/V>1B '/<3=!@4>6!/รท 6 />-K1 /=R #AQ [ ย *ย 4ย []aa ย [^^aย
739
A3@!M#.L%M+6 />-K1 /=R #AQ [ 6/4=1.รท J*รณ 6,>
หนังสือ “หวอ” ชีวิตไทยในไฟสงครามโลกครั้งที่ ๒ ผู้เขียน สรศัลย์ แพ่งสภา © สงวนลิขสิทธิ์โดยส�ำนักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ห้ามการลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต พิมพ์ครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๙ พิมพ์ครั้งที่ ๒ ตุลาคม ๒๕๕๘ จ�ำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม ราคา ๒๒๙ บาท ข้อมูลบรรณานุกรม สรศัลย์ แพ่งสภา. “หวอ” ชีวิตไทยในไฟสงครามโลกครั้งที่ ๒.- -พิมพ์ครั้งที่ ๒.- -กรุงเทพฯ : สารคดี, ๒๕๕๘. ๒๒๘ หน้า : ภาพประกอบ. ๑. สงครามโลก, ค.ศ. ๑๙๓๙-๑๙๔๕- -ไทย. I. สรศัลย์ แพ่งสภา. II. ชื่อเรื่อง. ๙๔๐.๕๓๕๙๓ ISBN 978-616-7767-63-5
คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการเล่ม : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : เกษณี วิลาวัลย์เดช นฤมล สุวรรณอ่อน ออกแบบปกและรูปเล่ม : จ�ำนงค์ ศรีนวล คอมพิวเตอร์และจัดรูปเล่ม : วัลลภา สะบู่ม่วง พิสูจน์อักษร : นวลจันทร์ ทองมาก ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ จัดพิมพ์ บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด (ส�ำนักพิมพ์สารคดี) จัดจ�ำหน่าย บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ๒๘, ๓๐ ถนนปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร. ๐-๒๒๘๑-๖๑๑๐ (อัตโนมัติ) โทรสาร ๐-๒๘๒-๗๐๐๓ เพลต เอ็น.อาร์. ฟิล์ม โทร. ๐-๒๒๑๕-๗๕๕๙ พิมพ์ ด่านสุทธาการพิมพ์ โทร. ๐-๒๙๖๖-๑๖๐๐-๖ ส�ำนักพิมพ์สารคดี ผู้อ�ำนวยการ : สุวพร ทองธิว ผู้จัดการทั่วไป : จ�ำนงค์ ศรีนวล ที่ปรึกษากฎหมาย : สมพจน์ เจียมพานทอง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายศิลป์/ฝ่ายผลิต : จ�ำนงค์ ศรีนวล ผู้จัดการฝ่ายตลาด : พิเชษฐ ยิ้มถิ่น ที่ปรึกษาส�ำนักพิมพ์ : สุดารา สุจฉายา บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ หนังสือเล่มนี้ใช้หมึกพิมพ์ซึ่งมีส่วนผสมของน�้ำมันถั่วเหลือง ช่วยลดการใช้วัตถุดิบจากน�้ำมันปิโตรเลียม ช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
จากส�ำนักพิมพ์ ในกระบวนเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ร่วมสมัยของไทยนั้น คงจะ ไม่มเี หตุการณ์ใดได้รบั การกล่าวถึงมากเท่าเหตุการณ์สงครามโลก ครั้งที่ ๒ อาจเป็นเพราะเหตุการณ์นี้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อ ไทยทั้งในด้านการเมืองภายในประเทศและการเมืองระหว่างประเทศ เศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนชีวติ ความเป็นอยูข่ องประชาชนใน ยุคนัน้ อีกทัง้ คนทีเ่ คยผ่านยุคสงครามมา ก็ยงั มีอกี จ�ำนวนมากที่ ยังมีชวี ติ อยู ่ และมักจะเล่าเรือ่ งราวประสบการณ์ตวั เองให้ลกู หลาน ฟังเสมอ ด้วยเป็น “ความทรงจ�ำ” ที่จะไม่มีวันลืมเลือนไป สรศัลย์ แพ่งสภา สถาปนิก-นักเขียน เป็นอีกผูห้ นึง่ ทีร่ ว่ ม ยุคร่วมเหตุการณ์สงครามโลกครัง้ ที ่ ๒ ช่วงทีญ ่ ปี่ นุ่ ยกพลขึน้ บกที่ ประเทศไทยเมือ่ วันที ่ ๘ ธันวาคม ๒๔๘๔ นัน้ สรศัลย์อายุ ๒๑ ปี เป็นนิสติ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ เผชิญความยากล�ำบากของชีวิตในยามสงครามมา ทั้งการวิ่งหนี หลบลูกระเบิด ใช้บตั รปันส่วนแลกซือ้ อาหาร เสือ้ ผ้า ซึง่ ขาดแคลน หนัก ซื้อยาและเวชภัณฑ์ในตลาดมืด ลุยน�้ำท่วม และปฏิบัติตัว ตามวัฒนธรรมที่ผู้นำ� ประเทศเปลี่ยนแปลงหรือคิดขึ้นใหม่ หนังสือ “หวอ” ชีวติ ไทยในไฟสงครามโลกครัง้ ที ่ ๒ เขียน โดย สรศัลย์ แพ่งสภา จึงเป็นบันทึกประวัติศาสตร์สังคมที่เขียน โดยบุคคลที่เผชิญเหตุการณ์นั้นมาด้วยตนเอง เนื้อหาในเล่มเน้น ให้ผู้อ่านเห็นภาพบรรยากาศบ้านเมืองในยุคสงคราม ตลอดจน ชีวติ ความเป็นอยูข่ องผูค้ นโดยเดินเรือ่ งตามเหตุการณ์สงครามโลก ครัง้ ที ่ ๒ ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับประเทศไทย ตัง้ แต่เริม่ ต้นจนสิน้ สุด “ ห ว อ” ชี วิ ต ไ ท ย ใ น ไ ฟ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ๒
๓
คือ ฝูงบินข้าศึกเข้ามาทิ้งระเบิดทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ระหว่างสงคราม พ.ศ. ๒๔๘๔-๒๔๘๘ กรุงเทพฯ เป็น เป้าหมายหลักทีส่ มั พันธมิตรมุง่ ทิง้ ระเบิดท�ำลาย เราได้พบความ ทารุณโหดเหี้ยมของสงคราม เราได้เห็นตึกรามบ้านเรือนลุกไหม้ เป็นทะเลเพลิงไปทัง้ บาง ประชาชนตืน่ ตระหนกเสียขวัญแทบเป็น บ้าวิ่งกระเจิงอย่างไร้ทิศทางเป็นจ�ำนวนร้อยจ�ำนวนพัน เราได้ยิน เสียงร้องครวญครางเพราะความทรมานเจ็บปวดจากซากหักพัง ของอาคาร มีผเู้ สียชีวติ อยูท่ นี่ นั่ ทีน่ ี่ เลือดสาด อวัยวะชิน้ ส่วนมนุษย์ กระจัดกระจาย ภาวะสงครามที่เข้ามาอยู่ในบ้าน ท�ำให้เราต้องผจญกับ ความขาดแคลนไปเสียทุกอย่างไม่วา่ อะไร ยารักษาโรคมาลาเรีย ควินินเม็ดหนึ่งถึงกับต้องละลายน�้ำแบ่งกันกิน ท้ายสงครามเรา ยังต้องอยูก่ นั โดยปราศจากไฟฟ้า ประปา แต่ในความล�ำบากยาก เข็ญเลือดตากระเด็นนี้ ก็ยังมีคนบางกลุ่มอยู่ดีกินได้มั่งคั่งเกษม สุขเหมือนกัน ผมผ่านสงครามครั้งนี้ด้วยการมีชีวิตในกรุงเทพฯ ตลอดเวลา จึงเก็บรวบรวมเหตุการณ์ครัง้ นัน้ มาวางไว้ตอ่ หน้าคุณๆ ในวาระครบรอบ ๕๐ ปีของสงครามมหาเอเชียบูรพา ว่าเราอยูก่ นั อย่างไร เสียงสัญญาณภัยทางอากาศทีเ่ รียกกันว่า หวอ ดังขึน้ ครัง้ ใด มันดังเข้าไปในหัวใจตับไตไส้พุง เที่ยวนี้เราจะรอดหรือเปล่า สรศัลย์ แพ่งสภา
๖
ส ร ศั ล ย ์ แ พ ่ ง ส ภ า
สารบัญ ๑ หวอ ๒ คอเข้าบ่วง ๓ ยุ่นผยอง ๔ ระเบิดตูมแรก ๕ ฝรั่งร่วง ๖ อพยพยกแรก ๗ เงินเยนแผลงฤทธิ์ ๘ รัฐนิยม ๙ ภาษาไทยนี้ยากจริงหนอ ๑๐ ๒๔๘๕ น�ำ้ ท่วมเมือง ๑๑ เรือแล่นบนถนนหลวง ๑๒ เป็นชาวเวนิสบ้างปะไร ๑๓ ฝนเหล็กทิ้งช่วง ๑๔ ไปอิงขุนเขากันดีกว่า ๑๕ เมืองไม้ไผ่ (๑) ๑๖ เมืองไม้ไผ่ (๒) ๑๗ อพยพยกสอง ๑๘ แฟชั่นยุคอพยพ ๑๙ เรื่องของความบังเอิญ ๒๐ ญี่ปุ่นซื้อ ไทยขาย ๒๑ พรรคกระเป๋าเสื่อ
๒๐ ๒๕ ๓๔ ๔๕ ๕๔ ๖๓ ๗๑ ๗๖ ๘๘ ๙๓ ๑๐๐ ๑๑๐ ๑๑๘ ๑๒๘ ๑๓๘ ๑๔๖ ๑๕๖ ๑๖๕ ๑๗๖ ๑๘๕ ๑๙๒ “ ห ว อ” ชี วิ ต ไ ท ย ใ น ไ ฟ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ๒
๗
๒๒ ข้ามากลางวันก็ได้ ๒๓ กรุงเทพฯ มืด ๒๔ ยกสุดท้าย
๘
ส ร ศั ล ย ์ แ พ ่ ง ส ภ า
๒๐๑ ๒๐๘ ๒๑๙
จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในเครื่องแบบทหารบก ที่หน้ากระทรวงกลาโหม
“ ห ว อ” ชี วิ ต ไ ท ย ใ น ไ ฟ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ๒
๙
พระจักรพรรดิฮิโรฮิโต แห่งญี่ปุ่น
๑๐
ส ร ศั ล ย ์ แ พ ่ ง ส ภ า
เครื่องบินขับไล่โอตะของทหารญี่ปุ่นที่ใช้ถล่มสนามบินวัฒนานคร จังหวัดอรัญประเทศ เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๔
เครื่องบินปีกสองชั้นแบบฮอว์ก ๓ ที่นักบินกองบินน้อยที่ ๕ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ใช้ในการสู้รบกับทหารญี่ปุ่น
“ ห ว อ” ชี วิ ต ไ ท ย ใ น ไ ฟ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ๒
๑๑
โรงปูนซีเมนต์ที่บางซื่อถูกทิ้งระเบิดเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๗
บริเวณสถานีรถไฟหัวล�ำโพง กรุงเทพฯ ถูกฝ่ายสัมพันธมิตรโจมตีทางอากาศ
๑๘
ส ร ศั ล ย ์ แ พ ่ ง ส ภ า
ภาพถ่ายทางอากาศของสะพานพระราม ๖ เส้นทางล�ำเลียงยุทธสัมภาระทางรถไฟของญี่ปุ่น ขณะก�ำลังถูกระเบิด เมื่อวันที ่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๘ สะพานแห่งนี้เคยถูกทิ้งระเบิดมาแล้วหลายครั้ง แต่ไม่ส�ำเร็จ (ถ่ายภาพจากเครื่องบินของสหรัฐอเมริกา ลิขสิทธิ์ภาพของสถาบันสมิธโซเนียน สหรัฐอเมริกา)
“ ห ว อ” ชี วิ ต ไ ท ย ใ น ไ ฟ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ที่ ๒
๑๙
๑
“หวอ”
พอ “หวอ” ละเป็นส่ายตาหาทีเดียวเชียว แค่แล่นกระทบหูเท่านัน้ แหละ เป็นตาเหลือกตาตัง้ แหงนหน้ามองฟ้าไว้กอ่ น ยิง่ หลังจากหวอ แล้วได้ยนิ เสียงหึง่ ๆ ของเครือ่ งยนต์จากเบือ้ งสูงด้วยแล้ว สนุกละทีนี้ สมองไม่ตอ้ งสัง่ โกยสีต่ นี อัตโนมัตเิ ข้าหาทีห่ ลบภัยใกล้ตวั ทีส่ ดุ ทันที เดีย๋ วก็ได้ยนิ เสียงระเบิดกัมปนาท แผ่นดินสะเทือนเลือ่ นลัน่ อกสัน่ ขวัญบินกันถ้วนทั่ว ภัยทางอากาศเล่นงานตูเข้าแล้ว อาคารบ้าน เรือนพังทลายวิบัติฉิบหาย ผู้คนบาดเจ็บล้มตาย “หวอ” ทีว่ า่ นีค้ อื สัญญาณแจ้งภัยทางอากาศ เตือนให้รวู้ า่ เครื่องบินข้าศึกก�ำลังเข้ามาถล่มระเบิดใส่หัวเรา ใครจะไปทันคิดว่า ช่วงหนึง่ ของประวัตศิ าสตร์ไทย คนไทย ยุคหนึ่งจะต้องผจญภัยอยู่ท่ามกลางเสียง “หวอ” นานถึง ๕ ปี ทุกยุคกองทัพไทยไม่เคยหยุดนิง่ พยายามก้าวหน้าให้ทนั
๒๐
ส ร ศั ล ย์ แ พ่ ง ส ภ า
วิทยาการและการอาวุธใหม่อย่างสม�ำ่ เสมอ จากสงครามโลกครัง้ ที ่ ๑ ก�ำลังทางอากาศมีบทบาททางยุทธศาสตร์มากขึน้ เป็นล�ำดับ เพราะเป็นอาวุธระยะไกลทีส่ ามารถเข้าท�ำลายเมืองในเขตหลังของ ข้าศึกได้โดยง่าย ราษฎรพลอยได้รบั อันตรายไปด้วยอย่างหลีกเลีย่ ง ไม่ได้ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั กองทัพบก ส่งนายทหารออกไปศึกษาและดูงานด้านอาวุธ และวิธีการต่อสู้ ป้องกันภัยทางอากาศในเขตหลัง นายทหารผูน้ นั้ คือ พ.อ. พระ- ยาศรีสิทธิสงคราม (ดิ่น ท่าราบ) เสนาธิการกองทัพที่ ๑ ออกไป ท่องยุโรปเกือบ ๒ ปี ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๔๗๑ กลับมาก็เสนอหลักนิยม และแผนจัดตัง้ หน่วยต่อสูอ้ ากาศยานและแผนป้องกันภัยทางอากาศ ในตัวเมือง กองทัพบกอนุมัติให้จัดตั้ง “กองพันทหารปืนใหญ่ต่อ สู้อากาศยาน” ขึ้นในกรมการทหารปืนใหญ่ โดยใช้ก�ำลังพลและ สถานที่ของกองพันทหารปืนใหญ่ที่ ๒ สี่แยกเกียกกาย บางซื่อ พัฒนาก้าวหน้าเรือ่ ยมาเป็น “กองพลทหารปืนใหญ่ตอ่ สูอ้ ากาศยาน” ในปัจจุบนั เข้าใจว่าผูบ้ งั คับกองพัน ปตอ. ท่านแรกคือ ร.อ. หลวง- เกรียงศักดิพิชิต (พล.ท.) การจัดตั้ง กองพัน ปตอ. ตอนกลางปี พ.ศ. ๒๔๗๔ นั้น เป็นการปรับโครงสร้างและฝึกก�ำลังพลเพือ่ รับอาวุธทีจ่ ดั ซือ้ เข้ามา อย่างไรก็ดี พัน ปตอ. ที่เป็นของใหม่เอี่ยมก็ยังต้องลากปืนใหญ่ แบบ ๕๑ ของ ป. พัน ๒ เดิมไปพลางก่อน ไม่รวู้ า่ อาวุธใหม่จะมา ถึงเมื่อไร ช่วงนั้นฐานะเศรษฐกิจของชาติก�ำลังตกต�่ำอย่างที่สุด กว่าปืนต่อสู้อากาศยานรุ่นแรกจะเข้ามาถึงก็เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ โน่น หลังการปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลงการปกครอง ๒๔ มิถนุ า- “ ห ว อ” ชี วิ ต ไ ท ย ใ น ไ ฟ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ท ี่ ๒
๒๑
ก็มีรายงานว่าน�้ำท่วมพื้นที่ลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยากว้างใหญ่ไพศาล ส่อเค้าความวิบตั ฉิ บิ หายของราษฎรเป็นล้านๆ คน ชาติไทยก�ำลัง เผชิญกับภาวะข้าวยากหมากแพงและความอดอยาก สงคราม- ญี่ปุ่นเต็มเมือง-ภัยจากระเบิด-ความขาดแคลน เราจะพึ่งใครได้ หน็อย-วันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๕ ก็มีการลงนาม ในข้อตกลงกับญีป่ นุ่ เรือ่ งทางรถไฟสายพม่า ญีป่ นุ่ ยืมเงินไทยเป็น จ�ำนวน ๔ ล้านบาท เพื่อใช้ในการสร้างทางเสียอีกแน่ะ
๙๒
ส ร ศั ล ย์ แ พ่ ง ส ภ า
๑๐
๒๔๘๕ น�้ำท่วมเมือง
กรกฎาคม-สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ น�ำ้ แม่นำ�้ ปิงล้นท่วมเมืองเชียงใหม่ และล�ำพูน แถมมีนำ�้ ป่าหลากมาสมทบด้วย ตามรายงานว่าปริมาณ น�ำ้ ฝนสูงผิดปกติในปีนี้ ธรรมดาน�้ำท่วมเชียงใหม่ทกุ ปีอยูแ่ ล้ว แต่ ระดับน�้ำในตัวเมืองจะสูงไม่เกิน ๔๐ เซนติเมตรโดยเฉลี่ย ครั้งนี้ สูงเกินกว่า ๑ เมตร น�ำ้ แม่นำ�้ วัง แม่นำ�้ น่าน แม่นำ�้ ป่าสัก ก็มรี ะดับ สูงล้นตลิ่งเป็นที่ผิดสังเกต ฝนตกหนักในทุกภาคของประเทศ รายงานข่าวน�้ำท่วมเป็นล�ำดับมาตั้งแต่ ตาก ก�ำแพงเพชร นครสวรรค์ ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง อยุธยา ในที่สุดก็ถึง ปทุมธานี นนทบุร ี เรือกสวนไร่นามีทที า่ ว่าจะล่มมากกว่ารอด น�ำ้ ท่วมอยูท่ ี่ ระดับสูงกว่า ๑ เมตรทุกแห่ง ราษฎรเหลือการสัญจรทางเดียวคือ ทางเรือ ทุกบ้านทุกคนต่างพยายามกูบ้ า้ นเรือนทรัพย์สมบัต ิ พยา“ ห ว อ” ชี วิ ต ไ ท ย ใ น ไ ฟ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ท ี่ ๒
๙๓
ถนนได้สบาย บางส่วนของกรุงเทพฯ เป็นทีด่ อนอยูเ่ หมือนกัน มี ระดับน�้ำไม่ลึกพอจะพายเรือ แต่มีให้ลุยได้พอเปียกเล่น บางแห่ง น�้ำท่วมไม่ถึงก็ม ี อย่างเช่นบางซื่อจะไปกระทรวงการคลังในพระ- บรมมหาราชวังหรือไปกระทรวงกลาโหม ก็พายเรือไปตามถนน สามเสนจนถึงสีแ่ ยกบางล�ำพู เลยไปได้ไม่ไกลน�ำ้ เริม่ ตืน้ ถึงจุดทีไ่ ป ไม่ได้แน่กข็ นึ้ จากเรือด�ำเนินกรรมวิธลี ยุ น�ำ้ ต่อไป ข้ามผ่านพิภพลีลา ไปหาแม่พระธรณีบบี มวยผม ขึน้ ทางเท้าตอนนีเ้ พียงแฉะนิดหน่อย เท่านัน้ ทีผ่ วิ จราจรถนนราชด�ำเนินในอาจจะมีนำ�้ เฉอะแฉะเล็กน้อย ถนนราชด�ำเนินกลางจากกรมประชาสัมพันธ์ถงึ สะพานผ่านฟ้าลีลาศ น�้ำท่วมสูงกว่าระดับทางเท้าประมาณ ๑๕ เซนติเมตร ต�่ำกว่าพื้น ชั้นล่างของอาคารมาก ผิวถนนราชด�ำเนินนอกต�่ำกว่าราชด�ำเนิน กลาง มีสว่ นลาดลงไปทางลานพระราชวังดุสติ ในวันทีน่ ำ�้ ท่วมสูงสุด จึงวัดได้ ๑๐๐ เซนติเมตร ในโรงเรียนนายร้อย และประมาณ ๑๒๐ เซนติเมตร ทีล่ านพระบรมรูปทรงม้า วันที ่ ๒๓ ตุลาคม ผูค้ นมาก มายลงเรือไปถวายบังคม ความจงรักภักดีของชาวไทยนั้นไม่มี เสื่อมคลายหรอกครับ ส่วนใหญ่ร้อยมาลัยดอกไม้สดไปลอยถวาย ไว้ ณ รอบฐานพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราช ยุคก่อนสงครามจนถึงสงคราม และแม้แต่ผา่ นสงครามมา แล้วราวสิบปีก็ตาม ไม่มีใครบอกได้ว่า ในกรุงเทพฯ นี้คลองหรือ ถนนสิง่ ไหนมีจำ� นวนมากกว่ากัน แต่คนหันไปนิยมใช้รถยนต์เพราะ สะดวกรวดเร็วคล่องตัวกว่าเรือมาก ตามบ้านเรือนริมคลองหรือ ใกล้คลองยังมีเรือส�ำปั้นเรือบดเก็บรักษาไว้ อย่างน้อยก็เอาลงมา พายเล่นในฤดูนำ�้ หลาก ฉะนัน้ เมือ่ น�ำ้ ท่วมระยะแรกจึงเห็นเรือพาย
๑๐๔
ส ร ศั ล ย์ แ พ่ ง ส ภ า
น�้ำท่วมอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถ่ายเมื่อ ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๕
“ ห ว อ” ชี วิ ต ไ ท ย ใ น ไ ฟ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ท ี่ ๒
๑๐๕
ไป กลายเป็นการพักผ่อนท่องเทีย่ วคลายเครียดจากภาวะสงคราม จะกลับมาดูเคหสถานบ้านช่องในกรุงเทพฯ เมื่อไรก็ได้ แบบนี้ ต้องเป็นครอบครัวมากคนสักหน่อย ข้อส�ำคัญต้องมีกำ� ลังคนแจว หัวท้ายไปด้วย กลุ่มปกติคือ กลุ่มย้ายออกไปอาศัยพรรคพวกตามไร่นา ในชนบท หรือจะมีของตนอยู่ก็นับว่าเป็นสภาพเดียวกัน ต้องขน เครื่องนอนหมอนมุ้งหม้อข้าวหม้อแกงเครื่องครัวจิปาถะ ราวกับ จะย้ายส�ำมะโนครัวกันเลย คลองรังสิตกับคลองซอยเป็นย่านอพยพสงบเงียบ ส่วน ใหญ่จะเป็นท่านเจ้าของนาและพวกพ้องล้วนมีบ้านพักกันอยู่แล้ว ผู้คนในละแวกรู้จักมักคุ้นเป็นอันดี ติดต่อกับกรุงเทพฯ สะดวก ทางรถไฟก็ได้ถนนก็ได้ ต่อเรือที่สะพานข้ามคลอง นกเป็ดไก่กุ้ง หอยปูปลาอุดมสมบูรณ์ ไม่ต้องห่วง แต่รังสิตก็ไม่ใช่ระดับไฮโซ หวือหวาเรือส�ำราญ ต้องปากเกร็ด บางบัวทองซิครับถึงจะแน่ ตก เย็นรถยนต์จอดเป็นตับทีท่ า่ น�ำ้ ฝัง่ อ�ำเภอ มีเรือคอยรับข้ามฟากไป เกาะเกร็ดและฝัง่ ตรงข้าม เผอิญเพือ่ นผมมีทดี่ นิ อยูล่ ะแวกนัน้ กับ เขาด้วย ต้องเข้ามาท�ำงานในกรุงเทพฯ ตามปกติขบั รถยนต์ไปกลับ ไม่รู้หาน�้ำมันมาจากไหน น�้ำมันปันส่วนน่ะได้เดือนละ ๒๐ ลิตร เท่านัน้ แต่ชาวบ้านพูดกันว่ารถเพือ่ นผมใช้น�้ำคลองแทนน�ำ้ มันได้ ยืนยันเป็นมัน่ เป็นเหมาะว่านัง่ ตกปลาอยูต่ รงนัน้ เห็นเพือ่ นผมจอด รถข้างถนน ให้เด็กลงไปตักน�ำ้ ในคูมาเติมถังน�ำ้ มัน แล้วก็ตดิ เครือ่ ง ยนต์ขับไปตามปกติ ยืนยันว่าไม่ใช่เติมหม้อน�ำ้ สงสัยใช่ไหมครับว่าเรื่องนี้เป็นอย่างไรกันแน่
๑๖๔
ส ร ศั ล ย์ แ พ่ ง ส ภ า
๑๘
แฟชั่นยุคอพยพ
สถานการณ์สงครามผกผันมากขึ้นในรอบ ๓ เดือนสุดท้ายของปี พ.ศ. ๒๔๘๖ การรบรุกของญี่ปุ่นชะงักทุกแนว เพราะปัญหาด้าน ส่งก�ำลังบ�ำรุงและความขาดแคลนยุทธปัจจัยมากขึน้ แต่สำ� นักข่าว “โดเมอิ” แถลงข่าวลักษณะโฆษณาชวนเชื่ออย่างเข้มแข็งทุกวัน ว่า กองทัพพระเจ้าจักรพรรดิมชี ยั ทีน่ นั่ ทีน่ ี่ ข้าศึกเสียหายมหาศาล วงศ์ไพบูลย์มหาเอเชียบูรพาจะได้ครองครึง่ โลกละคราวนี ้ ข่าวสาร วิทยุกระจายเสียงกรมโฆษณาการและในหนังสือพิมพ์ไทยเราก็ ต้องออกมาท�ำนองเดียวกัน ข่าวขึน้ จอในโรงภาพยนตร์กแ็ บบเดียว กันฉายซ�้ำซากอยู่นั่นแล้ว ในช่วงสงครามมีหนังข่าวจากบริษัท ภาพยนตร์โตโฮกับบริษัทเองะไฮคิวชะเข้ามาฉายไม่น้อย บางครั้งดูหนังอยู่ดีๆ ก็มีสไลด์โผล่ออกมาว่า ั ญาณภัยทางอากาศ ให้ทา่ นออกจากโรงภาพ“บัดนีม้ สี ญ “ ห ว อ” ชี วิ ต ไ ท ย ใ น ไ ฟ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ท ี่ ๒
๑๖๕
ผมผู้มีรายได้ไปเรียนจุฬาฯ วันละ ๕๐ สตางค์ แต่งเครื่องแบบ ยุวชนนายทหารไปขอเขาลูบคล�ำอยู่ทุกบ่อย ราคามันแค่ ๕,๐๐๐ กว่าบาทเอง คนขับรถสตูด๊ เบเกอร์คเู ป้สฟี า้ คันนัน้ ก้าวออกมา แต่งกาย ชุดสากลเรียบร้อย ผู้หมวดคานเรือเห็นเข้ารีบชิดเท้าวันทยหัตถ์ ตัวแข็งเลยละ หมอเข้ามาถามผมเป็นภาษาไทยชัดเจนว่า บ้าน คุณอังศุมาลินอยู่หนใด นับแต่วันนั้นเป็นต้นมาก็เลยเข้าออก ตรอกข้างบ้านผมเรื่อยๆ จอดรถคันโก้เบียดรั้วพู่ระหงฝั่งผมไว้ ญี่ปุ่นคนนี้เป็นนายทหารยศร้อยเอก ประจ�ำหน่วยสารวัตร จะ เรียกว่าโกโบริกไ็ ด้ แต่โกโบริคนนีข้ บั รถสตูด๊ เบเกอร์คเู ป้ ไม่ได้ขบั เรือและไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับเรือ ชื่อของแกแปลว่าดวงอาทิตย์ เหมือนกันเสียอีกแน่ะ บังเอิญแท้ๆ เชียว
๑๘๔
ส ร ศั ล ย์ แ พ่ ง ส ภ า
๒๐
ญี่ปุ่นซื้อ ไทยขาย
ความทุกข์ยากยามสงครามนั้นสาหัสสากรรจ์นัก หน่วยราชการ ต่างมีร้านจ�ำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคที่ต้องควบคุมและปันส่วน แก่ขา้ ราชการ ส�ำหรับประชาชนทัว่ ไปก็มรี า้ นของกระทรวงพาณิชย์ กระจายอยูใ่ นย่านต่างๆ คุณภาพสินค้าไม่คอ่ ยเข้าตากรรมการเอา เสียเลย ซ�้ำเดี๋ยวมีเดี๋ยวไม่มีอีกด้วย ต้องการของให้ได้อย่างใจ อย่างน�้ำตาลทรายขาวที่ขาวจริงๆ ไม่ใช่ขาวสีร�ำ หรืออะไรก็แล้ว แต่ ก็โน่น กระซิบกระซาบกันทางตลาดมืด มีทกุ อย่างละครับ ถ้า ไม่เกีย่ งราคา ถามว่ารูไ้ ด้อย่างไรว่าตลาดมืดอยูท่ ไี่ หน ของอย่างนี้ มันรู้กันเอง ไม่ต้องห่วง บัตรปันส่วนมีไว้แก้ขัดดีกว่าไม่มี เรือ่ งสินค้าต้องควบคุมหายจากตลาดสว่างไปโผล่ในตลาด มืดเป็นของธรรมดา ไม่มียุคใดสมัยใดควบคุมส�ำเร็จหรอกครับ ต่อให้ประกาศว่าจะยิงเป้าผู้กักตุนสินค้าหน้าร้านด้วยเอ้า หรือ “ ห ว อ” ชี วิ ต ไ ท ย ใ น ไ ฟ ส ง ค ร า ม โ ล ก ค รั้ ง ท ี่ ๒
๑๘๕
6/4= 1 .รธ J*รด 6,> I'รบ % %&> /<&C 9 /D I#*; I @ I-CQ93=%#AQ \Y I-5>.% *ย 4ย []_\ K/ I/A.%J7รณ J/ ย /> @%A&% J7รณ #AQ [ย I %!รท'รซI!9/รท ย K/ I/A.%9= 05#AQ!รด9 I1@ @ >/!>-,>3<6 />-ย J7รณ #AQ \ย 3 @/>3D$ 3@#.>1=. J1<6D #รด>.ย <6">'รธ!. //-ย 4>6!/รท D8>1 / รท-7>3@#.>1=. 9> A*71= 6">'%@ 9@6/< I!@&K!->L% /9& /=3#AQ/= >/6<6-K&/> 3=!"D B 6%L I/C9Q />3L%9 !A =&9A รด>%7%BQ 6%L L% A3@!&D 'รฎ>)รฎ> 1 %VR> 1 #<I1 I/@Q-I A.%7%= 6C9 /@ = I-CQ9 'รซ *ย 4ย [^Y^ <' @&!= 7@ %รด>#A#Q 'AQ /B 5>)รฎ>.3@ > >/ '/< V>)รฎ>.*= %> >//& BQ I'รบ%6รณ3% 9 6">&=%3@ =.K / >/ =R%6E 6V>%= /= -%!/A 3รณ> >/ /<#/3 1>K7-67/= 9I-/@ > #AQI รด> ->' @&=!@ >%/รณ3-L%4E%.รท3@ =.J1<*= %> >/ #7>/ 9 &=s > >/#7>/6E 6D '/<I#4M#. %9 > %AR.= -A >%6>/ AI1รณ-9CQ% I รณ% Zย 6 />--C ย M#./&sAQ'Dรฎ% ย *@-*รท /=R #AQ Zย [ย %= I/A.%%>./รด9.M#.L%I.9/-=%.D M I 9/รท \ย 9 I รณ>I/>1C- D /"M+ I/C9I-1รท #<I1 /"/> ]ย */>%L%9 A! D I73!>&=3 ^ย */>%L%9 A! D 'รซ4> _ย */>%L%9 A! D !@ >'รฎ> `ย 9 I รณ>I/>1C- D <9V> +9 1CQ% 4= @%> aย />!/A'/< =& >3#AQ7=37@% bย 739 A3@!M#.L%M+6 />-K1 /=R #AQ [ ZYย &รด>%.รณ>M(รณ ZZย 6 />-9@%K A% Z[ย 9 I รณ>I/> ย M-รณย 1C 6/4= 1 .รท J*รณ 6,> M รด /= & /> 3= 1 %/>$@ ' /> 3=1I A./!@ D #AQ-9&L7รดJ รณ%= I A.%9>3DK6 L%'รซ *ย 4ย [^]_ 'รธ D&=% 6/4=1.รท J*รณ 6,> I6A. A3@!J1รด3 I-CQ93=%#AQ ZZ !D1> - [^^[ L%3=. ab 'รซ
7-3 '/<3=!@4>6!/รท /> > [[b &>#
ยฏยนยจยด ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย ย