Notes from the Editor

Page 1

Notes from the Editor

ความเคยชินในการใช้เทคโนโลยีช่วยให้เราสะดวกสบายขึ้น แต่สิ่งที่แลกมาคือท�าให้เราเสพติดเทคโนโลยีโดยไม่รู้ตัว และท�าให้เราขี้เกียจกันมากพอที่จะไม่ออกไปท่องโลก เดินทางไปหาของจริงกัน

ความจริงที่สร้างแรงบันดาลใจให้คนมาแล้วนับไม่ถ้วน

เขตปลอดมือถือ

Notes from the Editor บทบรรณาธิการนิตยสารสารคดี

บทบรรณาธิส�าคักญทีาร ่ว่า เรากล้าพอที่จะออกตามหาด้านที่ขาดหายไป หรือหลงใหลกับด้านที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ จนไม่ยอมโผล่หัวออกมา นิตยสารสารคดี ค้นหาด้านอื่นๆ อย่าลืมนะครับ ความสุขของมนุษย์คือการ ได้ค้นพบคุณค่าของตัวเอง

เวลำของกำรใช้ชีวิต

ความจริงที่สร้างแรงบันดาลใจให้คนมาแล้วนับไม่ถ้วน

ต้องขอคารวะจิตใจของชาวบ้านบางลากว่า ๑,๐๐๐ คน ท่ามกลางที่ดินราคาแพงยิ่งกว่าทองบนเกาะภูเก็ต มีการบุกรุกพื้นที่ป่ากันแทบทุกแห่ง แต่คนบางลาต่างไม่ยอมถอดใจ หรือถือโอกาสบุกรุกป่าเสียเอง ยังยืนหยัดปกป้องป่าชายเลน ผืนสุดท้ายนี้ไว้

ปำชำยเลนผืนสุดท้ำยของภูเก็ต

บทบรรณาธิการ นิตยสารสารคดี

ISBN 978-974-484-310-4

ราคา ๒๒๐ บาท cover 17-sept.indd 184

วันชัย ตันติวิทยำพิทักษ์

หมวดสังคม

Notes from the Editor ราคา ๒๒๐ บาท

Notes from the Editor

บทบรรณาธิการ นิตยสารสารคดี วันชัย ตันติวิทยำพิทักษ์ 17/9/2010 16:33


ISBN 978-974-484-310-4 หนังสือ บทบรรณาธิการนิตยสารสารคดี ผู้เขียน วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ c สงวนลิขสิทธิโดยส�านักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด ห้ามลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต พิมพ์ครั้งที่ ๑ กันยายน ๒ จ�านวนพิมพ์ ,๐๐๐ เล่ม ราคา ๒๒๐ บาท คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการเล่ม กนกวรรณ โสภณวั นวิจิตร ผู้ช่วยบรรณาธิการ น มล สุวรรณอ่อน ออกแบบปก รูปเล่ม บุญส่ง สามารถ ภาพปก ธัชกร กิจไชยภณ นสพ ผู้จัดการรายวัน พิสูจน์อักษร สินี ิริ ักดิ ควบคุมการผลิต ธนา วาสิก ิริ จัดพิมพ์ ส�านักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด จัดจ�ำหน่ำย บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด ๒ , ๐ ถนนปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพ ๑๐๒๐๐ โทร ๐ ๒๒ ๑ ๑๑๐ อัตโนมัติ โทรสาร ๐ ๒๒ ๒ ๐๐ เพลต เอ็น อาร์ ล์ม โทร ๐ ๒๒๑ พิมพ์ บริษทั ทวีวั น์การพิมพ์ จ�ากัด โทร ๐ ๒ ๒๐ ๐๑ ส�ำนักพิมพ์สำรคดี ผู้อ�านวยการ สุวพร ทองธิว ผู้จัดการทั่วไป จ�านงค์ รีนวล ที่ปรึกษาก หมาย สมพจน์ เจียมพานทอง ผู้อ�านวยการ ่ายการตลาด โ ษณา ป ิมา หนูไชยะ ผู้อ�านวยการ ่าย ิลป ่ายผลิต จ�านงค์ รีนวล ผู้จัดการ ่ายการตลาด พิเชษ ยิ้มถิน ที่ปรึกษาส�านักพิมพ์ สุดารา สุจ ายา บรรณาธิการส�านักพิมพ์ สุวั น์ อั วไชยชาญ

2 fr.editor 1.indd 2

Notes from the Editor วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 15/9/2010 17:13


จากส�านักพิมพ์ ในบรรดำนิตยสำรนับพันหัวทีเ่ บียดเสียดกันอยูบ่ นแผงหนังสือในปัจจุบนั คงมีนติ ยสารนับนิว้ มือได้ทยี่ นื ยงมากว่า ๒ ป และนิตยสาร สารคดี คือหนึง่ ใน ไม่กี่ บับนั้น ปพ ๒ นิตยสาร สารคดี มีอายุครบ ๒ ป พร้อมกับที่ วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ท�าหน้าที่คุมบังเหียนนิตยสาร บับนี้มาเป็นเวลาถึง ๒๐ ป พอดี หากนับบทบรรณาธิการที่เขาเขียนไว้มาตลอด ๒๐ ปเกือบทุกเดือน ก็ รวมแล้วไม่ต�่ากว่า ๒๐๐ บท เรื่องน่าแปลกคือจากแบบสอบถามผู้อ่านนิตยสาร สารคดี ึ่งจัดท�าขึ้น เมื่ อ ปลายป พ ๒ ๒ หากไม่นับเรื่อง สารคดีพิเ ษ แล้ว คอลัมน์ บทบรรณาธิการ ที่ วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียน คือคอลัมน์ที่มีผู้อ่าน ชื่นชอบสูงสุดและเปดอ่านเป็นล�าดับแรกสุดในเล่ม นี่นับเป็นกรณีพิเ ษที่แตกต่างจากบทบรรณาธิการในนิตยสาร บับอื่นๆ ึ่งผู้อ่านมักเปดข้าม หรือสนใจอ่านเป็นล�าดับท้ายๆ ในการจัดท�าหนังสือ Notes from the Editor บทบรรณาธิการนิตยสาร สารคดี ของ วันชัย ตันติวทิ ยาพิทกั ษ์ เล่มนี้ แม้จะคัดบทบรรณาธิการจากกว่า ๒๐๐ บท ลงเหลือเพียงราวครึ่งหนึ่ง แต่ก็ยังคงเรื่องราวของชีวิต ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ผู้คน สังคม และเหตุการณ์ ที่ให้ทั้งแง่คิดและแรงบันดาลใจแก่ ผู้อ่านไว้อย่างเต็มเปยม หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้ผู้อ่านเรียนรู้อะไรจากเรื่องราวต่างๆ ใน ๒๐ ปที่ ผ่านมาของสังคมไทยได้บ้าง หรือจะเป็นดังที่บรรณาธิการนิตยสาร สารคดี ผู้นี้มักกล่าวอยู่เสมอๆ ว่า เราไม่เคยเรียนรู้อะไรจากประวัติ าสตร์เลย คุณผู้อ่านคงต้องเป็นผู้ตอบค�าถามนี้ด้วยตนเอง ส�านักพิมพ์สารคดี 3 fr.editor 1.indd 3

15/9/2010 17:13


บทบรรณาธิการ เดือนมีนำคม ๒๕๕๓ นิตยสำรสำรคดี มีอำยุครบ ๒๕ ปี ขณะที่ผมเป็น บรรณาธิการนิตยสาร บับนี้มาครบ ๒๐ ปแล้ว ตลอดเวลาทีผ่ า่ นมา ผมเขียนบทบรรณาธิการติดต่อกันเกือบทุก บับเกือบ ๒ ๐ ชิน้ ขาดหายไปไม่กี่ บับ บาง บับติดภารกิจไปแดนไกล จึงไหว้วานให้ พี่ๆ น้องๆ ในกองบรรณาธิการช่วยเขียนแทน จ�าได้วา่ ตอนแรกทีเ่ ริม่ เขียนบทบรรณาธิการ ยังไม่รเู้ ลยว่าต้องเขียนแบบ ใด ถึงจะเรียกว่าบทบรรณาธิการ ลองไปเปดพลิกดูนติ ยสารเล่มอืน่ ๆ ว่าเขาเขียนอะไรกันมัง่ ก็พบว่ามีดว้ ย กันหลายรูปแบบ แบบหนึง่ เป็นการทักทายกับคนอ่านแบบสบายๆ อีกแบบเป็นการเล่าเรือ่ ง ว่าใน บับนี้มีเรื่องราวอะไรที่น่าสนใจ และบางแบบก็เป็นการแสดงทั นะของ บรรณาธิการต่อเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมรอบๆ ตัว ผมรู้สึกว่างานเขียนบทบรรณาธิการแบบหลัง ดูจะเหมาะกับจริตของผม และนิตยสารสารคดีมากกว่าแบบอื่นๆ ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจหากย้อนกลับ ไปอ่านบทบรรณาธิการในเล่มนี้ จะเห็นปราก การณ์หลายอย่างที่เกิดขึ้นใน สังคมตลอดระยะเวลา ๒๐ ปที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องปญหาสิ่งแวดล้อม ความก้าวหน้าทางวิทยา าสตร์ ปญหาการเมือง เ รษ กิจ สังคม เรื่องหุ้น เรื่องราวของชีวิตสัตว์ และชีวิตคนที่น่าสนใจตั้งแต่นักการเมือง นักอนุรักษ์ คนตัวเล็กๆ ในสังคม ไปจนถึงเรื่องภาพยนตร์ ดนตรี 4 fr.editor 1.indd 4

Notes from the Editor วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 15/9/2010 17:13


ยอมรับครับว่า หลายครั้งที่หัวหน้ากองบรรณาธิการเดินมาทวงต้น บับ ให้ส่งพรุ่งนี้ ยังไม่รู้เลยว่าจะเขียนอะไร จะเล่าเรื่องอะไรให้ผู้อ่าน แต่ทุกครั้งก็ เอาตัวรอดมาได้ ส่วนหนึง่ การมีอาชีพเป็นนักเดินทาง ได้มโี อกาสไปตามสถาน ที่ต่างๆ ทั่วประเท เป็นประจ�า การเ ้าสังเกตความเป็นไปของสิ่งต่างๆ ที่ได้ พบเห็นตลอดทางโดยละเอียด บางเรื่องกลับมานั่งคิดไตร่ตรอง คือวัตถุดิบอัน ล�้าค่าในการน�ามาเป็นข้อมูลเขียนบทบรรณาธิการ บทบรรณาธิการในมือของท่านผู้อ่าน ที่ได้รับการกลั่นกรองและคัดสรร เ พาะเรือ่ งทีน่ า่ สนใจ จึงเป็นเสมือนการบันทึกความหลากหลายช่วงเวลาหนึง่ ของสังคมผ่านทั นะของคนเขียน หากติดตามอย่างต่อเนือ่ ง ก็อาจจะพอมอง เห็นประวัติ าสตร์ชว่ งหนึง่ ของสังคม เห็นการเปลีย่ นแปลงอย่างไม่สนิ้ สุด และ เรื่องราวหลายเรื่องยังทันสมัย เป็นบทเรียนที่ดีให้คนอ่านได้รับรู้ ผู้เขียนหวังว่า ตลอดทางที่อ่านหนังสือเล่มนี้จนจบ ผู้อ่านคงได้อรรถรส หลากหลายอารมณ์ ทั้งสนุก สะใจ เ ร้า และข�าๆ กับเรื่องราวแสนวุ่นวายใน โลกใบนี้ วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

5 fr.editor 1.indd 5

15/9/2010 17:13


สารบัญ ๑๐ ๑๓ ๑๖ ๑๘ ๒๐ ๒๓ ๒๕ ๒๗ ๒๙ ๓๑ ๓๓ ๓๕ ๓๗ ๔๐ ๔๒ ๔๔ ๔๖ ๔๘ ๕๐ 6 fr.editor 1.indd 6

เริ่มต้นชีวิตบรรณาธิการ แด่ สืบ นาคะเสถียร ประหยัดพลังงาน หลวงพ่อประจักษ์ น�้าเสีย ปญหาของทุกคน กระดาษรีไ เคิล พ ษภาวิปโยค เขื่อนในป่าอนุรักษ์ แด่หมอบุญส่ง น�้ากับสนามกอล์ ราอูล วาเลนเบิร์ก ๒๐ ป ๑ ตุลา แด่ อ เ อ หริพิทักษ์ เรื่องของ ันนี่ ผึ้งแตกรัง เด็กรุ่นใหม่กับ อ ปวย พิพิธภัณ ์ไทย ประเท รวยที่สุดในโลก สุริยุปราคาเต็มดวง

๕๓ ๕๖ ๕๘ ๖๐ ๖๒ ๖๕ ๖๘ ๗๑ ๗๔ ๗๗ ๘๑ ๘๔ ๘๗ ๙๐ ๙๓ ๙๖ ๙๙ ๑๐ ๒ ๑๐ ๕

เบื้องหลังยาบ้า วั นธรรมการอ่าน ไต่ผาตีผึ้ง Alien Species อุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด เดินป่าภูเขียว ปเสือดุ ป่าสาละวิน ท่อกา ไทย พม่า ใหญ่ที่สุดในโลก ปล่อยคนชั่วให้ลอยนวล มูลค่าของธรรมชาติ ดัชนีหุ้นกับบันไดปลาโจน สยามประเท แด่ ปวย อึงภากรณ์ ไพโรจน์ สุวรรณากร นกเงือกแห่งเทือกบูโด นักรบชายขอบ ๑๐๐ ป ปรีดี พนมยงค์

Notes from the Editor วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 15/9/2010 17:13


๑๐ ๘ ๑๑ ๑ ๑๑ ๔ ๑๑ ๘ ๑๒๑ ๑๒๔ ๑๒๗ ๑๓ ๐ ๑๓ ๓ ๑๓ ๖ ๑๓ ๙ ๑๔ ๒ ๑๔ ๕ ๑๔ ๘ ๑๕๑ ๑๕๔ ๑๕๗ ๑๖ ๐ ๑๖ ๓

ปญหาของเขื่อน คนเหล็กที่มีชีวิต ชนชั้นกลาง ๑๐ ป สืบ นาคะเสถียร เดินตีนเปล่า เล็ก วิริยะพันธุ์ บ้านนักการเมือง เกาะเต่า คนบ้ารถไ กระทิงเขาแผงม้า บ้านคลิตี้ สัตว์ไม่เ ็ก ี่ชื่อนิ่ม ลูกน้อย แบกเป้ย�่าหิมะ โกมล คีมทอง เวลาของการใช้ชีวิต สมานสนิท สวัสดิวัตน์ อีโคทัวร์ แม่ลาน้อย

๑๖ ๖ ๑๖ ๙ ๑๗๒ ๑๗๕ ๑๗๘ ๑๘๓ ๑๘๖ ๑๙๒ ๑๙๕ ๑๙๘ ๒๐ ๑ ๒๐ ๔ ๒๐ ๗ ๒๑ ๐ ๒๑ ๖ ๒๑ ๙ ๒๒ ๒ ๒๒ ๕ ๒๒ ๘

นกแต้วแล้วท้องด�า ไม้สักแห่งแก่งเสือเต้น ดูดาวบนยอดดอย นักเลงตัวจริง ๒๐ ป สารคดี เปลวเทียน ค่ายอาสาพั นา ปาก ัน เจริญ วัดอักษร นาข้าวอีสาน จีเอ็มโอ ตากใบวิปโยค ห้องเรียนไวโอลิน บันทึกสึนามิ ร่องรอยหลังสึนามิ ความเกากับความเก่า โกงไม่เป็นไร ขอให้มีผลงาน ดอยหลวงเชียวดาว บ้านเล็กในป่าใหญ่

7 fr.editor 1.indd 7

15/9/2010 17:13


๒ ๓ ๑ กลับไปหาแม่ ๒ ๓ ๔ Newsbreak ๒๓ ๗ ๒๔ ๑ ๒๔ ๔ ๒๔ ๗ ๒๕ ๐ ๒๕ ๓ ๒๕ ๖ ๒๖ ๐ ๒๖ ๓ ๒๖ ๖ ๒๖ ๙ ๒๗๒ ๒๗๕ ๒๗๘ ๒๘ ๑ ๒๘ ๔ ๒๘ ๙ ๒๙ ๒ 8 fr.editor 1.indd 8

ตัวอย่างของสื่อรุ่นใหม่ บทเรียนจาก รีลังกา ัวเถา แ ลมอนดีจริงหรือ แนวกันไ ๑๐๐ ปพุทธทาสภิกขุ สินค้ามือสอง ขี้มูกของคนแก่งคอย หนังสือต้องห้าม โคโยตี้ แบดมินตัน โลกร้อนมาเยือน โอกาสกับวิก ต กกี่ภัตตาคาร พูน ุข พนมยงค์ ติชนัท ันห์ เล่าเรื่องพม่า กล้วยแขก ดัชนีวัดภูมิปญญาไทย มด วนิดา

๒๙ ๕ ๒๙ ๘ ๓๐ ๑ ๓๐ ๖ ๓๐ ๙ ๓๑ ๑ ๓๑ ๔ ๓๑ ๗ ๓๒ ๐ ๓๒ ๓ ๓๒ ๖ ๓๒ ๙ ๓๓ ๒ ๓๓ ๕ ๓๓ ๘ ๓๔ ๑ ๓๔ ๖ ๓๔ ๙ ๓๕ ๒ ๓๕ ๖

เดือนแห่งความรัก โลกไม่ร้อนด้วยมือเรา การอ่านของคนไทย เรื่องของนา กาเก่า การค้นพบใหม่ ีไรต์ประเภทสารคดี เขย รั่งบุกไทย แม่โพสพกับเด็กรุ่นใหม่ มองผ่านหน้าต่างเครื่องบิน การเมืองกับเด็กประถม ภูเขาขยะ อีกด้านของพลังงาน แสงอาทิตย์ ทางออกของการท่องเที่ยว เขตปลอดมือถือ ร�าลึกถึงชาวพม่า ป่าชายเลนผืนสุดท้ายของภูเก็ต เชื่อกับ ง ความจริงกับการเปลี่ยนแปลง ความ นกับเงินในกระเปา อภิสิทธิจากแดนไกล

Notes from the Editor วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 15/9/2010 17:13


Notes from the Editor

บทบรรณำธิกำร นิตยสำรสำรคดี

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 9 fr.editor 1.indd 9

15/9/2010 17:13


เริ่มต้นชีวิต บรรณาธิการ ปี ที่  ๖  ฉบั บที่  ๖๒  เมษายน  ๒๕๓๓

ค้ำงคำวอำจเป็นสัตว์ลกึ ลับของคนจ�ำนวนมำก เสียงเล่ำลือเกีย่ วกับค้ำงคำว ก็มักจะเป็นไปในทางที่ไม่ดี เป็นต้นว่าค้างคาวดูดเลือด ค้างคาวท�าลายพืช พรรณของชาวไร่ชาวสวน ครัง้ หนึง่ ตอนเริม่ ตัง้ สารคดี ใหม่ๆ พวกเราเคยเลีย้ งค้างคาวไว้ตวั หนึง่ ด้วย เหตุบังเอิญ แรกๆ ไม่ค่อยมีคนอยากเข้าใกล้มัน เพราะกลัวติดโรค กลัวความลึกลับ นานาชนิดที่ งอยู่ในหัวตั้งแต่เล็กๆ พอเลี้ยงไปเลี้ยงมาจนมันโตขึ้น พวกเราก็เริ่มคุ้นเคยเอ็นดูมันมากขึ้น ตอนเช้าๆ ก็ผลัดกัน อื้ กล้วยน�า้ ว้ามาให้กนิ หน้าตาของมันก็ไม่ได้นา่ ขยะแขยง ออกจะน่ารักน่าชังเสียมากกว่า เพื่อนเราบางคนยังนึกอยากจะพาค้างคาวไปห้อยหัวเดินเล่นที่สยาม สแควร์ให้คนเดินผ่านไปมาได้อิจ าเล่น 10 fr.editor 1.indd 10

Notes from the Editor วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 15/9/2010 17:13


ที่เล่ามาทัง้ หมดนี้เพื่ออยากให้ท่านผู้อ่านได้มีความรู้เพิ่มขึ้นว่า ความจริง แล้วค้างคาวเป็นสัตว์ที่มีคุณมากกว่าโทษ ค้างคาวกินผลไม้ ช่วยท�าให้พืชหลายชนิดสามารถกระจายพันธุ์ได้เป็น อย่างดี และจากการ กึ ษาของนักวิทยา าสตร์พบว่า มีผลไม้หลายชนิดทีต่ อ้ ง อา ัยการผสมเกสรโดยค้างคาวเท่านั้น อาทิ ทุเรียน และกล้วย ค้างคาวกินแมลง ในแต่ละคืนมันช่วยกินแมลงทีเ่ ป็น ตั รูของพืชไร่จ�านวน นับล้านๆ ตัว โดยที่ชาวไร่ไม่ต้องอา ัยยา ่าแมลงเลย ธรรมชาติต่างพึ่งพาอา ัย ึ่งกันและกันมาช้านานแล้ว มนุษย์ต่างหากที่ เข้าใจผิด อ่าน ค้างคาว จากเขาช่องพรานสู่ความจริงที่ต้องเข้าใจ จะช่วยยืนยัน ความคิดข้อนี้ได้ดี ผมเองเป็นเพียงคนหนึ่งที่เป็นตัวแทนของทีมงำน ๔๐ กว่ำชีวิต ที่อยู่ เบื้องหลังหนังสือเล็กๆ เล่มนี้ เพื่อนผมหลายคนมักพูดเสมอว่า สารคดี โชคดีที่ได้ทีมงานที่เข้มแข็ง มาโดยตลอด เราท�างานกันเป็นทีม ผมอาจจะอยูใ่ น านะทีเ่ ปรียบเสมือนพ่อครัวคอยปรุงอาหารทีม่ คี ณ ุ ค่าทาง โภชนาการให้แก่ผู้บริโภค ึ่งนอกจากจะมีคุณค่าแล้ว อาหารจานนี้ก็ควรมี รสชาติอร่อย ให้ผู้คนอยากมาลองลิ้มชิมรสกัน พ่อครัวอย่างผมจึงต้องปรุงอาหารให้อร่อยและมีประโยชน์ด้วย สารคดี บับทีผ่ า่ นๆ มา บาง บับอาจอร่อยเกินไป บาง บับอาจมีคณ ุ ค่า ทางอาหารมากเกินไปจนไม่ค่อยอยากรับประทานมากนัก ึ่งบางคนอาจจะ ชอบรสชาติแบบนี้ บางคนอาจจะไม่ชอบรสชาติแบบนั้น 11 fr.editor 1.indd 11

15/9/2010 17:13


ทั้งนี้และทั้งนั้นขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของท่านผู้อ่าน เพราะเราตระหนัก อยู่เสมอว่า ท่านผู้อ่านคือนายที่แท้จริงของสารคดี ชอบหรือไม่ชอบรสชาติแบบไหนก็จดหมายติชมกันเข้ามาเถิด แต่สงิ่ หนึง่ ในการจัดท�าสารคดี ที่ท่านผู้อ่านจะได้รับอย่างแน่นอน นั่นคือ หลักการของ หนังสือสารคดี หลักการที่ว่านั้นคือ การสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอนุรักษ์ ธรรมชาติ ตั้งแต่สัตว์ป่า ต้นไม้ ป่าเขา ทรัพยากรในทะเล ไปจนถึงการเสนอ ปญหาทางด้านนิเว ที่เกิดขึ้นในเมืองไทย ตลอดจนสิง่ ทีม่ คี ณ ุ ค่าในเมืองไทยอันเกิดจากการคิดสร้างสรรค์ของคนไทย สิ่งที่แสดงถึงเอกลักษณ์และรากเหง้าของความเป็นไทย ยังมีเรื่องราวอีกมากมายในโลกนี้และในสังคมไทย ที่สารคดี พยายาม ค้นหามาก�านัลแด่ท่านผู้อ่าน โลกไม่เคยหยุดนิ่งและเปลี่ยนแปลงเสมอ ด้านหนึ่งของโลกอาจดูโหดร้าย แต่อีกด้านหนึ่งของโลกยังงดงามอยู่ มาช่วยกันสร้างด้านที่โหดร้ายให้สวยงาม มาช่วยกันสร้างโลกนี้ให้น่าอยู่และมีความหวังมากขึ้น นี่คือภารกิจของ สารคดี

12 fr.editor 1.indd 12

Notes from the Editor วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 15/9/2010 17:13


แด่ สืบ นาคะเสถียร ปี ที่  ๖  ฉบั บที่  ๖๗  กั นยายน  ๒๕๓๓

แด่...สืบ นำคะเสถียร ไม่กี่วันหลังจากที่สารคดี เล่มนี้ปดต้น บับ เพื่อนคนหนึ่งในแวดวงนัก อนุรักษ์ธรรมชาติได้โทร ัพท์มาแจ้งข่าวร้ายให้ทราบว่า คุณสืบ นาคะเสถียร หัวหน้าเขตรักษาพันธุส์ ัตว์ปา่ ห้วยขาแข้งและที่ปรึกษาของสารคดี ได้เสียชีวิต แล้วที่ห้วยขาแข้ง ทุกคนที่เคยท�างานใกล้ชิดกับพี่สืบ หรือผู้ที่เคยติดตามการท�างานของ พี่สืบ คงมีความรู้สึกเหมือนกันคือ ทุกคนรับไม่ได้กับความจริงที่ว่า พี่สืบจากพวกเราไปแล้วจริงๆ เมื่อครู่นี้ ผู้อ่านสารคดี ท่านหนึ่งโทร ัพท์มาร้องไห้กับสารคดี เมื่อทราบ ข่าวร้ายทางหน้าหนังสือพิมพ์ สืบ นาคะเสถียร คือผู้อยู่แถวหน้าสุดในขบวนการอนุรักษ์ธรรมชาติของ เมืองไทย 13 fr.editor 1.indd 13

15/9/2010 17:13


น�้าเสีย ปญหาของทุกคน ปี ที่  ๗  ฉ บั บ ที่  ๗ ๗   กรกฎาคม  ๒๕๓๔

ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ เป็นปีที่สหประชำชำติก�ำหนดว่ำ เป็นปีที่ประชำชนจะมี สุขภาพดีโดยถ้วนหน้า แต่ป พ ๒ ก็เป็นปที่แม่น�้าเจ้าพระยานับตั้งแต่บริเวณสะพาน พระรามหกไปจนถึงปากน�้า จังหวัดสมุทรปราการ จะเน่าสนิทเป็นสีด�าแบบ คลองโอ่งอ่าง คลองผดุงกรุงเกษม เน่าสนิทเป็นนิจนิรนั ดร์อย่างไม่มที างจะเยียวยารักษาได้ ตราบใดทีม่ กี าร ขับถ่ายน�้าเสียลงแม่น�้าเจ้าพระยาอย่างที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ ใครคือผู้ต้องหาส�าคัญที่ท�าให้แม่น�้าเจ้าพระยาช่วงที่ไหลผ่านกรุงเทพ มหานครต้องมีอันเป็นไปเช่นนี้ ตัวการส�าคัญไม่ใช่โรงงานอุตสาหกรรมอย่างที่เราคิดครับ แต่ ๐ เปอร์เ ็นต์ที่ท�าให้แม่น้�าเจ้าพระยาเน่าเสียคือพวกเราทุกคนที่ อา ัยในกรุงเทพมหานคร 20 fr.editor 1.indd 20

Notes from the Editor วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 15/9/2010 17:13


อย่าไปโทษคนทีอ่ ยูต่ ามล�าคลองหรืออยูต่ ดิ แม่นา�้ ว่าเป็นตัวการทิง้ ของเสีย เลยครับ ท่อระบายน�า้ นทุกแห่งคือทีร่ ะบายน�า้ โสโครกตามบ้านเรือน ท่อเหล่านีก้ ็ ต่อลงคูคลองทัง้ หลายจนเน่าด�า และคูคลองเหล่านีก้ ไ็ หลสูแ่ ม่นา�้ เจ้าพระยาอีกที จริงไหม มนุษย์อย่างพวกเราเห็นแม่นา�้ เจ้าพระยาเป็นทีร่ ะบายความทุกข์เสียจริงๆ มีการส�ารวจพบว่าคนเมืองกรุงใช้น�้าเ ลีย่ วันละ ๒๐๐ ลิตร ตัง้ แต่อาบ กั ผ้า ขับถ่าย และใช้ในครัว ส่วนพวกทีอ่ า ยั ตามคอนโดมิเนียมใช้มากถึงวันละ ๐ ลิตร คิดเสียว่ามีประชากรในกรุง ล้านคน แสดงว่าวันหนึ่งเราปล่อย น�้าเสียลงน�้าถึงวัน ๑, ๐๐ ล้านลิตร แต่เชือ่ ไหมตัวการท�าน�า้ เสียมากทีส่ ดุ หาใช่นา�้ จากการขับถ่าย แต่เป็นน�า้ เสียจากห้องครัว สภาวะน�้าเสียไม่จ�าเป็นต้องวัดจากกลิ่นเหม็น แต่วัดว่าน�้าเสียนั้นยังมีค่า ออก ิเจนเหลืออยู่หรือเปล่า มีการวิจัยพบว่าน�้าเสียจากภัตตาคาร ร้านอาหาร และจากครัวของบ้าน เรือน คือตัวการท�าลายแม่น�้าเจ้าพระยามากที่สุด หากถามว่าตอนนี้ใครควรรับผิดชอบกับน�้าเสียที่เกิดขึ้น ไม่ใช่ กทม ไม่ใช่คนที่อยู่ริมแม่น�้า แต่คือพวกเราทุกคนครับ พวกเราคือส่วนหนึ่งของปญหาที่เกิดขึ้น หากถามว่าจะช่วยแก้ปญหาอย่างไร ทางออกก็คอื ว่า เริม่ คิดเสียใหม่วา่ น�้าเป็นทรัพยากรทีจ่ �าเป็นทีส่ ดุ จงเห็น คุณค่าของมัน โดยการใช้น�้าอย่างประหยัด พยายามเอาน�้ามาใช้อย่างคุ้มค่าที่ สุด อาทิ เอาน�้าจากการ ักผ้ามาใช้ในชักโครก อย่าลืมว่าเราชักโครกทีหนึ่ง ใช้น�้า ๑ ลิตร แต่ถ้าเป็นโถส้วมแบบราดน�้าใช้เพียงลิตรกว่าๆ เท่านั้น หรือ 21 fr.editor 1.indd 21

15/9/2010 17:13


ประเท รวยที่สุด ในโลก เมือ่ เร็วๆ นี้ ธนำคำรโลกจัดอันดับประเทศทีร่ ำ�่ รวย ที่สุดด้วยวิธีการใหม่ ท�าให้ประเท มหาอ�านาจทาง ปี ที่  ๑๑  เ รษ กิจอย่างสหรั อเมริกา ญีป่ นุ่ ตกอันดับ ประเท ฉบั บที่  ๑๒๘  ที่ร�่ารวยที่สุดในโลกกลับเป็นออสเตรเลีย ตุ ลาคม  สมัยก่อนการจัดอันดับประเท ทีร่ า�่ รวยท�าโดยค�านวณ ๒๕๓๘ รายได้ประชากรต่อคนต่อป ผลที่ได้คือ ๑ ลักเ มเบิร์ก , ๐ เหรียญ ๒ สวิตเ อร์แลนด์ , ๐ เหรียญ ญี่ปุ่น ๒ , ๐ เหรียญ สวีเดน ๒ , ๐๐ เหรียญ เดนมาร์ก ๒ , ๐ เหรียญ นอร์เวย์ ๒ , ๑๐ เหรียญ ไอ ์แลนด์ ๒ , ๐ เหรียญ ออสเตรีย ๒ , ๐ เหรียญ สหรั อเมริกา ๒ ,๒ ๐ เหรียญ ๑๐ รั่งเ ส ๒๒,๐๐๐ เหรียญ แต่สูตรการค�านวณแบบใหม่ที่ธนาคารโลกใช้ คือการประเมินมูลค่าของ ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ดิน น�้า ป่าไม้ แร่ธาตุต่างๆ สินทรัพย์ที่ได้จากการ ผลิต เครือ่ งจักร อาคาร สาธารณูปโภคทีเ่ ป็นปจจัยพืน้ าน ทรัพยากรมนุษย์ และคุณค่าของชุมชน สถาบันทางสังคมและองค์กรต่างๆ ทางสังคม 48 fr.editor 1.indd 48

Notes from the Editor วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 15/9/2010 17:13


ผลปราก ว่า ออสเตรเลียเป็นประเท ทีร่ วยทีส่ ดุ ในโลก คือ มีสนิ ทรัพย์ตอ่ คนถึง ,๐๐๐ เหรียญ รองลงมา คือ แคนาดา ๐ ,๐๐๐ เหรียญ ญีป่ นุ่ หล่นไปอยูอ่ นั ดับที่ คือ ,๐๐๐ เหรียญ ส่วนสหรั อยูอ่ นั ดับที่ ๑๒ คือ ๒๑,๐๐๐ เหรียญ ออสเตรเลียและแคนาดาติดอันดับประเท ที่ร�่ารวยที่สุดในโลก เพราะ เป็นประเท ที่มีทรัพยากรธรรมชาติมากเมื่อเทียบกับประชากรของประเท นอกจากนี้รั บาลของทั้งสองประเท ยังให้ความสนใจอย่างมหา าลต่อปญหา สิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการพั นาประเท ประชาชนของทั้งสองประเท ก็ ตื่นตัวในเรื่องนี้มาก รั บาลออสเตรเลียมีก หมายเข้มงวดเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ออสเตรเลียเป็นประเท แรกที่คัดค้านการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ของ รั่งเ ส ชาวออสเตรเลียพากันประท้วงโดยไม่ ื้อสินค้า รั่งเ ส บริษัทแคนาดาเป็นผู้น�าในการสร้างเทคโนโลยีด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม ตลอดจนมีกระบวนการผลิตสินค้าที่รักษาสิ่งแวดล้อม หันมาดูประเท ไทย รั บาลชุดนี้มีความชาญ ลาดในการน�าทรัพยากร ธรรมชาติมาใช้อย่างเต็มที่ ไม่ว่าความคิดในการต่ออายุสัมปทานโรงโม่หิน ในพื้นที่ป่าลุ่มน�้าชั้น ๑ เอ ความคิดในการสร้าง ายน�า้ ล้น และอุโมงค์ส่งน�้า ความยาว ๒ กิโลเมตร ในเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ปา่ ห้วยขาแข้ง ความคิดในการ สร้างเขือ่ นแก่งเสือเต้น โดยต้องสูญเสียพืน้ ทีป่ า่ ไม้สกั ในอุทยานแห่งชาติแม่ยอม ไป ๒ หมื่นกว่าไร่ ตลอดจนโครงการอื่นๆ ที่จ�าเป็นต้องใช้พื้นที่ป่าอนุรักษ์ ตัวเลขล่าสุดที่กรมป่าไม้เปดเผยเมื่อเดือนกรก าคม ๒ ระบุว่า ประเท ไทยมีพื้นที่ป่าไม้ไม่ถึงร้อยละ ๒๐ แล้ว การจัดอันดับประเท ทีร่ �่ารวยโดยธนาคารโลก ประเท ไทยอยูใ่ นอันดับที่ คือมีสินทรัพย์ต่อคน ,๐๐๐ เหรียญ ปหน้าไม่รู้ว่าประเท ไทยจะหล่นไปอยู่อันดับที่เท่าไร 49 fr.editor 1.indd 49

15/9/2010 17:13


เล็ก วิริยะพันธุ์ จงอย่าได้เสียเวลาและชีวิตของท่าน ไปสั่งสมแต่สิ่งที่ จะกลายเป็นผุยผงในกาลต่อไป จงพยายามแสวงหาอุดมคติ มิใช่วัตถุ เพราะว่ามี แต่อุดมคติเท่านั้น จึงจะให้ชีวิตของเรามีความหมาย และก็มีแต่อุดมคติเท่านั้น จึงจะมีคุณค่าอันเป็นอมตะ เล็ก วิริยะพันธุ์

ปี ที่  ๑๖  ฉบั บที่  ๑๙๐  ธั น าคม  ๒๕๔๓

กลำงเดือนที่ผ่ำนมำ หนังสือพิมพ์หลำยฉบับรำยงำนข่ำวทำงหน้ำหนึ่ง แจ้งข่าวการเสียชีวติ ของคุณเล็ก วิรยิ ะพันธุ์ เมือ่ วันที่ ๑ พ จิกายน สิรอิ ายุ ได้ ป คนรุ่นเก่ารู้จักเสี่ยเล็ก หรือ เล็ก วิริยะพันธ์ุ กันดีว่าเป็นใคร และมีผลงาน ในด้านใด แต่คนรุ่นใหม่จ�านวนมากคงไม่เคยได้ยินนามผู้นี้มาก่อน คุณเล็ก วิริยะพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ พ จิกายน ๒ ที่กรุงเทพ มหานคร เป็นผูท้ รี่ กั การอ่าน และการค้นคว้าต�ารับต�าราต่างๆ มีความสนใจใน เรื่องปรัชญา าสนา และ ิลปวั นธรรม เป็นคนช่างคิด ช่างสังเกต และมัก น�าข้อคิดข้อสังเกตเหล่านั้นมาทดลองป ิบัติด้วยตนเองตั้งแต่เยาว์วัย ท่านส�าเร็จการ กึ ษาในระดับอุดม กึ ษาจากมหาวิทยาลัยเ ยี่ งไ ้ ประเท จีน ในระหว่างการ ึกษา ท่านได้ใช้เวลา ึกษาถึงแหล่ง ิลปวั นธรรมของ ประเท ต่างๆ ในเวลาว่าง ท่านชอบสะสมของเก่าทีเ่ ป็นโบราณวัตถุ โดยเน้น 124 fr.editor 2.indd 124

Notes from the Editor วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 15/9/2010 17:17


ทางด้านโบราณคดีและชาติพันธุ์ เป็นการสะสมเพื่อการ ึกษาด้วยใจรักและ หวงแหน จนสิ่งเหล่านี้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตจิตใจ ในทางอาชีพการงาน คุณเล็กประสบความส�าเร็จอย่างสูงจากการเป็น ตัวแทนจ�าหน่ายรถเมอ เิ ดสเบน ์ รถเกงพันธุเ์ ยอรมันในประเท ไทย ภายใต้ ชื่อบริษัทธนบุรีพานิช จนกระทั่งถึงป พ ๒ ๐ คุณเล็กหันมาทุ่มเทให้แก่ งานทีถ่ อื ว่าเป็นการตอบแทนแผ่นดิน ด้วยการสร้างสรรค์งานทาง ลิ ปวั นธรรม ครั้งส�าคัญขึ้นในประเท นั่นคือ เมืองโบราณ ึ่งอยู่ที่อ�าเภอบางปู จังหวัด สมุทรปราการ เมืองโบราณเป็นสถานที่ งึ่ เกิดจากการผสมผสานกลมกลืนของสิง่ ก่อสร้าง สภาพแวดล้อม เพือ่ แสดงชีวติ ความเป็นอยูข่ องผูค้ นบนผืนแผ่นดินไทยในอดีต ให้ผู้เข้าไป ึกษาได้รู้จักประวัติ าสตร์ ิลปวั นธรรม ชีวิตความเป็นอยู่ าสนา และความเชื่อถือต่างๆ ที่ส�าคัญคือ ให้คนไทยได้รู้จักตัวเอง และให้คนต่างชาติได้รู้จักคนไทย อย่างถ่องแท้ ในป พ ๒ ๑ เมืองโบราณเปดให้ประชาชนได้เข้าชม โดยเก็บเงิน ค่าเข้าชมคนละ ๐ บาท งึ่ จนถึงปจจุบนั ก็ยงั คงยืนราคาเดิมไม่เปลีย่ นแปลง ด้วยคุณเล็กต้องการให้เมืองโบราณเป็นสถาน ึกษาที่ส�าคัญของชาติ ตาม เจตนารมณ์ที่ว่า เมืองโบราณคือเมืองในอดีต อดีตคือช่วงเวลาที่ผ่านไป ช่วงเวลาที่ผ่าน ไปย่อมต้องมีช่วงเวลาที่ติดตามมา เหตุวันนี้ย่อมสืบเนื่องมาจากเมื่อวานนี้ การเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ ในวันพรุง่ นี้ ย่อมมาจากวันนี้ ะนัน้ เรือ่ งของอดีต คนปจจุบันจ�าเป็นจะต้องรู้ หากเราไม่รู้จักอดีต ก็เหมือนเดินเรือในท้องทะเล โดยปรา จากเข็มทิ และหางเสือ ผลที่จะเกิดขึ้นกับเรือล�านั้นเป็นที่น่าวิตก กังวลเป็นอย่างยิ่ง 125 fr.editor 2.indd 125

15/9/2010 17:17


เกาะเต่า ค�่ำคืนของปลำยเดือนกุมภำพันธ์ ที่ตลำดท่ำเรือบ้านดอน จังหวัดสุราษ ร์ธานี ยังคงคลาคล�่าไปด้วย ปี ที่  ๑๗  นักท่องเที่ยวที่ออกมา ื้อของและกินอาหาร ฉบั บที่  ๑๙๓  ทีร่ า้ นขายเบียร์สดหน้าท่าเรือ รัง่ แบกเป้หลายสิบ มี นาคม  คน ึ่งส่วนใหญ่เดินทางมาจากย่านถนนข้าวสารใน ๒๕๔๔ กรุงเทพ ก�าลังนั่งดื่มเบียร์รอเวลาที่เรือโดยสารหรือ เรือนอนจะออกจากท่ามุ่งหน้าไปเกาะพะงัน เรือจะออกตอนห้าทุ่มและถึง เกาะพะงันในตอนรุ่งสาง เรือโดยสารที่ว่านี้อันที่จริงก็คือเรือบรรทุกสินค้าสร้างด้วยไม้แบ่งเป็นสาม ชั้น แต่ละชั้นมีเพดานต�่ามากชนิดต้องก้มหัวเดิน สองชั้นล่างบรรทุกสินค้า จ�านวนมหา าล ตัง้ แต่ขา้ วสารอาหารแห้ง ตูเ้ ย็น โทรทั น์ เครือ่ งใช้ไ า้ ไป จนถึงหมูเป็นๆ อีก ๑๐ กว่าตัว ทัง้ ยังเป็นทีน่ อนของผูโ้ ดยสาร งึ่ เป็นชาวบ้าน ในพืน้ ที่ ส่วนชัน้ บนสุดจัดไว้สา� หรับนักท่องเทีย่ วโดยเ พาะ แบ่งออกเป็นสอง ง มี ูกนอนเล็กๆ เรียงติดกันแน่นไปทั้งชั้น พอเสียงหวูดดังขึ้น เรือโดยสารก็ ล่องจากท่าออกไปตามล�าน�า้ ตาป มุง่ หน้าสูท่ ะเลใหญ่ ผูโ้ ดยสารชัน้ บนกว่า ๐ ชีวิตนอนเรียงกันเป็นตับแทบไม่มีที่ว่าง ดูไม่ต่างอะไรจากเรืออพยพที่บรรทุก ผู้ลี้ภัยจากเวียดนามหรือเขมรหนีภัยสงครามมาขึ้น งไทยเมื่อ ๑๐ กว่าปก่อน เกือบทั้งหมดเป็น รั่งแบกเป้ มีคนไทยเพียงสามคน ึ่งรวมถึงตัวผมด้วย ความจริงจุดหมายปลายทางของผมอยูท่ เี่ กาะเต่า บังเอิญทีเ่ รือโดยสารจาก บ้านดอนตรงไปเกาะเต่าเกิดเสียกะทันหัน จึงต้องลงเรือนอนล�านีเ้ พือ่ ไปต่อเรือ 130 fr.editor 2.indd 130

Notes from the Editor วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ 15/9/2010 17:17


ทีเ่ กาะพะงัน อย่างไรก็ตามการได้นอนเบียดเสียดกับคนแปลกหน้าจ�านวนมากๆ อย่างนี้ ก็นบั เป็นประสบการณ์การเดินทางกลางคืนทีไ่ ด้รสชาติอกี ครัง้ หนึง่ ในชีวติ เช้าตรูข่ องวันรุง่ ขึน้ เสียงอึกทึกจากการขนถ่ายสินค้าขึน้ ง ปลุกผูโ้ ดยสาร ให้รวู้ า่ เรือมาถึงเกาะพะงันแล้ว ผมลงจากเรือนอนไปรอต่อเรือทีจ่ ะเดินทางไป เกาะเต่า เรือเร็วขนาด ๐ ที่นั่งใช้เวลาเกือบ ๒ ชั่วโมงก็เดินทางถึงที่หมาย และเช่นเคย ผู้โดยสารเกือบทั้งหมดเป็น รั่งแบกเป้ สี่ห้าปมานี้เกาะเต่า เกาะขนาดย่อมกลางอ่าวไทยที่มีเนื้อที่เพียงหมื่นกว่า ไร่ กลายเป็นสวรรค์ของ รั่งแบกเป้ที่มาเช่าเกสต์เ าส์ราคาคืนละ ๒๐๐ ๐๐ บาท ใช้ชีวิตอยู่เป็นเดือนๆ นอนอาบแดด ว่ายน�้าดูปะการัง ในอดีตคนรู้จักเกาะเต่าใน านที่เป็นที่คุมขังนักโทษการเมืองกรณีกบ บวรเดช จนเมื่อ ๑๐ กว่าปที่ผ่านมา เกาะเต่าจึงเริ่มเป็นที่นิยมของนักด�าน�้า จากความงดงามของท้องทะเล หาดทราย และปะการังใต้ผืนน�้า เกาะเต่านับ เป็นแหล่งปะการังทีง่ ดงามทีส่ ดุ ในทะเลด้านอ่าวไทย จนได้รบั ายาว่า ไพลิน แห่งอ่าวไทย ทัง้ ยังติดอันดับ ๑ ใน ๑๐ สถานทีห่ ดั ด�าน�า้ ทีด่ ที สี่ ดุ ของโลกด้วย เราขึ้น งที่ท่าเรือแม่หาด เห็นชัดว่า ความเจริญ จากในเมืองแพร่เข้า มายังเกาะแห่งนี้อย่างเต็มที่ ร้านอาหาร ร้านจ�าหน่ายอุปกรณ์ด�าน�้า ของที่ ระลึก รวมถึงบังกะโลนับร้อยแห่ง ผุดขึน้ รองรับนักท่องเทีย่ วทีม่ าเยือนเกาะแห่ง นี้วันละหลายพันคน ขณะที่ชาวเกาะเจ้าของพื้นที่มีเพียงไม่กี่ร้อยคนเท่านั้น เราจ้างรถสองแถวให้ไปส่งที่หาดทรายแดง ึ่งต้องข้ามเขาไปอีก งหนึ่ง ที่นั่นเป็นหาดทรายเล็กๆ ที่ความเจริญยังไปไม่ถึง น�้าทะเลใสสีสวย สามารถ ด�าน�า้ ดูปะการังและปลาหลากสีได้จากตรงหน้าหาด หาดทรายแดงมีเกสต์เ าส์ เล็กๆ ราคาคืนละ ๐๐ บาท งึ่ มักจะเต็มตลอดป ผูค้ นไม่คอ่ ยพลุกพล่านนัก และเช่นเคยที่แขกแทบทั้งหมดจะเป็นชาวต่างชาติ รั่งที่มาเที่ยวส่วนใหญ่เป็นเยอรมัน มากันทุกปจนเป็นเพื่อนสนิทกัน 131 fr.editor 2.indd 131

15/9/2010 17:17


Notes from the Editor

ความเคยชินในการใช้เทคโนโลยีช่วยให้เราสะดวกสบายขึ้น แต่สิ่งที่แลกมาคือท�าให้เราเสพติดเทคโนโลยีโดยไม่รู้ตัว และท�าให้เราขี้เกียจกันมากพอที่จะไม่ออกไปท่องโลก เดินทางไปหาของจริงกัน

ความจริงที่สร้างแรงบันดาลใจให้คนมาแล้วนับไม่ถ้วน

เขตปลอดมือถือ

Notes from the Editor บทบรรณาธิการนิตยสารสารคดี

บทบรรณาธิส�าคักญทีาร ่ว่า เรากล้าพอที่จะออกตามหาด้านที่ขาดหายไป หรือหลงใหลกับด้านที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ จนไม่ยอมโผล่หัวออกมา นิตยสารสารคดี ค้นหาด้านอื่นๆ อย่าลืมนะครับ ความสุขของมนุษย์คือการ ได้ค้นพบคุณค่าของตัวเอง

เวลำของกำรใช้ชีวิต

ความจริงที่สร้างแรงบันดาลใจให้คนมาแล้วนับไม่ถ้วน

ต้องขอคารวะจิตใจของชาวบ้านบางลากว่า ๑,๐๐๐ คน ท่ามกลางที่ดินราคาแพงยิ่งกว่าทองบนเกาะภูเก็ต มีการบุกรุกพื้นที่ป่ากันแทบทุกแห่ง แต่คนบางลาต่างไม่ยอมถอดใจ หรือถือโอกาสบุกรุกป่าเสียเอง ยังยืนหยัดปกป้องป่าชายเลน ผืนสุดท้ายนี้ไว้

ปำชำยเลนผืนสุดท้ำยของภูเก็ต

บทบรรณาธิการ นิตยสารสารคดี

ISBN 978-974-484-310-4

ราคา ๒๒๐ บาท cover 17-sept.indd 184

วันชัย ตันติวิทยำพิทักษ์

หมวดสังคม

Notes from the Editor ราคา ๒๒๐ บาท

Notes from the Editor

บทบรรณาธิการ นิตยสารสารคดี วันชัย ตันติวิทยำพิทักษ์ 17/9/2010 16:33


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.