ชาร์ลส์ ดาร์วิน กำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฏีวิวัฒนาการ

Page 1


ชาร์ลส์ ดาร์วิน ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ ผู้เขียน ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์ และ สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ

© สงวนลิขสิทธิ์โดยส�ำนักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ห้ามลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต พิมพ์ครั้งที่ 1 กุมภาพันธ์ 2555  จ�ำนวนพิมพ์ 4,000 เล่ม ราคา 240 บาท ข้อมูลบรรณานุกรม     ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์. ชาร์ลส์ ดาร์วิน ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ.--กรุงเทพฯ : สารคดี, 2555. 232 หน้า. 1. ดาร์วิน, ชาร์ลส์ โรเบิร์ต, ค.ศ. 1809-1882.  I. สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ, ผู้เขียนร่วม. 2. วิวัฒนาการ.     575.0924     ISBN  978-974-484-350-0

คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการเล่ม : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นฤมล สุวรรณอ่อน ออกแบบปกและจัดรูปเล่ม : ชาญศักดิ์ สุขประชา พิสูจน์อักษร : นวลจันทร์ ทองมาก ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ จัดพิมพ์  ส�ำนักพิมพ์สารคดี (ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด) จัดจ�ำหน่าย  บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด 28, 30 ถนนปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทร. 0-2281-6110 (อัตโนมัติ)  โทรสาร 0-2282-7003 เพลต  เอ็นอาร์ฟิล์ม  โทร. 0-2215-7559 พิมพ์  บริษัททวีวัฒน์การพิมพ์ จ�ำกัด  โทร. 0-2720-5014 2

ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


ส�ำนักพิมพ์สารคดี ผู้อำ� นวยการ : สุวพร ทองธิว ผู้จัดการทั่วไป : จ�ำนงค์ ศรีนวล ที่ปรึกษากฎหมาย : สมพจน์ เจียมพานทอง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด/โฆษณา : ปฏิมา หนูไชยะ ผู้อำ� นวยการฝ่ายศิลป์/ฝ่ายผลิต : จ�ำนงค์ ศรีนวล ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : พิเชษฐ ยิ้มถิน บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

3


ส า ร บั ญ วิวัฒนาการของชีวิต ชาร์ลส์ ดาร์วิน

6

วัยเยาว์ของเด็กไม่เอาถ่าน ความล้มเหลวในชีวิตนักศึกษาแพทย์ เตรียมตัวเป็นหมอสอนศาสนา ออกเดินทางไปกับเรือหลวงบีเกิล ส�ำรวจฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้ เผชิญหน้าแผ่นดินไหวและสึนามิ หมู่เกาะกาลาปากอส สัตว์แปลกๆ ที่ออสเตรเลียและการเดินทางกลับบ้าน สร้างชื่อจากงานเขียน ก่อร่างทฤษฎี ครอบครัว ความเจ็บป่วย และการสูญเสีย การวิจัยอันเหลือเชื่อ การประกาศทฤษฎีร่วมกัน หนังสือที่สั่นสะเทือนสองโลก หลังก�ำเนิดสปีชีส์ ผู้ไม่หยุดนิ่ง “หรือมนุษย์จะมาจากลิง” งานวิจัยจนถึงวาระสุดท้าย

13 17 21 27 33 40 45 53 58 79 85 93 101 107 113 121 129

ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


วิวัฒนาการของทฤษฎีวิวัฒนาการ

หลากแนวคิดวิวัฒนาการยุคเก่า สัณฐานโลกเปลี่ยน ชีวิตก็เปลี่ยน ลามาร์กกับคอยีราฟและหางหนู คน มัมมี่ และไดโนเสาร์ ประชากร ทรัพยากร และการดิ้นรนเพื่อความด�ำรงอยู่ ก�ำเนิดสปีชีส์ หนังสือเปลี่ยนโฉมหน้าโลก ความรู้ ความงาม และความไม่สมบูรณ์แบบ คนกับลิง และดอกไม้กับก้อนหิน แนวคิดดาร์วินนิยมกับโลกยุคใหม่ วิวัฒนาการกับระบบทุนนิยม วิวัฒนาการกับการเหยียดชาติพันธุ ์ ไกลเกินก�ำเนิด

วิวัฒนาการหลากมิติ

คุณเป็นอย่างที่คุณกิน - จริงหรือ ? การเปลี่ยนแปลงต้องเริ่มจากภายใน - จริงหรือ ? ท�ำไมโรคทางพันธุกรรมไม่หมดไปจากโลกนี ้ ? ท�ำไมจึงมีโรคใหม่ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา ? โลกของสิ่งมีชีวิต - โลกมีชีวิต ?

ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

150 153 157 160 168 173 181 187 189 191 194 197 207 211 215 218 224

7



วิวัฒนาการของชีวิต

ชาร์ลส์ ดาร์วิน

เรื่อง : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ



I love fools’ experiments. I am always making them.

ชาร์ลส์ โรเบิรต์  ดาร์วนิ  (Charles Robert Darwin) ถือก�ำเนิด

1809 กุมภาพันธ์

เมื่อ 200 ปีก่อนในปี ค.ศ. 1809 (พ.ศ. 2352 สมัยรัชกาล  วันที ่ 12 วันเกิดของ  ที่ 2) ที่เมืองชรูวส์บิวรี (Shrewsbury) เมืองชนบทเล็ก ๆ  ชาร์ลส์ ดาร์วิน ในเขตชรอปไชร์ (Shropshire) ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของ  เมืองเบอร์มงิ แฮม ประเทศอังกฤษ  เขาเป็นบุตรคนที ่ 5 ใน

วัยเยาว์ ของเด็กไม่เอาถ่าน จ�ำนวนหกคนของ โรเบิร์ต วอริง ดาร์วิน (Robert Waring  Darwin) และ ซูซานนาห์ เวดจ์วูด (Susannah Wedg-  wood) ชื่อแรกชาร์ลส์ ตั้งตามชื่อของลุงซึ่งเสียชีวิตไปก่อน  หน้านีไ้ ม่กปี่  ี และชือ่ กลางโรเบิรต์  ตัง้ ตามชือ่ บิดาของเขาเอง

ดาร์วินในวัย 7 ขวบ กับน้องสาวชื่อแคเทอรีน

ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

13


โจซิอาห์ เวดจ์วูด โรเบิร์ต ดาร์วิน และ ซูซานนาห์ เวดจ์วูด บิดามารดาของ ชาร์ลส์  ดาร์วิน

1817 กรกฎาคม วันที ่ 15 ซูซานนาห์  มารดาของ ชาร์ลส์ ดาร์วิน เสียชีวิต

ดาร์วินเกิดในครอบครัวที่มีฐานะมั่งคั่ง บิดาเป็นนาย  แพทย์ที่ประสบความส�ำเร็จ และปู่ อีราสมัส ดาร์วิน (Er-  asmus Darwin) ก็เป็นกวีและนักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียง  ส่วนคุณตาคือ โจซิอาห์ เวดจ์วูด (Josiah Wedgwood)  1818 กันยายน คือเจ้าของและผู้น�ำในกิจการผลิตกระเบื้องเคลือบคุณภาพ  ดาร์วินเข้าเรียนเป็น ของอังกฤษ นักเรียนประจ�ำที่โรงเรียน บ้านของครอบครัวดาร์วินอยู่บนเนินเขาเล็ก ๆ มีชื่อ  ชรูวส์บิวรี ซึ่งพี่ชายของ เขา อีราสมัส (Erasmus)  ว่า The Mount ร่มรื่นด้วยสวนดอกไม้และต้นไม้ที่บิดาและ  มาเรียนอยู่ก่อนแล้ว มารดาเขาปลูกไว้  ดาร์วินเป็นเด็กซุกซนแต่ค่อนข้างขี้อาย  ระหว่างเรียนที่นี่ แม้มารดาจะเสียชีวิตเมื่อเขามีอายุได้เพียง 8 ขวบ แต่ก็มี  สองพี่น้องสนุกกับการ พี่สาวและพี่เลี้ยงช่วยดูแล  พออายุ 9 ขวบที่บ้านให้เขา  ตั้งห้องทดลองเคมีกัน เข้าเรียนในโรงเรียนกินนอนชรูวส์บิวรี ซึ่งเน้นการเรียนด้าน  กลางสวน ภาษา  ดาร์วนิ ได้อา่ นงานของนักประพันธ์เอก เช่น วิลเลียม  เชกสเปียร์  ลอร์ด ไบรอน  แต่เขาไม่ใช่เด็กเรียนเก่ง ที่  จริงเรียกได้ว่าผลการเรียนเข้าขั้นย�ำ่ แย่ด้วยซ�้ำ  ยิ่งกว่านั้น  14

ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


บ้านหลังใหญ่ ของครอบครัวดาร์วิน

ดาร์วินยังชอบใช้เวลาหมดไปกับการเล่นและท� ำเรื่องไร้  สาระ เช่น การล่าสัตว์ ยิงนก วิ่งเล่นกับสุนัข แม้กระทั่งไล่  จับหนู มากกว่าการอ่านหนังสือ  วิชาเดียวที่เขารู้สึกสนุก  ด้วย คือการทดลองทางเคมี ซึ่งมีส่วนช่วยปูพื้นฐานการ  ทดลองทางวิทยาศาสตร์ให้แก่เขา ชีวติ ช่วงวัย 10 กว่าขวบนี ้ ครอบครัวดาร์วนิ ไปเทีย่ ว  เมืองชายทะเลตอนเหนือของเวลส์หลายครัง้   ดาร์วนิ ตืน่ เต้น  มากกับการพบเห็นสัตว์ทะเล แมลง และภูมปิ ระเทศทีแ่ ปลก

1819-1820

ช่วงเดือนกรกฎาคม ครอบครัวพาเขาไป เที่ยวชายทะเลในเวลส์

1824

ดาร์วินไปเที่ยว ชายทะเลในเวลส์ กับเพื่อนที่โรงเรียน

เมืองชรูวส์บิวรี

ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

15


ส่วนตัวของเขา  ดาร์วินไม่ต้องรับค�ำสั่งของใคร หรือมีหน้า  ที่ใด ๆ บนเรือ  เขาสามารถเดินทางกลับอังกฤษได้เมื่อเขา  ต้องการ โดยไม่มีข้อผูกมัดกับภารกิจของเรือ  ดาร์วินได้  รับชื่อส�ำหรับเรียกบนเรือว่า “Philosopher” หรือสั้น ๆ ว่า  “Philos” เนื่องจากเขาไม่มีต�ำแหน่งใด ๆ บนเรือให้เรียก  (การเรียกชื่อจริงจะใช้กับลูกเรือเท่านั้น) ในจ� ำ นวนหนั ง สื อ มากมาย ดาร์ วิ น ไม่ ลื ม ที่ จ ะน� ำ  หนังสือไบเบิลไปด้วย เพราะเขายังคิดว่าเมื่อกลับจากการ  เดินทางก็จะมาเป็นหมอสอนศาสนา  ไม่มีใครคาดคิดว่า  เมื่อสิ้นสุดการเดินทาง เขาจะอยู่ห่างจากพระเจ้าและไบเบิล  ไปมากเพียงใด

ลายเซ็นของดาร์วิน

32

ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


Brazilian scenary is nothing more nor  less than a view in Arabian Nights,  with the advantage of reality.

1832 กุมภาพันธ์

เรือหลวงบีเกิลเดินทางถึง เมืองซัลวาดอร์ (Salvaภารกิจหลักของเรือหลวงบีเกิลคือการท�ำแผนที่เดินเรือ dor) ประเทศบราซิล  ดาร์วินเดินส�ำรวจป่า ส�ำหรับทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ และตรวจสอบต�ำแหน่ง  ดงดิบ

ละติจูดและลองจิจูดของสถานที่ทุกแห่งที่เรือหลวงบีเกิล  เดินทางผ่าน โดยใช้เวลา 2 ปีกว่าในช่วงปี ค.ศ. 1832 ถึง  1832 เมษายน  วันที ่ 3  เรือหลวงบีเกิล ต้นปี ค.ศ. 1834 ส�ำหรับการเดินทางวนเวียนในดินแดนแถบ เดินทางถึงเมืองรีโอเดจา-

ส�ำรวจฝั่งตะวันออก ของทวีปอเมริกาใต้

เนโร (Rio de Janeiro)  ดาร์วินเดินส�ำรวจเข้าไป ในป่าลึก เรือหลวงบีเกิล เดินทางย้อนกลับไปซัลวาดอร์ ก่อนจะกลับมารับ ดาร์วินในเดือนมิถุนายน

ฝัง่ ตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้ ล่องขึน้ ลงไปตามชายฝัง่ ที่  1832 ปัจจุบนั อยูใ่ นประเทศบราซิล อุรกุ วัย และอาร์เจนตินา รวม  สิงหาคม-พฤศจิกายน ทั้งหมู่เกาะฟอล์กแลนด์ที่อยู่ตอนปลายทวีป   เรือหลวงบีเกิลเดินทาง หลังจากทนทุกข์กับการเมาคลื่นอยู่บนเรือ ป่าดงดิบ  ติดต่อเมืองใหญ่ตาม ่งประเทศ ของบราซิลจึงเป็นเหมือนสวรรค์ส�ำหรับดาร์วิน เขาได้นอน  ชายฝั อาร์เจนตินา เช่น ฟังเสียงนกและสรรพชีวิตในป่า  พิศวงกับธรรมชาติที่เกิน  บัวโนสไอเรส (Buenos กว่าเขาจะจินตนาการ ตั้งแต่ความหลากหลายของกล้วยไม้  Aires) บาเอียบลังกา นานาพรรณ  จอมปลวกที่สูงกว่า 10 ฟุต  แมงมุมที่แกล้ง  (Bahia Blanca) ่อเตรียมตัวส�ำหรับการ ตายเมื่อรู้สึกว่ามีภัยมาใกล้ตัว ตัวต่อที่ต่อยหนอนผีเสื้อเพือ่   เพื ส�ำรวจ  ดาร์วินส�ำรวจ เก็บไปเป็นอาหารเลี้ยงตัวอ่อนในรัง ฯลฯ  เขาเก็บตัวอย่าง  พบซากฟอสซิลหลาย หิน พืช แมลงปีกแข็ง สัตว์ทะเลมามากมาย พร้อมกับท�ำ  ชนิดตลอดเส้นทาง ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

33


แผนที่เส้นทางเดินเรือรอบโลกของเรือหลวงบีเกิล

1832 ธันวาคม

ทะเบียน จ�ำแนกชื่อ  และจดบันทึก แล้วส่งตัวอย่างเหล่านี้  เดินทางถึงสุดปลายทวีป กลับไปให้เฮนส์โลว์ที่เคมบริดจ์ ที่เทียรา เดล ฟูโก จากบราซิ ล  เรื อ หลวงบี เ กิ ล เดิ น ทางลงไปส� ำ รวจ  เป็นครั้งแรกที่ดาร์วิน ได้พบกับชนเผ่าพื้นเมือง ชายฝั่งของประเทศอาร์เจนตินาและอุรุกวัย และใช้เวลา  ส�ำรวจอยู่แถบนี้ถึงกว่าปีครึ่ง  ดาร์วินขี่ม้าเดินทางเข้าไป  เมืองบาเอียบลังกา ในดินแดนแถบชายฝัง่  เขาเก็บตัวอย่างนก งู กิง้ ก่า กบ สัตว์  (ล่าง) และรีโอเดจาเนโร จ�ำพวกปู ปลา เปลือกหอย พืช และแมลงปีกแข็ง  แต่สิ่ง  (ล่างขวา)

34

ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


ความอุดมสมบูรณ์ในป่าดงดิบของบราซิล

สัตว์ป่าและพรรณไม้ ในพื้นที่ชายฝั่งตะวัน ออกของทวีปอเมริกาใต้ ที่เรือหลวงบีเกิลส�ำรวจ ผ่าน

ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

35


1835 กรกฎาคม

เรือหลวงบีเกิลเดินทางถึง เมืองลิมา เปรู และเสีย เวลาหลายอาทิตย์กับการ ขออนุญาตเดินทางข้าม มหาสมุทรแปซิฟิก

1835 กันยายน

เรือหลวงบีเกิลเดินทาง จากเมืองคาลเลา มุ่งหน้า สู่หมู่เกาะกาลาปากอส   รวมเวลาที่เรือหลวงบีเกิล เดินทางส�ำรวจแถบ ชายฝั่งทวีปอเมริกาใต้ ทั้งหมดราว 3 ปีครึ่ง

หนึ่ง โดยไต่ขึ้นเขาสูงถึงระดับ 1 หมื่นฟุต เขาพบว่าชนิด  พันธุพ์ ชื และสัตว์ทางฝัง่ ตะวันออกของเทือกเขาแตกต่างจาก  ทางฝัง่ ตะวันตก  เขายังพบซากสัตว์ทะเลในบริเวณทีส่ งู กว่า  ระดับน�้ำทะเล 7,000 ฟุต ซึ่งเป็นอีกหลักฐานที่สนับสนุน  แนวคิดของลีเยลล์   เรือหลวงบีเกิลล่องเลียบชายฝั่งขึ้นไปทางเหนือผ่าน  เมืองลิมา (Lima) ประเทศเปรู จนไปถึงเมืองคาลเลา (Callao)  จากนัน้ ก็อำ� ลาจากแผ่นดินทวีปอเมริกาใต้สหู่ มูเ่ กาะเล็ก ๆ ที่  เรือหลวงบีเกิลต้องท�ำการส�ำรวจเป็นแห่งสุดท้าย นั่นคือหมู่  เกาะกาลาปากอส ซึ่งอยู่ห่างชายฝั่งไปอีก 600 ไมล์

ภาพสเก็ตช์สภาพทางธรณีวิทยาในดินแดนแถบอเมริกาใต้ โดย ชาร์ลส์ ดาร์วิน

44

ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


The natural history of this archipelago  is very remarkable, It seems to be  a little world within itself.

เมื่อเรือหลวงบีเกิลเดินทางมาถึงหมู่เกาะกาลาปากอสใน

เดือนกันยายน ปี ค.ศ. 1835 นั้น สภาพอากาศที่ร้อนระอุ  พุ่มไม้ที่เหมือนถูกแดดเผาจนไหม้เกรียม กับภูมิประเทศที่  ปกคลุมด้วยหินลาวาภูเขาไฟสีดำ�  ท�ำให้ดาร์วินถึงกับบันทึก  ไว้ว่าที่นี่เป็นเสมือนดินแดนที่ผุดมาจากนรก

1835 กันยายน

วันที ่ 15 เรือหลวงบีเกิล  เดินทางถึงเกาะแชตแฮม  วันต่อมาไปที่เกาะฮูด  (Hood)

หมู่เกาะกาลาปากอส หมู่เกาะกาลาปากอสประกอบด้วยเกาะใหญ่น้อยกว่า  20 เกาะ ดาร์วินตื่นตาตื่นใจกับสัตว์ที่ไม่เคยพบเห็นที่ใดมา  ก่อน โดยเฉพาะเต่ายักษ์ และอีกวั น่าซึง่ มีสองชนิด ชนิดหนึง่   อยู่บนบกกินต้นกระบองเพชรที่เต็มไปด้วยหนาม  ส่วนอีก  ชนิดสามารถว่ายน�้ำและด�ำน�้ำเพื่อกินสาหร่ายทะเล ซึ่งไม่มี  อีกัวน่าชนิดอื่นใดบนโลกท�ำเช่นนี้ได้  เขายังลองนั่งบนหลัง  เต่ายักษ์ซึ่งเดินต่อไปโดยไม่สนใจคนที่นั่งอยู่  ส่วนนกบน  เกาะก็เชือ่ งมากขนาดไม่บนิ หนีแม้จะมีคนเดินก้าวข้ามมันไป  นอกจากนี้ยังมีพืชจ�ำพวกเดซีย์และทานตะวันซึ่งปกติเป็น  ไม้พุ่มเตี้ย  แต่บนหมู่เกาะกาลาปากอสกลับเติบโตสูงใหญ่  ราวกับไม้ยืนต้น ดาร์วนิ รูส้ กึ ว่าหมูเ่ กาะกาลาปากอสเป็นเหมือนอีกโลก  ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

45


It is not the strongest of the species that  survive, nor the most intelligent, but the  one most responsive to change.

1836 ตุลาคม

ปลายเดือน ดาร์วินได้ พบกับ ชาร์สล์ ลีเยลล์ นักธรณีวิทยาที่เขา ศรัทธา เป็นจุดเริ่มต้น ของมิตรภาพที่จะมีไปจน ชั่วชีวิต  ลีเยลล์ช่วยเขา จัดหานักวิทยาศาสตร์มา จ�ำแนกชนิดตัวอย่างสัตว์ จากการส�ำรวจ

ก่อนการเดินทาง ดาร์วนิ เชือ่ ในแนวคิดอันเป็นทีศ่ รัทธากัน

ว่า พระเจ้าเป็นผูส้ ร้างสิง่ มีชวี ติ ต่าง ๆ  แต่ 5 ปีกบั การพบเห็น  ความหลากหลายของสรรพชีวิต ท�ำให้ดาร์วินสงสัยในค�ำ  อธิบายตามไบเบิล  เขาค่อย ๆ สะสมหลักฐาน และขบคิด  หาเหตุผลเพื่ออธิบายก�ำเนิดของสิ่งมีชีวิตพันธุ์ใหม่อยู่หลาย  ปี  หากเปรียบเทียบกับไอน์สไตน์ซึ่งเสนอทฤษฎีที่ปฏิวัติ

สร้างชื่อจากงานเขียน วงการฟิสิกส์ถึงห้าชิ้นภายในปีเดียว  เส้นทางของดาร์วินก็  นับว่าต่างกันคนละขั้ว หลังกลับจากการส�ำรวจรอบโลก ดาร์วินได้พบกับ  ชาร์ลส์ ลีเยลล์ เจ้าของต�ำราหลักธรณีวิทยาที่เขาหลงใหล  และนับจากนัน้ ทัง้ สองก็กลายเป็นมิตรทีส่ นิทสนมกันมาตราบ  ชั่วชีวิต  ต่อมาราชสมาคมแห่งธรณีวิทยา (Royal Geo-  logical Society) รับเขาเข้าเป็นสมาชิก  ดาร์วินได้แสดง  ปาฐกถาต่อหน้านักธรณีวิทยาชั้นน�ำเป็นครั้งแรก ซึ่งเขาตื่น  เต้นมาก โดยเขาเสนอเรื่องการยกตัวขึ้นอย่างช้า ๆ ของ  แผ่นดินในทวีปอเมริกาใต้   ตัวอย่างสัตว์แปลก ๆ ของดาร์วินได้รับความสนใจ

58

ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


จอห์น กูลด์ นักปักษีวิทยาและนักวาดภาพนก  และ ริชาร์ด โอเวน ผู้สำ� รวจซากฟอสซิลผู้โด่งดัง

อย่างมากจากประชาชนและนักวิทยาศาสตร์  ดาร์วินจ้าง  ผู้เชี่ยวชาญหลายคนมาช่วยงานจ�ำแนกชนิด เช่น จอห์น  กูลด์ (John Gould) นักปักษีวิทยาผู้มีชื่อเสียง ช่วยตรวจ  สอบนกจากหมู่เกาะกาลาปากอสที่ดาร์วินเข้าใจว่าเป็นนก  ฟิ น ช์ แ ละนกอื่น ๆ  กูลด์พบว่าทุกตัวเป็ น นกฟิ น ช์   และ  เป็นชนิดใหม่ทั้งหมด โดยมีถึง 12 ชนิด แต่ละชนิดแตก  ต่างกันที่ลักษณะของจะงอยปาก บางชนิดกว้าง บางชนิด  เล็กสัน้  บางชนิดยาวรี เพือ่ ให้เหมาะกับชนิดอาหารทีน่ กกิน  ดาร์วินตามหาตัวอย่างนกจากหมู่เกาะกาลาปากอสที่ลูกเรือ  คนอื่นเก็บมาด้วย และโชคดีที่คราวนี้ตัวอย่างระบุเกาะที่นก  อาศัยอยู่  ดาร์วินจึงพบว่าเกาะแต่ละเกาะนั้น มีนกฟินช์แต่  ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

59


บันทึกลายมือของ ดาร์วินเขียนถามลูกเรือ ของเรือหลวงบีเกิลว่า ตัวอย่างนกแต่ละชนิด เก็บมาจากเกาะใดบน หมู่เกาะกาลาปากอส

ปกหนังสือ The Voyage of the Beagle  พิมพ์สมัยปัจจุบัน และ หน้าแรกของหนังสือ Journal of Researches  ฉบับพิมพ์ในปี ค.ศ.  1845

1836 พฤศจิกายน  ราชสมาคมธรณีวิทยา รับเขาเข้าเป็นสมาชิก

60

ละชนิดประจ�ำเกาะของมันเอง เช่นเดียวกับนกมอกคิงเบิร์ด  ซึง่ เป็นนกชนิดใหม่ทงั้ สามชนิด  ค�ำถามก็คอื ท�ำไมเกาะทีอ่ ยู่  ใกล้ ๆ กันจึงต้องมีนกกลุม่ เดียวกันแต่ตา่ งชนิดกัน แทนทีจ่ ะ  มีเพียงชนิดเดียว  ส่วนตัวอย่างซากฟอสซิลสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนม ริชาร์ด  โอเวน นักวิทยาศาสตร์ผมู้ ชี อื่ เสียงเป็นผูจ้ ำ� แนกชนิด โอเวน  พบว่ามีซากฟอสซิลของสลอทยักษ์ และสัตว์คล้ายอูฐ ซึง่ ไม่  ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


ชาร์ลส์ ดาร์วิน ในปี  ค.ศ. 1840  หลังการ เดินทางกลับของ เรือหลวงบีเกิลประมาณ  4 ปี

ตัวอย่างปลาหมึก ที่ดาร์วินเก็บมาด้วย

ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

61


Rhea Darwinii Tanagra Darwinii

Cofsyphus Darwinii


สัตว์ที่ได้รับการตั้งชื่อ เป็นเกียรติให้แก่  ชาร์ลส์ ดาร์วิน

Diplolaemus Darwinii

Proctotretus Darwinii

Mus Darwinii


1858 กรกฎาคม

วันที่ 1 มีการเสนอ แนวคิดเรื่องทฤษฎี วิวัฒนาการร่วมกัน ระหว่างดาร์วินและ วอลเลซ ต่อสมาคม ลินเนียน แต่ทั้งคู่ไม่ได้ ไปปรากฏตัว

106

ที่เขาเขียนไว้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1844 มาถอดใจความส�ำคัญ  และน�ำเสนอร่วมกับบทความของวอลเลซ โดยอ่านรายงาน  แนวคิดของทั้งสองคนต่อที่ประชุมสมาคมลินเนียนในวันที่  1 กรกฎาคม เพื่อบันทึกว่าดาร์วินและวอลเลซเป็นผู้เสนอ  ทฤษฎีเกีย่ วกับการก�ำเนิดสิง่ มีชวี ติ ชนิดใหม่รว่ มกัน  น่าแปลก  ว่าการน�ำเสนอครัง้ นีไ้ ม่มปี ฏิกริ ยิ าใด ๆ จากผูเ้ ข้าร่วมประชุม  (ต้องรออีก 2 เดือนต่อมาเมื่อบทคัดย่อของรายงานได้เผย  แพร่ในวารสารของสมาคม จึงเริ่มมีนักวิทยาศาสตร์บางคน  สนใจประเด็นนี้) ในวันนัน้ ดาร์วนิ ไม่ได้อยูใ่ นทีป่ ระชุมด้วย เขาก�ำลังโศก  เศร้าอยู่กับร่างลูกน้อยที่หลับสนิทชั่วนิรันดร์

ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


we can allow satellites, planets, suns, universe, nay whole systems of universes,  to be governed by laws, but the smallest  insect, we wish to be created at once by special act. ดาร์วนิ ตระหนักดีวา่ เขาไม่มเี วลาเหลืออีกแล้ว เขาเร่งเขียน

1859 พฤษภาคม

ต้นฉบับที่ตั้งใจว่าจะเป็นเพียงบทคัดย่อเพื่อจัดพิมพ์เป็น  ดาร์วนิ เขียนต้นฉบับเสร็จ  หนังสือเล่มเล็ก ๆ ออกมาก่อน จากนั้นจึงเขียนต้นฉบับ  และส่งให้ส�ำนักพิมพ์ พิจารณา

หนังสือที่สั่นสะเทือน สองโลก เต็มเป็นเล่มใหญ่ตามมาภายหลัง  แต่ยิ่งเขียน เขาก็ไม่  อาจน�ำเสนอทฤษฎีโดยขาดการอ้างอิงหลักฐานต่าง ๆ จาก  ประสบการณ์ การสังเกต และการทดลองของเขา เพื่อ  สนับสนุนและอธิบายประเด็นข้อโต้แย้ง  จากต้นฉบับทีต่ งั้ ใจ  ว่าจะมีเพียง 30 กว่าหน้าจึงขยายขึ้นเป็นหลายร้อยหน้า  ด้วยความเครียดจากการเร่งงาน อาการป่วยจึงส�ำแดง  อีก เขาต้องเข้ารับการบ�ำบัดด้วยสปาน�้ำเย็น เมื่อรู้สึกดีขึ้น  ก็กลับมาเขียนต่อ กลายเป็นกิจวัตรที่ดาร์วินท�ำสลับกันไป  ตลอดเวลากว่า 18 เดือน ในที่สุดวันที่ 24 เดือนพฤศจิกายน ปี ค.ศ. 1859  หนังสือซึ่งมีชื่อยาวมากว่า On the Origin of Spicies by ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

107


ชาร์ลส์ ดาร์วิน ในปี ค.ศ. 1855

1859 มิถุนายน   ดาร์วินเริ่มตรวจพิสูจน์ อักษรต้นฉบับส�ำหรับการ พิมพ์ แต่เขาแก้ไขมัน อย่างละเอียดแทบทุกจุด  กว่าจะแก้ไขเสร็จก็ถึงสิ้น เดือนกันยายน

108

means of Natural Selection, or the Preservation of Favoured Races in the Struggle for Life (ว่าด้วยก�ำเนิด  ชนิดพันธุ์โดยการคัดสรรตามธรรมชาติ หรือการด�ำรงเผ่า  พันธุ์ที่เหมาะสมกว่าในการดิ้นรนเพื่อชีวิต) หรือที่มักเรียก  กันสั้น ๆ ว่า The Origin of Species หนากว่า 500 หน้า  บรรจุตัวอักษรกว่า 155,000 ค�ำ ก็ออกวางจ�ำหน่ายโดยมี  จ�ำนวนพิมพ์ 1,250 เล่ม ปรากฏว่าจ�ำหน่ายหมดในวันเดียว  พร้อมกับยอดสั่งจองอีกกว่าพันเล่ม   ขณะนั้นดาร์วินซึ่งทุ่มเทปลดปล่อยพลังชีวิตทั้งหมด  ให้กับการเขียนและตรวจแก้ไขต้นฉบับ พร้อมกับความรู้สึก  ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


สันปก หน้าแรก และหน้าบทน�ำของหนังสือ On The Origin of Species

เป็นอิสระจากพันธนาการที่ต้องเก็บง�ำความคิดมากว่า 20  ปี ก็ได้หลบไปพักผ่อนฟื้นฟูสุขภาพ และรอฟังค�ำพิพากษา  ของสาธารณชนที่เมืองยอร์กไชร์ห่างจากกรุงลอนดอนถึง  200 ไมล์  เขาได้รับจดหมายชื่นชม โดยเฉพาะจากนัก  วิทยาศาสตร์หนุม่  ๆ ทีเ่ ริม่ ยอมรับแนวคิดวิวฒ ั นาการอยูบ่ า้ ง  แล้ว บางคนยกย่องว่านีค่ อื การปฏิวตั ทิ ยี่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในวงการ  ธรรมชาติวิทยา และ โทมัส ฮักซเลย์ (Thomas Huxley)  นักวิทยาศาสตร์หนุ่มอาสาเป็นผู้ท้าชนกับกระแสคัดค้านที่  จะตามมา ท�ำให้ดาร์วินรู้สึกสบายอกสบายใจขึ้นมากโข ในฟากตรงข้าม แรงปฏิกริ ยิ าจากนักวิทยาศาสตร์รนุ่   ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

109


2005

2009

เริ่มโครงการจีโนกราฟิก  เพื่อศึกษาแผนที่การอพยพ ของมนุษย์ไปยังที่ตา่ ง ๆ ของ โลก โดยการรวบรวมและ วิเคราะห์ดีเอ็นเอของคนกว่า  1 แสนคนทั่วโลก

ธนาคารแห่งประเทศอังกฤษ ได้ผลิตเหรียญ 2 ปอนด์เป็นที่ ระลึกในวาระครบรอบ 200 ปี  ชาร์ลส์ ดาร์วิน  ส่วนนิตยสาร  Scientific American ฉบับ เดือนมกราคม ยกย่องหนังสือ  The Origin of Species ของ ดาร์วินว่า “เป็นแนวคิดที่ทรง พลังมากทีส่ ดุ ทางวิทยาศาสตร์”

2008 The Church of England  ซึ่งเป็นสถาบันหลักของศาสนา คริสต์นิกาย Church of  England ได้ออกแถลงการณ์ ขอโทษ ชาร์ลส์ ดาร์วิน อย่าง เป็นทางการที่สถาบันแห่งนี้ เคยกล่าวร้ายเขาเมื่อครั้งยังมี ชีวิตอยู่ 142

ช า ร์ ล ส์  ด า ร์ วิ น


ดาร์วินผู้ซุกซน

ภายใต้ ภ าพคุ ณ ปู ่ เ ครายาวดู เ คร่ ง ขรึ ม  อาจท� ำ ให้  คนส่วนใหญ่เข้าใจว่าดาร์วินเป็นนักวิทยาศาสตร์ที่ไม่ค่อย  พูดจา และไม่ค่อยน่าสุงสิงด้วยเท่าใดนัก  แต่ความจริงจาก  ประวัตกิ ารผจญภัยและการท�ำงาน ดาร์วนิ มีบคุ ลิกน่าประทับ  ใจ และเป็นคนชอบสังสรรค์  ไม่ว่าจะเป็นบรรดาลูกเรือใน  เรือหลวงบีเกิล คาวบอยพื้นเมืองในอาร์เจนตินา นักเลี้ยง  นกพิราบ นักวิทยาศาสตร์ในกรุงลอนดอน หรือเพื่อนนัก  วิทยาศาสตร์ทั่วโลกที่พร้อมใจกันส่งเพรียงทะเลมาให้เขา  ศึกษาถึงบ้าน โดยที่เขาไม่ต้องเดินทางไปไหนเลย ขณะที่  ในสมัยนัน้ หากใครจะศึกษาเรือ่ งอะไรก็ตอ้ งเดินทางไปค้นหา  ด้วยตนเอง    นอกจากนี้ดาร์วินยังมีนิสัยซุกซนมาก  โดยเฉพาะการทดลองเพื่ อ ค้ น หาความจริ ง ใน  ธรรมชาติ  ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างที่คุณอาจนึก  ข�ำหรือถึงขัน้ สงสัยในความเพีย้ นของดาร์วนิ   ได้เลยทีเดียว

ก�ำเนิดแห่งชีวิตและทฤษฎีวิวัฒนาการ

143



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.