การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม : วัดพระพายหลวง วัดเชตุพล สุโขทัย

Page 1

การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม วัดพระพายหลวง  วัดเชตุพน  สุโขทัย

หมวดศิลปะ

ราคา ๒๖๐ บาท

ปองพล ยาศรี   ตะวัน วีระกุล

แบบสันนิษฐานสถาปัตยกรรมรูปแบบโครงสร้างอุโบสถวัดพระพายหลวง สมัยที่ ๑

วัดพระพายหลวง  วัดเชตุพน  สุโขทัย

การศึกษาประวัตศิ าสตร์สถาปัตยกรรม :

การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม : วัดพระพายหลวง  วัดเชตุพน  สุโขทัย

ISBN 978-974-7385-51-9


สารบัญ

๗ ๙ ๑๑ ๑๔

ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์ ค�ำน�ำปรารภ ค�ำน�ำผู้เขียน การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม วัดพระพายหลวง วัดเชตุพน สุโขทัย

วัดพระพายหลวง

๑๗ ประวัติ ๑๘ แผนผังและรูปแบบ ๒๐ • แผนผังวัดพระพายหลวง สุโขทัย ๒๔ • ภาพแสดงข้อมูลการส�ำรวจเจดีย์วัดพระพายหลวงทั้งสี่ทิศ ๓๐ • หลักฐานทางโบราณคดีที่ค้นพบโดยกรมศิลปากร ๓๓ • ประเด็นสันนิษฐานการสร้างพระเจดีย์ ๓๕ • การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบสถาปัตยกรรม เพื่อท�ำการสันนิษฐานแบบพระเจดีย์ ๔๐ • แบบสันนิษฐานโดยการขึ้นรูปทรงสามมิติ เจดีย์วัดพระพายหลวง

๔๑ อุโบสถวัดพระพายหลวง ๔๑ • ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ๔๓ • รูปด้านแสดงสภาพปัจจุบัน

ของอุโบสถวัดพระพายหลวง ๔๕ • การวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน และลักษณะโครงสร้างแบบสุโขทัย เพื่อการสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ของอุโบสถวัดพระพายหลวง

๔๖ การเปรียบเทียบรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ๔๗ • ข้อสันนิษฐานอุโบสถวัดพระพายหลวง ๔๘ • แบบสันนิษฐานอุโบสถวัดพระพายหลวง ๕๒ • แบบสันนิษฐานโดยการขึ้นรูปทรงสามมิติ ของอุโบสถวัดพระพายหลวง 12 การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม


วัดเชตุพน ๖๑ ประวัติ ๖๒ แผนผังวัด ๖๖ • สภาพปัจจุบันของพระวิหารวัดเชตุพน สุโขทัย ๖๘ • วิเคราะห์สภาพปัจจุบันและลักษณะโครงสร้างแบบสุโขทัย ๗๐ พระวิหารวัดเชตุพน ๗๐ • ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ๗๑ • การเปรียบเทียบรูปแบบทางสถาปัตยกรรม ๗๓ • การสันนิษฐานพระวิหารวัดเชตุพน ๗๘ • แบบสันนิษฐานพระวิหารวัดเชตุพน ๘๕ • แบบสันนิษฐานโดยการขึ้นรูปทรงสามมิติ พระวิหารวัดเชตุพน

๘๖ วิหารจัตุรมุข (พระมณฑปสี่อิริยาบถ) ๘๖ • ลักษณะทางสถาปัตยกรรม ๙๓ • แบบสันนิษฐานวิหารจัตุรมุข (พระมณฑปสี่อิริยาบถ) ๙๖ ๙๖ ๙๖ ๙๘

มณฑปยอดเจดีย์

• ลักษณะทางสถาปัตยกรรม • วิเคราะห์รูปแบบสถาปัตยกรรม • แบบสันนิษฐานรูปแบบทางสถาปัตยกรรม

และระบบโครงสร้างจากสภาพปัจจุบัน

๑๐๐ • ภาพทัศนียภาพสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรม

วัดเชตุพนโดยรวม

๑๐๒ บทสรุป

วัดพระพายหลวง สุโขทัย 13


58 การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม


ค�ำน�ำผู้เขียน

ชุดองค์ความรูเ้ รือ่ งการสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมในสุโขทัย  ภายในหนังสือเล่มนี้ คณะผู้ท�ำการศึกษาได้ต่อยอดองค์ความรู้  จากเดิมที่ทางภาควิชาศิลปสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย  ศิลปากร ได้ท�ำการศึกษามาอย่างต่อเนื่องและยาวนานโดยใน  การศึกษาครั้งนี้ได้ท�ำการศึกษาวัดในสุโขทัยที่มีความส�ำคัญใน  ประวัติศาสตร์ แต่ยังไม่ได้รับการศึกษาถึงรูปแบบตัวสถาปัตย-  กรรมอย่างแน่ชัด เช่นที่ วัดพระเชตุพน หรือในกรณีบางวัดที่มี  รูปแบบสถาปัตยกรรมทีซ่ บั ซ้อน ถูกสร้างซ้อนทับกันมาหลายสมัย เช่นที่เจดีย์วัดพระพายหลวง คณะผู้ท�ำการศึกษาได้ท�ำการค้นคว้าอย่างเป็นขั้นตอน  ทั้งข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ และการสังเคราะห์รูปแบบทางสถา-  ปัตยกรรมทีช่ ว่ ยยืนยันความเป็นไปได้ในการศึกษานัน้  ซึง่ รูปแบบ  สถาปัตยกรรมที่ได้สันนิษฐานในตอนท้ายอาจตรงกับแบบความ  จริงหรือไม่นั้นยากที่จะหาค�ำตอบได้ แต่วิธีที่ใช้ในการศึกษา  ของคณะผูจ้ ดั นัน้ ได้ผา่ นการตรวจสอบ ทัง้ จากข้อมูลทางประวัต-ิ   ศาสตร์ จารึกต่าง ๆ รวมถึงท�ำการส�ำรวจเก็บข้อมูลจากสภาพ  พืน้ ทีจ่ ริงโดยการส�ำรวจข้อมูลในรูปแบบทางสถาปัตยกรรม แล้ว น�ำแบบสถาปัตยกรรมนั้นมาใช้ในการตรวจสอบความเป็นไปได้  จากรูปแบบที่ถูกสันนิษฐานขึ้น ซึ่งช่วยสร้างความเป็นไปได้มาก  ที่สุดในการสร้างรูปแบบให้ตรงกับสถาปัตยกรรมที่ท�ำการศึกษา อนึง่ ทางคณะทีไ่ ด้ทำ� การศึกษาต้องขอกราบขอบพระคุณ  รองศาตราจารย์เสนอ นิลเดช มา ณ ที่นี้ด้วย เนื่องจากท่านคือ  ผู้ริเริ่มและสร้างชุดองค์ความรู้ทางด้านการสันนิษฐานรูปแบบ  สถาปัตยกรรมจากโบราณสถาน และด้วยการต่อยอดจากความรู้  เดิมของอาจารย์ที่ได้เคยศึกษาไว้ รวมทั้ง รองศาสตราจารย์  สมคิด จิระทัศนกุล  อาจารย์โชติมา จตุรวงศ์  และอาจารย์  พีระพัฒน์ ส�ำราญ ทีไ่ ด้ให้คำ� แนะน�ำสัง่ สอนทีด่ มี ากมาโดยตลอด  ในช่วงที่ท�ำการศึกษา ท�ำให้การศึกษาในครั้งนี้ได้สร้างความรู้  ใหม่ ๆ ทางด้านสถาปัตยกรรมสุโขทัย และยังช่วยสร้างความ  เข้าใจต่อสุโขทัยในประวัติศาสตร์มากขึ้นอีกด้วย ปองพล ยาศรี  ตะวัน วีระกุล อาจารย์ประจ�ำภาควิชาศิลปสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วัดพระพายหลวง สุโขทัย 11


การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม

วัดพระพายหลวง วัดเชตุพน สุโขทัย

สุ

โขทัยเป็นราชธานีที่มีความเจริญรุ่งเรือง เป็นศูนย์กลาง  การปกครอง ศาสนา และเศรษฐกิจในช่วงระยะเวลา  ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๒๐ ซึ่งยังคงปรากฏ  ร่องรอยศิลปะสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัย เช่น  รูปแบบงานศิลปะสถาปัตยกรรมและโบราณวัตถุให้เห็น สุโขทัยมีอาณาบริเวณกว้างขวางครอบคลุมพื้นที่ภาค  เหนือและภาคกลางตอนบนของประเทศไทยในหลายจังหวัด เมือง  สุโขทัยตั้งอยู่ในบริเวณดินแดนภาคเหนือตอนล่าง เป็นจุดผ่าน  ระหว่างเมืองทางเหนือ ใต้ ตะวันออก และตะวันตก ท�ำให้มกี าร  ติดต่อค้าขายซึง่ กันและกัน เป็นผลให้เกิดความเจริญขึน้ จนกลาย  เป็นชุมชนขนาดใหญ่ทมี่ กี ารพัฒนาเป็นบ้านเมืองโดยมีศนู ย์กลาง  แห่งความเจริญอยู่ที่เมืองสุโขทัย เมือ่ สุโขทัยตัง้ เป็นบ้านเมืองอย่างมัน่ คงแล้ว ก็ได้มกี าร  สร้างวัดขึ้นประจ�ำชุมชน วัดเชตุพนเป็นพุทธสถานนอกก�ำแพง  เมืองด้านทิศใต้ เป็นวัดหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ เป็นศูนย์กลางหรือศูนย์ รวมจิตใจของชุมชน ซึ่งอาจเกิดจากความเชื่อที่ว่าทิศใต้เป็นทิศ  หัวนอน (ทิศเบื้องหัวนอน) และพื้นที่ด้านนี้เป็นที่ประดิษฐานสิ่ง  ศักดิส์ ทิ ธิท์ สี่ ำ� คัญของเมือง และวัดพระพายหลวงก็เป็นอีกวัดหนึง่   ที่ส�ำคัญและเชื่อว่าเคยเป็นศูนย์กลางของชุมชน จากหลักฐาน  ทางด้านเอกสารและโบราณคดี โบราณวัตถุตา่ ง ๆ ท�ำให้ทราบว่า  เดิมพืน้ ทีท่ ตี่ งั้ เมืองสุโขทัยนัน้ มีชมุ ชนตัง้ อยูก่ อ่ นหน้าแล้ว โดยอยู่  ภายใต้อารยธรรมขอมหรือเขมรเป็นส�ำคัญก่อนที่จะตั้งเป็นเมือง  สุโขทัยขึ้นมา จากการศึกษาที่ผ่านมาปรากฏว่า ยังไม่มีนักวิชาการ  ท่านใดได้ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับวัดเชตุพนอย่างจริงจัง จะมีเพียง  แต่การศึกษาสถาปัตยกรรมภายในวัดเพียงบางส่วนเท่านัน้  ส่วน  วัดพระพายหลวงนั้นถึงแม้จะมีการศึกษาบ้างแต่ก็มักจะเป็นใน  เรื่องของโบราณคดี  การศึกษาในครั้งนี้จึงเป็นการศึกษาที่เน้น  เรื่องของประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมที่จะอ้างอิงหลักฐานจาก  ตัวสถาปัตยกรรมเอง 14 การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม


วัดพระพายหลวง ประวัติ

วั

ดพระพายหลวงตัง้ อยูน่ อกก�ำแพงเมืองด้านทิศเหนือ เชือ่   ว่าเป็นวัดเก่าแก่ที่มีมาก่อนตั้งเมืองสุโขทัยเป็นราชธานี  ที่เชื่อเช่นนี้เนื่องจากมีโบราณสถานแบบปราสาทขอม  สามองค์เป็นหลักฐานสนับสนุน ซึ่งปราสาททั้งสามองค์นี้เดิมน่า จะเป็นเทวสถานเนื่องในศาสนาฮินดู เพราะพบฐานศิวลึงค์อยู่  ภายในและต่อมาจึงแปลงเป็นวัดในพุทธศาสนามหายานอันเป็น  ศาสนาทีร่ งุ่ เรืองอยูใ่ นช่วงสมัยพระเจ้าชัยวรมันที ่ ๗ เนือ่ งจากซุม้   หน้าบันปรากฏหลักฐานรูปพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ และต่อมา  ภายหลังจึงแปลงเป็นศาสนสถานในพระพุทธศาสนาหินยานตาม  คตินิยมอีกครั้งหนึ่ง

ภาพลายเส้นสภาพปัจจุบันของปราสาทสามองค์ วัดพระพายหลวง วัดพระพายหลวง สุโขทัย 17


แผนผังและรูปแบบ ปราสาทประธานสามองค์  ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันตก ก่อด้วยศิลาแลง  สร้างเรียงกันในแนวเหนือ-ใต้ ปราสาทหลังที่อยู่ทางทิศเหนือยัง  อยูใ่ นสภาพทีค่ อ่ นข้างสมบูรณ์ ส่วนหลังกลางและหลังถัดไปช�ำรุด  มากเหลือแต่ฐานและบางส่วนของเรือนธาตุ วิหาร  ตั้งอยู่ทางด้านตะวันออกของปราสาท อาจจะสร้างสมัย  เดียวกันหรือหลังกว่าปราสาททั้งสาม กลุม่ เจดียท์ ลี่ อ้ มรอบด้วยระเบียงคด  เป็นกลุม่ ศาสนสถานทีส่ ร้าง  ขึน้ ในระยะเวลาต่อมา ประกอบด้วย ๑) เจดีย์องค์กลาง มีผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีชั้นต่าง ๆ ซ้อน ลดระดับขึน้ ไปประมาณ ๓ ชัน้  แต่ละชัน้ ประดับด้วยแถวซุม้ พระ ชั้นล่างสุดมีซุ้มพระด้านละ ๗ ซุ้ม ยกเว้นด้านทิศตะวันออกซึ่ง  ประดับด้วยภาพปูนปัน้   ส่วนชัน้ ที ่ ๒ และ ๓ มีซมุ้ พระด้านละ ๖  และ ๕ ซุ้มตามล�ำดับ  เหนือชั้นที่ ๓ ขึ้นไปช�ำรุดมากไม่อาจ  สันนิษฐานได้วา่ เป็นอะไร เจดียอ์ งค์กลางนีส้ นั นิษฐานว่าสร้างขึน้ ทัง้ สิน้  ๕ ระยะ คือ ระยะที ่ ๑  สร้างในสมัยพ่อขุนรามค�ำแหง (พ.ศ. ๑๘๒๒-  ๑๘๖๒) มีเจดีย์ประธาน เจดีย์ทิศ และเจดีย์มุม ระยะที ่ ๒  น่าจะเพิม่ เติมขึน้ ในสมัยพญาเลอไท มีการท�ำ  ซุม้ ลดประกอบทีแ่ ถวซุม้ เชือ่ มเนือ้ ทีร่ ะหว่างฐานของเจดียท์ งั้ หมด  ให้เป็นฐานเดียวกันโดยท�ำเป็นฐานบัวลูกฟัก ระยะที ่ ๓  น่าจะเพิม่ เติมขึน้ ในสมัยพญาลิไท คือมีการ  สร้างวิหารทางตะวันออกของเจดียป์ ระธาน และสร้างระเบียงคด  ล้อมรอบกลุม่ เจดีย ์ โดยทางด้านตะวันออกของระเบียงคดนีจ้ รด  กับด้านข้างทั้งสองของวิหาร ระยะที ่ ๔  ปลายสมัยพญาลิไทมีการถมช่องทางเดินรอบ  เจดียป์ ระธาน โดยถมดินให้อยูใ่ นระดับเดียวกับฐานของเจดียท์ ศิ   และเจดียม์ มุ ทีถ่ มสูงในระยะที ่ ๒ โดยก่ออิฐปิดแถวซุม้ ประดิษฐาน  พระทัง้ สีด่ า้ นของเจดียป์ ระธาน แล้วสร้างซุม้ ใหม่ขนาดใหญ่ทกี่ ลาง  ด้านทั้งสี่โดยมีพระอยู่ในซุ้มนั้นด้วย 18 การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม


ระยะที่ ๕  พุทธศตวรรษที่ ๒๐ ปฏิสังขรณ์ที่ซุ้มพระ  กลางด้านทัง้ สี ่ คือมีการก่อปิดภาพปูนปัน้ เทวดาซึง่ ประดับระหว่าง  ซุม้ พระส่วนล่างของระเบียงคด รวมทัง้ การขยายฐานชุกชีบริเวณ ท้ายวิหาร ๒) เจดียท์ ศิ และเจดียม์ มุ   สร้างอยูห่ า่ งจากฐานเจดียป์ ระธานเล็ก  น้อยซึ่งทั้งสองเหลือเพียงส่วนฐาน จากรายงานการขุดค้นของนายบวรเวท รุง่ รุจ ี (นักโบราณ-  คดีประจ�ำกรมศิลปากร) ทีน่ ำ� หลักฐานซึง่ ขุดพบบริเวณด้านทิศใต้  นอกเขตวัดพระพายหลวงไปก�ำหนดอายุโดยวิธีการทางวิทยา-  ศาสตร์แล้วพบว่าเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ที่อาศัยอยู่มา  ก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ซึ่งชุมชนโบราณของสุโขทัยก่อนสมัย  ราชวงศ์พระร่วงนัน้ มีศนู ย์กลางอยูบ่ ริเวณวัดพระพายหลวงนี ้ อาจ กล่าวได้วา่ ชุมชนของคนในสมัยสุโขทัยนีม้ คี วามใกล้ชดิ กับคนทาง  ภาคเหนือซึ่งด�ำรงชีวิตอยู่ด้วยการเกษตรกรรมและล่าสัตว์เป็น  อาหาร รูจ้ กั ท�ำภาชนะดินเผาอย่างหยาบ ๆ มีการติดต่อค้าขายกับ  ชุมชนข้างเคียงและห่างไกลออกไป และเริ่มมีการพัฒนาตัวเอง  ด้วยการรับเอาอิทธิพลจากภายนอกเข้ามาปรับปรุงใช้ในสังคมของ  ตนเองมากขึ้น จารึกพ่อขุนรามค�ำแหง กล่าวไว้วา่ สุโขทัยได้ตดิ ต่อทาง  การค้ากับทางทิศเหนือ คือไปถึงเมืองแพร่ เมืองน่าน ตลอดถึง  หลวงพระบางฝั่งแม่น�้ำโขง จารึกวัดศรีชุม ก็กล่าวถึงว่าได้ติดต่อค้าขายถึงเมือง  ล�ำพูน และถ้าหากเฉียงไปทางตะวันออกก็ติดต่อได้กับเมือง  เชียงแสนและเมืองพะเยา โดยผ่านแม่น�้ำน่านที่เมืองโบราณใน  เขตอุตรดิตถ์

วัดพระพายหลวง สุโขทัย 19


การขุดแต่งที่ฐานวิหาร ติดกับลานหน้าแท่นพระ และต่อกับระเบียงคด ทางด้านตะวันออก หรือด้านหน้าเจดีย์ ปรากฏว่าพบหลักฐาน การก่อสร้างและบูรณะ ในสมัยโบราณทับซ้อน กันอยู่อย่างน้อยสามครั้ง

ส่วนพระบาทของพระพุทธรูป ประทับยืนบนฐานบัว รูปอัฒจันทน์ มีร่องรอย ส่วนเท้าของเหล่าพระสาวก และเทวดาขนาดเล็กประดับ อยู่โดยรอบ หลังการขุดแต่ง พบร่องรอยทั้งหมดนี้ อยู่ในสภาพเดิม บนส่วนที่ก่ออิฐเชื่อมต่อ เข้าด้วยกันระหว่างเจดีย์ทิศ ซึ่งมีหลักฐานแสดงว่า เคยมีซุ้มประตูอยู่ด้วย สร้างขึ้นราวปลายสมัยพญาเลอไท ถึงต้นสมัยพญาลิไท

ประเด็นสันนิษฐานการสร้างพระเจดีย์ ประเด็นสันนิษฐานการสร้างพระเจดีย์องค์นี้แบ่งเป็น ๓ แนวทาง ประเด็นแรก พระเจดีย์องค์นี้ได้รับอิทธิพลจาก ศิลปะขอมแบบบายน ราว พ.ศ. ๑๘๐๐-๑๘๒๕ ต่อมาภายหลังเล็กน้อยได้มีร่องรอยการบูรณะ และดัดแปลงเพิ่มเติม แต่ยังคงรักษาลักษณะส่วนใหญ่ ทางศิลปกรรมที่มีมาแต่เดิมไว้ หลังจากนั้นมาอีกได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ซึ่งช่างโบราณได้ท�ำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบภายนอก และศิลปะการตกแต่งโดยสิ้นเชิง เกิดมีลักษณะทางศิลปกรรมแบบสุโขทัย ประเด็นที่สอง พระเจดีย์องค์นี้ได้รับอิทธิพลจากศิลปะ แบบมอญ-หริภุญชัย แบบอย่างการก่อสร้างส่วนใหญ่ สืบทอดมาจากเจดีย์กู่กุด จังหวัดล�ำพูน  และเจดีย์เหลี่ยม จังหวัดเชียงใหม่ ประเด็นที่สาม พระเจดีย์มีลักษณะหลายอย่างคล้ายกับ เจดีย์วัดป่าสัก อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

เจดีย์วัดป่าสัก อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

เจดีย์ทรงสี่เหลี่ยม วัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย

เจดีย์รายวัดเจดีย์เจ็ดแถว  อ�ำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย

ที่มาของภาพและค�ำอธิบาย วัดพระพายหลวง จากหนังสือ รายงานความก้าวหน้าการด�ำเนินงานศึกษาวิจัยอนุรักษ์และพัฒนา วัดพระพายหลวง กรมศิลปากร

๓๒ การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม

วัดพระพายหลวง สุโขทัย ๓๔


การขุดแต่งที่ฐานวิหาร ติดกับลานหน้าแท่นพระ และต่อกับระเบียงคด ทางด้านตะวันออก หรือด้านหน้าเจดีย์ ปรากฏว่าพบหลักฐาน การก่อสร้างและบูรณะ ในสมัยโบราณทับซ้อน กันอยู่อย่างน้อยสามครั้ง

ส่วนพระบาทของพระพุทธรูป ประทับยืนบนฐานบัว รูปอัฒจันทน์ มีร่องรอย ส่วนเท้าของเหล่าพระสาวก และเทวดาขนาดเล็กประดับ อยู่โดยรอบ หลังการขุดแต่ง พบร่องรอยทั้งหมดนี้ อยู่ในสภาพเดิม บนส่วนที่ก่ออิฐเชื่อมต่อ เข้าด้วยกันระหว่างเจดีย์ทิศ ซึ่งมีหลักฐานแสดงว่า เคยมีซุ้มประตูอยู่ด้วย สร้างขึ้นราวปลายสมัยพญาเลอไท ถึงต้นสมัยพญาลิไท

ประเด็นสันนิษฐานการสร้างพระเจดีย์ ประเด็นสันนิษฐานการสร้างพระเจดีย์องค์นี้แบ่งเป็น ๓ แนวทาง ประเด็นแรก พระเจดีย์องค์นี้ได้รับอิทธิพลจาก ศิลปะขอมแบบบายน ราว พ.ศ. ๑๘๐๐-๑๘๒๕ ต่อมาภายหลังเล็กน้อยได้มีร่องรอยการบูรณะ และดัดแปลงเพิ่มเติม แต่ยังคงรักษาลักษณะส่วนใหญ่ ทางศิลปกรรมที่มีมาแต่เดิมไว้ หลังจากนั้นมาอีกได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ซึ่งช่างโบราณได้ท�ำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบภายนอก และศิลปะการตกแต่งโดยสิ้นเชิง เกิดมีลักษณะทางศิลปกรรมแบบสุโขทัย ประเด็นที่สอง พระเจดีย์องค์นี้ได้รับอิทธิพลจากศิลปะ แบบมอญ-หริภุญชัย แบบอย่างการก่อสร้างส่วนใหญ่ สืบทอดมาจากเจดีย์กู่กุด จังหวัดล�ำพูน  และเจดีย์เหลี่ยม จังหวัดเชียงใหม่ ประเด็นที่สาม พระเจดีย์มีลักษณะหลายอย่างคล้ายกับ เจดีย์วัดป่าสัก อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

เจดีย์วัดป่าสัก อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

เจดีย์ทรงสี่เหลี่ยม วัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย

เจดีย์รายวัดเจดีย์เจ็ดแถว  อ�ำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย

ที่มาของภาพและค�ำอธิบาย วัดพระพายหลวง จากหนังสือ รายงานความก้าวหน้าการด�ำเนินงานศึกษาวิจัยอนุรักษ์และพัฒนา วัดพระพายหลวง กรมศิลปากร

๓๒ การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม

วัดพระพายหลวง สุโขทัย ๓๔


การทดลองเปรียบเทียบสัดส่วนเพื่อสันนิษฐานรูปทรง

แบบสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมเจดีย์วัดพระพายหลวง

วัดพระพายหลวง สุโขทัย 3๘


การทดลองเปรียบเทียบสัดส่วนเพื่อสันนิษฐานรูปทรง

แบบสันนิษฐานรูปแบบสถาปัตยกรรมเจดีย์วัดพระพายหลวง

วัดพระพายหลวง สุโขทัย 3๘


แบบสันนิษฐานสถาปัตยกรรมรูปแบบทางสถาปัตยกรรมอุโบสถ สมัยที่ ๑

แบบสันนิษฐานสถาปัตยกรรมรูปแบบโครงสร้างอุโบสถ สมัยที่ ๑

วัดพระพายหลวง สุโขทัย ๕๔


แบบสันนิษฐานอุโบสถ สมัยที่ ๒

เสาพาไลสมัยที่ ๒ ที่ขยายมาจากช่วงเสาเดิม

๕๕ การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม

แบบสันนิษฐานสถาปัตยกรรมรูปแบบทางสถาปัตยกรรมอุโบสถ สมัยที่ ๒

แบบสันนิษฐานสถาปัตยกรรมรูปแบบโครงสร้างอุโบสถ สมัยที่ ๒

เสาพาไลเดิมจากสมัยที่ ๑ เพื่อรองรับน�ำ้ หนักโครงหลังคาปีกนก

วัดพระพายหลวง สุโขทัย ๕๗


58 การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม


วัดเชตุพน ประวัติ

วั

ดเชตุพนเป็นวัดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของศาสนสถานที่ตั้ง อยู่นอกก�ำแพงเมืองด้านทิศใต้ จากการวิเคราะห์รูปแบบ ทางสถาปัตยกรรมนั้น ผังของวัดมีลักษณะแนวแกนที่มี วิหารอยูท่ างด้านหน้า (ทิศตะวันออก) ของอาคารทีม่ คี วามส�ำคัญ หรือเป็นหลักประธานของวัด โดยมีมณฑปทรงจัตรุ มุขเป็นประธาน ซึ่งล�ำดับการก่อสร้างนั้นสันนิษฐานว่าการก่อสร้างในครั้งแรกมี การสร้างมณฑปประธานก่อน พร้อม ๆ กับลานทีเ่ ชือ่ ว่าเป็นลานที่ ประดิษฐานต้นศรีมหาโพธิ ระยะต่อมาจึงมีการสร้างมณฑปยอด เจดีย์และก�ำแพงเพิ่มเติมต่อเนื่องกับก� ำแพงแก้วของมณฑป ประธาน และจึงมีการสร้างวิหารซึง่ ตัง้ อยูท่ างด้านหน้า (ทิศตะวัน ออก) ของมณฑปประธานโดยตัง้ อยูไ่ ม่ตรงกับแนวแกนหลัก  เนือ่ ง จากมีเจดีย์รายสร้างล้อมรอบอยู่ก่อนแล้ว ซึ่งช่วงเวลานั้นเป็น ช่วงที่ประชาชนให้ความศรัทธาต่อพุทธศาสนามากขึ้น จึงมีการ สร้างวิหารเพิ่มเพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ระหว่างพระภิกษุ สงฆ์กับฆราวาส ซึ่งหลังจากนั้นกรมศิลปากรได้บูรณะต่อเติมไป ถึง ๓ ครั้ง ดังนี้ - ขุดแต่งและบูรณะ พ.ศ. ๒๔๙๗ แต่ยงั ไม่เสร็จสมบูรณ์ - ขุดแต่งและบูรณะต่อมา พ.ศ. ๒๕๑๒-๒๕๑๓ - ขุดแต่งและบูรณะอีกครั้ง พ.ศ. ๒๕๒๘  ในการขุดแต่งและบูรณะโบราณสถานทัง้ สามครัง้ นีย้ อ่ ม มีผลต่อสภาพในปัจจุบันของวัด ซึ่งการสันนิษฐานครั้งนี้เป็นการ สันนิษฐานโดยอาศัยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เช่น การศึกษา จากไตรภูมิพระร่วง พบค�ำกล่าวที่ให้สันนิษฐานว่าช่วงระยะแรก มีมณฑปทรงจัตุรมุขเป็นประธานของวัด พร้อม ๆ กับลานที่เชื่อ ว่าเป็นลานที่ประดิษฐานต้นศรีมหาโพธิ  หลักฐานจากสภาพ ปัจจุบันของวัดเป็นหลัก เช่น รูเต้าเป็นร่องรอยของการสอดเต้า เพื่อรับโครงหลังคา จึงท�ำให้สามารถก�ำหนดความสูงของผนัง และหลังคาได้ เป็นต้น  นอกจากหลักฐานทางกายภาพแล้ว หลั ก ฐานทางสภาพสั ง คม วิ ถี ชี วิ ต  ความเชื่ อ  คติ สั ญ ลั ก ษณ์ ในช่วงเวลานั้นก็มีผลต่อการสันนิษฐานครั้งนี้ นอกจากนี้ก็ได้ วัดเชตุพน สุโขทัย 61


อ้างอิงสถาปัตยกรรมสุโขทัยในวัดอื่น ๆ ด้วย ในการสันนิษฐาน รูปทรง รูปแบบต่าง ๆ ของอาคาร เช่น วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก, วัดมหาธาตุ สุโขทัย เป็นต้น นอกจากอ้างหลักฐานดัง กล่าวแล้วก็มขี อ้ มูลเปรียบเทียบจากรูปแบบทีม่ อี ยูเ่ ดิม ผังวัด รูป ทรงทีห่ ลงเหลืออยูใ่ นปัจจุบนั  และจากการสันนิษฐานจากผลงาน ทางวิชาการต่าง ๆ อีกด้วย ซึง่ บางครัง้ การสันนิษฐานอาจมีหลาก หลายแนวทาง จะถูกต้องหรือผิดพลาดไม่อาจรู้อย่างแท้จริงได้ แต่การสันนิษฐานแบบต่าง ๆ ก็มหี ลักฐาน เหตุผลประกอบอ้างอิง

แผนผังวัด วัดเชตุพนเป็นกลุ่มโบราณสถานขนาดใหญ่พิเศษ มีทางเข้าออก สามทางคือ ทางด้านทิศเหนือ ทิศใต้ และทิศตะวันออก ลักษณะ ของก�ำแพงแก้วล้อมรอบนั้นสมมาตรกัน อยู่เป็นแกนกลางโดยมี พระวิหารเป็นหลัก ส�ำหรับกลุม่ อาคารภายในวัดประกอบด้วย วิหารจัตรุ มุข เป็นอาคารประธานหลักของวัด หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ตั้ง อยู่ในต�ำแหน่งกึ่งกลางของผังในแนวแกนเดียวกัน ทางด้านหน้า ของวิหารจัตุรมุข มีวิหารขนาด ๖ ห้อง จากลักษณะแผนผังโดยรวมที่กล่าวมาในข้างต้นแสดง ให้เห็นถึงภาพรวมของวัดเชตุพน ว่าภายในกลุม่ อาคารต่าง ๆ ทีม่ ี ความสัมพันธ์ร่วมกัน โดยยึดตามแนวแกนหลักของอาคารเป็น ประธานของวัดซึง่ มีวหิ ารจัตรุ มุขเป็นอาคารหลักของผังแนวแกน เดี่ยวและยึดตามแนวแกนของต้นศรีมหาโพธิและวิหารจัตุรมุข เมื่อพิจารณาการวางผังเฉพาะแนวแกนดังกล่าวพบว่า การปลูกต้นศรีมหาโพธิและวิหารจัตรุ มุขในแนวแกนเดียวกัน เป็น ระเบียบการสร้างที่ให้ความส�ำคัญกับวิหารจัตุรมุขเพื่อให้เป็น ประธานของวัด ตามคติการวางอาคารสถาปัตยกรรมเป็นหลัก ประธานของวัด โดยวิหารจัตรุ มุขตัง้ อยูด่ า้ นหน้าของต้นศรีมหา- โพธิในแนวแกนเดียวกัน ซึ่งมีรูปแบบผังแบบแนวแกนเดียว ซึ่ง เป็นที่พบมากที่สุดในการวางผังของวัดในสุโขทัย

62 การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม


ผังเดิมที่ยังไม่มี การก่อสร้างเพิ่มเติม

แบบสันนิษฐานแผนผังวัดเชตุพน สุโขทัย ระยะที่ ๑ จากการส�ำรวจรังวัดและจากการศึกษาเบื้องต้นท�ำให้ สันนิษฐานรูปแบบการวางผัง ระยะที่ ๑ ในช่วงระยะเวลาแรกใน การสร้างวัดเชตุพน สุโขทัย ไม่น่าจะเป็นวัดที่มีขนาดใหญ่มาก นักเมือ่ เทียบกับสภาพปัจจุบนั ทีม่ กี ารสร้างเพิม่ เติมต่อเนือ่ งกันมา โดยจากการศึกษาประวัติศาสตร์ การตีความจากจารึกที่พอจะ สืบค้นได้และจากการศึกษารูปแบบทางสถาปัตยกรรม จากการส� ำ รวจพบว่ า ภายในวั ด มี คู น�้ ำ ล้ อ มรอบ มี ลักษณะใกล้เคียงกับวัดสังฆาวาส คูน�้ำเดิมที่ขุดขึ้นเพื่อก�ำหนด ขอบเขตของศาสนสถานและบริเวณวิหารจัตรุ มุขน่าจะเป็นประธาน หลักของผังแกนเดีย่ วกับต้นศรีมหาโพธิ แล้วจึงมีกำ� แพงแก้วล้อม รอบวิหารจัตุรมุขกับต้นศรีมหาโพธิ

มณฑปยอดเจดีย์

แบบสันนิษฐานแผนผังวัดเชตุพน สุโขทัย ระยะที่ ๒ การสันนิษฐานในระยะที่ ๒ นี้จากแต่ก่อนที่ให้ความ วัดเชตุพน สุโขทัย 63


ส�ำคัญเพียงวิหารจัตุรมุขกับต้นศรีมหาโพธิ แต่ระยะผ่านมาอาจ ส่งผลให้ตน้ ศรีมหาโพธิตายไปหรือเริม่ มีคติการน�ำเจดียเ์ ข้ามาอยู่ ในแกนเดียวกับวิหาร แต่เมื่อต้นศรีมหาโพธิหมดความส�ำคัญไป ก็ท�ำให้เกิดมณฑปยอดเจดีย์และเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป แทนความส�ำคัญของต้นศรีมหาโพธิ

วิหาร ๖ ห้อง

แบบสันนิษฐานแผนผังวัดเชตุพน สุโขทัย ระยะที่ ๓ การสันนิษฐานในช่วงระยะเวลาที่ ๓ นี้ น่าจะตรงกับ ช่วงเวลาทีว่ ดั มีความส�ำคัญมากจนรูปแบบของวัดมีขนาดใหญ่ และ มีความพิเศษเพิม่ ขึน้ มาด้วยเนือ่ งจากชือ่ วัดทีต่ งั้ คงมีความส�ำคัญ ระดับหนึ่ง อีกทั้งความศรัทธาของประชาชนที่เพิ่มขึ้นตามล�ำดับ ส่งผลให้มีที่ประกอบพิธีกรรมที่มีอยู่เดิมไม่เพียงพอ จนท�ำให้ เกิดการสร้างวิหาร ๖ ห้อง เพิม่ ขึน้ มารองรับ การเข้ามาของพุทธ- ศาสนิกชนที่มีมากขึ้น แต่เนื่องจากมีการสร้างเจดีย์ในต�ำแหน่ง แกนประธานท�ำให้วหิ ารต้องสร้างเยือ้ งไปทางด้านข้าง แต่กย็ งั คง รักษารูปแบบของแนวแกนเดี่ยวไว้อยู่ ในส่วนของพระอุโบสถในสมัยนัน้ ของสุโขทัยไม่ให้ความ ส�ำคัญมากเท่าทีค่ วร แต่กต็ อ้ งมีไว้เป็นทีป่ ระกอบกิจของพระสงฆ์ อี ก ทั้ ง ขนาดของพระอุ โ บสถก็ มี ข นาดที่ เ ล็ ก พอกั บ พระสงฆ์ ที่ ประกอบพิธกี รรม และการทีต่ ำ� แหน่งอยูห่ า่ งออกไปจากแนวแกน หลักของวัด คงเป็นเพราะเป็นสถานที่ประกอบกิจของพระสงฆ์ ไม่ควรมีฆราวาสเข้ามาเกี่ยวข้อง

64 การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม


รูปทรงอาคาร และรูปแบบหลังคาวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก ที่น�ำมาใช้เป็นต้นแบบการสันนิษฐาน

วัดเชตุพน สุโขทัย 65


การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม วัดพระพายหลวง  วัดเชตุพน  สุโขทัย

หมวดศิลปะ

ราคา ๒๖๐ บาท

ปองพล ยาศรี   ตะวัน วีระกุล

แบบสันนิษฐานสถาปัตยกรรมรูปแบบโครงสร้างอุโบสถวัดพระพายหลวง สมัยที่ ๑

วัดพระพายหลวง  วัดเชตุพน  สุโขทัย

การศึกษาประวัตศิ าสตร์สถาปัตยกรรม :

การศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม : วัดพระพายหลวง  วัดเชตุพน  สุโขทัย

ISBN 978-974-7385-51-9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.