จากวังจันทน์สู่เวียงแหง ตามรอยนเรศวรมหาราช

Page 1

จากวังจันทน์สู่เวียงแหง ตามรอย

“สงครามสมัยพระนเรศวรเป็นสงครามระหว่าง ‘กษัตริย์กับกษัตริย์’ หรือ ‘อาณาจักรอยุธยา  กับอาณาจักรหงสาวดี’ ไม่ใช่สงครามระหว่าง ‘ชาติไทย’ กับ ‘ชาติพม่า’”

ดร. ชาญวิ ท ย์  เกษตรศิ ริ ผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์อุษาคเนย์

ดร. สุ เ นตร ชุ ติ น ธรานนท์ ผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์พม่า “เหตุการณ์ชนไก่ที่มาของประโยค ‘ไก่เชลยนี้เก่งนัก’ ทรงยิงพระแสงปืนต้นข้ามแม่น�้ำสะโตง  ทรงกระท�ำยุทธหัตถี ทรงใช้พระแสงดาบ ‘คาบ’ ค่าย ทรงประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง ฯลฯ  มีจริงหรือไม่ ? ...การตั้งค�ำถามกับประเด็นเหล่านี้ มิได้สั่นสะเทือน หรือลดทอนพระมหา  กรุณาธิคุณและพระปรีชาชาญของสมเด็จพระนเรศวรในใจคนไทยแต่อย่างใด ตรงกันข้าม  กลับเสริมส่งพระบารมีของพระองค์ ด้วยความรู้ ความเข้าใจ ความรัก และความเทิดทูน   อย่างมีเหตุผล มีหลักฐานอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ”

ธี ร ภาพ โลหิ ต กุ ล นักเขียนสารคดีผู้เชี่ยวชาญเรื่องพม่า

จากวังจันทน์สู่เวียงแหง ตามรอย นเรศวรมหาราช นอกกรอบประวัติศาสตร์ชาตินิยม

“คนไทยเรามีความรับรูร้ ว่ มกันชุดหนึง่  เช่น พระนเรศวรถูกน�ำไปหงสาวดี ทรงประกาศอิสรภาพ ทรงกระท�ำยุทธหัตถี ซึ่งถ้าดูจากหลักฐานพม่ามันจะต่างกันเลย เขาไม่เคยพูดถึงเรื่องพระแสง ปืนต้นข้ามแม่น�้ำสะโตง ในศึกยุทธหัตถี เขาก็บอกว่าพระมหาอุปราชาถูกยิง แต่ความเข้าใจ  ที่แปลกแยกนี้ไม่ได้อยู่ในความรับรู้ร่วมของคนไทย”

นอกกรอบประวัติศาสตร์ ชาตินิยม

รางวัลชนะเลิศ เซเว่นบุ๊คอวอร์ด ประเภทสารคดี (ประวัติศาสตร์) ประจ�ำปี ๒๕๕๒

สุ เ จน กรรพฤทธิ์

หมวดประวัติศาสตร์ ISBN 978-616-7767-58-1

ราคา ๒๕๕ บาท cover NS UPDATE.indd 184

๒๕๕.10/6/15 5:01 PM


หนังสือ จากวังจันทน์สู่เวียงแหง ตามรอยนเรศวรมหาราช  นอกกรอบประวัติศาสตร์ชาตินิยม (ฉบับปรับปรุง) ผู้เขียน   สุเจน กรรพฤทธิ์ ภาพปก พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ อุทยานราชภักดิ์ จ. ประจวบคีรีขันธ์  โดย สุเจน กรรพฤทธิ์ © สงวนลิขสิทธิ์โดยส�ำนักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ห้ามลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต ฉบับพิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๕๐ พิมพ์ครั้งที ่ ๑ (ฉบับปรับปรุง) ตุลาคม ๒๕๕๘ จ�ำนวนพิมพ์ ๓,๐๐๐ เล่ม ราคา ๒๕๕ บาท ข้อมูลบรรณานุกรม สุเจน กรรพฤทธิ์. จากวังจันทน์สู่เวียงแหง ตามรอยนเรศวรมหาราช นอกกรอบประวัติศาสตร์ชาตินิยม (ฉบับปรับปรุง).--กรุงเทพฯ : สารคดี, ๒๕๕๘. ๒๘๐ หน้า. ๑. นเรศวรมหาราช, สมเด็จพระ, ๒๐๙๘-๒๑๔๘.  I. ชื่อเรื่อง. ๙๒๓.๑ ISBN 978-616-7767-58-1

คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการเล่ม : ศรัณย์ ทองปาน  ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นฤมล สุวรรณอ่อน ออกแบบปกและจัดรูปเล่ม : บุญส่ง สามารถ  ภาพถ่าย : สกล เกษมพันธุ์  บุญกิจ สุทธิญาณานนท์ กองบรรณาธิการ : เพ็ญศิร ิ จันทร์ประทีปฉาย  ธนิศา บุญถนอม  ณิชา แจ่มประพันธ์กุล พิสูจน์อักษร : เกษณี วิลาวัลย์เดช  ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ จัดพิมพ์  บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด (ส�ำนักพิมพ์สารคดี) จัดจ�ำหน่าย  บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ๒๘, ๓๐ ถนนปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐ โทร. ๐-๒๒๘๑-๖๑๑๐ (อัตโนมัติ)  โทรสาร ๐-๒๒๘๒-๗๐๐๓ เพลต  เอ็น. อาร์. ฟิล์ม  โทร. ๐-๒๒๑๕-๗๕๕๙ พิมพ์   บริษัททวีวัฒน์การพิมพ์  โทร. ๐-๒๗๒๐-๕๐๑๔-๘

narasuan 1-3.indd 2

10/6/15 4:53 PM


ส�ำนักพิมพ์สารคดี   ผู้อ�ำนวยการ : สุวพร ทองธิว   ผู้จัดการทั่วไป : จ�ำนงค์ ศรีนวล ที่ปรึกษากฎหมาย : สมพจน์ เจียมพานทอง   ผู้อ�ำนวยการฝ่ายศิลป์/ฝ่ายผลิต : จ�ำนงค์ ศรีนวล   ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : พิเชษฐ ยิ้มถิน   ที่ปรึกษาส�ำนักพิมพ์ : สุดารา สุจฉายา   บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ หนังสือเล่มนี้ใช้หมึกพิมพ์ซึ่งมีส่วนผสมของน�้ำมันถั่วเหลือง  ช่วยลดการใช้วัตถุดิบจากน�ำ้ มันปิโตรเลียม ช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

narasuan 1-3.indd 3

10/2/15 3:05 PM


narasuan 1-3.indd 4

10/2/15 3:05 PM


สารบัญ

จากส�ำนักพิมพ์ ค�ำนิยม จากผู้เขียน

๑. วัยเด็กที่วังจันทน์ ๒. ตัวจ�ำน�ำที่หงสา ๓. อยุธยายามศึก ๔. อิสรภาพที่ลุ่มน�ำ้ สะโตง ๕. รับศึกหงสา ปี พ.ศ. ๒๑๒๙ ๖. ศึกยุทธหัตถี ๗. ศึกพระยาละแวก ๘. บุกหงสาวดี – ตีตองอู ๙. วาระสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพที่เวียงแหง ๑๐. ปริศนาของพระนเรศวร

narasuan 1-3.indd 5

๖ ๑๒ ๑๙ ๓๙ ๕๕ ๖๙ ๘๓ ๑๐๙ ๑๓๓ ๑๕๗ ๑๖๙ ๑๙๓ ๒๑๓

พ.ศ. ๒๐๙๘-๒๑๔๘ ๕ ทศวรรษแห่งพระชนม์ชีพ นเรศวรมหาราช

๒๓๐

เก้าเล่ม เพื่อ “ความเข้าใจ” ประวัติศาสตร์ ยุคสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

๒๓๘

ต�ำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ประวัติศาสตร์บนแผ่นฟิล์ม

๒๕๕

10/2/15 3:05 PM


จ า ก สํ า นั ก พิ ม พ์

เด็กไทย ไม่รู้จัก พระนเรศวร รศ. ดร. วรากรณ์ สามโกเศศ รมช. กระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยว่า จากการที่ตนได้ร่วมสักการะพระบรมราชานุสรณ์ดอนเจดีย์   ที่จังหวัด สุพรรณบุรี พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ องคมนตรี ได้แสดงความห่วงใย เกี่ยวกับการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนทุกระดับชั้นที่ลดน้อย ลงมาก ท�ำให้ไม่รู้จักแม้แต่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช มารู้จักก็ตอนที่ สร้างเป็นภาพยนตร์แล้ว รวมถึงพันท้ายนรสิงห์ก็รู้จักว่าเป็นน�้ำพริกยี่ห้อ หนึ่งเท่านั้น  นอกจากนี้ตนยังได้รับจดหมายสอบถามจากผู้ปกครองว่า ปัจจุบันโรงเรียนไม่มีการสอนวิชาประวัติศาสตร์  หน้าที่พลเมือง และ ศีลธรรมแล้วหรือ เพราะเด็กไทยส่วนใหญ่จะไม่รู้จักบุคคลส�ำคัญทาง ประวัติศาสตร์ และไม่รู้จักการเป็นพลเมืองที่ดี รวมถึงยังขาดคุณธรรม 6

ตามรอยนเรศวรมหาราช narasuan 1-3.indd 6

10/2/15 3:05 PM


ศีลธรรมอีกด้วย ซึง่ ตนเองก็เกิดค�ำถามเช่นกัน จึงได้คน้ หนังสือเรียนตัง้ แต่ ชัน้  ป. ๑-ม. ๖ มาดู พบว่าเนือ้ หาเหล่านัน้ มีอยูใ่ นหลักสูตร แต่เป็นวิชาเลือก โรงเรียนบางแห่งจึงไม่ได้ให้ความส�ำคัญ ขณะที่บางโรงก็จัดให้เรียนมาก จึงได้มอบหมายให้ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ไปทบทวน และประเมินหลักสูตรดูว่าควรจะเพิ่มเติมเนื้อหามากน้อยแค่ไหน เพื่อน�ำ ไปสู่การปรับปรุงหลักสูตรต่อไป  “โดยส่วนตัวแล้วคิดว่าควรมีการก�ำหนดเนื้อหาที่จ�ำเป็นขั้นต�่ำว่า เด็กควรจะเรียนอะไรบ้าง เพื่อรักษาความเป็นตัวตนอัตลักษณ์ของชาติ และสังคมไทย และเพื่อให้เด็กไทยมีความตระหนักถึงความส� ำคัญใน ประวัติศาสตร์ชาติไทย เพราะประเทศที่พัฒนาแล้วทุกประเทศจะสอนให้ เด็กได้รู้ถึงประวัติศาสตร์และความเป็นมาของชาติตัวเอง มิเช่นนั้นบาง โรงเรียนทีไ่ ม่สนใจก็จะมองข้าม” รมช. กระทรวงศึกษาธิการกล่าว (เดลินวิ ส์ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๐) มีความปริวิตกข้อหนึ่งในหมู่ครูประวัติศาสตร์ระดับอุดมศึกษาว่า วิชา  ประวัติศาสตร์ช่างได้รับความสนใจน้อยเต็มที  ผู้บริหารมหาวิทยาลัยก็ ไม่สนับสนุน เพราะเป็นสาขาที่ไม่ท�ำเงิน  ขณะเดียวกันนิสิตนักศึกษาที่ จะเลือกเรียนเป็นวิชาเอกก็มีน้อยลงๆ  ยิ่งในระดับการศึกษาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ก็เป็นสิ่งที่แทบไม่มีโรงเรียนใดสนใจ ดังที่เห็นในเนื้อข่าว ข้างต้นนั้น 7

สุเจน กรรพฤทธิ์ narasuan 1-3.indd 7

10/2/15 3:05 PM


narasuan 1-3.indd 32

10/2/15 3:05 PM


อยุธยาและอุษ าคเนย์ สมัยพระนเรศวร พ.ศ. ๒๐๙๘-๒๑๔๘

แผนที่ : ศรัณย์ ทองปาน

narasuan 1-3.indd 33

10/2/15 3:05 PM


narasuan 1-3.indd 38

10/2/15 3:05 PM


๑. วัยเด็กที่วั ง จั น ทน์ “บริ เ วณที่ เ ป็ น พระราชวั ง จั น ทน์   หรื อ  ‘วั ง พระนเรศวร’ ที่ เ มื อ ง พิษณุโลก ซึ่งเป็นที่ประสูติและที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวรฯ นั้น เป็นที่รับรู้สืบเนื่องมาช้านานแล้ว ดังมีอยู่ในพระราชหัตถเลขา รัชกาลที่ ๕ คราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ กับ จดหมายระยะทางไป พิษณุโลก พระนิพนธ์ สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์” สุจิตต์ วงษ์เทศ

ผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์ไทย

39

สุเจน กรรพฤทธิ์ narasuan 1-3.indd 39

10/2/15 3:05 PM


อาจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ขณะส�ำรวจวังจันทน์เมื่อปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๙  อาจารย์ ศรีศักรก็เช่นเดียวกับนักโบราณคดีและนักประวัติศาสตร์ท่านอื่นที่เชื่อว่าวังจันทน์  คือที่ประสูติของสมเด็จพระนเรศวร

ปัจจุบันนักโบราณคดีค้นพบฐานวังจันทน์ซ้อนทับ  กันหลายยุค ท�ำให้ยังไม่สามารถระบุความเก่าแก่ ของพระราชวังแห่งนี้ได้แน่ชัด  ล่าสุดมีการค้นพบ เครื่องถ้วยจีนสมัยราชวงศ์หมิงที่เขียนว่า “ต้าหมิง ซวนเต๋อ เหนียนซือ่ ” ซึง่ ท�ำให้สามารถสันนิษฐานได้ แน่นอนระดับหนึ่งว่าวังจันทน์ถูกใช้งานมาตั้งแต่ สมัยอยุธยาตอนต้น  (ภาพ : ส�ำนักศิลปากรที่ ๖ สุโขทัย)

42

ตามรอยนเรศวรมหาราช narasuan 1-3.indd 42

10/2/15 3:06 PM


วังจันทน์ พิษณุโลก, พ.ศ. ๒๕๔๙ เช้าวันนั้นผมเดินอยู่ในพื้นที่ขุดค้นทางโบราณคดีที่มีกองอิฐโผล่ให้เห็น เป็นหย่อมๆ ณ ที่แห่งนี้ จากการขุดค้นทางโบราณคดีของกรมศิลปากร พบฐาน อาคารพระราชวังถึงสามยุคสมัยซ้อนทับกันอยูเ่ ป็นบริเวณกว้าง  คาดว่าน่า จะมีอายุตั้งแต่สมัยสุโขทัยตอนปลายลงมาจนถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง ส่วนที่สันนิษฐานว่าอยู่ในยุคสมเด็จพระนเรศวรน่าจะได้แก่แนว ก�ำแพงและฐานอาคารยุคที่ ๒ ซึ่งปะปนอยู่กับฐานอาคารยุคอื่น  จนถึง ขณะนี ้ จากข้อมูลการขุดค้น ทีมนักโบราณคดียงั ไม่สามารถก�ำหนดแผนผัง ที่แน่นอนของพระราชวังแห่งนี้ได้ ในการขุดค้นช่วงต้นปี พ.ศ. ๒๕๕๐ มีการพบเครือ่ งลายครามจีนสมัย ราชวงศ์หมิงทีม่ อี กั ษรจีนจารึกอยู่  ผูเ้ ชีย่ วชาญอ่านได้วา่  “ต้าหมิง ซวนเต๋อ เหนียนซื่อ” แปลว่า “ท�ำโดยจักรพรรดิซวนเต๋อแห่งราชวงศ์หมิง”  รัชกาลของจักรพรรดิซวนเต๋อ (พ.ศ. ๑๙๖๙-๑๙๗๙) นั้น เมื่อเทียบ เคียงยุคสมัยจะตรงกับรัชสมัยสมเด็จเจ้าสามพระยาแห่งกรุงศรีอยุธยา ซึง่ มีบนั ทึกว่าพระองค์ทรงส่งพระราเมศวร (พระราชโอรส ต่อมาคือสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ) มาครองนครพิษณุโลก ท�ำให้นกั โบราณคดียนื ยันใน เบื้องต้นได้ว่า การใช้งานพื้นที่บริเวณพระราชวังจันทน์น่าจะเริ่มขึ้นตั้งแต่ สมัยอยุธยาตอนต้นแน่นอน 43

สุเจน กรรพฤทธิ์ narasuan 1-3.indd 43

10/2/15 3:06 PM


วังจันทน์ถูกทิ้งร้างมานานนับศตวรรษ จนได้รับการส�ำรวจอีกครั้งสมัยรัชกาลที่ ๕ โดยสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์  ครั้งนั้นมีการท�ำแผนผังวังจันทน์ ขึ้นเป็นครั้งแรก ปรากฏอยู่ใน จดหมายระยะทางไปพิษณุโลก

44

ตามรอยนเรศวรมหาราช narasuan 1-3.indd 44

10/2/15 3:06 PM


สมัยอยุธยาตอนต้น วังจันทน์คือราชส�ำนักแห่งที่ ๒ ของอยุธยา เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พระราเมศวร) ขึ้นครองราชย์แล้ว ได้ เสด็จมาประทับเพื่อท�ำศึกกับอาณาจักรล้านนานานหลายปี ถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง หลังสมเด็จพระมหาจักรพรรดิเสด็จขึ้น ครองราชย์ ทรงตอบแทนความดีความชอบที่ขุนพิเรนทรเทพช่วยโค่นล้ม แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์และขุนวรวงศาธิราช กษัตริย์รัชกาลก่อน และน�ำ ราชสมบัติมาถวายแด่พระองค์ ด้วยการแต่งตั้งให้ขุนพิเรนทรเทพเป็น “พระมหาธรรมราชา” (อั น เป็ น นามเจ้ า ผู ้ ค รองแคว้ น สุ โ ขทั ย ดั้ ง เดิ ม ) พระราชทานพระวิสทุ ธิกษัตรี พระราชธิดา ให้เป็นมเหสี พร้อมทัง้ สถาปนา ให้ครองเมืองพิษณุโลก พระราชวังแห่งนี้จึงกลายเป็นที่ประทับของพระ มหาธรรมราชา ระหว่างที่พระมหาธรรมราชาครองพิษณุโลกนี้เอง พระวิสุทธิกษัตรี ก็ประสูติพระนเรศวรเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๙๘ ไม่ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับพระชนม์ชีพวัยเยาว์ของพระนเรศวร ในพงศาวดารหรื อ เอกสารประวั ติ ศ าสตร์ ม ากนั ก  ทราบกั น เพี ย งว่ า พระนเรศวรมีพระเชษฐภคินี (พีส่ าว) คือพระสุพรรณกัลยา และพระอนุชา คือพระเอกาทศรถ อย่างไรก็ตามจากข้อมูลประวัติศาสตร์อาจกล่าวได้ว่าพระนเรศวร ทรงเติบโตมาท่ามกลางวิกฤต ด้วยขณะนั้นพระเจ้าบุเรงนองแห่งกรุง หงสาวดีกำ� ลังแผ่อำ� นาจออกไปทัว่ ภูมภิ าคด้วยการท�ำสงครามกับอาณาจักร ต่างๆ บนแผ่นดินใหญ่อษุ าคเนย์ และนัน่ ก็คงท�ำให้เจ้าชายซึง่ มีพระฉวีคล�ำ ้ จนชาวเมืองขานพระนามว่า “องค์ด�ำ” ทรงได้รู้จักกับสงครามเป็นครั้งแรก 45

สุเจน กรรพฤทธิ์ narasuan 1-3.indd 45

10/2/15 3:06 PM


narasuan 4-6.indd 132

10/2/15 3:12 PM


๖. ศึกยุทธหัตถี “พระนเรศร์กับอุปราชาก็เข้าชนช้า งชิ ง ชั ย  แล้ ว สู ้ ร บฟั น แทงกั น  ด้วยพระแสงของ้าวตามกระบวนเพลงขอ ก็ร�ำรอรับกันประจัญสู้  กั น ไปตามเพลง  ส่วนช้างพระนเรศร์ นั้ น เล็ ก  ก็ ถ อยพลางสู ้ ช น  ครั้นถอยไปพระมหาอุปราชาจึงฟันพระนเรศร์ด้วยพระแสงของ้าว พระนเรศร์จึงหลบก็ถูกพระมาลาบี้ไปประมาณได้สี่นิ้ว  ครั้นช้าง  พระนเรศร์ถอยไป จึงได้ที่ประจัญหนึ่งเรียกว่าหนองขายันและ  พุทรากระแทก ก็ยังมีที่อันนั้นจนถึงทุกวันนี้  ช้างพระนเรศร์นั้น  ยันต้นพุทราอันนัน้ เข้าได้แล้วจึงชนกระแทกขึน้ ไป ก็ค�้ำช้างอุปราชาเข้า ฝ่ายข้างอุปราชาก็เบือนหน้าไป พระนเรศร์ได้ทีก็ฟันด้วยพระแสง ของ้าว ชือ่ เจ้าพระยาแสนพลพ่าย ก็ถกู อุปราชาพระเศียรก็ขาดออก ไปกับที่บนคอช้าง” ค�ำให้การขุนหลวงหาวัด

133

สุเจน กรรพฤทธิ์ narasuan 4-6.indd 133

10/2/15 3:12 PM


ปี พ.ศ. ๒๑๓๕ พระเจ้าหงสาวดีนนั ทบุเรงมีพระประสงค์จะปราบอยุธยาให้ได้  โปรด ให้พระมหาอุปราชายกทัพเข้ามาทางด่านพระเจดีย์สามองค์  ศึกครั้งนี้สมเด็จพระ นเรศวรพร้อมด้วยสมเด็จพระเอกาทศรถทรงน�ำทัพออกรับศึกจนเกิดยุทธหัตถีขึ้น ระหว่ างจอมทัพ ทางฝ่ายอยุธยา เหตุก ารณ์นี้ไม่มีข้อกังขาว่าเกิดขึ้นหรือไม่  เพี ย งแต่ ไ ม่ มี บั น ทึ ก ชั ด เจนว่า เกิ ด ขึ้ น  ณ สถานที่ ใ ดแน่ ใ นพื้ น ที่ ส ามจั ง หวั ด  คื อ 134

ตามรอยนเรศวรมหาราช narasuan 4-6.indd 134

10/2/15 3:12 PM


พระนครศรีอยุธยา สุพรรณบุรี และกาญจนบุรี  ส่วนฝ่ายหงสาวดีรับรู้เหตุการณ์นี้ ต่างออกไปคือ พระมหาอุปราชา “ต้องปืน” สิ้นพระชนม์ มิได้ต้องพระแสงของ้าว ของสมเด็จพระนเรศวรแต่อย่างใด  ภาพนี้คือจิตรกรรมฝาผนังที่วิหารวัดสุวรรณ-  ดาราราม อยุธยา ซึ่งเขียนเสร็จในสมัยรัชกาลที่ ๗ และกลายเป็นจินตนาการร่วม  ของคนไทยยุคปัจจุบันเมื่อกล่าวถึงศึกยุทธหัตถี 135

สุเจน กรรพฤทธิ์ narasuan 4-6.indd 135

10/2/15 3:12 PM


254

ตามรอยนเรศวรมหาราช narasuan 11.indd 254

10/2/15 3:19 PM


ต�ำ นาน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ประวัติศ าสตร์ บนแผ่น ฟิ ล ์ ม “การจัดการข้อเท็จจริงท�ำได้ยากมาก เรามีบันทึกมากมายเกี่ยวกับ พระนเรศวรก็ จ ริ ง  แต่ ต ้ อ งตี ค วามเอาเองทั้ ง สิ้ น  ผมจึ ง ท� ำ เป็ น  ‘ต�ำนาน’- -‘ต�ำนาน’ คือบอกเล่าถ่ายทอดสืบต่อกันมาในรูปแบบ ดนตรี  บทกวี  บอกต่อกันปากต่อปาก  ผมน�ำทั้งหลายทั้งปวงนี้  มาร้อยเรียงเป็นเรื่องราว  คุณต้องเข้าใจว่า ‘ต�ำนาน’ คือการยอ  พระเกียรติ มีพดู ถึงการเสียเมือง กูอ้ สิ รภาพ ต่อสูพ้ ม่าจนยืนหยัดได้ อีกอย่างการสร้างเป็นต�ำนานมีขอ้ ดีคอื  ผมท�ำอะไรกับภาพยนตร์ได้ มากขึ้น” หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล

ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ต�ำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 255

สุเจน กรรพฤทธิ์ narasuan 11.indd 255

10/2/15 3:19 PM


สุ เ จน กรรพฤทธิ์ เกิดที่กรุงเทพมหานคร แล้วไปเติบโตช่วงหนึ่งที่สุพรรณบุรีโดยมีคุณย่าอุปการะ  ก่อนจะกลับมาศึกษาต่อที่กรุงเทพฯ จนจบมัธยมปลายที่โรงเรียนราชวินิตมัธยม จากนั้นเข้าเรียนเป็นนักศึกษารุ่นแรกของโครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา  ที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียนจบปริญญาตรีศลิ ปศาสตรบัณฑิต (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศกึ ษา) ในยุค  แห่งความขัดแย้งว่าด้วยการย้ายนักศึกษาระดับปริญญาตรีจากท่าพระจันทร์ไปสู่  รังสิต ขณะเรียนเคยด�ำรงต�ำแหน่งประธานชุมนุมวรรณศิลป์ มธ. อันเป็นเหตุให้  โดดเรียนออกไปท�ำค่ายอยู่บ่อยครั้ง ท�ำให้มีโอกาสเห็นชีวิตผู้คนในพื้นที่ชนบทของ ประเทศ จนเกิดความรู้สึกอยากถ่ายทอดเรื่องราวออกมาทางงานเขียน ซึ่งความ รู้สึกเหล่านี้เองที่ต่อมากลายเป็นแรงบันดาลใจให้เขาหันมาสนใจงานเขียนสารคดี เมื่อมีโอกาสพบกับ ธีรภาพ โลหิตกุล อาจารย์ทางด้านงานเขียนคนแรก เริ่มงานในวงการหนังสือครั้งแรกโดยเป็นนักเขียนประจ�ำกองบรรณาธิการ นิตยสาร ADVANCED THAILAND GEOGRAPHIC อยู่ได้ ๖ เดือนก็เปลี่ยนไป ทดลองชีวิตนักข่าวที่หนังสือพิมพ์ ผู้จัดการรายวัน เซกชั่นปริทรรศน์ เกือบ ๑ ปี ที่นี่เองที่เจ้าตัวตระหนักถึงพลังของงานสารคดี  เมื่อ “ต�ำนานคนขายถั่ว  แห่งรั้วท่าพระจันทร์” สารคดีเชิงข่าวที่เขียนลงในเซกชั่นปริทรรศน์โดยไม่ลงชื่อ มี  ผลกดดันทางอ้อมต่อผู้บริหารธรรมศาสตร์ยุค สุรพล นิติไกรพจน์ จนไม่กล้าไล่  เบอร์นาร์ด บังขายถัว่ ทีเ่ อาถัว่ ปาหัวเขาสมัยเรียน ออกไปขายของนอกมหาวิทยาลัย ด้วยเหตุผลว่า “เกะกะ” เป็นผลส�ำเร็จ ปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๘ กลับสูเ่ ส้นทางสายสารคดีอกี ครัง้  โดยเข้าท�ำงานประจ�ำ กองบรรณาธิการนิตยสาร สารคดี จนถึงปัจจุบัน จากวังจันทน์สู่เวียงแหง ตามรอยนเรศวรมหาราช นอกกรอบประวัติศาสตร์ ชาตินิยม เป็นผลงานรวมเล่มเล่มแรก.

278

ตามรอยนเรศวรมหาราช narasuan 11.indd 278

10/2/15 3:19 PM


279

สุเจน กรรพฤทธิ์ narasuan 11.indd 279

10/2/15 3:19 PM


จากวังจันทน์สู่เวียงแหง ตามรอย

“สงครามสมัยพระนเรศวรเป็นสงครามระหว่าง ‘กษัตริย์กับกษัตริย์’ หรือ ‘อาณาจักรอยุธยา  กับอาณาจักรหงสาวดี’ ไม่ใช่สงครามระหว่าง ‘ชาติไทย’ กับ ‘ชาติพม่า’”

ดร. ชาญวิ ท ย์  เกษตรศิ ริ ผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์อุษาคเนย์

ดร. สุ เ นตร ชุ ติ น ธรานนท์ ผู้เชี่ยวชาญประวัติศาสตร์พม่า “เหตุการณ์ชนไก่ที่มาของประโยค ‘ไก่เชลยนี้เก่งนัก’ ทรงยิงพระแสงปืนต้นข้ามแม่น�้ำสะโตง  ทรงกระท�ำยุทธหัตถี ทรงใช้พระแสงดาบ ‘คาบ’ ค่าย ทรงประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง ฯลฯ  มีจริงหรือไม่ ? ...การตั้งค�ำถามกับประเด็นเหล่านี้ มิได้สั่นสะเทือน หรือลดทอนพระมหา  กรุณาธิคุณและพระปรีชาชาญของสมเด็จพระนเรศวรในใจคนไทยแต่อย่างใด ตรงกันข้าม  กลับเสริมส่งพระบารมีของพระองค์ ด้วยความรู้ ความเข้าใจ ความรัก และความเทิดทูน   อย่างมีเหตุผล มีหลักฐานอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ”

ธี ร ภาพ โลหิ ต กุ ล นักเขียนสารคดีผู้เชี่ยวชาญเรื่องพม่า

จากวังจันทน์สู่เวียงแหง ตามรอย นเรศวรมหาราช นอกกรอบประวัติศาสตร์ชาตินิยม

“คนไทยเรามีความรับรูร้ ว่ มกันชุดหนึง่  เช่น พระนเรศวรถูกน�ำไปหงสาวดี ทรงประกาศอิสรภาพ ทรงกระท�ำยุทธหัตถี ซึ่งถ้าดูจากหลักฐานพม่ามันจะต่างกันเลย เขาไม่เคยพูดถึงเรื่องพระแสง ปืนต้นข้ามแม่น�้ำสะโตง ในศึกยุทธหัตถี เขาก็บอกว่าพระมหาอุปราชาถูกยิง แต่ความเข้าใจ  ที่แปลกแยกนี้ไม่ได้อยู่ในความรับรู้ร่วมของคนไทย”

นอกกรอบประวัติศาสตร์ ชาตินิยม

รางวัลชนะเลิศ เซเว่นบุ๊คอวอร์ด ประเภทสารคดี (ประวัติศาสตร์) ประจ�ำปี ๒๕๕๒

สุ เ จน กรรพฤทธิ์

หมวดประวัติศาสตร์ ISBN 978-616-7767-58-1

ราคา ๒๕๕ บาท cover NS UPDATE.indd 184

๒๕๕.10/6/15 5:01 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.