Let it Be Known ! HRH Prince ABHAKARA, Prince of Jumborn : The Man, the Myth and his many Lives
ZE Y? 1K`"E?L< W L?QG Âź
=;E?A" %R ; 8=I
Ä&#x2039;Ä&#x2020;Ä&#x201D;ĂśÄ&#x2026;Ĺ&#x2039; ĂşÄ?èÞÄ&#x2022;Ăź
หนังสือ : ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ ผู้เขียน : ศรัณย์ ทองปาน © สงวนลิขสิทธิ์โดยส�ำนักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ห้ามการลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต พิมพ์ครั้งที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓ จ�ำนวนพิมพ์ ๒,๐๐๐ เล่ม ราคา ๔๘๐ บาท ข้อมูลบรรณานุกรม ศรัณย์ ทองปาน. ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ.--นนทบุรี : สารคดี, ๒๕๖๓. ๓๖๘ หน้า. ๑. ชุมพรเขตอุดมศักดิ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง. ๒๔๒๓-๒๔๖๖. I. ชื่อเรื่อง. ๙๒๓.๒๕๙๓ ISBN 978-616-465-034-3
คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการเล่ม : วิชญดา ทองแดง ออกแบบ/จัดรูปเล่ม : บุญส่ง สามารถ ภาพประกอบ : ประเวช ตันตราภิรมย์ และฝ่ายภาพ สารคดี พิสูจน์อักษร : เกศินี วิลาวัลย์เดช จีรนันทน์ วีรวรรณ ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ จัดพิมพ์ : บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด (ส�ำนักพิมพ์สารคดี) จัดจ�ำหน่าย : บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ๓ ซอยนนทบุรี ๒๒ ถนนนนทบุรี (สนามบินน�้ำ) ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร. ๐-๒๕๔๗-๒๗๐๐ (อัตโนมัติ) โทรสาร ๐-๒๕๔๗-๒๗๒๑ เพลต : เอ็น.อาร์. ฟิล์ม โทร. ๐-๒๒๑๕-๗๕๕๙ พิมพ์ : บริษัททวีวัฒน์การพิมพ์ จ�ำกัด โทร. ๐-๒๗๒๐-๕๐๑๔
2
1.indd 2
ส�ำนักพิมพ์สารคดี ผู้อ�ำนวยการ : สุวพร ทองธิว ผู้จัดการทั่วไป : จ�ำนงค์ ศรีนวล ที่ปรึกษากฎหมาย : สมพจน์ เจียมพานทอง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายศิลป์ / ฝ่ายผลิต : จ�ำนงค์ ศรีนวล ผู้จัดการฝ่ายตลาด/ โฆษณา : กฤตนัดตา หนูไชยะ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ
หนังสือเล่มนี้ใช้หมึกพิมพ์ซึ่งมีส่วนผสมของน�้ำมันถั่วเหลือง ให้โลกทัช่้งวหลายเขาลื จเตี้ำ่ยมั”น กรมหลวงชุ ยลดการใช้อว : ัตถุ“เสด็ ดิบจากน� ปิโตรเลียม ช่มวพรฯ ยลดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
3/2/20 5:29 PM
สารบัญ
๑๒
โหมโรง
๑๖ องก์ ๑ “ชายอาภากร” ๒๔๒๓-๒๔๕๔ อาภากรเกียรติวงศ์ .................................................................................. ๑๗ เมื่อทรงพระเยาว์ ...................................................................................... ๒๔ ร.ศ. ๑๑๒ .................................................................................................... ๒๙ จดหมายจากอิงแลนด์ .......................................................................... ๓๔ นักเรียนนายเรือสยาม ........................................................................... ๔๐ ชายร่างเล็ก ................................................................................................. ๔๖ พันธกิจแห่งขัตติยะ ................................................................................. ๕๑ ไข้เมดิเตอร์เรเนียน .................................................................................. ๕๔ แรกรับราชการ .......................................................................................... ๖๐ กรมทหารเรือ ๒๔๔๖ ............................................................................ ๗๐ มรดกมุสลิม ................................................................................................ ๗๔ “ฉันด้วย !” ................................................................................................... ๗๘ เจ้าต่างกรม ................................................................................................. ๘๖ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารเรือ ................................................................ ๘๘ มกุฎราชกุมาร ............................................................................................ ๙๐ ร่วมเครือนาวี จักยลปฐพีไพศาล ...................................................... ๙๘ “ดอกประดู่” ................................................................................................ ๑๐๕ สามีและพ่อ ................................................................................................ ๑๐๖ พระโอรสพระธิดา .................................................................................... ๑๑๕ อาภาชาวสวน ............................................................................................ ๑๑๖ 3
1.indd 3
2/28/20 4:04 PM
๑๒๐ องก์ ๒ ฉาก ๑ “หมอพร” ๒๔๕๔-๒๔๖๐ เหตุเกิดที่ร้านหมี่ ............................................................................................ ค�ำให้การ (๑) .................................................................................................. ค�ำให้การ (๒) .................................................................................................. ค�ำให้การ (๓) .................................................................................................. หลักฐานใหม่ ................................................................................................... ออกจากราชการ ............................................................................................. กยิรา เจ กยิราเถนํ - จะท�ำสิ่งไร ควรท�ำจริง ................................... ถึงคราวตายก็ต้องตาย ................................................................................ “หมอพร” ........................................................................................................... อินไซด์สำ� เพ็ง ................................................................................................... ลองของ .............................................................................................................. โต้โผวงปี่พาทย์ ............................................................................................... “เดินหน้า” ..........................................................................................................
๑๒๑ ๑๓๐ ๑๓๕ ๑๓๗ ๑๔๑ ๑๔๕ ๑๔๙ ๑๕๔ ๑๕๗ ๑๖๕ ๑๖๙ ๑๗๕ ๑๗๙
๑๘๐ องก์ ๒ ฉาก ๒ “เสด็จเตี่ย” ๒๔๖๐-๒๔๖๖ นายทหารกองหนุน ....................................................................................... ๑๘๑ ชีวิตที่ ๒ ............................................................................................................. ๑๘๕ ราชนาวิกะสภากับ นาวิกศาสตร์ .............................................................. ๑๘๙ พระร่วง และกรมหลวงชุมพรฯ ............................................................... ๑๙๕ พระร่วง ............................................................................................................... ๒๐๒ “เสด็จเตี่ย” ........................................................................................................ ๒๐๕ “คุณครู” .............................................................................................................. ๒๐๘ พระฉายาลักษณ์ฉลองพระองค์นายพลเรือโท ๒๔๖๑ ................ ๒๑๓ “เถ้าแก่” .............................................................................................................. ๒๑๕ ผู้ให้กำ� เนิด “สัตหีบ” ..................................................................................... ๒๑๘
4
1.indd 4
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:04 PM
เจ้าของวังนางเลิ้ง .................................................................................. ๒๒๔ นักธรรมชาติวิทยา ................................................................................ ๒๒๙ เจ้าส�ำนักมวยไทย ................................................................................. ๒๓๓ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ ............................................................... ๒๓๖ ๑๙ พฤษภาคม ๒๔๖๖ ........................................................................ ๒๓๙ อนุสสาวะรียะ พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ ์ .......................................................... ๒๔๕ ออกพระเมรุ .............................................................................................. ๒๔๖ เขต - เขตร ................................................................................................... ๒๕๑ ใครเขาจะนึก ใครเขาจะฝัน .............................................................. ๒๕๒
๒๖๐ องก์ ๓ เจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯ เวลาใดๆ นานไปเขาก็ลืม ...................................................................................... ๒๖๑ แมนฮัตตัน ................................................................................................ ๒๖๔ จดหมายจากคุณหลวง ....................................................................... ๒๖๙ จาก “เรื่องเล่า” สู่ “ลายลักษณ์” ................................................... ๒๗๔ นักเลงเหนือนักเลง ................................................................................ ๒๗๘ ไสยศาสตร์ VS วิทยาศาสตร์ .......................................................... ๒๘๒ พระบิดาแห่งสรรพสิ่ง .......................................................................... ๒๘๘ จากกระโจมไฟ สู่อนุสาวรีย ์ ............................................................. ๒๙๑ กว่าจะถึงวันอาภากร ........................................................................... ๒๙๖ “เจ้า” ต้องมีศาล .................................................................................... ๓๐๐ ลูก ๆ ของท่าน ......................................................................................... ๓๐๘ บันทึกเสด็จในกรม ................................................................................ ๓๑๖ ให้โลกทั้งหลายเขาลือ ......................................................................... ๓๒๐ ๓๓๒ เอกสารและการอ้างอิง 5
1.indd 5
3/2/20 5:29 PM
กรมหลวงชุมพรฯ ทรงเขียนภาพน�้ำตกธารมะยม เกาะช้าง ในคราวตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสเกาะช้าง ๘ มีนาคม ๒๔๖๕
12
2.indd 12
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:06 PM
โหมโรง
“นี่แหละ ! ที่ตายของชาย” น�้ำเสียงภาคภูมิใจแทรกเสียงลมเสียงคลื่นเหมือนเป็นค�ำทักทาย “ท�ำไมชายถึงตรัสอย่างนั้น ?” สตรีสูงวัยร่างเล็กบ่นพึมพ�ำแทนค�ำตอบ พรายแดดระยับที่ปลายฟ้า บนผืนทรายของหาดทรายรี ที่ดินริมทะเลซึ่งเดิมชาวบ้านเรียกกันว่า “หาดตาลี” เพราะเมื่อนานมาแล้ว “ตาลี” เคยถางไร่ไว้เป็นคนแรก พลเรือเอก กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ ์ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ พระชนมายุ ๔๒ ปีเศษ เสด็จมารับเจ้าจอมมารดาโหมด พระมารดาวัย ๖๐ ปี ขึ้นฝั่ง เวลานัน้ คงอยูใ่ นราวปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม ๒๔๖๖ แม้ตามปรกติเสด็จในกรมฯ มักไม่ค่อยเสด็จไปไหนพร้อมกับเจ้าจอมมารดาโหมด ทว่าครัง้ นัน้ พระองค์กลับชวนพระมารดาให้มาดูสถานทีท่ ที่ รงจับจอง ไว้ทางด้านใต้ปากน�้ำเมืองชุมพร ซึง่ สมัยนัน้ ขึน้ กับมณฑลสุราษฎร์ หมายพระทัย ว่าเมื่อทรงออกจากราชการแล้วจะท�ำสวนมะพร้าว ไม่ก็จับปลาไปหมักเป็น ปลาเค็มส่งขายชาวพระนครดูบ้าง
13
2.indd 13
2/28/20 4:06 PM
องก์ ๑
“ชายอาภากร” ๒๔๒๓-๒๔๕๔
16
2.indd 16
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:06 PM
อาภากรเกียรติวงศ์
วัน ๑ ฯ ๑ ค� ่ำ ปีมะโรงโทศก จุลศักราช ๑๒๔๒ ๓ วันนี้ เวลาบ่าย ๓ โมง ๕๗ มินิต เจ้าจอมมารดาโหมด ประสูติพระเจ้าลูกเธอเป็นพระองค์ชาย จดหมายเหตุพระราชกิจรายวัน ในรัชกาลที่ ๕ ภาค ๑๑
วันอาทิตย์ แรม ๓ ค�่ำ เดือนอ้าย ปีมะโรง จุลศักราช ๑๒๔๒ ตรงกับวันที่
๑๙ ธันวาคม ๒๔๒๓ เวลา ๑๕.๕๗ น. พระราชโอรสล�ำดับที่ ๒๘ ในพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ประสูติในพระบรมมหาราชวัง พระมารดาคือเจ้าจอมมารดาโหมดแห่งราชนิกุลบุนนาค เจ้าจอมมารดาโหมด (๒๔๐๕-๒๔๗๕) เป็นธิดาของเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค, ๒๓๗๑-๒๔๓๑) ผู้เคยด�ำรงต�ำแหน่งสมุหพระกลาโหม จึงมักเรียกกันว่า “เจ้าคุณทหาร” และบิดาของเจ้าพระยาสุรวงศ์ฯ คือสมเด็จ เจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค, ๒๓๕๑-๒๔๒๕) อดีตผู้ส� ำเร็จ ราชการแผ่นดินช่วงต้นรัชสมัยรัชกาลที ่ ๕ ซึง่ ในปี ๒๔๒๓ ท่านพ้นจากต�ำแหน่ง แล้ว
17
2.indd 17
2/28/20 4:06 PM
“โหมด” เป็นชือ่ ผ้าไหมอย่างดี หนังสืออักขราภิธานศรับท์ พจนานุกรมยุค ต้นรัชกาลที่ ๕ อธิบายไว้ว่า “คือผ้าไหมศรีเหมือนทอง, เขาธอเปนผืนผ้ามีศรี ต่าง ๆ, มีศรีเหลืองเปนต้น เขาเอามาแต่เมืองจีนแลเมืองแขกนัน้ ” จากหลักฐาน ร่วมสมัย เมือ่ น�ำมาตัง้ เป็นนามบุคคล ใช้กบั ทัง้ เพศหญิงและชาย เพราะนอกจาก ปรากฏเป็นชื่อธิดาขุนนางตระกูลบุนนาคแล้ว ยังมีพระยากระสาปนกิจโกศล (โหมด อมาตยกุล, ๒๓๖๒-๒๔๓๙) ด้วย พระเจ้าลูกยาเธอที่ประสูติจากเจ้าจอมมารดาโหมดได้รับพระนามว่า “พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์” โดยผู้ที่คิดผูกพระนาม (ตั้งชื่อ) ถวาย คือ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร, ๒๓๖๕-๒๔๓๔) เจ้ากรมพระ อาลักษณ์ นักปราชญ์ด้านภาษาไทยและภาษาบาลีคนส�ำคัญประจ�ำราชส�ำนัก พระยาศรีสุนทรโวหารคนนี้คือผู้แต่งต�ำราเรียนชุด มูลบทบรรพกิจ แบบ เรียนภาษาไทยชุดแรก อันประกอบด้วยหนังสือหกเล่ม ได้แก่ มูลบทบรรพกิจ วาหนิต์นิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน ไวพจน์พิจารณ์ และ พิศาลการันต์ สิ่งที่น่าคิดคือที่มาของพระนาม ผมสันนิษฐานว่า พระนาม “อาภากรเกียรติวงศ์” น่าจะมาจากการที่ทรง เป็น “เหลน” ของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ผู้ได้รับความนับถือใน ฐานะ “เป็นพระบรมญาติอนั ยิง่ ใหญ่ ควรเป็นทีค่ ำ� นับในพระบรมราชวงศานุวงศ์ ทั้งปวง” ย้อนหลังไปในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ พระราชทานตราสุริยมณฑล คือรูปรถพระอาทิตย์ในวงกลม ให้แก่ “สมเด็จ เจ้าพระยาองค์ใหญ่” คือสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) ผู้เป็นพี่ และพระราชทานตราจันทรมณฑล (พระจันทร์) แก่ “สมเด็จเจ้าพระยา องค์น้อย” ผู้เป็นน้อง คือสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)
18
2.indd 18
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:06 PM
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ขวาบน) สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) (ขวา) เจ้าจอมมารดาโหมด
19
2.indd 19
2/28/20 4:06 PM
ผังล�ำดับเครือญาติจากราชนิกุลบุนนาค เจ้าพระยา = เจ้าคุณพระราชพันธุ์ อรรถมหาเสนา (นวล) (บุนนาค)
สมเด็จเจ้าพระยา = ท่านผู้หญิงจันทร์ บรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ) สมเด็จเจ้าพระยา = ท่านผู้หญิงกลิ่น บรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง) ท่านผู้หญิงอ่วม = เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ = ท่านผู้หญิงอิ่ม (วร) พระยาประภากรวงศ์ (ชาย)
เจ้าคุณพระประยูรวงศ์ = พระบาทสมเด็จ = เจ้าจอมมารดาโหมด พระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (แพ) พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ พระองค์เจ้า พระองค์เจ้า กรมหลวงชุมพร- อรองค์อรรคยุพา สุริยงประยูรพันธุ์ เขตอุดมศักดิ์ กรมหมื่นไชยา ศรีสุริโยภาส
2.indd 22
2/28/20 4:06 PM
สมเด็จเจ้าพระยา บรมมหาพิไชยญาติ = หม่อมน้อย (ทัต) พระบาทสมเด็จ = เจ้าคุณจอมมารดาส�ำลี พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จ = สมเด็จพระนางเจ้า พระจุลจอมเกล้า สุขุมาลมารศรี เจ้าอยู่หัว
สมเด็จฯ เจ้าฟ้า บริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา
2.indd 23
2/28/20 4:06 PM
40
2.indd 40
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:07 PM
นักเรียนนายเรือสยาม
หลังจากทรงศึกษาวิชาเบื้องต้น และทรงสร้างความคุ้นเคยกับภาษา
วัฒนธรรม และผูค้ นชาวอังกฤษได้ราว ๒ ปี ในเดือนตุลาคม ๒๔๓๘ พระองค์เจ้า อาภากรเกียรติวงศ์ทรงแยกเข้าศึกษาที่โรงเรียนกินนอนชื่อเดอะไลมส์ (The Limes) ของนายลิตเติลจอห์น (William Thomas Littlejohn) ณ เมืองกรีนิช (Greenwich) ซึ่งเป็น “โรงเรียนกวดวิชา” ที่มีชื่อเสียงส�ำหรับนักเรียนที่ต้องการ เข้าศึกษาต่อในโรงเรียนนายเรือของอังกฤษ เวลานั้นมีนักเรียนอยู่ประจ�ำราว ๖๐ คน หลังจากทรงเล่าเรียนมาปีกว่า พระยาวิสุทธฯ บันทึกไว้ว่า “...ความรูภ้ าษาอังกฤษในพระองค์ดขี นึ้ ตามธรรมดา แต่วชิ ากระบวน ทหารเรือชั้นต้นก็วิ่งขึ้นเร็วตามสมควร แต่การเล่นการแข็งแรงเช่นฟุตบอล เป็นต้น นับว่าเป็นชั้นยอดในโรงเรียนนั้น เกือบว่าไม่มีใครอาจเข้าเทียบ เทียม...” (๒๔ ธันวาคม ๒๔๓๙)
พระองค์เจ้าอาภากรฯ ทรงฉลองพระองค์นักเรียนท�ำการนายเรือของสยาม ฉายเมื่อเดือนกันยายน ๒๔๔๐
41
2.indd 41
2/28/20 4:07 PM
106
2.indd 106
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:07 PM
สามีและพ่อ
สะใภ้หลวงในกรมหมืน่ ชุมพรฯ คือหม่อมเจ้าหญิงทิพยสัมพันธ์ พระธิดา
ใน “สมเด็จฯ วังบูรพา” สมเด็จฯ เจ้าฟ้า กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช โดย ทรงเสกสมรสในปี ๒๔๔๓ ตั้งแต่ครั้งยังด�ำรงพระอิสริยยศเป็นพระองค์เจ้า อาภากรเกียรติวงศ์ และเพิง่ เสด็จกลับจากอังกฤษมาถึงกรุงเทพฯ เพียงไม่กเี่ ดือน ตามความนิยมของเจ้านายและผู้มีบรรดาศักดิ์ครั้งนั้น กรมหมื่นชุมพรฯ ยังทรงมีหม่อมห้ามอีกจ�ำนวนหนึ่ง เท่าที่ปรากฏนาม ได้แก่ หม่อมกิม หม่อม แฉล้ม หม่อมเพื่อน หม่อมช้อย หม่อมเมี้ยน หม่อมแจ่ม หม่อมแม้น และ หม่อมเดซี่ บางท่าน เช่นหม่อมกิม (๒๔๒๙-๒๕๐๖) และหม่อมแฉล้ม (๒๔๓๐๒๕๑๙) มีบดิ าเป็นชาวจีน ซึง่ คงเป็นพ่อค้าจีนในสยาม ขณะทีอ่ กี หลายท่านเป็น ธิดาของขุนนางระดับคุณหลวง เช่นหม่อมช้อย (๒๔๓๓-๒๕๑๗) กับคู่พี่น้อง ที่ถวายตัวเข้ามาด้วยกัน คือ หม่อมเมี้ยน (๒๔๓๓-๒๕๑๗) และหม่อมแจ่ม (๒๔๓๗-๒๕๐๕) ส่วนหม่อมเดซี่ เชื่อกันว่าหมายถึงคุณลินจง บุนนาค (๒๔๒๗-๒๔๖๔) ธิดาของพระยาสุรยิ านุวตั ร (เกิด บุนนาค, ๒๔๐๕-๒๔๗๙) อดีตอัครราชทูตสยาม ประจ�ำยุโรป
หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร ขณะเมื่อทรงศึกษาในโรงเรียนนายเรือของอังกฤษ (ภาพ : ศัพท์การเมืองและการทูต พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลอากาศโท หม่อมเจ้ารังษิยากร อาภากร ๒๕๐๙)
107
2.indd 107
2/28/20 4:07 PM
องก์ ๒ ฉาก ๑
“หมอพร” ๒๔๕๔-๒๔๖๐
3.indd 120
2/28/20 4:09 PM
เหตุเกิดที่ร้านหมี่
“ถึงวันเสาร์ที่ ๒๒ ตุลาคม รัตนโกสินทรศก ๑๒๙ เวลา ๒ ยาม ๔๕ นาที เสด็จสวรรค์คต ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต พระชนมพรรษา ๕๘ เสด็จด�ำรงศิริราชสมบัติ มาได้ ๔๓ พรรษา...”
ราชกิจจานุเบกษา
เวลาเที่ยงคืน ๔๕ นาที ของคืนวันที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๔๕๓ (นับตามแบบ
ปัจจุบันเป็นเช้าวันใหม่คือ ๒๓ ตุลาคม) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า- อยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เสด็จสวรรคตอย่างกะทันหัน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จขึน้ ครองราชย์สืบต่อเป็นพระมหา กษัตริย์ล�ำดับที่ ๖ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ในพระปรมาภิไธย “สมเด็จพระ รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว”
121
3.indd 121
2/28/20 4:09 PM
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในฉลองพระองค์จอมพลเรือ (ภาพ : โปสต์การ์ดเก่า)
122
3.indd 122
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:09 PM
เจ้านายพระองค์หนึ่งทรงบันทึกไว้ว่า “พระมงกุฎเกล้าฯ เวลานัน้ พระชันษาหย่อนกว่า ๓๐ เพียงเล็กน้อย... ทรงมีพระฉวีผุดผ่องเป็นที่น่านิยม แม้จะทรงไม่สูงและค่อนข้างจะทรงพระ เจริญ (ภาษาสามัญว่าอ้วน) แต่ก็ทรงมีพระลักษณะอันสง่า ทรงมีความ สามารถอย่างสูงในทางแสดงสุนทรพจน์ด้วยพระสุรเสียงอันอ่อนหวาน ไพเราะน่าฟัง”
ไม่ถึง ๖ เดือนต่อมาหลังจากวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุล- จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีค�ำสั่งกระทรวงทหารเรือลงวันที่ ๑๔ เมษายน ร.ศ. ๑๓๐ (พ.ศ. ๒๔๕๔) เรื่อง “ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกเปนทหารกองหนุน” มีเนื้อความว่า
“มีพระบรมราชโองการ ด�ำรัสสั่งเหนือเกล้าฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้นายพลเรือตรี พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ ์ ผู้ ช่วยเสนาบดีกระทรวงทหารเรือ แลเจ้ากรมยุทธศึกษา ออกจากต�ำแหน่ง หน้าที่ราชการประจ�ำ เปนนายทหารกองหนุน รับพระราชทานเบี้ยหวัดตาม พระราชบัญญัติ ส่วนหน้าที่เจ้ากรมยุทธศึกษาซึ่งว่างลงนั้น ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้นายพลเรือตรี พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าวุฒไิ ชยเฉลิมลาภ ผู้บัญชาการกรมทหารชายทเล เป็นผู้รั้งต�ำแหน่งเจ้ากรมยุทธศึกษา แลคง อยู่ในต�ำแหน่งหน้าที่เดิมนั้นด้วยสนองพระเดชพระคุณสืบไป”
การที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ผู้ทรงเป็น องค์รัฏฐาธิปัตย์แห่งระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทรงมีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้นายพลเรือตรี พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
123
3.indd 123
2/28/20 4:09 PM
หาขอบฟ้าทีเ่ ห็น เดีย๋ วตรงโน้นเดีย๋ วตรงนี้ เปลีย่ นทีส่ ลับกันอยูเ่ รือ่ ย ลมงวง นี้ไม่ดูดแต่น�้ำ จะดึงเอาเรือเราเข้าไปด้วย ต้องลดใบทุกเสา เรือใบไม่มี เครื่องจักร หนีไม่ได้ จะดูดเข้าไปหา ถ้าตกเข้าไปใต้ลมงวงเมื่อใด มันจะ ถอนเสากระโดงถอนประทุน แม้แต่เรือเองก็จะดูดลอยขึ้นไปด้วย...มีทางสู้ อยู่ทางเดียวต้องใช้ปืนแฝดใหญ่ ปืนไรเฟิลขนาดยิงช้าง ยิงลมงวง ความ กระเทือนของปืนจะท�ำให้ลมงวงแตกกระจาย หมดก�ำลังที่จะดูด...เสด็จพ่อ เตรียมปืนไว้ดว้ ย ๓-๔ กระบอก แจกพวกแม่นปืนระดมยิงสูก้ นั อยูเ่ ป็นเวลา ชั่วโมงกว่า พายุนี้จึงผ่านไป ข้าพเจ้าออกทะเลมา กลัวตอนนี้มากที่สุด... เสด็จพ่อเสวยน�ำ้ จัณฑ์และแจกลูกเรือย้อมใจ ลมนีเ้ กิดแถวเกาะคราม ปลา ฉลามชุมเสียด้วย ข้าพเจ้าเกาะติดพระองค์...เสด็จพ่อรับสั่งว่า ไม่ต้องกลัว ถึงคราวตายก็ตอ้ งตาย แต่เตีย่ จะยิงลูก ๆ ก่อนถ้าเรือแตก จะไม่ยอมให้ปลา ฉลามมันทรมาน...มีพ่อแล้วไม่ต้องกลัวอะไร...”
ท่านหญิงทรงเล่าต่ออีกว่า
“...พอลมสงบก็ทรงตัดสินพระทัยกลับกรุงเทพฯ เลิกประจญภัย... ทรงเริ่มคิดจะกลับมาเที่ยวหาอาจารย์เรียนวิชาแพทย์แผนโบราณ ช่วย ประชาชนที่ยากจนเป็นกุศล...”
น่าเสียดายที่ไม่มีหลักฐานอื่นใดเกีย่ วกับเรือ อาจารย์ มากไปกว่าค�ำบอก เล่าของหม่อมเจ้าหญิงเริงจิตรแจรง ทีว่ า่ เป็น “เรือใบ” แบบทีม่ สี ามใบ (หรือสาม เสา ?) เท่านั้น รวมถึงยังไม่ปรากฏภาพถ่ายใด ๆ เลยที่สามารถยืนยันได้ว่าเป็น เรือล�ำนี้ ส่ ว นพลเรื อ ตรี กรี ฑ า พรรธนะแพทย์ ผู ้ ส นใจศึ ก ษาพระประวั ติ ข อง เสด็จในกรมฯ สันนิษฐานว่า เรือ อาจารย์ น่าจะเป็นเพียง “เรือฉลอม” ทีม่ ขี นาด ใหญ่กว่าเรือฉลอมปรกติของชาวบ้านเท่านั้น
156
3.indd 156
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:09 PM
“หมอพร”
เมือ่ ตัดสินพระทัยหันหลังให้ทะเลแล้ว กรมหมืน่ ชุมพรฯ พระชันษา ๓๑ ปี
ทรงเริ่มศึกษาวิชาแพทย์แผนไทยโดยทรงฝากตัวเป็นศิษย์ของพระยาพิษณุประสาทเวช (คง ถาวรเวช, ๒๓๙๖-๒๔๕๗) หัวหน้าแพทย์หลวง ผู้เรียบเรียง หนังสือชุด ต�ำราแพทยศาสตร์สงเคราะห์ ฉบับหลวง ซึง่ ยังใช้เป็นต�ำราวิชาแพทย์ แผนไทยจนถึงปัจจุบัน ตามค�ำบอกเล่าของพระธิดา เสด็จพ่อ “จะลงกราบอาจารย์ที่เป็นไทยทุก คนทีเ่ วลาพบ ทรงยกย่องและนับถือจริง ๆ ซึง่ คุณย่าไม่เคยเห็นด้วย ว่าท�ำเกินไป” ความจริงจังในด้านนี้ยังรวมถึงยังทรงออกเดินทางตระเวนเก็บรวบรวม ตัวยาสมุนไพรจากในป่าเอง
“...รับสัง่ ว่าทีห่ าได้ในกรุงเทพฯ ไม่คอ่ ยแท้ มีพระชื่อ ‘อาจารย์ปอ๊ ต’ เราเรียกท่านว่าหลวงลุง น�ำเสด็จหาสมุนไพรในป่าสูง ต้องปีนเขาท่องป่า ข้ามห้วยหนทางล�ำบากกว่าจะได้ว่านยาที่แท้และดี ไปครั้งหนึ่งอย่างน้อย ไม่ต�่ำกว่า ๑๐ วัน บางทีถึงเดือน มีเจ้ากรมฯ และมหาดเล็กตามเสด็จไป ด้วย แต่งตัวกันอย่างคนพื้นเมือง...”
157
3.indd 157
2/28/20 4:09 PM
“หมอพร” ในห้องทดลองที่วังนางเลิ้ง
158
3.indd 158
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:09 PM
ยังมีภาพถ่ายกรมหมืน่ ชุมพรฯ ในฉลองพระองค์เสือ้ เชิต้ ลายทางแขนยาว ผูกเนกไท สวมผ้ากันเปือ้ นทับ เบือ้ งหน้ามีโต๊ะตัง้ กล้องจุลทรรศน์ แวดล้อมด้วย หลอดทดลอง สอดคล้องกับค�ำบอกเล่าของพระธิดาว่า นอกจากแพทย์แผนไทย แล้ว ยังทรงศึกษาแพทย์แผนใหม่แบบตะวันตกจากนายแพทย์ชาวอิตาลีและ ชาวญี่ป่นุ รวมถึงทรงใช้สัตว์ปีก เช่น นก เป็ด ไก่ เป็นตัวทดลองประสิทธิภาพ ของต�ำรับยาต่าง ๆ ทั้งแผนโบราณและสมัยใหม่อย่างฝรั่ง ท้ายที่สุดความรู้แพทย์แผนไทยที่ทรงค้นคว้ารวบรวมมา ได้รับการสรุป เรียบเรียงเป็นต�ำราเขียนลงในสมุดข่อยตามขนบโบราณ พร้อมวาดภาพลงสี ประกอบอย่างงดงาม ใบหน้าปกทรงเขียนไว้ว่า พระคัมภีร์ อติสาระวรรค โบราณะกรรม แลปัจจุบันนะกรรม พร้อมกับมีตราสุริยมณฑล ประกอบคาถา ภาษิต “กยิรา เจ กยิราเถนํ” ดูเหมือนว่าหลังจากที่ “ตัวตนเก่า” ของพระองค์มีอันต้องแตกสลายลง เมื่อทรงถูกปลดออกจากราชการ และต้องตัดขาดจาก “ทหารเรือ” อันเป็นสิ่งที่ ทรงผูกพันฝังใจมาแต่ยงั ทรงพระเยาว์ ก็มาถึงช่วงแห่งการคิดใคร่ครวญถึงชีวติ ที่ ผ่านมา และยังเป็นเวลาส�ำหรับไขว่คว้าหาหนทางประกอบสร้าง “ตัวตนใหม่” พร้อมกับแสวงหาเรียนรูใ้ หม่หมดกันอีกครัง้ ดังทีป่ รากฏว่าทรงพร้อมทีจ่ ะก้มกราบ ครูบาอาจารย์ทางวิชาแพทย์แผนไทยทุกคนทุกเมื่อ โดยไม่พะวงแม้แต่กับ พระอิสริยยศตามธรรมเนียมไทย (รวมถึงค�ำทัดทานของเจ้าจอมมารดาโหมด) จนในที่สุดทรงเลือกวิชาแพทย์แผนไทย แล้วทรงศึกษารวบรวมต�ำรับยา กระท�ำ การทดลองซ�ำ ้ ๆ กระทัง่ สามารถออกรักษาพยาบาลผูป้ ว่ ยได้ พระธิดาทรงเล่าว่า
“...เมื่อทรงเป็นหมอ เสด็จรักษาไม่เลือก จะยากดีมีจน แม้แต่คนใน ส�ำเพ็งบ้านกระจอกงอกง่อยก็ไปรักษา เมื่อตอนพวกข้าพเจ้า ๔ คนเข้า
159
3.indd 159
2/28/20 4:09 PM
องก์ ๒ ฉาก ๒
“เสด็จเตี่ย” ๒๔๖๐-๒๔๖๖
4.indd 180
2/28/20 4:13 PM
นายทหารกองหนุน
จนล่วงเข้าพุทธศักราช ๒๔๕๙ อันเป็นปีที่ ๗ ในรัชกาล ดูเหมือนว่า
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ ยังทรงขุ่นเคืองพระราชหฤทัยกับพระเจ้าพี่ยาเธอพระองค์นี้อยู่ ดังเช่นในคราวงานนมัสการพระพุทธชินราช (จ�ำลอง) วัดเบญจมบพิตร ประจ�ำปี ๒๔๕๙ มีการจัดประกวดภาพวาด ทางกระทรวงวังทูลเชิญ “สมเด็จครู” สมเด็จฯ เจ้าฟ้า กรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ มาเป็นนายกกรรมการตัดสิน ในการนี้สมเด็จฯ ทรงส่งรายชื่อขอเพิ่มกรรมการ ขึ้ น อี ก หนึ่ ง ในนั้ น คื อ กรมหมื่ น ชุ ม พรเขตรอุ ด มศั ก ดิ์ ผู ้ ท รงมี พ ระอั ธ ยาศั ย ใน ทางงานช่างและการวาดเขียน ทว่าในหลวงทรงมีลายพระราชหัตถเลขาเป็น พระบรมราชโองการลงมาว่า “กรมชุมพร ระงับเสียเถิด...นอกนั้นอนุญาต” แต่แล้วเกิดเหตุการณ์ส�ำคัญที่มีผลอย่างยิ่งต่อชีวิตของกรมหมื่นชุมพรฯ นั่นคือการที่สยามเข้าสู่ “มหาสงคราม” ย้อนหลังไปเมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๔๕๗ (ค.ศ. ๑๙๑๔) นักศึกษา หนุ่มชาวเซิร์บบุกเดี่ยวใช้ปืนสั้นปลงพระชนม์อาร์ชดยุก ฟรานซ์ เฟอร์ดินันด์ (Archduke Franz Ferdinand) รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และพระชายา คารถยนต์พระที่นั่งในขบวนเสด็จที่เมืองซาราเยโว (ปัจจุบันเป็น เมืองหลวงของสาธารณรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา แต่ขณะนั้นยังอยู่ใน
181
4.indd 181
2/28/20 4:13 PM
พลเรือโท กรมหมื่นชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เสนาธิการทหารเรือ ปี ๒๔๖๑ (สมบัติของ รศ. สพ.ญ. ดร. นิตย์ ค�ำอุไร)
184
4.indd 184
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:13 PM
ชีวิตที่ ๒
พระยาหาญกลางสมุทร (บุญมี พันธุมนาวิน) ถือได้ว่าเป็น “ลูกศิษย์
ก้นกุฏิ” ของเสด็จในกรมฯ ที่มีอายุยืนยาวที่สุด ก่อนถึงแก่อนิจกรรมไม่นานนัก ขณะท่านมีอายุกว่า ๘๐ ปีแล้ว เมื่อมี ผู้ขอสัมภาษณ์ ท่านเจ้าคุณยังเล่าด้วยความภาคภูมิใจว่า ท่านได้มีโอกาสครั้ง ส�ำคัญในการแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อเจ้านายและคุณครูผู้มีพระคุณ ท่านชี้ตัวเอง พร้อมกับย�้ำว่า “ตอนออกเจ้ากรุด แต่ตอนเข้า...คนนี้ !” “เจ้ากรุด” ทีท่ า่ นกล่าวถึง คือเรือโท ตรุษ หรือ กรุด บุนนาค เพือ่ นนักเรียน นายเรือรุ่นเดียวกัน ที่เคยมีเรื่องมีราวกับมหาดเล็กหลวงของรัชกาลที่ ๖ ใน ร้านสันธาโภชน์ พระยาหาญกลางสมุทรเท้าความว่า เวลานั้นท่านยังมีบรรดาศักดิ์เป็นที่ หลวงหาญสมุทร มีต�ำแหน่งเป็นกรรมการของราชนาวีสมาคมแห่งกรุงสยามใน พระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งริเริ่มก่อตั้งขึ้นราวเดือนพฤศจิกายน ๒๔๕๗ ภายหลัง “มหาสงครามในยุโรป” ปะทุขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ในอันที่จะระดมเงินทุนราว ๓ ล้านบาท เพือ่ จัดสร้างหรือซือ้ เรือรบ “ชนิดลาดตระเวนทีเ่ รียกว่า ‘สเคาตครูเซอร’
185
4.indd 185
2/28/20 4:13 PM
194
4.indd 194
ให้โลกทั้งหลายเขาลือ : “เสด็จเตี่ย” กรมหลวงชุมพรฯ
2/28/20 4:13 PM
พระร่วง และ กรมหลวงชุมพรฯ
บทความเรือ่ ง “ความเจริญแห่งราชนาวี” โดยนายพลเรือโท พระเจ้าพีย่ าเธอ
กรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เสนาธิการทหารเรือ ที่ลงพิมพ์ใน ดุสิตสมิต ฉบับ เฉลิมพระชนมพรรษา ๒๔๖๒ ยังปิดท้ายด้วยการเชิญชวนบริจาคเงินซื้อเรือรบ ถวายอีกด้วย
“เมื่อท่านทั้งหลายทราบและเห็นแล้วว่าความเจริญของราชนาวี เกีย่ วข้องท้าวเนือ่ งกับอะไรเพียงใด. ด�ำเนินมาแล้วอย่างใด, จะด�ำเนินต่อไป อย่างไร, มีอุปสัคกีดขวางอยู่อย่างใด, ทางที่จะแก้ไขให้การด�ำเนินได้ดี อย่างไร, และยังขาดเหลืออะไรอยู่เช่นนี้แล้ว จะไม่เห็นอกราชนาวีบ้างฤๅ ? จะไม่ช่วยเหลือราชนาวีตามก�ำลังที่พอจะช่วยเหลือได้บ้างฤๅ ? ถ้าจะช่วยก็ มีทางทีจ่ ะช่วยได้อย่างง่ายดาย คือ การเข้าเรีย่ รายสร้างเรือรบถวายและเปน สมาชิกของราชนาวีสมาคมอย่างจริงใจ. เพื่อราชนาวีสมาคมจะได้ด�ำเนิน การตามที่ก�ำหนดไว้ได้จริงจังและรวดเร็วทันสมัยนิยม”
กรมหมื่นชุมพรฯ ทรงฉลองพระองค์นายพลเรือของราชนาวีสยาม ถ่ายที่ประเทศอังกฤษระหว่างเสด็จไปรับเรือหลวง พระร่วง
195
4.indd 195
2/28/20 4:13 PM
AK/0R5=JD" DdL K}1O_DR.
G"6S W O<3Z3 L=W=O<4W=O<" 8=J5=JAK/N G" =;E?A"%R;8=I P`3GO =K`"Z3 8²B² 3O` QG ;R "0AL< Q3 î AL;W5 3;3RC< ï X. =;E?A"%R;8=I =A;0P"8<L<L;G2N4L< L=W5?O_<36 L3DS D0L3J îDN_"BK .NcDN12Ncï :L<E?K" DN`38=J%3; Y.<#K4 G;S?1O_W < =J#K. =J#L<;L= G<W=O<" W L. A< K3 W8Q_G8<L<L;1dL AL;W LZ# îG.O/ï 6 L34=N41 1L"DK" ;X?J L=W;QG" GK3W5 3 îY? ï 1O_? G;=G4 =;E?A"%R;8=I /K`"X/ =J.K4 XA.A"8=J4=;A"BL3RA"B W"Q_G3[ G"DK" ;D<L; #30P":S;N=K*BLD/= X?J L=W;QG" =J.K4:S;N:L W8Q_G5=J G4D= L" AL;E;L< G"8=J5=JAK/N ZE X 3=R 35 ##R4K3
ĎĄĊ÷ëĘĊþĆēĊĔøė ISBN 978-616-465-034-3
Ćĕåĕ ijķį ýĕú
čĔħèìĚĨĐ ĐĐüģĈüŋúĘħ
@sarakadeemag