลพวกนั้นโดยจุดประสงค์จริง ๆ แล้วผมเชื่อ  ว่าเราเรียนเพื่อให้มีรากฐานมากพอที่จะคิดต่อได้นะครับ ตัวสูตร  หรือข้อมูลเหล่านี้ ไม่จ�าเป็นว่าจะต้องเป็นสิ่งที่ถูกต้องตายตัวหรือ  เปลี่ยนแปลงไม่ได้แต่อย่างใด และน่าจะเป็นเพียงส่วนหนึ่งของ  ความรู้ที่ได้จากกระบวนการทางวิทยาศาสตร์   ส่วนทีส่ า� คัญและเป็นประโยชน์มากกว่าและน่าจะเป็น “แก่น”  ของวิทยาศาสตร์ น่าจะได้แก่ตัวกระบวนการคิดและวิธีการตรวจ  สอบและพิสูจน์สิ่งต่าง ๆ อย่างเป็นระบบและประจักษ์แจ้งเห็นจริง  มากกว่า   อัน ที่จริงแล้ว ยังมีอีกส่วนหนึ่งของวิทยาศาสตร์ที่มีความ  ส�าคัญและน่าสนใจมาก ๆ แต่คนไทยยังไม่ค่อยมีการพูดถึงกัน

AW1 1-104.indd 8

11/3/2010 18:48


9

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

มากนัก นัน่ ก็คอื  ความสามารถในการเข้าใจในธรรมชาติของสรรพ-  สิ่ง และความสามารถที่จะท�านายความเป็นไปในเรื่องราวต่าง ๆ   ฟังดูออกจะเป็น “นามธรรม” มากใช่ไหมครับ  แต่ผมมี  ตัวอย่างให้ดูเยอะเลย  ลองมาดูกันหน่อยไหมครับว่า วิทยาศาสตร์  ช่วยให้เรารูแ้ ละเข้าใจชีวติ มากขึน้ ได้อย่างไร และอาจน�ามาประยุกต์  ให้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้อย่างไร จนถึงขั้นอาจน�าไปใช้  อธิบายเรื่อง “นิพพาน” ซึ่งเป็นเรื่องจ�าเพาะในทางพุทธศาสนาที ่ ไม่พบในศาสนาอื่นได้อย่างไร   ขอเริ่มจากกฎทางฟิสิกส์ที่รู้จักกันกว้างขวางแพร่หลายที่สุด  ในโลกกฎหนึ่งก็แล้วกันนะครับ   เวลาเรียนกฎการเคลือ่ นทีข่ อ้ ที ่ 1 ของนิวตัน หรือทีน่ ยิ มเรียก  ว่าเป็นหลักการของความเฉื่อยนั้น มีใครเคยโยงกฎดังกล่าวกับชีวิต  ประจ�าวันจริง ๆ ของเราบ้างไหมครับ  ขอทบทวนหน่อยนะครับว่ากฎ  ข้อดังกล่าวระบุว่า หากวัตถุอะไรก็ตามอยู่ในสถานะหยุดนิง่ อยูก่ บั ที ่ หรือก�าลังเคลื่อนที่แบบไม่มีความเร่ง (คือเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว  คงที่) เป็นเส้นตรง วัตถุเหล่านี้จะพยายามรักษาสภาพดังกล่าวไว้  จนกว่าจะมีแรงจากภายนอกมากระท�า ไอแซก นิวตัน บนแสตมป์เยอรมัน (ล่ำงขวำ)  และบนหลังธนบัตร 1 ปอนด์ของอังกฤษ (ล่ำง)

AW1 1-104.indd 9

11/3/2010 18:48


38

กรรม-บัง-กฎ

F A C T  F I L E

ลาวัวซิเอร์ (Lavoisier) นักเคมีชาวฝรัง่ เศสเป็นผูต้ งั้ ชือ่ ธาตุออกซิเจน  (สะกดเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า oxygine)  เขาค้นพบว่า ในการเผาไหม้สาร  ต่าง ๆ นั้น จะมีการรวมตัวกันทางเคมีระหว่างสารชนิดนั้น ๆ กับก๊าซชนิด  หนึ่งในอากาศ ซึ่งก็คือ ออกซิเจน นั่นเอง   ชื่อก๊าซออกซิเจนเกิดจากการผสมค� ากรีกสองค�า คือค�าว่า oxys  แปลว่า แหลม และ –genes แปลว่า ให้ก�าเนิด เกิดเป็นความหมายว่า  “สิ่ ง ที่ ท� าให้ เ กิ ด รสแหลม (ก็ ร สเปรี้ ย วนั่ น แหละครั บ )” เนื่ อ งจากเมื่ อ พบ  ออกซิเจนใหม่ ๆ นั้น เชื่อกันว่าธาตุชนิดนี้น่าจะมีอยู่ในกรดทุกชนิด ซึ่งต่อมา  ก็พบว่าเรื่องนี้ผิดเพราะอันที่จริงธาตุที่พบในกรดคือไฮโดรเจนต่างหาก

ลำวัวซิเอร์ กับอิริยำบถแบบที่ไม่พบเห็นกันบ่อยนัก ในบรรดำภำพวำดนักวิทยำศำสตร์

AW1 1-104.indd 38

11/3/2010 18:48


39

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

3

กฎแห่ง คุณคิดว่ำเรื่องบังเอิญมำกที่สุดในชีวิตของคุณคือเรื่องอะไร   ถ้าคุณคิดว่าเรื่องดังกล่าวบังเอิญมากแล้วละก็ … ลองอ่าน เรื่องนี้ดูก่อน แล้วค่อยตัดสินใจกันใหม่อีกที  ในฐานะคนไทยที่ นับถือศาสนาพุทธคนหนึง่  ผมจะไม่แปลกใจเลยถ้ามีใครคิดว่าเรือ่ งนี้ ไม่ใช่เรื่องของความบังเอิญ แต่เป็นเรื่องของกฎแห่งกรรมต่างหาก   ในคืนวันหนึ่ง ปี ค.ศ. 1994 ภายในงานเลี้ยงอาหารค�่าของ งานประจ�าปีที่มีสมาคมนิติวิทยาศาสตร์แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเจ้าภาพและจัดขึ้นที่เมืองซานดิเอโก คุณดอน ฮาร์เปอร์ มิลส์ (Don Harper Mills) ประธานสมาคมได้ ท� าให้ ผู ้ เ ข้ า ร่ ว มงาน ในวันนั้นประหลาดใจไปตาม ๆ กัน เมื่อท่านได้เล่า “เรื่องจริง” ของ การตายของชายผู้หนึ่ง และสาเหตุการตายของเขาที่อาจนับได้ว่า

AW1 1-104.indd 39

11/3/2010 18:48


40

กรรม-บัง-กฎ

พิลึกพิลั่นที่สุดเรื่องหนึ่งที่เคยมีมา เรื่ อ งมี อ ยู ่ ว ่ าในวั น ที่  23 มี นาคมของปี นั้ น เอง แพทย์ ไ ด้  ชันสูตรศพชายผู้หนึ่งที่ชื่อ โรนัลด์ โอปุส (Ronald Opus) และได้  วินิจฉัยว่าเขาเสียชีวิตเนื่องจากบาดแผลที่ศีรษะ บาดแผลดังกล่าว  ได้มาเนื่องจากผู้ตายได้กระโดดจากยอดตึกสูง 10 ชั้นเพื่อพยายาม  ฆ่าตัวตาย โดยที่เขาได้ทิ้งบันทึกแสดงความสิ้นหวังและหมดอาลัย  ตายอยากในชีวิตจนต้องนึกอยากฆ่าตัวตายไว้ด้วย   แต่ขณะที่ร่างของเขาตกลงมาผ่านชั้นที ่ 9 นั่นเอง วิญญาณ  ของเขาก็ต้องหลุดลอยจากร่างอย่างกะทัน หันไปก่อนตกถึงพื้น  เนื่องจากถูกลูกกระสุนจากปืนสั้นซึ่งยิงทะลุผ่านหน้าต่างออกมา  โดนบริเวณศีรษะของเขาอย่างจัง  ทั้งคนที่ยิงปืนและผู้ตายต่าง  ก็ ไม่รู้ว่า มีตาข่ายที่ขึงป้องกันอันตรายติดตั้งอยู่บนตึกนั้นบริเวณ  ชั้ น ที่  8 เพื่ อ ป้ อ งกั น ในกรณี ที่ พ นั ก งานเช็ ด กระจกเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ  ซึ่งผลก็คือ นายโอปุสฆ่าตัวตายไม่ส�าเร็จ แต่ต้องมาตายเพราะถูก  ยิงจากปืนสั้นดังกล่าวแทน

AW1 1-104.indd 40

11/3/2010 18:48


41

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

ปกติแล้วหากความพยายามในการฆ่าตัวตายนั้นท�าได้ส�าเร็จ  แม้ว่าจะมีเหตุอื่นใดมาเกี่ยวข้องก่อนหน้านั้นในลักษณะที่เขาไม่ได้  วางแผนไว้ก็ตาม เช่น ในกรณีของนายโอปุสนี้ หากว่าร่างกายของ  เขาตกลงมาทีพ่ นื้ ท�าให้เขาตายตามทีต่ งั้ ใจไว้ การทีเ่ ขาถูกยิงระหว่าง  ทางที่บริเวณชั้น ที่ 9 ก็จะไม่มีผลเปลี่ยนแปลงให้การฆ่าตัวตาย  กลายไปเป็นการฆาตกรรมโดยผู้อื่นไปได้   แต่ขอ้ เท็จจริงก็คอื นำยโอปุสฆ่ำตัวตำยไม่สำ� เร็จ ท�ำให้แพทย์  ต้องสรุปว่ำกรณีนี้น่ำจะถือว่ำเป็นกำรฆำตกรรม !   เมื่อพนักงานสอบสวนตรวจสอบต่อไปก็พบว่า ผู้ที่พักอยู่  ชั้น ที่ 9 และเป็นผู้ที่ยิงปืนสั้น นั้นคือชายสูงอายุผู้หนึ่ง  ชายผู้นั้น  ก�าลังทะเลาะกับภรรยาและยกปืนขึน้ ขูภ่ รรยา ชายผูน้ นั้ เพียงต้องการ  ขู่ ไม่ได้มีเจตนาจะยิงภรรยาแต่อย่างใด  แต่เมื่อใช้นิ้วเหนี่ยวไก  ออกไปด้วยความเคยชิน เขาก็พบว่ามีลูกปืนยิงทะลุหน้าต่างออกไป  และลูกปืนลูกดังกล่าวนี่เองที่เดิน ทางไปปลิดชีพนายโอปุสอย่าง  พอดิบพอดี   ปกติแล้วในทางกฎหมาย หากคุณต้องการฆ่านาย A แต่  ปรากฏว่ า ไปท� า ให้ นาย B ตาย คุ ณ จะมี ค วามผิ ด ฐานฆ่ า นาย  B แทน  ในกรณีนี้ ชายสูงอายุก็ถูกตั้งข้อหาว่าเป็นผู้สังหารนาย  โอปุสในลักษณะดังกล่าว (ส่วนจะเจตนาหรือไม่เป็นอีกเรื่องหนึ่ง)  แต่เขาและภรรยาต่างก็ยืนกรานอย่างหนักแน่นว่า ต่างก็ ไม่รู้ว่า  ปืนสัน้ ดังกล่าวมีกระสุนบรรจุอยู ่ ชายสูงอายุกล่าวว่าเป็นนิสยั ไม่ดที ี่  ติดตัวมานานแล้วที่เขาจะน�าปืนที่ไม่มีกระสุนออกมาขู่ผู้เป็นภรรยา  เมื่อทะเลาะกัน เขาไม่ได้มีความต้องการจะสังหารหล่อน   ดั ง นั้ น การสั ง หารนายโอปุ ส นี้ ดู เ หมื อ นจะเป็ น เรื่ อ งของ  อุบัติเหตุโดยแท้ … นั่นก็คือ เป็นเรื่องบังเอิญที่ปืนดังกล่าวมีลูกปืน

AW1 1-104.indd 41

11/3/2010 18:48


44

กรรม-บัง-กฎ

บันทึกเหตุกำรณ์รูปแบบกำรเสียชีวิตแบบต่ำง  ๆ

จ�ำนวน

เหตุกำรณ์หรือสำเหตุ

ผู้เสียชีวิต

1

ปี พ.ศ. 847 ทหารโรมันประหารชีวิตนักบุญแพนทาลีออนโดยการตัด  ศีรษะ หลังจากที่ใช้วธิ กี ารประหารแบบอืน่  ๆ อีกหกแบบ … แต่ไม่สา� เร็จ

1

ปี พ.ศ. 2100 ในเมือง Saint Quentin ประเทศฝรัง่ เศส มีคา� พิพากษา  ตัดสินให้สังหารสุกรตัวหนึ่งโดยการ “ฝังทั้งเป็น” หลังจากที่สุกร  ดังกล่าวกินเด็กคนหนึ่งเข้าไป

1

วันที่ 16  พ.ย. 2267  แจ็ก เชปพาร์ด  นักโทษที่ถูกตัดสิน ประหารชีวิต ถูก  ประหารชีวติ ในทีส่ ดุ  หลังจากสามารถ  หลบหนีจากที่คุมขังได้ถึงสี่ครั้ง

1

ปี พ.ศ. 2303 คิตตี้ ฟิชเชอร์ (Kitty Fisher)  หรือ เลดี้โคเวนทรี (Lady Coventry) สตรีที่  ถูกบันทึกในประวัติศาสตร์ว่าเป็นโสเภณี ใน  แวดวงไฮโซของลอนดอนทีง่ ดงามเป็นทีส่ ดุ  ได้  กลายเป็นสุภาพสตรีคนแรกที่เปิดศักราชใหม่  ของการเสียชีวติ จากเครือ่ งส�าอาง เธอเสียชีวติ   จากตะกั่วที่ปนอยู่ในแป้งผัดหน้า

ภำพวำด คิตตี้ ฟิชเชอร์ กับนกแก้ว ฝีมือ  โจชัวร์ เรโนลด์

AW1 1-104.indd 44

11/3/2010 18:49


45 จ�ำนวน

ผู้เสียชีวิต

AW1 1-104.indd 45

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

เหตุกำรณ์หรือสำเหตุ

1

ปี พ.ศ. 2449 ชายไม่ปรากฏชือ่ เสียชีวติ จากวิสกีแ้ บบที่ไม่เคยมีใครเสีย  ชีวิตแบบเขามาก่อน นั่นก็คือ เขาตายจากวิสกี้ร้อน ๆ 2 แสนแกลลอน  ที่ระเบิดจากเครื่องต้มขนาดใหญ่ในโรงกลั่นเมืองกลาสโกว์

1

วันที่ 30 ธ.ค. 2459 รัสปูตินถูกลอบสังหาร  เสียชีวิต  มีบันทึกการเสียชีวิตอย่างสุดแสน  จะพิ ส ดารไม่ น ่ า เชื่ อไว้ ว ่ า  กริ โ กรี   รั ส ปู ติ น  (Grigory Rasputin) เดิ น ทางมาถึ ง เมื อ ง  เซนต์ปเี ตอร์สเบิรก์ ในปี พ.ศ. 2454 และเพียง  ไม่นาน เขาก็กลายเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพล  รัสปูติน (กลำง) กับ ที่ สุ ด คนหนึ่ ง ในรั ส เซี ย ขณะนั้ น   ห้ า ปี ห ลั ง  นำยทหำรใหญ่อีกสองนำย การมาถึ ง ของเขา มี ผู ้ ที่ คิ ด ว่ า อิ ท ธิ พ ลของ  เขาเริม่ จะมีมากเกินไปจนอาจก่อปัญหาได้ จึงมีการวางแผนลอบสังหาร  โดยล่อให้เขาไปยังพระราชวังยูซูปอพสกี้ (Yusupovsky Palace)  เขาถูกหลอกให้กินเค้กและไวน์ผสมยาพิษ แต่ปรากฏว่าเขาไม่แสดง  อาการอะไรเลย  จึงมีการใช้ปืนจ่อยิงระยะใกล้ ปรากฏว่าลูกกระสุน  ไม่สามารถสังหารเขาได้อกี   เขาถูกจับขณะพยายามหลบหนีการจับกุม  เขาถูกยิงอีกครั้ง ตีซ�้าด้วยกระบองและแทงด้วยมีด กระนั้นเขาก็ยังไม่  ตาย (คนเหล็กจริง ๆ เลยครับ … ถ้าบันทึกเป็นเรื่องจริง ก็นับว่าทน  ชะมัดยาดเลย)  แต่ในทีส่ ดุ เขาก็สนิ้ ฤทธิเ์ มือ่ ถูกมัดและโยนลงไปแช่ใน  แม่น�้าที่หนาวเหน็บของช่วงฤดูหนาว (อ่านแล้วรู้สึกทรมานแทนครับ)

1

ปี พ.ศ. 2475 สมัยทีป่ า้ ยยักษ์ “ฮอลลีวดู ”  ยั ง เขี ย นเป็ น  “ฮอลลี วู ด แลนด์  (Hol-  lywoodland)”  นั ก แสดงสาว ลิ เ ลี ย น  เอนต์วิสเซิล (Lillian Entwistle) ฆ่าตัว  ตายโดยการกระโดดลงจากตัวอักษร H

11/3/2010 18:49


86

กรรม-บัง-กฎ

เหมือนกันที่จะขาดไปเสียไม่ได้ก็คือ จ�านวนของเรือช่วยชีวิตที่มีอยู่น้อยจน  ไม่เพียงพอกับจ�านวนผู้โดยสาร … อัน ที่จริง หลายคนมองว่าไม่ควรจะมี  เรือพวกนี้ด้วยซ�้าไป … ก็ไม่มีอะไรที่จะท�าให้เรือล�านี้จมได้หรอก !   ในตอนท้ายเรื่อง นิยายดังกล่าวบรรยายไว้ราวกับผู้ประพันธ์ได้เห็น  เหตุการณ์กับตาว่า ในคืนเดือนเมษายนในมหาสมุทรแอตแลนติกอันหนาว  เหน็บ เรือที่ ไ ม่มี ใครเชื่อว่าจะจมก็ชนเข้ากับภูเขาน�้ าแข็งและจมลงสู่ก้น  มหาสมุทร …ซึง่ เป็นเหตุการณ์แบบเดียวกันกับทีเ่ กิดขึน้ กับเรือไททานิกอันโด่ง  ดังอย่างไม่มผี ดิ เพีย้ น  ถ้าอีตาโรเบิรต์ สันนีเ่ ป็น “คนทรงเจ้า” อยูเ่ มืองไทย …  คงได้ลูกศิษย์ลูกหาตรึมละครับ   แต่จุดที่น่ำทึ่งที่สุดก็คงจะได้แก่ กำรที่ผู้ประพันธ์ตั้งชื่อของเรือ  ในนิยำยของเขำไว้ว่ำ “ไททัน (Titan)” … โอย อะไรจะใกล้เคียงกันปำนนี้  หนอ ... และหนังสือนี้ยังมีอีกชื่อหนึ่งว่ำ The Wreck of the Titan (ล่ม  เรือรัก ... เอ๊ย ... ล่มเรือไททัน) !

AW1 1-104.indd 86

11/3/2010 18:49


87

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

5

ปริศนำเลข 11 อำถรรพ์

911

เหตุกำรณ์วินำศกรรมประเทศสหรัฐอเมริกำด้วยกำรพุ่งชนด้วย เครื่องบินโดยสารขนาดใหญ่ ที่มีผู้โดยสารรวมแล้วนับร้อยคน เมื่อ วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2544 นั้น ลงมือพร้อม ๆ กันทั้งที่อาคาร คู่เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ (WTC)  ในมหานครนิวยอร์ก และที่อาคาร กระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ หรือที่รู้จักกันดีกว่าในชื่อ เพนตากอน (Pentagon) รวมไปถึงเครื่องบินโดยสารอีกล�าหนึ่งที่ถูกจี้ และใน ที่สุดก็ตกลงใกล้เมืองพิตส์เบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย ได้กลายเป็นเรื่อง ที่ช็อกและสร้างความสะเทือนใจแก่คนทั่วโลก และก่อให้เกิดผล กระทบติดตามมาเป็นลูกโซ่อย่างต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ทางการเมือง ทางการทหาร ทางเศรษฐกิจ และทางสังคม

AW1 1-104.indd 87

11/3/2010 18:49


88

กรรม-บัง-กฎ

ภำพถ่ำยดำวเทียม ขณะไฟไหม้อำคำรคู่ เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์

หนึง่ ในบรรดาผลกระทบเหล่านัน้ ก็ได้แก่ การแพร่กระจายดัง  ไฟไหม้ ฟ างในเรื่อ งของค� าท�า นายต่า ง ๆ และการตี ค วามที่ อ าจ  เกีย่ วกับเหตุการณ์ดงั กล่าว รวมไปถึงเรือ่ งของตัวเลข ตัวอักษร และ  ค�าต่าง ๆ ทีด่ จู ะสอดคล้องกับเหตุการณ์นนั้ อย่างเหลือเชือ่   การแพร่  กระจายดังกล่าวนี้เกิดขึ้นอย่างคึกคักทั้งทางสื่อชนิดต่าง ๆ ไม่ว่า

AW1 1-104.indd 88

11/3/2010 18:49


89

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

จะเป็นสือ่ หลักอย่างหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ หรือแม้แต่สอื่ ไฮเทค  อย่างอินเทอร์เน็ต และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (อีเมล)   แต่ว่า … ค�าท�านายเหล่านี้ถูกต้องแม่นย�าจริงหรือ? โลก  ก�าลังจะเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่ 3 อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จริงตาม  ค�าท�านายกระนั้นหรือ ?   เรามาดูกันนะครับว่า งานนี้ค�าท�านายเหล่านี้ “ชัวร์” หรือ  “มั่วนิ่ม” กันแน่   ในบรรดาค�าท�านายทีฮ่ อตสุดฮิตติดอันดับต้น ๆ นีค่ งไม่แคล้ว  ของนอสตราดามุสไปได้ (ส่วนที่ว่าจะแม่นจริงหรือไม่ ต้องอ่านต่อ  ครับ) ก็ลองคิดดูว่า นิตยสารยักษ์ใหญ่ระดับโลกอย่าง TIME ยัง  ต้ อ งบั น ทึ กไว้ เ ป็ น ประวั ติ ศ าสตร์ ว ่ า ตลอด 1 สั ป ดาห์ ภ ายหลั ง  เหตุ ก ารณ์ วิ น าศกรรม ค� า ที่ มี ผู ้ ค นแวะเวี ย นเข้ า ไปสื บ ค้ น ใน  อินเทอร์เน็ตมากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ก็คือ ค�าว่า “นอสตราดามุส  (Nostradamus)” นี่เอง รองจากกลุ่มค�าที่มีคนเข้าไปสืบค้นมาก  ที่สุดได้แก่ ค�าหรือชื่อต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง

ภำพวำดนอสตรำดำมุสบนปก หนังสือรวมค�ำท�ำนำยเล่มหนึ่ง ของเขำที่ตีพิมพ์ในอัมสเตอร์ดัม

AW1 1-104.indd 89

11/3/2010 18:49


104

กรรม-บัง-กฎ

ล�ำแสงสว่ำงที่ฉำยฉำนตรงบริเวณต�ำแหน่งที่เคยเป็นอำคำร WTC มำก่อน ก็คงไม่ต่ำงจำกควำมรู้ ควำมเข้ำใจที่จ�ำเป็นส�ำหรับท�ำควำมเข้ำใจ และลบล้ำงอำถรรพ์ที่ตำมมำหลอกหลอนนำนนับร้อย ๆ ปี แม้แต่ในยุคดิจิทัล

การเชื่อสิ่งเหล่านี้ชี้ ให้เห็นว่า  คุณไม่เชื่อในค�าที่องค์พระ  ศาสดาทรงชี้แนะว่า “ผล” นั้นเกิดมาแต่ “เหตุ” และเรื่องราวความ  เป็ นไปในโลกนั้ น  ล้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ นไปตาม “เหตุ ป ั จ จั ย ” ที่ เ กิ ด  ต่อเนื่องหนุนน�ากันมา ดังนั้นค�าท�านายทั้งหลายทั้งปวง จึงมีแนว  โน้มที่จะผิดมากกว่าถูก เพราะชีวิตของเราทุกคนนั้นขึ้นอยู่กับการ  กระท�า (กรรม) ของตัวเราเองทัง้ นัน้  ไม่ใช่ขนึ้ กับ “พรหมลิขติ ” หรือ  เป็นไปตาม “ฟ้าก�าหนด” แต่อย่างใด   ใครจะว่ำ “ไม่เชื่ออย่ำลบหลู่” ก็ว่ำกันไป แต่ผมว่ำถ้ำมัน  ไร้สำระนักจนทนไม่ได้ ก็ต้องพิสูจน์และแฉกันมั่งละครับ เผื่อว่ำ  บ้ำนเมืองเรำจะลด-ละ-เลิกควำมงมงำย และมีควำมเป็นเหตุเป็นผล  ในหัวสมองและหัวใจเพิ่มขึ้นบ้ำง

AW1 1-104.indd 104

11/3/2010 18:49


105

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

6

ไขคำถำ พ่อมดน้อย แฮร์รี่

พอตเตอร์

มีใครไม่รจู้ กั หนังสือและภำพยนตร์เรือ่ ง แ ร์ร  อตเตอร์ บ้ำงหรือ เปล่าครับ ?   หนังสือเบสเซลเลอร์ชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ จากฝีมือการ รังสรรค์ของ เจ.เค. โรว์ลิ่ง ทั้งเจ็ดเล่ม ขายได้ทั่วโลกหลาย 100 ล้านเล่ม ฉบับแปลภาษาไทยก็พมิ พ์มากนับสิบ ๆ ครัง้  จนส�านักพิมพ์ ที่ได้ลขิ สิทธิร์ า�่ รวยขึน้ มาในชัว่ ระยะเวลาไม่กปี่ จี ากยอดการจ�าหน่าย หนังสือชุดนี้เพียงชุดเดียว   น่าจะนับว่าเป็นปรากฏการณ์เกีย่ วกับหนังสือเด็กที่ไม่เคยเกิด ขึ้นในเมืองไทยมาก่อน  ครับ … หายากจริง ๆ หนังสือที่เด็กแย่งกัน ซื้อไปอ่านโดยไม่ต้องบังคับให้อ่านเป็นหนังสือเรียนหรือหนังสืออ่าน นอกเวลา (แต่กม็ บี างประเทศนะครับทีอ่ อกมาห้าม เพราะเกรงว่าจะ

AW2 105-208.indd 105

11/3/2010 18:50


106

กรรม-บัง-กฎ

ท�าให้เด็ก ๆ งมงายในลัทธิพ่อมดหมอผี) ผมลองเข้าไปสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ แฮร์รี่ พอตเตอร์ ใน  อินเทอร์เน็ตดู ก็พบว่ามีโฮมเพจทีเ่ กีย่ วกับเด็กชายคนนีอ้ ยูน่ บั หมืน่  ๆ  แสน ๆ แห่ง ซึ่งก็รวมทั้งจ�านวนหนึ่งที่เป็นภาษาไทยและเป็นของคน  ไทย

แฮร์รี่ พอตเตอร์  ตัวละครในนิยำยเด็กที่มีชื่อเสียงที่สุดในยุคนี้

คุณ ๆ ก็คงจะพอทราบกันดีอยู่แล้วว่านิยายชุดแฮร์รี่ พอต-  เตอร์ เป็นเรือ่ งราวการผจญภัยของพ่อมดน้อยคนหนึง่  โดยเปิดฉาก  มาในตอนแรกก็กล่าวถึงช่วงเวลาที่ แฮร์รี่ พอตเตอร์ เดินทางเข้าสู่  โรงเรียนพ่อมดแม่มดฮอกวอตส์ เพือ่ เรียนเวทมนตร์และศาสตร์อนื่  ๆ  ที่จ�าเป็นต่อการเป็นพ่อมด   เวลาเอ่ยถึงเรือ่ งของพ่อมดและเวทมนตร์ ผูค้ นจ�านวนไม่นอ้ ย  ในยุคนีอ้ นั เป็นยุคทีว่ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีเฟือ่ งฟู ก็มกั จะนึกไป  เองโดยอัตโนมัตวิ า่ เป็นเรือ่ งของไสยศาสตร์ทพี่ สิ จู น์ไม่ได้และงมงาย  ในขณะทีอ่ กี หลายคนก็อยากจัดให้นยิ ายเรือ่ งแฮร์ร ี่ พอตเตอร์ อยู่ใน

AW2 105-208.indd 106

11/3/2010 18:50


107

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

หมวดของนิยายวิทยาศาสตร์แนวแฟนตาซีด้วยซ�้าไป  จึงเป็นเรื่อง  น่าสนใจว่า เราจะสามารถใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่มีอยู่ ใน  ปัจจุบัน มาอธิบายเรื่องราวต่าง ๆ หรือแม้แต่ใช้เทียบเคียงกับเรื่อง  ราวในหนังสือและภาพยนตร์เรื่องดังกล่าวได้มากน้อยเพียงใด   ครับ … ผมก�าลังจะขอเชิญชวนทุกท่านมารู้จักกับอีกแง่มุม  หนึ่งของแฮร์รี่ พอตเตอร์ แง่มุมที่คนพูดกันถึงน้อยมากนั่นก็คือ  เราจะมาวิเคราะห์เกี่ยวกับแฮร์รี่ พอตเตอร์ ในแง่มุมทาง “วิทยา  ศาสตร์” กัน   เรื่องของเวทมนตร์คาถานั้น มีประวัติยาวนาน และแม้ว่า  วิทยาศาสตร์จะกลายเป็นแนวโน้มหลักในโลกปัจจุบัน แต่เรื่องราว  ของเวทมนตร์คาถาก็ยังแอบแฝงอยู่อย่างผสมกลมกลืน  อันที่จริง  หากมองย้ อ นกลั บ ไปในประวั ติ ศ าสตร์   การเล่ น แร่ แ ปรธาตุ  (alchemy) อันเป็นศาสตร์ที่เฟื่องฟูในยุคกลาง และเป็นความ  พยายามทีจ่ ะสร้างสารราคาแพงอย่างทองค�า หรือสารทีม่ ปี ระโยชน์ ภำพ  n  t   i t (ค.ศ. 1853)  โดยเซอร์วิลเลียม ดักลำส

AW2 105-208.indd 107

11/3/2010 18:50


152

กรรม-บัง-กฎ

F A C T  F I L E

มนุษย์สว่ นใหญ่คอื มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ของประชากรในโลกนีล้ ว้ น  แล้วแต่ถนัดขวา   แต่ที่ยิ่งไปกว่านั้นก็คือ ดูเหมือนว่าอาการถนัดขวาส่วนใหญ่จะเป็น  มาตลอดประวัตศิ าสตร์ของมนุษยชาติเลยทีเดียว ดังทีเ่ ห็นได้จากผลการศึกษา  การใช้อปุ กรณ์และอาวุธต่าง ๆ เช่น ขวาน หอก ฯลฯ และภาพวาดตามผนังถ�า้   ที่ไล่เรียงมาตั้งแต่ยุคหินโน่นแน่ะครับที่บ่งชี้ไปในทางว่า มนุษย์เราส่วนใหญ่  แล้วใช้แขนขวามากกว่าแขนซ้ายในงานที่ใช้แขนเพียงข้างเดียวท�าได้   ในขณะที่การศึกษาในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นบางชนิด เช่น ลิง  ชิมแปนซี ซึ่งนับว่าเป็นสัตว์ที่มีลักษณะทางพันธุกรรมใกล้เคียงกันกับมนุษย์  มากที่สุด และมีพัฒนาการด้านการใช้มือคล้ายคลึงกับมนุษย์อีกด้วย แต่ก็ไม่  พบลักษณะถนัดขวาเด่นชัดดังกล่าว กล่าวคือ ลิงชิมแปนซีมีค่าเฉลี่ยของการ  ใช้แขนซ้ายหรือขวาในหมู่ประชากรลิงอย่างเท่า ๆ กัน   ไม่แน่วำ่ กำรถนัดขวำถนัดซ้ำย อำจเป็นหนึง่ ในไม่กเี่ รือ่ งทีพ่ บจ�ำเพำะ  ในหมู่มนุษ ย์เท่ำนั้นก็เป็นได้ !

AW2 105-208.indd 152

11/3/2010 18:50


153

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

9

โลกนี้ ไม่อำจขำด

เซ็กซ์

หัวเรื่องในบทนี้อำจจะดูล่อแหลมและเสี่ยงต่อควำมเข้ำใจผิดอยู่สัก หน่อย แม้จะน้อยกว่าตอนที่บทความนี้ลงตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2544 เพราะสือ่ ต่าง ๆ ลงเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับหัวข้อบทนีจ้ นเป็นเรือ่ งปกติ ของสังคมไทยไปเสียแล้ว  แต่กน็ นั่ แหละครับ ท�าไมนักวิทยาศาสตร์ จะคุยเกี่ยวกับเรื่อง “เซ็กซ์” บ้างไม่ได้ (พิลึก !) และไหน ๆ ก็จะคุย กันเกี่ยวกับเรื่องนี้แล้ว เพื่อไม่ ให้เสียชื่อนักวิทยาศาสตร์ก็น่าจะมี ข้อมูลและมุมมองที่แปลกและน่าสนใจต่างไปจากที่คนอื่น ๆ เขียน ไปบ้างกระมัง (อะแฮ่ม … เดี๋ยวก็รู้)   ก่อนอืน่ คงต้องมาท�าความเข้าใจให้ตรงกันในเบือ้ งต้นเสียก่อน ว่า ค�าว่า “เซ็กซ์” นั้นอันที่จริงแล้วมีความหมายสองแบบด้วยกัน ความหมายแรกคือ เพศหรือสิ่งระบุความแตกต่างของเพศในทาง

AW2 105-208.indd 153

11/3/2010 18:50


154

กรรม-บัง-กฎ

ชีววิทยา  ส�าหรับความหมายนีเ้ พือ่ ความชัดเจน ในภาษาอังกฤษอาจ  ใช้อีกค�าหนึ่งคือ เจ็นเดอร์ (gender) แทนก็ได้

โดยทั่วไปแล้ว เพศในทางชีววิทยาแบ่งออกได้เป็นเพศชาย  และเพศหญิง แต่ก็มีบ้างบางครั้งที่ธรรมชาติเกิดเล่นพิเรนทร์สร้าง  เพศพิเศษที่ ไม่ใช่ทั้งเพศชายและเพศหญิงขึ้นมาด้วย  นั่นก็คือเพศ  “กะเทย”  ค�าว่ากะเทย (แท้) นั้น ในทางชีววิทยาหมายถึงสิ่งมีชีวิต  ที่ มี ลั ก ษณะแสดงเพศชายและเพศหญิ ง ของสิ่ ง มี ชี วิ ต นั้ น อยู ่ ใ น  ตัวสิง่ มีชวี ติ แบบทูอนิ วัน (two in one) ซึง่ หากไม่ใช่ลกั ษณะปกติใน  บางช่วงเวลาหรืออายุของสิ่งมีชีวิตนั้น ก็มักเป็นผลมาจากความผิด  ปกติทางด้านพันธุกรรม เช่น มีโครโมโซมของอีกเพศหนึง่ เกินขึน้ มา  หรือไม่กม็ คี วามผิดปกติระหว่างการเจริญเติบโต เช่น ระดับฮอร์โมน  ผิดไปหรือขาดฮอร์โมนบางชนิดไป   แต่ก็ยังมีสิ่งมีชีวิตบางชนิดที่ ในธรรมชาติก�าหนดมาให้มีทั้ง  สองเพศอยู่ในร่างกายเดียวกัน  ตัวอย่างของสิง่ มีชวี ติ ในกลุม่ นีก้ ค็ อื

AW2 105-208.indd 154

11/3/2010 18:50


155

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

ไส้เดือน  กระนั้นตามธรรมชาติแล้ว ไส้เดือนก็มักจะพยายามหาคู่  มาผสมพันธุ์มากกว่าจะผสมพันธุ์ในตัวเอง ซึ่งก็มีเหตุผลเบื้องหลัง  อยู่ดังจะได้อธิบายต่อไป

กำรจับคู่ผสมพันธุ์เป็นเรื่องปกติธรรมดำ ของสิ่งมีชีวิตจ�ำนวนมำก

ส่วนอีกความหมายหนึ่งของค�าว่า “เซ็กซ์” ที่กลายมาเป็น  ความหมายที่ รั บ รู ้ กั น อย่ า งกว้ า งขวางทั่ วไป มากกว่ า กรณี แ รก  หมายถึ ง  การผสมพั น ธุ ์   การมี เ พศสั ม พั น ธ์   หรื อ การร่ ว มเพศ  (sexual mating หรือ sexual intercourse หรือ sexual copula-  tion) ระหว่างเพศชายและเพศหญิง  หรือถ้าเป็น ภาษาพูดหรือ  ภาษาเขียนทีอ่ อกจะสมัยใหม่กว่าสักหน่อย (เพิง่ เห็นใช้กนั แพร่หลาย  ราว 20-30 ปีหลังนี่เอง) ก็อาจใช้ว่า “ร่วมรักหรือท�ารัก (making  love)” ก็ได้เช่นกัน   ส่ ว นความสั ม พั น ธ์ ใ นแบบอื่ น  ๆ  ที่ เ บี่ ย งเบนออกไปจาก

AW2 105-208.indd 155

11/3/2010 18:50


184

กรรม-บัง-กฎ

(และมักท�าเป็นบางครั้งเท่านั้น) ตัวอย่างสัตว์เหล่านี้เช่น แฮมสเตอร์ บีเวอร์  และลิงไร้หางบางชนิด เช่น โบโนโบ อุรังอุตัง เป็นต้น   เรื่ อ งสุ ด ท้ า ย ขอจบลงที่ เ รื่ อ งของมนุ ษ ย์ เ ราก็ แ ล้ ว กั น นะครั บ  …  “ขนาด” อาจเป็นเรื่องส�าคัญส�าหรับหลาย ๆ คนที่ก�าลังมองหาคู่อยู่เช่นกัน  ที่สรุปเช่นนี้เป็นเพราะความจริงที่นักวิจัยพบว่า คนเรานอกจากมีแนวโน้มจะ  เลือกคู่จากรูปร่างหน้าตาที่บ่งเชื้อสายใกล้เคียงกัน (บ้างก็ว่าทรงหน้าคล้าย  กัน) หรือพิจารณาจากระดับการศึกษาที่ ใกล้เคียงกันแล้ว แต่เมื่อไม่นานมา  นี้เอง นักวิจัยชาวอังกฤษยังค้นพบในงานวิจัยอีกด้วยว่า … คนที่จ�้าม�่าก็มีแนว  โน้มที่จะเลือกคู่เป็นคนจ�้าม�่าหรืออวบอัดแบบเดียวกับตัวเองอีกด้วย   เห็นไหมล่ะครับว่ำ “ขนำด” น่ะส�ำคัญจริงจริ๊ง !

AW2 105-208.indd 184

11/3/2010 18:50


185

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

10

ปฏิบัติกำรตำมล่ำ หำชีวิตสุดขอบ

จักรวำล

มีสโลแกนงำนสัปดำห์วิทยำศำสตร์อยู่สโลแกนหนึ่งที่ติดหูติดตำ คนไทยไม่น้อยคือ “วิทยาศาสตร์มีค�าตอบ” แต่เรื่องที่ทุกท่านจะได้ อ่านต่อไปนี้อาจสวนทางโดยสิ้นเชิงกับแนวคิดเบื้องต้น  ค�าถาม ที่ จ ะได้ อ ่ า นต่ อไปนี้ ม าจากวารสาร Science ในโอกาสครบ รอบปีที่ 125 เมื่อปี พ.ศ. 2548  ทางกองบรรณาธิการตั้งค�าถาม กับบรรดานักวิทยาศาสตร์คนส�าคัญ นักเขียน และบรรณาธิการ วารสารและนิตยสารฉบับต่าง ๆ ว่า ยังมีค�าถามใดที่วิทยาศาสตร์ ยังไม่มีค�าตอบในขณะนี้   แต่มเี งือ่ นไขส�าคัญพ่วงไปด้วยว่า ค�าถามนัน้  ๆ น่าจะสามารถ หาค�าตอบได้ในเวลาอีกไม่เกิน 25 ปีหรืออย่างน้อยที่สุดนักวิทยา ศาสตร์ในตอนนั้นก็ควรจะต้องรู้ว่า จะหาหนทางตอบค�าถามที่

AW2 105-208.indd 185

11/3/2010 18:50


186

กรรม-บัง-กฎ

เป็น “ช่องว่างขั้นวิกฤตทางความรู้ (critical knowledge gaps)”  นั้นได้อย่างไร !   ส่วนสาเหตุที่ว่าท�าไมกองบรรณาธิการ Science  จึงอยาก  รู้ค�าถามพวกนี้ ค�าตอบก็คือพวกเขาคิดว่า “การวิจัยเกี่ยวข้องกับ  การตอบค�าถาม ในขณะที่วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับการตั้งค�าถาม” … “คม” ดีไหมล่ะครับ   เราจะมาดูคา� ถามบางค�าถามในจ�านวนนีก้ นั  โดยผมคัดเลือก  มาเพียงบางค�าถามซึ่งเกี่ยวข้องกับ “ชีวิต” ในบางแง่มุม  การ  คัดเลือกก็ไม่มีกฎเกณฑ์อะไร ผมเลือกตามความสนใจส่วนตัวของ  ผมเองครับ   เรำจะเริ่มต้นกันที่ค�ำถำมซึ่งอำจกล่ำวได้ว่ำเป็นที่มำหรือต้น  ก�ำเนิดของวิชำชีววิทยำเลย นั่นก็คือ “สิ่งมีชีวิตบนโลกเกิดขึ้นที่ใด  และเกิดขึ้นได้อย่ำงไร”   ในช่วงเวลาครึ่งศตวรรษที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์พยายาม  ตอบค�าถามเรื่องของก�าเนิดชีวิตบนโลกโดยอาศัยวิธีการหลาย ๆ

ร่องรอยฟอสซิลสำหร่ำยสีเขียวแกมน�้ำเงินอำยุ 440 ล้ำนปี ในประเทศสหรัฐ  รูป C ใช้กล้องจุลทรรศน์ก�ำลังขยำยสูง

AW2 105-208.indd 186

11/3/2010 18:50


18

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์

แนวทางด้ ว ยกั น  บางคนก็ เ ริ่ ม ต้ น ที่ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ สิ่ ง มี ชี วิ ตใน  ปัจจุบัน แล้วจึงย้อนเวลากลับไปหาความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่เป็น  บรรพบุรุษ ซึ่งมีรูปแบบที่ซับซ้อนน้อยกว่า ในขณะที่บางคนก็เริ่ม  จากการจ�าลองสภาวะแวดล้อมในห้วงเวลาที่โลกเริ่มก่อตัวขึ้นเมื่อ  4.55 พันล้านปีก่อน จากนั้นจึงศึกษาต่อไปว่า สารเคมี ไร้ชีวิตอาจ  เปลี่ยนแปลงไปจนก่อตัวกลายเป็นสิ่งมีชีวิตได้อย่างไร   มาลองดูในแนวทางแบบย้อนอดีตกันก่อนนะครับ  นักวิทยา  ศาสตร์ค้นพบซากฟอสซิลของสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่ตรวจวัดอายุกลับ  ไปได้ไม่น้อยกว่า 3.4 พันล้านปี  การวิเคราะห์ทางเคมีของชั้นหินที่  เก่าแก่กว่านัน้ ชีว้ า่  สิง่ มีชวี ติ ทีส่ ามารถสังเคราะห์แสงได้นา่ จะมีอยูบ่ น  โลกตั้งแต่ก่อนหน้านั้นไปอีกคือ ราว 3.7 พันล้านปีมาแล้ว  นักวิจัย  ส่วนหนึ่งเชื่อว่าสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นน่าจะทิ้งร่องรอยพื้นฐานที่สามารถ  ตรวจสอบได้อยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดในปัจจุบัน   หากไม่นบั รวมไวรัสทีต่ อ้ งอาศัยสิง่ มีชวี ติ อืน่ ในการเพิม่ จ�านวน  ตัวเอง สิ่งมีชีวิตที่เป็นอิสระและมีชีวิตอยู่ได้ด้วยตนเองในธรรมชาติ  ล้วนใช้ดเี อ็นเอเป็นสารพันธุกรรม และใช้โปรตีนเป็นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า  เคมีในร่างกาย  การจะสร้างโปรตีนก็ตอ้ งมีดเี อ็นเอคอยเก็บข้อมูลที ่ ใช้ในการสร้าง ในขณะที่การจะสร้างดีเอ็นเอก็ต้องอาศัยโปรตีนใน  กระบวนการจ�านวนมาก  ดังนั้นจะเห็นได้ว่าทั้งดีเอ็นเอและโปรตีน  ต่างอาศัยกันและกันอย่างใกล้ชิดเพื่อความอยู่รอด จึงยากที่จะ  จินตนาการได้ว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะเกิดขึ้นและวิวัฒนาการมาก่อนอีก  สิ่งหนึ่ง  เช่นเดียวกับเป็นเรื่องที่แทบเป็นไปไม่ได้ที่โ มเลกุลทั้ง  สองชนิดจะบังเอิญเกิดขึ้นมาพร้อม ๆ กันใน “น�้าซุปก่อนก�าเนิดชีวิต  (prebiotic soup)”   ผลกำรทดลองต่ำง ๆ ในระยะหลังกลับชี้ไปในทำงที่ว่ำ รูป

AW2 105-208.indd 187

11/3/2010 18:50


เรื่องจริงที่วิทยาศาสตรอธิบายได และะ (ยัง) ไมได แปลกจริง วิทยาศาสตร

เชื่อไหม การเวียนวายตายเกิดก็เปนวิทยาศาสตร จริงหรือที่นอสตราดามุสรูเหตุการณ 911 ตั้งแตเมื่อกวา 400 ปกอน คาถาพอมดนอย แฮรรี่ พอตเตอร ในโลกความจริง ซานตาคลอสตองใชพลังงานเทาไรจึงจะแจกของขวัญไดครบ กฎแหงกรรม กับมุมมองทางวิทยาศาสตร ถนัดขวา ถนัดซาย ใครไดใครเสีย เซ็กซสำคัญไฉน

ดร. นำชัย ชีววิวรรธน

หมวดวิทยาศาสตร

ISBN 978-974-484-301-2

ราคา 170 บาท

170.-

ดร. นำชัย ชีววิวรรธน

แปลกจริง วิทยาศาสตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.