คู ่ มื อ
ง่าย ๆ
เ พ่ ื อ รู ้ จั ก แ ม ล ง า น ก ปล
น้ ํ า ย า ส พา ง ึ ่ พ ่ ี ท ฯ ล ฯ
มูลนิธิโลกสีเขียว ก่อตั้งขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช 2534 โดย ม.ร.ว. นริศรา จักรพงษ์ เพื่อท�ำงานด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาควบคู่ไปกับการสื่อสาร และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยหวังให้เด็กและผู้ใหญ่เกิดแรงบันดาลใจ ติดตามความเป็นไปของธรรมชาติ และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนและท้องถิ่นได้ด้วยตัวเอง
ประธานผู้ก่อตั้ง : ม.ร.ว. นริศรา จักรพงษ์ ประธานกรรมการ : ดร. สรณรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ รองประธาน : สายสิริ ชุมสาย ณ อยุธยา เลขาธิการ : นิตยา วงษ์สวัสดิ์ กรรมการ : ดร. อนุชาติ พวงส�ำลี วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ดร. นณณ์ ผานิตวงศ์ ส�ำนักงาน : 2 ซอยสุขุมวิท 43 (แสงมุกดา) แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 0-2662-5766 โทรสาร 0-2662-5767 อีเมล : gwf@greenworld.or.th เว็บไซต์ : www.greenworld.or.th Social : Facebook : มูลนิธิโลกสีเขียว Twitter/Instagram/Line : gwfthailand หากคุณผู้อ่านพบว่าหนังสือของมูลนิธิโลกสีเขียวมีข้อบกพร่อง ช�ำรุด หรือมีความเสียหายอื่น อันเกิดจากการผลิต โปรดส่งกลับคืนมายังมูลนิธิฯ ทางมูลนิธิฯ ยินดีจะจัดส่งเล่มใหม่ให้ท่าน
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ สรณรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์. นักสืบสายน�ำ้ : คู่มือสัตว์ล�ำธาร.--กรุงเทพฯ : มูลนิธิโลกสีเขียว, 2561. 208 หน้า. 1. นิเวศวิทยาน�้ำจืด. I. สรณรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์. II. ชวลิต วิทยานนท์ -- ผู้เขียนร่วม. III. อายุวัต เจียรวัฒนกนก -- ผู้เขียนร่วม. IV. วรพจน์ บุญความดี -- ผู้เขียนร่วม. V. อธิปัตย์ อู่ศิลปกิจ -- ผู้เขียนร่วม. 574.503 ISBN 978-974-7076-35-6
หนังสือ : นักสืบสายน�้ำ : คู่มือสัตว์ล�ำธาร ผู้เขียน : สรณรัชฎ์ กาญจนะวณิชย์ ชวลิต วิทยานนท์ อายุวัต เจียรวัฒนกนก วรพจน์ บุญความดี อธิปัตย์ อู่ศิลปกิจ บรรณาธิการวิชาการ : ดร. นฤมล แสงประดับ จัดท�ำโดย : มูลนิธิโลกสีเขียว สนับสนุนโดย : มูลนิธิสยามกัมมาจล ฉบับปรับปรุง พิมพ์ครั้งที่ 1 : ธันวาคม 2561 ราคา : 300 บาท © สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยมูลนิธิโลกสีเขียว ชุดคู่มือนักสืบสายน�้ำ ประกอบด้วย • คู่มือส�ำรวจและดูแล • คู่มือสัตว์ล�ำธาร ที่ปรึกษาวิชาการ : ดร. นฤมล แสงประดับ ดร. ชวลิต วิทยานนท์ ผู้จัดการ : นิตยา วงษ์สวัสดิ์ บรรณาธิการเล่ม : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ และ ปณต ไกรโรจนานันท์ ภาพวาดประกอบ : กานต์ รัตนจุล ธัญลักษณ์ สุนทรมัฏฐ์ อายุวัต เจียรวัฒนกนก ออกแบบและจัดท�ำรูปเล่ม : ส�ำนักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด พิมพ์ที่ : บริษัททวีวัฒน์การพิมพ์ จ�ำกัด
โดยเฉพาะภาคอีสาน โดย ดร. นฤมล แสงประดับ และทีมจากมหาวิทยาลัย ขอนแก่ น ขณะที่ คู ่ มื อ ฉบั บ เดิ ม จั ด ท� ำ ขึ้ น ภายใต้ ง านวิ จั ย ที่ ยั ง จ� ำ กั ด อยู ่ พอสมควรในช่วงเวลานั้น นอกจากนี้มูลนิธิฯ ยังได้เชิญผู้มีประสบการณ์ ทีด่ ำ� เนินกิจกรรมนักสืบสายน�ำ้ มาตลอด 20 ปี เข้าร่วมพัฒนาปรับปรุงเนือ้ หา โดยมุง่ เน้นให้สนองความต้องการของผูใ้ ช้มากขึน้ และขยายสูก่ ลุม่ เป้าหมาย ที่หลากหลายมากขึ้น มูลนิธโิ ลกสีเขียวขอขอบคุณมูลนิธสิ ยามกัมมาจล ทีเ่ ล็งเห็นคุณค่าและ ประโยชน์ของการจัดท�ำหนังสือชุดนี ้ ด้วยการสนับสนุนงบประมาณด�ำเนินงาน ขอบคุ ณ เพื่ อ นเครื อ ข่ ายนักสืบสายน�้ำที่ช่วยระดมให้ความคิ ด เห็ น และ นักวิชาการที่ปรึกษาทุกท่านที่ให้การขานรับช่วยเหลือการจัดท�ำด้วยดี ด้วยความหวังว่าหนังสือคูม่ อื ชุดนีจ้ ะช่วยสร้างประโยชน์และเปิดประสบ การณ์การเรียนรู้ระบบลุ่มน�้ำ เป็นฐานความรู้ที่สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียน เชื่อมโยงสู่การลงมือปฏิบัติ เพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติของเราต่อไป มูลนิธิโลกสีเขียว ธันวาคม 2561
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
8
วิ ธี ใ ช้ คู ่ มื อ สัตว์ในคู่มือนี้แบ่งออกเป็น 4 หมวด ได้แก่ สัตว์เล็กน�้ำจืด ปลาล�ำธาร นก และสัตว์ประจ�ำสายน�้ำอื่น ๆ วิธีหาชื่อสัตว์ที่พบท�ำตามขั้นตอนง่าย ๆ ได้ดังนี้ 1. เปิดไปดูสารบัญภาพสัตว์หน้าสีของหมวดสัตว์ทพี่ บ ในแต่ละหมวด จะมีภาพตัวแทนกลุ่มสัตว์พร้อมหมายเลขหน้าก�ำกับไว้ เทียบสัตว์ที่พบกับ ภาพตัวแทนเหล่านั้นว่ามีลักษณะใกล้เคียงกับภาพใดที่สุด พลิกไปหน้านั้น 2. ตรวจสอบว่าสัตว์ทพี่ บอยูใ่ นกลุม่ สัตว์นนั้ จริง ๆ ขัน้ ตอนนีส้ ำ� คัญมาก ส�ำหรับหมวดสัตว์เล็กน�ำ้ จืด ซึง่ มีรายละเอียดขัน้ ตอนในการตรวจสอบมากกว่า สัตว์หมวดอื่น จึงควรท�ำความเข้าใจเพิ่มเติมในหน้า 22 3. หาชื่อสัตว์ที่พบภายใต้กลุ่มสัตว์นั้น โดยเทียบรายละเอียดลักษณะ สัตว์กบั ภาพตัวอย่างและข้อความประกอบ สัตว์บางตัวเป็นสัตว์ตวั บ่งชีค้ ณ ุ ภาพ สายน�้ำและมีสัญลักษณ์ตัวบ่งชี้ก�ำกับไว้ ถ้าสัตว์ทพี่ บไม่ตรงกับสัตว์ตวั ใดในคูม่ อื เลย นักสืบควรบันทึกรายละเอียด ไว้ เช่น วาดภาพหรือถ่ายภาพ พร้อมจดลักษณะที่สังเกตเห็น ทั้งรูปร่าง สี ขนาด และพฤติกรรม รวมถึงวันทีแ่ ละสถานทีพ่ บ ตลอดจนลักษณะถิน่ อาศัย ของมัน น�ำข้อมูลทีบ่ นั ทึกไว้ไปเทียบกับคูม่ อื อืน่ ๆ หรือเว็บไซต์ทเี่ ราแนะน�ำไว้ ท้ายเล่ม
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
9
ถ้ายังหาชือ่ ไม่ได้ นักสืบสามารถตัง้ ชือ่ ท้องถิน่ ให้กบั สัตว์ทพี่ บก็ยอ่ มได้ เพือ่ ความสะดวกในการท�ำความรูจ้ กั กับชีวติ ท้องถิน่ ของตัวเอง ใครจะรู ้ มัน อาจเป็นสัตว์ตัวใหม่ที่ไม่มีใครเคยบันทึกไว้มาก่อน เพราะเมืองไทยมีสัตว์ หลากหลายมาก และสัตว์หลายชนิดยังขาดการส�ำรวจอย่างทัว่ ถึง โดยเฉพาะ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัญลักษณ์ในคู่มือ
น�้ำสะอาดมากหรือสายน�้ำคุณภาพดีมาก น�้ำสะอาดหรือสายน�้ำคุณภาพดี น�้ำไม่ค่อยสะอาดหรือสายน�้ำคุณภาพพอใช้ น�้ำสกปรกหรือสายน�้ำคุณภาพไม่ดี คนกินเป็นอาหาร การแบ่งกลุ่มสัตว์
ตามระบบสากลทีใ่ ช้กนั ทัว่ ไป สัตว์จะถูกแบ่งออกเป็นกลุม่ ใหญ่ ๆ และ ซอยลงเป็นกลุม่ ย่อยต่อไปตามลักษณะทีค่ ล้ายคลึงกันในแต่ละกลุม่ คูม่ อื ฉบับนี้ พยายามเลี่ยงใช้ศัพท์วิทยาศาสตร์เท่าที่จะเป็นได้ ดังนั้นเราจะพูดถึงสัตว์ เป็นภาษาไทยธรรมดาว่า กลุ่ม ประเภท และชนิด มีความหมายสอดคล้อง กับศัพท์วิทยาศาสตร์ในภาษาอังกฤษและไทย ดังนี้
ศัพท์วทิ ยาศาสตร์ : phylum - class - order - family - genus - species ศัพท์วิทยาศาสตร์ไทย : ไฟลัม - ชั้น - อันดับ - วงศ์ - สกุล - ชนิด ศัพท์ในคูม่ อื : กลุม่ (ไฟลัม ชัน้ อันดับ) - ประเภท (วงศ์ สกุล) - ชนิด (ชนิด) นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
10
ระวัง ! ศึกษาข้อควรระวังใน คู่มือส�ำรวจและดูแล ก่อนท�ำกิจกรรมส�ำรวจ ในการหาและสังเกตสัตว์อย่าลืมว่า : เพื่อความปลอดภัยต่อตัวเอง • เลี่ยงดงรกพงริมฝั่งน�ำ ้ งูจะไม่ท�ำร้ายใครถ้าไม่ถูกรบกวน • ถ้าส�ำรวจสัตว์กลางคืน ควรสวมรองเท้าบูต ป้องกันอุบตั เิ หตุจากงูทอี่ าจตกใจ • อย่าใช้มือจับสัตว์ บางตัวกัดเจ็บ • อย่าลุยลงน�้ำลึก ไหลเชี่ยว และระวังฤดูนำ�้ ป่าหลากฉับพลัน เพื่อสวัสดิภาพของสัตว์ สัตว์เล็กน�้ำจืดและปลา • ถ่ายสัตว์จากสวิงลงถาดใส่น�้ำโดยตรง อย่าพยายามจับหรือดูสัตว์จากสวิง • ให้สัตว์ได้แช่อยู่ในน�้ำเสมอและอย่าทิ้งไว้กลางแดด • อย่าจับตัวสัตว์ ดูมันเฉย ๆ • อย่าลืมปล่อยสัตว์คืนที่เดิมทุกครั้ง
สัตว์อื่น ๆ
• พยายามไม่รบกวนสัตว์ เฝ้าดูมันห่าง ๆ • ในกรณีของสัตว์ที่อาจพบใต้ก้อนหิน อย่าลืมวางก้อนหินกลับลงไปที่เดิม
มันเป็นบ้านและที่หลบภัยของสัตว์
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
11
สารบั ญ
ตัวอ่อนชีปะขาว 32
สัตว์เล็กน�้ำจืด
17
ตัวอ่อน แมลงเกาะหิน
28
แมลง 24
ตัวอ่อน แมลงหนอนปลอกน�ำ้ ไม่อยู่ในปลอก
52
ตัวอ่อน แมลงช้าง
60
ตัวอ่อน แมลงหนอนปลอกน�ำ้ อาศัยอยู่ในปลอก
43
ตัวอ่อน แมลงปอเข็ม ตัวอ่อน แมลงปอ
64
68
หนอนด้วงน�้ำ
75
สัตว์มีกระดอง 94
ด้วงน�ำ้
72
มวนน�ำ้
หอย
79
101
หนอนริ้นน�ำ้ จืด
86
หนอนผีเสื้อกลางคืนน�ำ้
84
หนอนและปลิง
หนอนแมลงวัน
89
113
ปลิงน�้ำจืด
116
ไส้เดือนน�้ำ
119
หนอนตัวแบน
114
ปลา
122
นก
159
สัตว์ช&ายนํ้า สัตว์ประจําสายนํ้าอื่น ๆ
172
สัตว์ สะเทินน�้ำ สะเทินบก 178
หิ่งห้อย 174
สัตว์ เลื้อยคลาน 191
สัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนม 201
รู ้ จั ก สั ต ว์ เ ล็ ก นํ้ า จื ด “สัตว์เล็กน�้ำจืด” ในที่นี้หมายถึงสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังตามแม่น�้ำล�ำธาร พวกมันเป็นตัวบ่งชีส้ ภาพแวดล้อมทีส่ ำ� คัญ นักวิทยาศาสตร์ทวั่ โลกใช้มนั เป็น ตัววัดคุณภาพน�้ำ เพราะอาณาเขตการหากินไม่กว้างไกล ท�ำให้เราสามารถ ส�ำรวจความเป็นไปในพื้นที่ได้อย่างละเอียดและแม่นย�ำ ทั้งนี้ผู้สนใจสามารถเรียนรู้วิธีการใช้สัตว์เล็กน�้ำจืดตรวจคุณภาพน�้ำ ได้จาก คู่มือส�ำรวจและดูแล แต่นอกเหนือจากความสะอาดสกปรกของน�้ำ พวกมันยังบ่งบอกถึง คุณภาพของแหล่งน�ำ้ ไม่วา่ จะเป็นลักษณะของบ้านทีม่ นั อาศัยอยู ่ หรือลักษณะ ของอาหารที่มีอยู่ในสายน�้ำ เป็นต้นว่า สัตว์กินพืชหลายชนิดจะพบแต่ตาม ล�ำธารในป่า มีร่มไม้ปกคลุม เพราะเป็นสัตว์ที่กินเศษใบไม้ชิ้นใหญ่ ๆ ที่ร่วง หล่นลงมาในน�ำ้ ถือเป็นอาหารมังสวิรัติแบบผู้ดี ในขณะที่สัตว์อีกหลายชนิด จะกินเศษซากอินทรีย์เล็ก ๆ ที่เหลือหรือเริ่มเน่าสลาย ซึ่งอาจเป็นเศษซาก ในพื้นที่นั้น หรือไหลลงมาจากพื้นที่เหนือน�้ำก็ได้ อย่างไรก็ตามสัตว์ทกุ ตัวล้วนมีบทบาทส�ำคัญในระบบนิเวศ การศึกษา สัตว์เล็กน�้ำจืดเหล่านี้จึงเปิดโอกาสให้เราเรียนรู้ความเป็นไปในสายน�้ำได้ มากมาย
คูม่ อื นีอ้ อกแบบไว้ให้นกั สืบสายน�ำ้ สามารถหาชือ่ ประเภทสัตว์เล็กน�ำ้ จืด ตามแม่น�้ำล�ำธารที่มีขนาดใหญ่กว่า 2 มิลลิเมตร จึงเห็นได้ง่ายด้วยตาเปล่า หรืออาจใช้แว่นขยายช่วย นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
18
สัตว์เหล่านี้ที่เรามักพบในล�ำธารมีอยู่ 4 จ�ำพวกใหญ่ ๆ ได้แก่ แมลง สั ต ว์ มี ก ระดอง หอย และพวกตั ว หนอนทั้ ง หลาย ซึ่ ง รวมถึ ง ปลิ ง และ ไส้เดือนด้วย
ขามีข้อพับ งอได้
แมลง หน้า 24 • ขามีข้อ 6 ขา • ตัวอ่อนบางกลุ่มมีขาปลอม • หนอนแมลงวัน ขาปลอม บางชนิดไม่มีขา ดูคล้าย แต่ปล้องล�ำตัว ดุ้นเนื้อกุด ๆ จะน้อยกว่า 15 ปล้อง
หอย • อาศัยในเปลือกหอย
มีขา
(ยกเว้นหนอนแมลงวันบางชนิด)
หน้า 101
สัตว์เล็กน�้ำจืด ขนาด ›2 มิลลิเมตร
สัตว์มีกระดอง • ขามีข้อมากกว่า 8 ขา • มีเปลือกแข็งหุ้มตัว (กระดอง) หน้า 94
ไม่มีขา
หนอนและปลิง • มีทั้งกลุ่มล�ำตัวเป็นปล้อง และไม่เป็นปล้อง • ถ้าตัวเป็นปล้องจะมีปล้อง มากกว่า 15 ปล้อง
หน้า 113
สัตว์เล็กน�้ำจืดบางกลุ่มอาศัยในน�ำ้ ตลอดชีวิต บางกลุ่มใช้ชีวิตเฉพาะ ช่วงเป็นตัวอ่อนในน�้ำ ขึ้นมาบนบกเพื่อผสมพันธุ์และวางไข่กลับลงไปในน�ำ้ อยากรู้จักชีวิตกลุ่มไหนเพิ่มเติมก็พลิกไปดูตามหมายเลขหน้าได้เลย สั ต ว์ เ ล็ ก นํ้ า จื ด
19
วิธีหาสัตว์ กระชอนตาข่ายละเอียด
อุปกรณ์
ถาดลึก หรือกะละมังสีขาว แว่นขยายขนาด x10 แบบที่ใช้ส่องพระ ถ้วยน�้ำจิ้มพลาสติกสีขาว ช้อนพลาสติก พู่กันเล็ก ๆ
สายยาง แผ่นอะคริลิกใส
อุปกรณ์บางอย่าง เราผลิตเองได้
คลิปหนีบ
ประกบแผ่นอะคริลิกใส 2 แผ่น กั้นระหว่างแผ่นอะคริลิกด้วยสายยาง เป็นรูปตัวยู กันน�้ำซึมออก ยึดแน่นติดกันด้วยคลิปหนีบ ก็ได้ตู้ดูสัตว์เล็กน�ำ้ จืด
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
20
ประดิษฐ์กระชอนจากไม้แขวนเสื้อ โดยเย็บผ้าตาข่ายโปร่ง ติดกับโครงลวด
วิธีจับสัตว์
1. ตักน�ำ้ จากล�ำน�ำ้ ใส่ถาดลึก หรือกะละมัง วางไว้ในที่ร่มริมฝั่ง
2. วางกระชอนขวางกระแสน�้ำ ใช้ เท้าคุ้ยพื้นน�้ำให้ฟุ้งขึ้นมาหน้ากระชอน 2-3 ครั้ง เพื่อให้สัตว์ที่ซ่อนตัวอยู่ไหลเข้า มาในกระชอนพร้อมเศษตะกอน น�ำมา ถ่ายลงถาดหรือกะละมังที่เตรียมไว้ 3. ถ้าพบก้อนหินตามท้องน�้ำ เก็บก้อนหินมาแกว่งเบา ๆ ในถาดใส่น�้ำ เพือ่ ให้สตั ว์หลุดจากการเกาะกับก้อนหิน ถ้าไม่หลุดให้ใช้พกู่ นั ค่อย ๆ เขีย่ สัตว์ ลงถาด
สั ต ว์ เ ล็ ก นํ้ า จื ด
21
วิธีดูสัตว์
4. ตักน�้ำใส่ถ้วยน�้ำจิ้มหลาย ๆ ใบ วางเรียงไว้ข้างถาดใส่สัตว์น�้ำ 5. รอให้น�้ำในถาดนิ่งตกตะกอน สังเกตดูว่ามีตัวอะไรเคลื่อนไหว ใช้ ช้อนพลาสติกค่อย ๆ ตักสัตว์ขึ้นมาใส่ในถ้วยน�้ำจิ้ม 6. ใช้แว่นขยายส่องสัตว์ในถ้วยน�้ำจิ้มเพื่อสังเกตรายละเอียดส�ำคัญ หาชื่อสัตว์ด้วย คู่มือสัตว์ล�ำธาร ถ้าท�ำงานเป็นกลุ่ม ให้เพื่อนในกลุ่มลองหา ชื่อสัตว์ตัวเดียวกันด้วยเพื่อความแน่ใจ 7. ถ้าพบสัตว์ที่ไม่มีในคู่มือ ควรบันทึกลักษณะสัตว์และวาดรูปไว้ 8. อ่านรายละเอียดชีวติ สัตว์ทพี่ บในคูม่ อื มันบอกอะไรเราบ้างเกีย่ วกับ ล�ำธารแห่งนี้
วิธีจ�ำแนกหาชื่อสัตว์
การหาชื่อสัตว์ท�ำได้ด้วยการดูลักษณะและพฤติกรรมของมันเฉย ๆ โดยไม่จำ� เป็นต้องจับตัวสัตว์พลิกไปมา วิธนี จี้ งึ ไม่กอ่ อันตรายต่อสัตว์เลย เพียง ท�ำตามขั้นตอนง่าย ๆ ดังนี้ 1. เมือ่ พบสัตว์ เปิดไปยังสารบัญภาพสีสตั ว์เล็กน�้ำจืดหน้า 12-13 ซึง่ แสดงตัวแทนกลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อาจพบได้ในแม่นำ�้ ล�ำธาร แต่ละ กลุ่มมีหมายเลขหน้าก�ำกับไว้ เทียบสัตว์ที่พบกับภาพเหล่านี้ว่ามีลักษณะ ใกล้เคียงกับภาพใดมากที่สุด พลิกไปหน้านั้น
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
22
ตัวอ่อนแมลงเกาะหินจั๊กกะแร้ฟู ชื่ออังกฤษ Common Stonefly Nymphs วงศ์ Perlidae 30 มิ ลลิเมตร (ไม่ รวมหาง) 2. หน้าข้างในนีขนาด ้ให้รายละเอี ยดเกี ่ยวกับกลุ ่มสัตว์ที่พบ ตรวจสอบให้
แน่ใจว่าสัตว์ทพี่ บเป็นสัตว์ในกลุม่ นีจ้ ริง ๆ ขอให้ศกึ ษารายละเอียด “ลักษณะ เด่น” ของกลุ่มสัตว์เสียก่อนว่าตรงกับสัตว์ที่พบหรือไม่ ถ้าไม่ตรงให้กลับไป เทียบภาพสัตว์ในสารบัญภาพสีอกี ครัง้ อย่าลืมตรวจล้อมกรอบ “แน่ใจไหม ?” ว่าไม่ได้สับสนกับสัตว์ตัวอื่น 3. เมื่อตรวจสอบเรียบร้อยแล้วว่าสัตว์ที่พบเป็นสัตว์ในกลุ่ม (อันดับ หรือ order) นั้นจริง ๆ เทียบรายละเอียดลักษณะสัตว์กับตัวอย่างภาพและ ข้อความประกอบเพื่อดูว่าเป็นสัตว์ประเภทใด (วงศ์หรือ family) ในกลุ่มนี้ 4. สัตว์น�้ำจืดแต่ละประเภทจะมีคะแนนคุณภาพน�้ ำก�ำกับไว้เหงื และ อกเป็นกระจุกขน บางประเภทมีรหัสกลุ่มตัวบ่งชี้คุณภาพน�้ำอีกด้วย รหัสนี้จะตรงกับรหัสสัตว์ ในแบบบันทึกข้อมูลการส�ำรวจคุณภาพน�ำ้ กราฟ ตัวอ่อนแมลงเกาะหินจั๊กกะแร้ฟู สังคมสัตว์ที่เราใช้กันใน คู่มือส�ำรวจและดูแล ส่วนคะแนนให้ใช้กบั การส�ำรวจคุณภาพน�ำ้ ด้วยวิธี ค�ำนวณค่าคะแนนเฉลี่ยลักษณะเด่น มีเหงือกเป็นกระจุกเส้น ๆ อยูใ่ ต้โคนขา เป็นปร หลากหลายชนิดและพบมากที่สุดในเมืองไทย เป็นสัตว์ผลู้ า่ กินสัตว์เล็กอืน่ ๆ เช่น ตัวอ ตัวบ่งชี้กลุ่ม คะแนน ้า หนอนริ้น แต่ต A 10 ตัเกิวดอ่รุอ่นนแมลงหนอนปลอกน� แรกจะเก็บเศษอาหารกิน
ชื่ออังกฤษ Common Stonefly Nymphs วงศ์ Perlidae ขนาด 30 มิลลิเมตร (ไม่รวมหาง)
เหงือกเป็นกระจุกขน
ลักษณะเด่น ตัวบ่งชี้กลุ่ม
คะแนน
A 10
มีเหงือกเป็นกระจุกเส้น ๆ อยูใ่ ต้โคนขา เป็นประเภททีม่ อี ยู่ หลากหลายชนิดและพบมากที่สุดในเมืองไทย เป็นสัตว์ผลู้ า่ กินสัตว์เล็กอืน่ ๆ เช่น ตัวอ่อนชีปะขาว ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน�้า หนอนริ้น แต่ตัวอ่อนที่เพิ่ง เกิดรุ่นแรกจะเก็บเศษอาหารกิน
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
30
อย่าลืมว่าสัตว์นำ�้ เหล่านี้ มีชีวิตเช่นเดียวกับเรา พวกมันไม่ใช่เพียงเครื่องมือ ให้เราอ่านสภาพล�ำน�้ำได้เท่านั้น โปรดเคารพชีวิตสัตว์ และสถานที่ส�ำรวจ
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
30
สั ต ว์ เ ล็ ก นํ้ า จื ด
23
ตัวอ่อนชีปะขาว กลุ่มสัตว์ แมลงอันดับ Ephemeroptera ชื่ออังกฤษ Mayfly Nymphs ชื่อค�ำเมือง แมงมอ ชื่อปกาเกอะญอ โดซูแหมะ
ตัวเต็มวัย
ลักษณะเด่น • ส่วนมากมีหางยาว 3 หาง บางครั้งมี 2 หาง หางเรียว
บางเป็นเส้น หรือแตกเป็นแขนงคล้ายขนนก • ส่วนมากมีเหงือกเรียงเป็นแถวข้างล�ำตัว • บางประเภทมีกะบังเหงือกกระพือได้บริเวณ “ตะโพก” • ตาโต • สีนวล สีน�้ำตาลอ่อน-เข้ม
แน่ใจ? ไหม
หางเส้ น กลางของตั ว อ่ อ น ชีปะขาวบางชนิดมีขนาดเล็ก และสั้ น มากจนดู เ หมื อ นมี 2 หาง และ บางชนิ ด ก็ มี ห างเพี ย ง 2 หางจริ ง ๆ จึ ง อาจสับสนได้ว่าเป็นแมลงเกาะหิน ตรวจ สอบอีกครั้งว่ามีเหงือกเรียงเป็นแถวข้าง ตัว หรือมีกะบังเหงือกกระพือขึ้นลงอยู่ แถว “ตะโพก” หรือไม่ ถ้ามีแสดงว่าเป็น ชีปะขาว
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
32
VS
ตัวอ่อน ชีปะขาว
ตัวอ่อน แมลงเกาะหิน (หน้า 30)
วงจรชีวิต ชีปะขาวใช้ชวี ติ ส่วนใหญ่เป็นตัวอ่อนอยูใ่ นน�ำ้ บางชนิดอาจ
อยู่ได้ถึง 2 ปี ในขณะที่บางชนิดมีอายุเพียงไม่กี่สัปดาห์ และลอกคราบเป็นแมลงเต็มวัยมีปีกบินได้เพื่อผสมพันธุ์ แล้ววางไข่กลับลงไปในน�ำ้ ตัวเต็มวัยไม่กนิ อาหารและตาย ภายในไม่กสี่ ปั ดาห์ บางชนิดตายภายใน 2 ชัว่ โมง ชีปะขาว มักลอกคราบออกมาพร้อมกันเป็นฝูงใหญ่ ตัวผูม้ สี ายตาดี เป็นพิเศษ ใช้สอดส่องหาตัวเมีย
ถิ่นที่อยู่อาศัย อาศัยอยู่ตามพื้นใต้น�้ำ บางประเภทขุดรูอยู่ในพื้นทราย และการหากิน แต่ส่วนมากชอบเกาะหากินอยู่ตามก้อนหินหรือพืชใต้น�้ำ
พวกมันจึงมีขาแข็งแรง สามารถคลานไปมาและเกาะหิน ได้มั่น กระนั้นพวกมันก็มักเลี่ยงแรงปะทะจากกระแสน�้ำ โดยเกาะหลบอยู่ใต้ก้อนหิน กินสาหร่าย ตะไคร่น�้ำตาม ก้อนหิน และซากพืชซากสัตว์ชิ้นเล็ก ๆ บางชนิดล่าสัตว์ อื่นกิน
การหายใจ ดูดซึมอากาศในน�ำ้ ผ่านผิวบางและเหงือกข้างล�ำตัว ตัวอ่อน
ส่วนมากพบในน�้ ำสะอาดมาก มีปริมาณออกซิเจนสูง มีเพียงบางประเภททีท่ นปริมาณออกซิเจนต�ำ่ และมลภาวะ ได้
สั ต ว์ เ ล็ ก นํ้ า จื ด
33
ตัวอ่อนชีปะขาวเหงือกขนนก ชื่ออังกฤษ Hacklegill Mayfly Nymphs วงศ์ Potamanthidae ขนาด 12 มิลลิเมตร (ไม่รวมหาง)
กรามโค้งใหญ่
เหงือกเป็นรูปขนนก ชี้กางออกด้านข้าง
หางเป็นรูปขนนก
ลักษณะเด่น ตัวบ่งชี้กลุ่ม
คะแนน
B 10
หางและเหงือกเป็นรูปขนนกกางออกตรง ๆ ไม่พลิว้ ลูพ่ าด หลังเหมือนตัวอ่อนชีปะขาวขุดรู มีกรามโค้งเข้าด้านใน ล่าสัตว์อื่นกินเป็นอาหาร
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
38
ตัวอ่อนชีปะขาวเหงือกแฉก ชื่ออังกฤษ Pronggills Mayfly Nymphs วงศ์ Leptophlebiidae ขนาด 12 มิลลิเมตร (ไม่รวมหาง)
เหงือกแตกเป็นแฉก แบบต่าง ๆ
ลักษณะเด่น
ตัวบ่งชี้กลุ่ม
คะแนน
B 9
แผ่นเหงือกแตกเป็นแฉกโดยอาจมีรูปแฉกต่าง ๆ กัน บางครัง้ คล้ายเส้นผมแตกปลาย รูปทรงล�ำตัวมักยาวรี แต่ หลายชนิดตัวแบนหัวใหญ่ ดูคล้ายตัวอ่อนชีปะขาวตัวแบน แต่หัวออกเหลี่ยมมน ไม่เป็นโค้งพระจันทร์ ส่วนมากกินอนุภาคอินทรีย์ขนาดเล็ก บางชนิด กินสาหร่ายและเศษซากพืช
สั ต ว์ เ ล็ ก นํ้ า จื ด
39
ตัวอ่อนแมลงปอเสือ ตัวอ่อน แมลงปอเสือหางเดียว
ตัวอ่อน แมลงปอเสือธรรมดา
หนวดหนา
ลักษณะเด่น
ชื่ออังกฤษ Clubtail Dragonfly Nymphs วงศ์ Gomphidae ขนาด 20-30 มิลลิเมตร
หนวดหนา
คะแนน
H 8
หนวดหนา
หนวดหนา มนหรือบานกว้าง ไม่เป็นเส้นเรียวเหมือน ตัวอ่อนแมลงปออืน่ ๆ บางชนิดมีลกั ษณะเด่นพิเศษเพิม่ เติม เช่น ตัวอ่อนแมลงปอเสือหางเดียวมีปลายท้องยาวคล้าย หาง ตัวอ่อนแมลงปอเสือใบไม้แห้งมีตัวแบนกว้างคล้าย ใบไม้แห้ง
ตัวบ่งชี้กลุ่ม
ตัวอ่อน แมลงปอเสือใบไม้แห้ง
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
66
ตัวอ่อนแมลงปออื่น ๆ
ภาพแสดงตัวแทนหลายวงศ์ ขนาด 20-40 มิลลิเมตร
ตัวอ่อนแมลงปอบ้าน (Libellulidae)
ตัวอ่อนแมลงปอยักษ์ (Aeshnidae)
ตัวอ่อนแมลงปอมาโคร (Macromiidae)
หางกุด เป็นเดือยหยัก
หางกุด เป็นเดือยหยัก
หางกุดเป็นเดือยหยัก
ลักษณะเด่น ตัวบ่งชี้กลุ่ม
คะแนน
H 6
ตัวยาวรีไปจนถึงสั้นป้อมตามแต่ชนิด หางสั้น กุดเป็นเดือยหยัก ๆ
สั ต ว์ เ ล็ ก นํ้ า จื ด
67
ปูน�้ำจืด กลุ่มสัตว์ ชื่ออังกฤษ ชื่อค�ำเมือง ชื่อปกาเกอะญอ
สัตว์มีกระดองในอันดับ Decapoda Freshwater Crabs ปูจ๋า แฉ่วที
ลักษณะเด่น • กระดองแข็งรูปสี่เหลี่ยมคางหมู
• ขา 10 ขา • ขาคู่หน้าเป็นก้ามหนีบได้
วงจรชีวิต ไข่ทผี่ สมพันธุแ์ ล้วจะเก็บไว้ทจี่ บั ปิง้ บริเวณท้องของตัวเมีย
และเมือ่ ลูกปูฟกั ออกจากไข่ พวกมันก็ยงั คงเกาะอยูท่ ที่ อ้ ง ของแม่ระยะหนึ่ง จนแข็งแรงพอหากินเองได้จึงคลาน ออกมา
ถิ่นที่อยู่อาศัย อาศัยตามพื้นใต้นำ�้ ถ้าน�้ำไหลแรงมากจะพบตามซอกหิน และการหากิน กินเศษซากพืชและสัตว์เป็นอาหาร การหายใจ หายใจด้วยเหงือกซึง่ อยูใ่ นกระดอง ความต้องการออกซิเจน
แตกต่างกันไปตามชนิดปู
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
98
วงศ์ ขนาด
ปูน�้ำตก
Potamidae 70-90 มิลลิเมตร
ปุ่มบนกระดอง
ลักษณะเด่น
ผิวกระดองด้านข้างเป็นปุ่ม ๆ
ตัวบ่งชี้กลุ่ม
ไม่ใช้ เป็น ตัวบ่งชี้
สั ต ว์ เ ล็ ก นํ้ า จื ด
99
หอยเจดีย์น�้ำจืด
ชื่ออังกฤษ Turret Snails วงศ์ Thiaridae & Iravadiidae ขนาด 30 มิลลิเมตร
เกลียวบิดเป็นยอดแหลม ฝาปิดเปลือก
เกลียวบิดเป็นยอดแหลม
ฝาปิดเปลือก
ลักษณะเด่น ตัวบ่งชี้กลุ่ม
คะแนน
K 6
หอยขนาดกลาง เปลือกหอยบิดเป็นเกลียวยาวคล้าย ยอดเจดีย์ มีฝาปิดปากเปลือกหอย บนตัวฝาปิดเห็น เส้นเป็นวง
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
108
หอยโข่ง
ชื่ออังกฤษ Apple Snails วงศ์ Ampullariidae (Pilidae) ขนาด 60 มิลลิเมตร
เกลียวบิดจมเป็นร่อง
ฝาปิดเปลือก
ลักษณะเด่น เปลือกหอยทรงกลมป้อม เกลียวมักบิดกดจมเป็นร่อง ตัวบ่งชี้กลุ่ม
คะแนน
N 5
ลึก ส่วนที่บิดเป็นเกลียวจะยาวน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของ ความยาวเปลือกหอยทั้งอัน อาจมีลายเป็นริ้วสี มีฝา ปิดเปลือกหอยเป็นแผ่นกลมยาว หายใจด้วยเหงือก
สั ต ว์ เ ล็ ก นํ้ า จื ด
109
นกกางเขนน�้ำหลังเทา
ชื่ออังกฤษ Slaty-backed Forktail ชื่อวิทยาศาสตร์ Enicurus schistaceus วงศ์ Muscicapidae (วงศ์นกจับแมลงและนกเขน) ขนาดยาว 25 เซนติเมตร
สีเทา
ลักษณะเด่น ปลายหางแยกเป็น 2 แฉก ลายขวางสีด�ำสลับขาว ล�ำตัว
สีขาว-ด�ำ หัวและหลังด้านบนสีเทา ส่วนท้องและตะโพก สีขาว
พฤติกรรม เดินหาจิงโจ้นำ�้ แมลง และสัตว์นำ�้ ขนาดเล็กอืน่ ๆ กินตาม
ล�ำธารตื้นที่มีโขดหินและดงไม้ริมฝั่งน�้ำ นิสัยค่อนข้าง ขีอ้ าย มักพบบินหนีไปตามล�ำธารพร้อมส่งเสียงร้องแหลม สูง เป็นนกประจ�ำถิน่ ท�ำรังเป็นรูปถ้วยตามซอกหินริมตลิง่
ตัวบ่งชี้สภาพ สายน�้ำ
สภาพล�ำน�้ำและคุณภาพน�้ำดีถึงดีมาก
นั ก สื บ ส า ย นํ้ า : คู่ มื อ สั ต ว์ ลํ า ธ า ร
166
นกกางเขนน�้ำหลังแดง
ชื่ออังกฤษ Chestnut-naped Forktail ชื่อวิทยาศาสตร์ Enicurus ruficapillus วงศ์ Muscicapidae (วงศ์นกจับแมลงและนกเขน) ขนาดยาว 20 เซนติเมตร
สีด�ำ
สีน�้ำตาลแดง
ลักษณะเด่น หน้าผากสีขาว หัวตามีแถบสีด�ำยาวลงมาถึงคางและคอ
กระหม่อมและท้ายทอยมีสีน�้ำตาลแดงในเพศผู้และยาว ไปถึงกลางหลังในเพศเมีย ปีกสีด�ำมีแถบสีขาวพาด ท้อง และสีขา้ งสีขาว บริเวณอกมีลายคล้ายเกล็ดปลาสีดำ� ตะโพก สีขาว หางยาว ปลายแฉกสีขาวสลับสีด�ำ
พฤติกรรม อาศัยและหากินตามน�้ำตกและล�ำธารทั้งเล็กและใหญ่ใน
ป่าดิบทางภาคใต้และภาคตะวันตกตอนล่าง กินแมลงน�้ำ แมลง และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ เป็นอาหาร ร้อง เสียงแหลมสูง ค่อนข้างขี้อายและมีสายตาดี ยากที่จะได้ เห็นตัวชัด ๆ เป็นนกประจ�ำถิ่น
ตัวบ่งชี้สภาพ สภาพล�ำน�้ำและคุณภาพน�้ำดีถึงดีมาก สายน�้ำ
น ก
167
สายนํ้าของเราสดใสหรือเจ็บป่วยอย่างไร มาเปิดโลกกว้างกับสรรพชีวิตในลํำ�ธารและบ้านของมัน ให้มันบอกเราว่าสุขสบายดีไหม ถ้ามีปัญหาจะได้แก้ไขได้ทัน ถ้าดีอยู่แล้วจะได้ดูแลให้ดีต่อไป คู่มือชุดนี้จะช่วยติดอาวุธให้เราเป็นนักสืบสายนํ้า ผู้ตรวจสุขภาพและดูแลสายนํ้า ด้วยความรู้คู่กับความรัก
ฉบับ ปรับปรุงใหม่
พร้อมข้อมูลทันสมัย คู่มือนักสืบสายนํ้า ประกอบด้วย • นักสืบสายนํ้า : คู่มือสำ�รวจและดูแล • นักสืบสายนํ้า : คู่มือสัตว์ลำ�ธาร ส นั บ ส นุ น โ ค ร ง ก า ร โ ด ย ราคา 300 บาท ISBN 978-974-7076-35-6