สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

Page 1

0+<4+;*2é ĝ Eòęé +?é +8 $F 2;$"+ĝ

/< + 7 08 ; P 8 $ " +ĝ 2ę é E 2 é

K! */7-/= 6A

2èD K ê+7ê? 9 9+*ĝ


ISBN  978-616-465-037-4 หนังสือ  สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ผู้เขียน  วีระศักดิ์  จันทร์ส่งแสง  สงวนลิขสิทธิ์โดยส�ำนักพิมพ์สารคดี    ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด  ห้ามการลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ  นอกจากจะได้รับอนุญาต พิมพ์ครั้งที่ ๑ เมษายน ๒๕๖๓   จ�ำนวนพิมพ์  ๓,๐๐๐ เล่ม ราคา ๑๙๙ บาท บรรณาธิการเล่ม : นฤมล สุวรรณอ่อน ออกแบบปก/รูปเล่ม : บุญส่ง สามารถ ภาพ : สกล เกษมพันธุ์ พิสูจน์อักษร : นวลจันทร์  ทองมาก ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ

จัดพิมพ์   บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด (ส�ำนักพิมพ์สารคดี) จัดจ�ำหน่าย  บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ๓ ซอยนนทบุรี  ๒๒ ถนนนนทบุรี  (สนามบินน�้ำ)  ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี  จังหวัดนนทบุรี  ๑๑๐๐๐  โทร. ๐-๒๕๔๗-๒๗๐๐ (อัตโนมัติ)  โทรสาร ๐-๒๕๔๗-๒๗๒๑

ส�ำนักพิมพ์สารคดี ผู้อ�ำนวยการ : สุวพร ทองธิว   ผู้จัดการทั่วไป : จ�ำนงค์  ศรีนวล   ที่ปรึกษากฎหมาย : สมพจน์  เจียมพานทอง   ผู้อำ� นวยการฝ่ายศิลป์/ฝ่ายผลิต : จ�ำนงค์  ศรีนวล   ผู้จัดการฝ่ายตลาด/โฆษณา : กฤตนัดตา หนูไชยะ   บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์  : สุวัฒน์  อัศวไชยชาญ

เพลต : เอ็น.อาร์. ฟิล์ม  โทร. ๐-๒๒๑๕-๗๕๕๙ พิมพ์ : บริษัททวีวัฒน์การพิมพ์  จ�ำกัด   โทร. ๐-๒๗๒๐-๕๐๑๔

หนังสือเล่มนี้ใช้หมึกพิมพ์ซึ่งมีส่วนผสมของน�้ำมันถั่วเหลือง ช่วยลดการใช้วัตถุดิบจากน�้ำมันปิโตรเลียม  ช่วยลดผลกระทบต่ สุขภาพและสิ ่งแวดล้ อม 2 สมเด็จอพระพุ ฒาจารย์ โต พรหมรั งสี  ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

1.indd 2

3/18/20 9:13 AM


สารบัญ

๑๘ สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ปริศนาพระราชบิดา ................................................................................................................... ๒๒ พระนอน (วัดสะตือ) องค์ใหญ่   คงไม่ใช่ใคร ๆ ก็สร้างได้.................................. ๒๙ พระภิกษุของราชส�ำนักสยาม และพระนั่งที่ไชโย ................................................... ๓๒ หลวงพ่อโตวัดอินทร์  : อนุสรณ์สุดท้ายยังยืนยง........................................................ ๓๗ แยบยลยิ่งในอุบายธรรม........................................................................................................... ๓๙ พระสมเด็จ และพระเครื่องที่เพิ่งสร้าง............................................................................. ๔๘ ชินบัญชร............................................................................................................................................ ๕๔ ๕๖ เส้นทางธรรมจาริก : นอนอยู่อยุธยา มานั่งที่ไชโย  โตที่วัดอินทร์ จ�ำศีลที่วัดระฆัง ฯลฯ ๕๙ หลวงพ่อโต ๖๒ (รูป) พระสมเด็จฯ โต รูปหล่อสมเด็จฯ.............................................................................................................................. ๗๒ ๗๖ พระสมเด็จโดยสังเขป พุทธลักษณะ.................................................................................................................................... ๗๗ จ�ำนวนแบบ...................................................................................................................................... ๗๙ วิธีดูพระสมเด็จแท้........................................................................................................................ ๘๒ ๘๔ สมเด็จพระพุฒาจารย์โตในต�ำนานเล่าขาน ๙๘ พระคาถาชินบัญชร

3

1.indd 3

3/18/20 9:13 AM


บ่อน�้ำมนต์ วัดอินทรวิหาร  (มิถุนายน ๒๕๕๔)

มีหุ่นขี้ผึ้งสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี)  ในท่านั่งบริกรรมประดิษฐานอยู่ด้วย อาจให้ความรู้สึกแก่พุทธบริษัท ที่เข้ามานั่งสมาธิอยู่ภายในนั้น เหมือนได้นั่งภาวนาอยู่ต่อหน้าท่าน

12

2completo.indd 12

สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

3/18/20 9:15 AM


13

2completo.indd 13

3/18/20 9:15 AM


ปริศนา พระราชบิดา

การสิ้นชีพตักษัยของสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  บันทึกอยู่ใน

“จดหมายเหตุบัญชีน�้ำฝน” เล่มที่  ๓ หน้า ๔๕ ที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระยาปวเรศวริยาลงกรณ์  ทรงบันทึกไว้ว่า “วันเสาร์  แรม ๒ ค�ำ่  เดือน ๘ (ต้น) ปีวอก จุลศักราช ๑๒๓๔ (พ.ศ. ๒๔๑๕) เวลา ๒ ยาม สมเด็จพระพุฒาจารย์ ถึงชีพิตักษัย” เป็นวันที่  ๒๒ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๔๑๕ ตอนที่ละสังขารนั้น ว่ากันว่าท่านมีอายุได้  ๘๔ ปี นับย้อนไปหาปีเกิดของท่านได้ใน พ.ศ. ๒๓๓๑ แต่ก็ตามธรรมดาของสังคมยุคโบราณ ที่ไม่ได้มีระบบการบันทึกข้อมูล อย่างเป็นทางการ โดยเฉพาะในวิถีชีวิตของสามัญชน  ปีเกิดของสมเด็จพระ พุฒาจารย์โต พรหมรังสี  ใน ประวัตสิ มเด็จพระพุฒาจารย์  (โต) ของมหาอ�ำมาตย์ ตรี  พระยาทิพโกษา (สอน โลหะนันทน์) ที่เขียนขึ้นในอีกเกือบ ๖๐ ปีหลังการ ละสังขารของท่าน ระบุว่าสมเด็จฯ เกิดปี  ๒๓๑๙

22

2completo.indd 22

สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

3/18/20 9:15 AM


หนังสือเล่มดังกล่าวเขียนขึ้นในเดือนกรกฎาคม ๒๔๗๓  อาจถือเป็น เอกสารฉบับแรกที่รวบรวมชีวประวัติของสมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี ไว้ อ ย่ า งเป็ น เรื่ อ งราวโดยสมบู ร ณ์   และยั ง ถื อ เป็ น เล่มหลั ก ที่ ใ ช้ อ ้ า งอิ ง กัน มา จนถึงปัจจุบัน ใน “ความน�ำ” ทีอ่ ยูห่ น้าแรก ๆ ของเล่ม เล่าถึงเบือ้ งหลังทีม่ าของเรือ่ งราว ในเล่มไว้อย่างละเอียด หากเทียบตามวิธีการท�ำงานของนักเขียนในยุคนี้  ก็ถือ ได้วา่ เป็นงานเขียนสารคดีอย่างเต็มรูปแบบ  มีขอ้ มูลครบเครือ่ ง ทัง้ การสัมภาษณ์ การลงไปติดตามแกะรอยในพื้นที่  และการค้นคว้าข้อมูลเปรียบเทียบ  เล่าเรื่อง ผ่านส�ำนวนภาษาสละสลวย  และดูจะเป็นเรื่องเล่าซ้อนเรื่องเล่า ที่อาจเป็น การท�ำงานร่วมกันของผู้เขียน (พระยาทิพโกษา) กับพระมหาสว่าง เสนีวงศ์ ณ อยุธยา  หรือไม่ก็เป็นความต่อเนื่องที่ผู้เขียนอ้างต่อมาจากที่พระมหาสว่าง รวบรวมไว้ในชั้นต้น ก่อนนั้นเรื่องของสมเด็จฯ ยังไม่มีใครให้ความกระจ่างได้ถ่องแท้   นาย พร้อม สุดดีวงศ์  ชาวตลาดไชโย เมืองอ่างทอง จึงล่องลงกรุงเทพฯ มาหาพระ มหาสว่างทีว่ ดั สระเกศฯ  แจ้งความประสงค์เรือ่ งทีผ่ คู้ นอยากรูเ้ รือ่ งราวของสมเด็จ พระพุฒาจารย์โต  ท่านจึงพาข้ามฟากแม่นำ�้ เจ้าพระยาไปยังวัดระฆังฯ ไปหาเจ้า คุณพระธรรมถาวร (ช้าง) พระผู้เฒ่าวัยใกล้  ๑๐๐ ปี  ที่เคยเป็นศิษย์ทันได้เห็น สมเด็จพระพุฒาจารย์โต ท่านเจ้าคุณพระธรรมถาวร (ช้าง) เล่าบางเรื่องราวให้ฟัง แล้วบอกให้ไป ศึกษาดูได้ในโบสถ์วัดอินทรวิหาร บางขุนพรหม พระนคร ซึ่งสมเด็จฯ ให้ช่าง เขียนประวัติญาติวงศ์ของท่านเอาไว้ในจิตรกรรมฝาผนัง ในข้อเขียนของพระยาทิพโกษายังระบุวันเดือนปีการท�ำงานอย่างชัดเจน ด้วยว่า รุ่งขึ้นวันที่  ๑๖ กรกฎาคม ๒๔๗๓ พระมหาสว่างกับนายพร้อมจึงพา กันไปหาพระครูสงั ฆรักษ์  (เงิน) เจ้าอธิการวัดอินทรวิหาร  ท่านน�ำเข้าไปในโบสถ์

23

2completo.indd 23

3/18/20 9:15 AM


พระภิกษุ ของราชส�ำนักสยาม  และพระนั่งที่ไชโย คราวเสด็จฯ ไปวัดไชโย อ่างทอง เมื่อปี  ๒๔๒๑ พระพุทธเจ้าหลวงมีพระ

ราชหัตถเลขาตอนหนึ่งว่า  ล่องลงไปอีกหน่อยหนึ่งถึงวัดไชโย ซึ่งสมเด็จพระพุฒาจารย์  (โต) สร้าง พระใหญ่ขนึ้ ไว้  และเข้าจอดทีน่ นั้   พระยาราชเสนา พระยาอ่างทอง หลวงยกบัตร มาคอยรับขึ้นไปดูที่พระ หน้าตารูปร่างไม่งามเลย แลดูที่หน้าวัดปากเหมือน ท่านขรัว (โต) ไม่ผิด  ถือปูนขาวไม่ได้ปิดทอง ท�ำนองท่านจะไม่คิดที่จะปิดทอง จึงได้เจาะท่อน�้ำไว้ที่พระหัตถ์   แต่เดี๋ยวนี้มีผู้ไปก่อวิหารขึ้นค้างอยู่  ใครจะท�ำต่อ ไม่ทราบ ต่อมาเจ้าพระยารัตนบดินทร์  (รอด กัลยาณมิตร) มีศรัทธาจะปฏิสงั ขรณ์ วั ด ไชโย  ลงมื อ ก่ อ รากพระอุ โ บสถและพระวิ ห ารใหญ่    แต่ เ มื่ อ กระทุ ้ ง ราก พระวิหาร พระนั่งองค์โตที่สมเด็จฯ สร้างไว้เพื่อระลึกถึงวัยเด็กของท่านทนแรง สะเทือนไม่ได้ก็พังทลายลงมาทั้งองค์

32

2completo.indd 32

สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

3/18/20 9:15 AM


พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระโตขึน้ ใหม่  แล้วเสร็จเมือ่ ปี  ๒๔๓๘  และทรงรับวัดไชโย เป็นพระอารามหลวงชั้นโท  พระพุทธรูปนั่งองค์โตสีทองอร่ามที่เห็นอยู่ในปัจจุบันนั้น เรียกว่า พระ พุทธมหาพิมพ์  ซึง่ สร้างขึน้ แทนพระโตองค์เดิมทีส่ มเด็จฯ สร้างไว้ระลึกถึงวัยเยาว์ ของท่าน ที่ว่ากันว่าท่านมารู้นั่งที่ไชโย ทว่าหลักฐานแต่ละแหล่งก็ให้ขอ้ มูลไม่ตรงกัน เกีย่ วกับสถานทีแ่ ละความ เป็นไปของท่านในแต่ละช่วงวัย  อย่างในฉบับของพระยาทิพโกษากล่าวว่า เมื่อ อายุได้  ๗ ขวบ แม่งุดพาไปถวายตัวเป็นศิษย์พระครูใหญ่เมืองพิจิตร ให้เรียน หนังสือไทยหนังสือขอมและรับการกล่อมเกลาเรือ่ งกิรยิ ามารยาท  ท�ำพิธโี กนจุก เมือ่ อายุ  ๑๓ ปี  และบรรพชาเป็นสามเณรในเดือน ๘ ของปีนนั้   แล้วเดินทางไป เรียนปริยตั ธิ รรมในส�ำนักท่านพระครูเจ้าวัดเมืองไชยนาทบุร ี  และเข้ามากรุงเทพฯ เมื่ออายุย่าง ๑๘ ปี  ศึกษาปริยัติธรรมอยู่ที่วัดอินทรวิหาร แต่อีกบางแห่งอย่างใน ประวัติสมเด็จพระพุฒาจารย์  (โต) ของพระครู กัลยาณานุกูล (เฮง อิฏฐาจาโร) ว่าสมเด็จฯ เติบโตและรับการศึกษาในวัยเยาว์ อยู่ในส�ำนักเจ้าคุณอรัญญิก (ด้วง) วัดอินทรวิหาร  บรรพชาเป็นสามเณรโดย เจ้าคุณพระบวรวิชัยเถร วัดสังเวชวิศยาราม เป็นพระอุปัชฌาย์  เมื่อปี  ๒๓๔๒ ขณะมีอายุ  ๑๒ ปี   และได้มาเป็นศิษย์สมเด็จพระโฆษาจารย์  (นาค) ศึกษา ปริยัติธรรมอยู่ที่วัดระฆังโฆสิตาราม ธนบุรี   ซึ่งได้รับค�ำชมจากพระอาจารย์อยู่ เสมอเรือ่ งความจ�ำและปฏิภาณไหวพริบทีเ่ ป็นเลิศของสามเณรโต  และด้วยความ ฉลาดปราดเปรื่องของท่าน เมื่อไปฝากตัวเป็นศิษย์ศึกษาด้านปริยัติและปฏิบัติ กับสมเด็จพระสังฆราช (สุก) วัดมหาธาตุฯ  สมเด็จพระสังฆราชถึงกับตรัส ว่า “สามเณรโตเขาไม่ได้มาศึกษากับฉันดอก เขามาแปลหนังสือให้ฉันฟัง”

33

2completo.indd 33

3/18/20 9:15 AM


ปริศนา กระดูกหน้าผาก แม่นาค

ประวัตสิ มเด็จพระพุฒาจารย์  (โต) เรียบเรียงโดยมหาอ�ำมาตย์ตรี  พระยา ทิพโกษา (สอน โลหะนันทน์) เมื่อปี  ๒๔๗๓  เล่าเรื่องแม่นาคพระโขนงว่า เขา ลือกันว่าปิศาจนางนาคมาช่วยผัววิดน�ำ้ เข้านา จนท�ำให้ชายผู้ผัวมีเมียใหม่ไม่ได้ คนเดินเรือในคลองพระโขนงไม่ได้  พระสงฆ์ในวัดพระโขนงก็โดนหลอก จนเสียง ก๊อกแก๊กอืน่  ๆ ก็เหมาว่าเป็นปิศาจนางนาคไปหมด  สมเด็จพระพุฒาจารย์  (โต) รู้เรื่อ งจึ ง ลงไปค้ า งที่ วั ด มหาบุ ศ ย์   พระโขนง พอค�่ ำท่ า นก็ ไ ปนั่ ง อยู ่ ป ากหลุ ม แล้วเรียกนางนาคขึ้นมาสนทนา พูดจาตกลงกันจนท้ายที่สุดท่านได้เจาะเอา กระดูกหน้าผากนางนาคมาด้วย การกะเทาะเอากะโหลกหน้าผากศพฟังดูน่าสยองขวัญ แต่ตามคตินิยม ของพราหมณ์ถอื เป็นการเปิดทางให้วญ ิ ญาณของคนทีต่ ายผิดธรรมชาติได้ไปเกิด ในภพภูมิใหม่ ท่านน�ำกระดูกแผ่นนัน้ มาขัดจนเป็นมัน ลงอักขระยันต์  เจาะเป็นปัน้ เหน่ง คาดเอว  ครั้นท่านชราภาพก็มอบปั้นเหน่งกระดูกหน้าผากนางนาคไว้กับหม่อม เจ้าพระพุทธบาทปิลันทน์  ซึ่งได้เลื่อนขึ้นเป็นพระธรรมเจดีย์   และภายหลังเลื่อน ขึ้นเป็นสมเด็จพระพุฒาจารย์  (ม.จ. ทัศ) ไปครองวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระนคร จึงมอบปั้นเหน่งกระดูกหน้าผากแม่นาคไว้แก่พระพุทธโฆษาจารย์ (ม.ร.ว. เจริญ อิศรางกูร) เจ้าอาวาสวัดระฆังฯ

44

2completo.indd 44

สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

3/18/20 9:15 AM


45

2completo.indd 45

3/18/20 9:15 AM


ę%&=q /

é÷ĎĄĕąğĎøěýĔîëĘüĬĨĕĀü ğĈŇĄúĘħ IJ Ďüňĕ ijĴ čĄğ÷ĦéāĆēĄĎĕčĄöğéňĕ

âĆĄāĆēąĕþĊğĆċĊĆėąĕĈèâĆöŋ úĆèýĔüúęâĊŇĕ ĊĔüğčĕĆŋ ĠĆĄ ı åĬĕħ ğ÷ĚĐü ķ øňü þĿĊĐâ éěĈċĔâĆĕë İıIJij ā ċ ıijİĴ ğĊĈĕ ı ąĕĄ čĄğ÷ĦéāĆēāěõĕéĕĆąŋ ùęèëĘāėøĔâČĔą üĔýùęèþŌééěýĔüÿŇĕüâĕĈğĊĈĕĄĕâĊŇĕĆňĐąþĿ ĠøŇğĆĚħĐèĆĕĊãĐèąĐ÷ĐĆėąčèçŋ ĠĎŇèâĆěèĆĔøüġâčėüúĆŋąĔèåèğþŎüúĘħğĈŇĕãĕüĠĈēċĆĔúûĕãĐèÿĜňåü āĆēåĕùĕëėüýĔîëĆúĘħĊŇĕúŇĕüģ÷ňĄĕéĕâåĔĄăĘĆŋġýĆĕöĢüĊĔ÷ğâŇĕúĘħğĄĚĐè âĬĕĠāèğāëĆ ĠøŇýňĕèĊŇĕãĐèāĄŇĕâĦĄĘ ãĐèĈĔèâĕâĦĄĘ ĠĈēýĕèĠĎŇèâĦĊŇĕčĄğ÷ĦéāĆē āěõĕéĕĆąŋġøĠøŇèãęĨüğĐèġ÷ąĐĕċĔąğåňĕġåĆèĎĆĚĐýúčĊ÷ĢüāĆēģøĆþľðâ úŇĕüüĬĕ ĄĕĢëňýĆėâĆĆĄĐąĜğŇ þŎüþĆēéĬĕġ÷ąøĈĐ÷ ìęèħ åüúĔèĨ ĎĈĕąâĦğëĚĐħ ĊŇĕåĕùĕüĘğĨ þŎüãĐèúŇĕü éęèğĆĘąââĔüĊŇĕ āĆēåĕùĕëėüýĔîëĆãĐèčĄğ÷ĦéāěõĕéĕĆąŋġø āĆĎĄĆĔèčĘ čĚýĄĕ ùĚĐğþŎüāěúûĄüøŋĐüĔ ĊėğċČ ğþŎüâĕĆĐĔîğëėîāěúûĕüěăĕāĠĎŇèĐèåŋāĆēčĔĄĄĕ čĔĄāěúûğéňĕ ĠĈēāĆēāěúûğéňĕúĔèĨ ĎĈĕąĢüĐ÷Ęø ĠĈēåěöãĐèāĆēĐĆėąčĕĊâúĔèĨ ĎĈĕą ĢĎňĄĕčùėøúĔħĊĆŇĕèãĐèÿĜňýĆėâĆĆĄ

Ňņ

6-I P */<*ŏ > >/.óK! */7-/= 6A ċĆĘĐĆėąčèçŋĠĎŇèâĆěèĆĔøüġâčėüúĆŋ


ğĈŇĕĈĚĐâĔüĊŇĕ āĆēåĕùĕëėüýĔîëĆüĔĨüĄĘĐėúûėćúûėīğĎĈĚĐĎĈĕą ýĆėâĆĆĄĠĈňĊ úĬĕĢĎňéėøčèýğąĚĐâğąĦü čĆňĕèāĈĔè÷ňĕüğĄøøĕéėøĠâŇÿĜňýĆėâĆĆĄ úĬĕĢĎňğâė÷ğĄøøĕ ĠĈēčĆňĕèýĆĆąĕâĕċĆĐý÷ňĕüĢĎňĐĊĈģþ÷ňĊąāĈĔèĠĎŇèåĊĕĄğĄøøĕ

üĔýğþŎüĄĆ÷âûĆĆĄëėĨüčĬĕåĔîúĘħčě÷úĘħčĄğ÷ĦéāĆēāěõĕéĕĆąŋġø āĆĎĄĆĔèčĘ ĄĐýģĊňĢĎňåüĆěŇüĎĈĔèúěâëüëĔĨüòĕüē čĕĄĕĆùğãňĕùęèåĊĕĄ čèýğąĦüģ÷ňġ÷ąģĄŇøňĐèāęħèĊĔøùěĐąŇĕèĢ÷ ãĐğāĘąèĢĎňĄĘéėøøĔĨèĄĔħüĢüûĆĆĄ

ŇŇ


(รูป) พระสมเด็จฯ โต ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นช่วงทีเ่ ริ่มมีกล้องถ่ายรูป แพร่เข้ามาในสยามแล้ว  สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  เป็นพระชั้น ผู้ใหญ่ที่มีชื่อเสียงและเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของผู้คนมากที่สุดในยุคนั้น ทั้ง  ชาวบ้านธรรมดาสามัญ คหบดี  เจ้าพระยา พระมหากษัตริย์  และคงรวมถึง  ช่างภาพยุคแรกของเมืองไทยด้วย  จึงปรากฏมีภาพของท่านมาให้คนรุ่นหลัง ได้เห็นและเคารพบูชา

>   าพหนึ่งที่คุ้นตาคนยุคปัจจุบันมากที่สุด ได้แก่ภาพที่ท่าน  ก�ำลังนั่งบริกรรมอยู่บนอาสนะที่ยกขึ้นสูง ผู้เฒ่าสองคนนั่งอยู่เบื้องหน้า    ข้อมูลจาก สมุดสมเด็จ ของพระครูกัลยาณานุกูล (พระมหาเฮง อิฏฐาจาโร)   ว่า คนที่มีผ้าขาวม้าพาดบ่าคือ หลวงวิจิตรนฤมล (พึ่ง ปฏิมาประกร)   เจ้ากรมช่างสิบหมู่   สามเณรที่ยืนถือพัดทรงป้านอยู่ด้านหลัง เข้าใจกันว่า  คือ พระธรรมถาวร “จนฺทโชติ” (ช่วง สิงหเสนี) ในกาลต่อมา ซึ่งเป็น  ศิษย์ใกล้ชิดที่สุด  สังเกตจากพัดแฉก ที่เด็กชายคนหนึ่งถือตาลปัตรยืนเยื้อง  ไปข้างหลังทางขวาของท่าน ท�ำให้เชื่อว่าภาพนี้ถ่ายในช่วงที่ท่านครอง สมณศักดิ์ที่พระเทพกวี

66

2completo.indd 66

สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

3/18/20 9:21 AM


67

2completo.indd 67

3/18/20 9:21 AM


พระสมเด็จโดยสังเขป

76

2completo.indd 76

สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

3/18/20 9:21 AM


พุ ท ธ ลั ก ษ ณ ะ ปางสมาธิสถิตบนบัลลังก์สามชัน้  โดยรอบองค์พระมีเส้นนูน ด้านบนเป็น รูปโค้งครึง่ วงกลม ด้านล่างตัดขนานไปตามเส้นนอนของฐานล่างบัลลังก์  เรียกว่า ซุ้ม ทั้งหมดอยู่บนแผ่นพื้นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งเป็นรูปทรงที่สมเด็จพุฒาจารย์  (โต พรหมรังสี) คิดขึ้น นับเป็นพระแบบแรกที่มีแผ่นพื้นฐานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขณะที่สร้างท่านก็แจกให้สาธุชนไปพร้อมกัน ที่เหลือบรรจุกรุวัดระฆังฯ  วัดอินทรวิหาร วัดใหม่อมตรส และวัดไชโย จังหวัดอ่างทอง ทีเ่ รียกกันว่า สมเด็จ วัดเกศ เป็นพระปางสมาธิสถิตบนบัลลังก์  ๗ ชั้น และ ๙ ชั้น เป็นธรรมาธิษฐาน หัวใจพระอภิธรรม ๗ คัมภีร ์ ส่วนบัลลังก์  ๙ ชัน้  คือหัวใจอิตปิ โิ ส “อะ สัง วิ  สุ  โล ปุ  สะ พุ  ภะ”

77

2completo.indd 77

3/18/20 9:21 AM


สมเด็จพระพุฒาจารย์โต ในต�ำนานเล่าขาน

พ ร ะ ส ม เ ด็ จ เจ้าประคุณสมเด็จฯ สร้างพระพิมพ์สมเด็จด้วยมุง่ หมายให้เป็นการสืบต่อ พระศาสนาเป็นหลักใหญ่  แต่นา่ ประหลาดทีต่ อ่ มาคนทัง้ หลายนับถือพระสมเด็จ เป็นพระเครื่องรางที่ทรงคุณานุภาพเป็นอย่างวิเศษ  ในบรรดาพระเครื่องราง  พระสมเด็จเด่นอยู่ในความนิยมของสังคมทุกยุคสมัย ซื้อหากันในราคาแพงมาก อันเกี่ยวกับอภินิหารของพระสมเด็จ เล่ากันว่าภายหลังเจ้าประคุณสมเด็จฯ ถึงมรณภาพ พระสมเด็จทีใ่ ส่บาตร สัด และกระบุงไว้ที่หอสวดมนต์  ถูกขนย้ายไปไว้ในพระวิหารวัดระฆังฯ บ้างว่า เอาไปไว้บนเพดานวิหาร  ในเทศกาลสงกรานต์ปีหนึ่งทหารเรือที่มาเที่ยวเล่นใน งานวัดเกิดวิวาทตะลุมบอนกันขึ้น  นายหนึ่งเข้าไปเอาพระสมเด็จในวิหารมาอม ไว้องค์หนึ่ง แล้วกลับมาตีรันกับเขาต่อ ปรากฏว่าทหารเรือนายนั้นไม่ได้รับบาด เจ็บอย่างใด ขณะที่คนอื่นได้แผลกันไปทุกคน อีกเรื่องเล่าว่า ชายชาวไชโย อ่างทอง ป่วยเป็นอหิวาต์  คืนหนึ่งฝันว่าเจ้า ประคุณสมเด็จฯ มาบอกว่า “ยังไม่ตาย ให้ไปเอาพระสมเด็จบนเพดานวิหารวัด ระฆังฯ มาท�ำน�้ำมนต์กินเถิด”  พวกญาติพายเรือมาเอาพระสมเด็จไปอธิษฐาน ท�ำน�ำ้ มนต์ให้กินก็หายจากโรค ตามต�ำนานว่าสองเรื่องเล่านี้เป็นมูลเหตุให้เกิดค�ำร�่ำลือถึงอภินิหารพระ สมเด็จเป็นปฐม

84

2completo.indd 84

สมเด็จพระพุฒาจารย์โต พรหมรังสี  ศรีอริยสงฆ์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

3/18/20 9:21 AM


เ ม ต ต า โ จ ร คราวหนึ่งขณะที่สมเด็จพระพุฒาจารย์โตก�ำลังจ�ำวัดอยู่ในเวลาดึกสงัด  มีขโมยแอบย่องเข้ามาใต้ถุนกุฏิ  เอื้อมมือขึ้นทางช่องหวังหยิบตะเกียงลานที่วาง อยู่ทางปลายเท้าของท่าน แต่หยิบไม่ถึง  เจ้าประคุณสมเด็จฯ รู้ตัวตื่นขึ้นพอดี ท่านไม่ได้ร้องไล่  แต่กลับใช้เท้าเขี่ยตะเกียงให้ ได้ของไปแล้วขโมยยังจะเอาเรือใต้ถุนกุฏิไปด้วย ระหว่างที่โจรเข็นเรืออยู่ เจ้าประคุณสมเด็จฯ เปิดหน้าต่างแล้วบอกหัวขโมยว่า “เข็นเบา ๆ หน่อยจ้ะ  ถ้าดังไปพระท่านได้ยินเข้า ท่านจะตีเอาเจ็บเปล่าจ้ะ”  และแนะน� ำหัวขโมย  ด้วยว่า “เข็นเรือบนที่แห้ง เขาต้องเอาหมอนรองข้างใต้ให้โด่งก่อนจ้ะ ถึงจะกลิ้ง สะดวกดี  เรือก็ไม่ช�้ำไม่รั่วจ้ะ”  ขโมยได้ยินเช่นนั้นคงนึกละอายใจไม่เข็นต่อ ย่องหนีหายไป อีกคราวตอนท่านกลับจากแสดงธรรมเทศนาที่ต่างจังหวัดโดยทางเรือ  ได้เครื่องกัณฑ์เทศน์เป็นเสื่อ หมอน และอื่น ๆ มาหลายอย่าง  ระหว่างจอดเรือ พักนอนตอนกลางคืน มีขโมยลอยเรือเข้ามาเงียบ ๆ คว้าเอาเสือ่ ติดกัณฑ์เทศน์ไป เจ้าประคุณยังไม่หลับ ท่านเฝ้าดูอยูใ่ นความมืด จึงพูดขึน้ เรียบ ๆ ว่า “เอาหมอน ไปด้วยสิจ๊ะ”  พวกโจรตกใจจ�้ำเรือหนี  ท่านก็โยนหมอนตามไปให้

85

2completo.indd 85

3/18/20 9:21 AM


čĔħèìĚĨĐ ĐĐüģĈüŋúĘħ @sarakadeemag

òè/ 092$9 ISBN 978-616-465-037-4

+9 9 Uîî %9"

2ëE L í+8í@ : :+*ĝG í+3ë+9ì2= !>4 Q9D$; 4*ę9é#++è 929è8k G$ +4% +8/ 9/%Ě9$ 0= 19D-ę9D+<*$G$ò-9*2Q9$8 4éò-9*%@+ê9 9+*ĝ +4é $4*ę9é2è 7D+<*%éę9* Hèę ; 9Q Eò$ęé-9)*0 Hèę272è*= ; 49è;2/8 !? D"0$ĝF&+ $"? $ 8$M Ě/*4?%9*#++è"<EL *%*- Hèę/9ę 7D&Ġ$ %Ě9$ $*9 $D KkG ò% < D Ě9 ?$è@-$9* $!=éG$ê+7%+èèò9+9 /8é +7"8éL !=é 9--728é 9+ 9+è+ )9ê 4é"ę9$H Ě! @ %8$"= H/Ě Ě/* Q9/ę9 2;$M <ê 8 18* D&Ġ$&è&+;0$9GòĚ $+?$ę ò-8é+@FĚ *$8*/ę9 "ę9$D&Ġ$ò$ę4D$>4M D >4M 29* 4é 18 +;* ĝ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.