หนังสือ AsapSCIENCE วิทย์แซ่บ ผู้เขียน Mitchell Moffit และ Greg Brown ผู้วาดภาพประกอบ Greg Brown, Jessica Carroll และ Mitchell Moffit ผู้แปล ปณต ไกรโรจนานันท์ Thai Language Translation copyright 2015 by Sarakadee Press Copyright © 2015 by AsapSCIENCE Inc. All Rights Reserved Published by arrangement with the original publisher, “Scribner, A Division of Simon & Schuster, Inc.” through Tuttle-Mori Agency Co., Ltd. © สงวนลิขสิทธิ์โดยสำ�นักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด ห้ามการลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต พิมพ์ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2558 จำ�นวนพิมพ์ 4,000 เล่ม ราคา 250 บาท ข้อมูลบรรณานุกรม Mitchell Moffit และ Greg Brown AsapSCIENCE วิทย์แซ่บ.--กรุงเทพฯ : สารคดี, 2558. 256 หน้า. 1. วิทยาศาสตร์. I. Mitchell Moffit และ Greg Brown. 500 ISBN 978-616-7767-59-8
คณะผู้จัดทำ� บรรณาธิการเล่ม : ปณต ไกรโรจนานันท์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นฤมล สุวรรณอ่อน ออกแบบปก : ชาญศักดิ์ สุขประชา จัดรูปเล่ม : ชาญศักดิ์ สุขประชา ณิลณา หุตะเศรณี พิสูจน์อักษร : นฤมล สุวรรณอ่อน ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ จัดพิมพ์ บริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด (สำ�นักพิมพ์สารคดี) จัดจำ�หน่าย บริษัทวิริยะธุรกิจ จำ�กัด 28, 30 ถนนปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทร. 0-2281-6110, 0-2281-6240-2 โทรสาร 0-2282-7003 เพลต เอ็นอาร์ฟิล์ม โทร. 0-2215-7559 พิมพ์ โรงพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ โทร. 0-3445-2362-3 สำ�นักพิมพ์สารคดี ผู้อำ�นวยการ : สุวพร ทองธิว ผู้จัดการทั่วไป : จำ�นงค์ ศรีนวล ที่ปรึกษากฎหมาย : สมพจน์ เจียมพานทอง ผู้อำ�นวยการฝ่ายศิลป์/ฝ่ายผลิต : จำ�นงค์ ศรีนวล ผู้จัดการฝ่ายตลาด : พิเชษฐ ยิ้มถิน ที่ปรึกษาสำ�นักพิมพ์ : สุดารา สุจฉายา บรรณาธิการสำ�นักพิมพ์ : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ หนังสือเล่มนี้ใช้หมึกพิมพ์ซึ่งมีส่วนผสมของน้�ำ มันถั่วเหลือง ช่วยลดการใช้วัตถุดิบจากน้ำ�มันปิโตรเลียม ช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
จาก สำ�นักพิมพ์
เคยสงสัยกันบ้างไหมว่าทำ�ไมเราสะอึก และเราแก้อาการน่ารำ�คาญนี้กันอย่างไร บางคนบอกว่าดื่มน้�ำ เยอะๆ ช่วยได้ บางคนบอกว่าให้คนอื่นทำ�ให้ตกใจสิ ได้ผลชะงัดนัก แต่ส่วนใหญ่เราก็แค่ท�ำ ลืมๆ ไปซะ เดี๋ยวก็หายเอง ว่าแต่มีวิธีแก้การสะอึกอย่างเป็นวิทยาศาสตร์บ้างไหม ไม่ใช่แค่วิธีที่บอกเล่ากันมา แล้วอาการที่เราเป็นกัน เช่น การคัน การเป็นเหน็บ เกิดได้อย่างไร หรือการเมาค้างมีวิธีแก้ไหม
3.
สารบัญ
ไขปัญหาคาใจ ข่าวลือ และปรากฏการณ์แปลกๆ
อากาศหนาวทำ�ให้ป่วยได้จริงหรือ ตดเงียบๆ อันตรายกว่าจริงหรือ หักข้อเล่นไม่ดีจริงหรือ กฎ 5 วินาทีใช้ได้จริงหรือ อะไรเจ็บกว่ากัน คลอดลูก หรือถูกเตะผ่าหมาก ขน ยิ่งโกนยิ่งดก? จามแล้วตาถลนได้หรือ ตัวคุณไฟลุกขึ้นเองได้หรือ ดูโทรทัศน์มากไปไม่ดีจริงหรือ ไก่กับไข่ อะไรเกิดก่อนกัน
11 17 23 27 33 41 47 53 59 63
คุยเฟื่องเรื่องร่างกาย ตดสมอง วิทยาศาสตร์ของกลิ่นปาก น้ำ�มูกช่วยเราจริงหรือ มีวิธีแก้สะอึกไหม ความลับของกล้ามเนื้อและพละกำ�ลัง ผู้ชายทำ�ไมขนดก วิทยาศาสตร์ของการแก่ตัว วิทยาศาสตร์ของอาการเย็นจี๊ดขึ้นสมอง
73 79 85 91 97 103 109 115
แค่เรื่องสมมุติ จะมีวันที่ผีดิบครองโลกไหม ถ้าเลิกออกนอกบ้านเลย
123 129
ประสาทสัมผัส ทำ�ไมเราเป็นเหน็บ ทำ�ไมเราจึงคัน วิทยาศาสตร์ของเซลฟี่ ทำ�ไมเราไม่ชอบภาพถ่ายตัวเองเลย พอปิดไฟแล้ว แสงไปที่ไหนหมด ทำ�ไมพอแก่ตัวจึงรู้สึกว่าเวลาเดินเร็วกว่า
137 143 149 153 157
เซ็กซ์เร่าร้อนกับความรัก และความปรารถนาอื่น ๆ วิทยาศาสตร์ของความเซ็กซี่ วิทยาศาสตร์ของการอกหัก วิทยาศาสตร์ของความรัก วิทยาศาสตร์ของการถึงจุดสุดยอด การเต้นรำ�ทำ�ให้ได้แอ้มสาวจริงหรือ
167 171 177 183 189
สืบเสาะสาเหตุของนิสัยเสีย วิทยาศาสตร์ของการสบถ วิทยาศาสตร์ของการโกหก วิทยาศาสตร์ของการผัดวันประกันพรุ่ง แก้เมาค้างอย่างเป็นวิทยาศาสตร์
197 201 207 213
ฝัน ตื่น งีบ หลับ พลังในทางวิทยาศาสตร์ของการงีบ วิทยาศาสตร์ของนกเขาขันตอนเช้า วิทยาศาสตร์ของความฝันรู้ตัว ขี้ตาคืออะไร กดปุ่มเลื่อนเวลาปลุก ดีไหม ถ้าเกิดคุณหยุดนอนหลับ
221 225 231 237 243 249
8.
•ไขปัญหาคาใจ ข่าวลือ และปรากฏการณ์แปลก ๆ
9.
16.
•ตดเงียบ ๆ อันตรายกว่าจริงหรือ•
เรื่องตดที่ “เงียบแต่เหม็นถึงตาย” อาจทำ�ให้คุณขำ�กลิ้ง แต่ลมที่ผายออกมาเบา ๆ มีพลังอำ�นาจมากกว่า ลมที่ปล่อยออกมาอย่างอึกทึกครึกโครมจริงหรือ ตดเงียบๆ อันตรายกว่าจริงหรือ 17.
คุณอาจแปลกใจที่รู้ว่า ตดหลายต่อหลาย ครั้งนั้นเกิดจากการกลืนอากาศลงไป ไม่ว่าจะจากการเคี้ยวหมากฝรั่ง ดื่มน้ำ�อัดลม หรือแค่กินอาหารตามปรกติ เมื่อมีอากาศเข้าสู่ร่างกายมากเกินความ ต้องการ อากาศก็ต้องไปที่ไหนสักแห่ง
การเรอปล่อยอากาศออกมาได้ บางส่วน อากาศส่วนที่เหลือจะผ่าน ไปอยู่ในระบบย่อยอาหาร แล้ว ในที่สุดก็จะไปออกที่ปลายอีกด้าน ของคุณ แต่ตอนที่ถูกไล่ออกมา แก๊สนี้ส่วนใหญ่แล้วประกอบ ด้วยไนโตรเจน ไฮโดรเจน และ คาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สทั้งหมดนี้ ไม่มีกลิ่น ซึ่งอธิบายว่าทำ�ไมบางครั้ง ตดที่ดังอย่างน่ารังเกียจ แทบไม่มีกลิ่นเลย 18.
กลิ่นเหม็นของตดเกิดขึ้นในลำ�ไส้ใหญ่ หลังจากเดินทางผ่านลำ�ไส้เล็กที่ยาว 7.5 เมตรมาแล้ว อาหารส่วนที่ย่อยไม่ได้ ก็เดินทางมาถึงลำ�ไส้ใหญ่
ที่ลำ�ไส้ใหญ่นี้เองแบคทีเรียนับล้านตัวจะกินอาหาร ที่เหลืออยู่แล้วเกิดการหมัก ซึ่งนอกจากจะสร้างวิตามิน ที่มีประโยชน์บางชนิดแล้ว ยังสร้างสารเคมีที่ประกอบด้วย กำ�มะถันอันเป็นสาเหตุของกลิ่นในตด ลำ�ไส้จึงเป็น แหล่งกำ�เนิดของกลิ่นเหม็น
ยิ่งกินอาหารที่อุดมด้วยกำ�มะถัน เช่น ไข่ เนื้อสัตว์ หรือบรอกโคลี ด้วยแล้ว คุณก็มีโอกาสจะสร้างกลิ่นที่ชวนอึ้งขึ้นมา อาหารเหล่านี้ยิ่งอยู่ในลำ�ไส้นานเท่าใดก็ยิ่งหมักนานขึ้นและยิ่งเหม็น ถึงกระนั้นระเบิดกลิ่นเหม็นนี้คิดเป็นประมาณร้อยละ 1 ของตดส่วนใหญ่เท่านั้น 19.
32.
•อะไรเจ็บกว่ากัน คลอดลูก หรือถูกเตะผ่าหมาก•
ในสงครามระหว่างเพศ เราแสดงความเห็นต่างกันอย่าง ดุเดือดเรื่องความเจ็บปวดว่าใครเจ็บกว่ากัน ฝ่ายหนึ่ง ผู้หญิงเผชิญกับการดันวัตถุขนาดผลแตงโมผ่านช่อง ขนาดเท่าเหรียญ อีกฝ่ายหนึ่ง ผู้ชายท้วงว่าแค่ดีด “อัญมณีของครอบครัว” อย่างแผ่วเบาที่สุด ก็สามารถ ทำ�ให้ผู้ชายหมดสภาพได้เลย เพราะฉะนั้นอะไรเจ็บปวด มากกว่ากัน คลอดลูกหรือถูกเตะผ่าหมาก 33.
78.
•วิทยาศาสตร์ของกลิ่นปาก•
ไม่ว่าจะเป็นกลิ่นเหม็นกระเทียมในมื้อเย็น หรือลมปาก ที่เพิ่งตื่นนอนหมาด ๆ เราต่างมีกลิ่นปากกันทุกคน ไม่มาก ก็น้อย แต่กลิ่นเหม็นนั้นเกิดขึ้นมาได้อย่างไร และทำ�ไม บางคนจึงมีกลิ่นปากเหม็นกว่าคนอื่นมากมาย ที่สำ�คัญ กว่าคือ เราจะกำ�จัดกลิ่นเหม็นอันร้ายกาจนี้ได้อย่างไร
79.
กลิ่นปากเป็นภาวะธรรมดาสามัญที่เป็นกันได้ทุกเพศทุกวัย และพบใน ผู้คนเกือบร้อยละ 50 ขณะเดียวกันก็มีคนอีกเกือบร้อยละ 20 ต้องทรมานกับภาวะปากเหม็นเรื้อรัง คุณคิดว่าตัวเองมีกลิ่นปากไหม ช้าก่อน ผู้คนส่วนใหญ่ซึ่งเชื่อว่าตนมีกลิ่นปาก จริงๆ แล้ว เป็นโรคกลัวว่าตนเองมีกลิ่นปาก
อะไรนะ
กลัวว่ามีกลิ่นปาก สำ�หรับคนส่วนใหญ่ กลิ่นปากน่าจะมาจากแบคทีเรีย เพื่อนเราเอง
80.
ปากของเรามีแบคทีเรียกว่า 500 ชนิด ยึดเป็นบ้าน ตามร่องเหงือกและผิวลิ้นล้วนเป็นที่ตั้งแคมป์ อันสะดวกสบายของแบคทีเรียเหล่านั้น โดยเฉพาะโคนลิ้นนั้นเป็นบริเวณ ที่ค่อนข้างแห้งของปาก และมักถูกละเลยไประหว่างการทำ�ความสะอาด ช่องปาก ช่วยให้แบคทีเรียเจริญบน “ฟิล์มชีวภาพ” ในบริเวณนั้นได้ดี
แบคทีเรียเหล่านี้จะย่อยสลาย เศษอาหาร แล้วปล่อยสารประกอบ กำ�มะถันในรูปสารระเหย ที่มีกลิ่นไข่เน่าออกมา
เหมือนกับตอนที่คุณทิ้งอาหาร หรือนมไว้บนเคาน์เตอร์นาน เกินไป แบคทีเรียจะเริ่มย่อยสลาย โปรตีน ทำ�ให้เกิดกลิ่นบูด ที่ชวนคลื่นไส้
ถึงจะน่าสะอิดสะเอียน แต่จริงๆ แล้วกลิ่นนี้ก็เป็นกลิ่นเดียวกับ ที่แบคทีเรียปล่อยออกมาขณะ ย่อยสลายอาหารในลำ�ไส้คุณ ก็กลิ่นตดนั่นแหละ หมายความ ว่า เมื่อปากคุณเหม็น คุณก็ก�ำ ลัง ตดทางปากนั่นเอง
81.
148.
•วิทยาศาสตร์ของเซลฟี่ ทำ�ไมเราไม่ชอบภาพถ่ายตัวเองเลย•
คุณพร้อมจะออกไปเที่ยวในคืนสำ�คัญแล้ว ส่องกระจก เป็นครั้งสุดท้ายก่อนไปเสียหน่อย ว้าว คืนนี้คุณเป๊ะมาก ด้วยความมั่นใจเต็มเปี่ยม คุณเดินนวยนาดพร้อมกับถ่าย เซลฟี่มาเป็นพัน ๆ ภาพตลอดทั้งคืน แต่เดี๋ยวก่อน ... คุณเกลียดรูปลักษณ์ของตัวเองในภาพถ่าย รู้สึกว่า ถ่ายรูปไม่ขึ้นเสียเลย ทำ�ไมตอนส่องกระจกคุณ ไม่เห็นจะรู้สึกแบบนั้นล่ะ ทำ�ไมหลายคนเกลียดที่จะเห็น ภาพของตัวเอง แต่กลับไม่มีปัญหา กับภาพของตัวเองในกระจก
149.