คู่มือนำชม ศิลปกรรมโบราณในล้านนา

Page 1

ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

“คู่ มื อ นำ � ชม ศิ ล ปกรรมโบราณในล้ า นนา เป็ น หนังสือที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อสื่อสารงานศิลปกรรมของชาว ล้ า นนา สู่ ผู้ ช มจะได้ เ ข้ า ถึ ง ซึ่ ง หลั ก ฐานทางวั ฒ นธรรม ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์  ตัวบทหนังสือประกอบ ด้วย เกริ่นนำ�สังเขปประวัติศาสตร์ล้านนา ภาพรวมของ งานศิลปกรรม ประวัติศาสตร์เมืองและศิลปกรรมที่เป็น ลักษณะเฉพาะของแต่ละเมือง แล้วจึงนำ�ชมวัดวาอาราม ต่ า ง ๆ ในแต่ ล ะเมื อ งทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย   โดยจะกล่ า วถึ ง ลักษณะรูปแบบศิลปกรรม ทั้งเจดีย์ วิหาร งานประดับ ตกแต่ง จิตรกรรมฝาผนัง การวิเคราะห์ที่มาของรูปแบบ แนวคิด คติการสร้าง การกำ�หนดอายุสมัย ลักษณะทาง ศิลปกรรมที่โดดเด่นและความสำ�คัญของแหล่งศิลปกรรม นั้น ๆ คู่มือนำ�ชม ศิลปกรรมโบราณในล้านนา จึงเหมาะ สำ�หรับคนทั่วไปที่อ่านไปชมไป เพื่อทำ �ความเข้าใจงาน ศิลปกรรม ที่สามารถรับรู้และเข้าถึงได้เอง  นอกจากนี้ยัง ใช้สำ�หรับการเรียนการสอนทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ โบราณคดี การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม มัคคุเทศก์ การ จัดการวัฒนธรรม  ใช้เป็นคู่มือนำ�ชมสำ�หรับมัคคุเทศก์ อาชีพได้อย่างเหมาะสม...”

คู่มือนำ�ชม ศิลปกรรมโบราณในล้านนา

รู้จักศิลปะล้านนาผ่านการเที่ยวชมสถานที่สำ�คัญ ๖๕ แหล่งใน ๘ จังหวัดภาคเหนือ  ให้รายละเอียดข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ รูปแบบศิลปะ ที่สำ�คัญและโดดเด่นของแต่ละสถานที่  คู่ มื อ สำ � หรั บ มั ค คุ เ ทศก์   และผู้ ที่ อ ยู่ ใ นสายงานการ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม  คู่มือที่สามารถใช้เที่ยวชมวัดในภาคเหนือได้ด้วยตนเอง

หมวดประวัติศาสตร์/ศิลปะ ราคา ๖๕๐ บาท ISBN 978-616-465-036-7

สั่งซื้อออนไลน์ที่ @sarakadeemag

ล้านนา คู่มือน�ำชม  ศิลปกรรมโบราณใน

ศ า ส ต ร า จ า ร ย์   ด ร .  ศั  ก ดิ์  ชั  ย  ส า ย สิ  ง ห์


วัดพระธาตุล�ำปางหลวง อ�ำเภอเกาะคา จังหวัดล�ำปาง สัญลักษณ์การจ�ำลองศูนย์กลางจักรวาลในคติพุทธศาสนา พระพุทธรูปในซุ้มจระน�ำของเจดีย์กู่กุด วัดจามเทวี อ�ำเภอเมือง จังหวัดล�ำพูน พระเจดีย์เก่าแก่ที่สุดในล้านนา สมัยหริภุญชัย


วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ ความงามของเจดีย์ทรงระฆังแบบล้านนาที่มีอิทธิพลศิลปะสุโขทัยและพุกาม


ISBN 978-616-465-036-7 หนังสือ คู่มือน�ำชม ศิลปกรรมโบราณในล้านนา ผู้เขียน ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ พิมพ์ครั้งแรก มีนาคม ๒๕๖๓ จ�ำนวนพิมพ์ ๒,๐๐๐ เล่ม ราคา ๖๕๐ บาท © สงวนลิขสิทธิ์โดยส�ำนักพิมพ์เมืองโบราณ ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด บรรณาธิการเล่ม ภาพประกอบ ออกแบบปก/รูปเล่ม ควบคุมการผลิต แยกสี/เพลต พิมพ์ที่ จัดพิมพ์โดย จัดจ�ำหน่าย

อภิวันทน์ อดุลยพิเชฏฐ์ ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์,  ศูนย์ข้อมูลเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ณิลณา หุตะเศรณี ธนา วาสิกศิริ เอ็น. อาร์. ฟิล์ม  โทร. ๐ ๒๒๑๕ ๗๕๕๙ บริษัททวีวัฒน์การพิมพ์ จ�ำกัด  โทร. ๐ ๒๗๒๐ ๕๐๑๔ ส�ำนักพิมพ์เมืองโบราณ (ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด) บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ๓ ซอยนนทบุร ี ๒๒ ถนนนนทบุรี (สนามบินน�้ำ)  ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมืองนนทบุร ี นนทบุรี ๑๑๐๐๐  โทร. ๐ ๒๕๔๗  ๒๗๐๐  โทรสาร ๐ ๒๕๔๗ ๒๗๒๑

ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ ศักดิ์ชัย สายสิงห์. คู่มือน�ำชม ศิลปกรรมโบราณในล้านนา. - - นนทบุร ี : เมืองโบราณ, ๒๕๖๓. ๕๕๒ หน้า. ๑. ศิลปกรรม- -คู่มือ. ๒. ศิลปกรรม- -ล้านนา- -คู่มือ. I. ชื่อเรื่อง. ISBN 978-616-465-036-7

ส�ำนักพิมพ์เมืองโบราณ (ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด)  ๓ ซอยนนทบุรี ๒๒ ถนนนนทบุรี (สนามบินน�้ำ) ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมืองนนทบุร ี นนทบุรี ๑๑๐๐๐  โทร. ๐ ๒๕๔๗ ๒๗๐๐ โทรสาร ๐ ๒๕๔๗ ๒๗๒๑   ที่ปรึกษา ศรีศักร วัลลิโภดม  ธิดา สาระยา  เสนอ นิลเดช  สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์   ผู้อ�ำนวยการ สุวพร ทองธิว  ผู้จัดการทั่วไป/ผู้อ�ำนวยการฝ่ายศิลป์ จ�ำนงค์ ศรีนวล   ผู้จัดการฝ่ายการตลาด/ประชาสัมพันธ์ กฤตนัดตา หนูไชยะ   บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ อภิวันทน์ อดุลยพิเชฏฐ์   ที่ปรึกษากฎหมาย สมพจน์ เจียมพานทอง

10

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า


ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์ ภาคเหนือตอนบนหรือล้านนา เป็นดินแดนทีเ่ ป็นแหล่งสัง่ สมทาง ศิลปะและวัฒนธรรมมายาวนานกว่าพันปี  ทัง้ แปดจังหวัดในภูมภิ าคนี้ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ล�ำพูน ล�ำปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน พะเยา ล้วนมีวัดวาอารามที่เป็นแหล่งศิลปกรรมส�ำคัญและแหล่งท่อง เที่ยวทางวัฒนธรรมที่น่าสนใจ อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะมีนักท่องเที่ยว เดินทางไปเยือนและเที่ยวชมวัดวาอารามในภาคเหนือจ�ำนวนไม่น้อย แต่มีหนังสือจ�ำนวนไม่มากนักที่ให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับวัดหรือโบราณ สถานส�ำคัญของแปดจังหวัดในภาคเหนือ ซึง่ หลายแห่งเป็นแหล่งท่อง เที่ยวทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น  และนี่คือเหตุผลที่ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ สนใจ เขียน คูม่ อื น�ำชม ศิลปกรรมโบราณในล้านนา เล่มนี ้ เพือ่ ให้ขอ้ มูลของ วัดและแหล่งศิลปกรรมโบราณของล้านนา ด้วยความที่อาจารย์เป็น นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ศิลปะและได้อบรมมัคคุเทศก์หลายรุ่น ท�ำให้เชื่อมั่นได้ว่าผู้อ่านหนังสือเล่มนี้จะได้ข้อมูลที่มีสาระและความรู้ ที่น�ำเสนอตั้งแต่ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของแต่ละจังหวัด ประวัติของวัดหรือแหล่งศิลปกรรมแต่ละแห่ง   ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ศลิ ปะของอาคารทีน่ า่ สนใจในแต่ละวัด  ทีจ่ ะช่วยให้ผอู้ า่ นเข้าใจ ความส�ำคัญของสถานที่นั้น ๆ ซึ่งสัมพันธ์กับบริบททางประวัติศาสตร์ ด้วย เป็นหนังสือทีส่ ามารถใช้อา่ นเพือ่ รู ้ หรือใช้เป็นคูม่ อื ในการไปเทีย่ ว ชมก็ได้ประโยชน์ทั้งสองประการ ที่ส�ำคัญคือ เมื่ออ่านหนังสือเล่มนี้แล้วจะช่วยให้ท่านเที่ยวชม สถานทีแ่ ต่ละแห่งอย่างดูรแู้ ละเข้าใจ รวมทัง้ ประทับใจในความงามของ งานศิลปกรรมเก่าแก่ในภาคเหนือ ทีส่ ร้างสรรค์ดว้ ยฝีมอื ช่างล้านนา ที่ ได้สงั่ สมภูมปิ ญ ั ญาและวัฒนธรรมสืบเนือ่ งมายาวนานหลายชัว่ อายุคน

ส�ำนักพิมพ์เมืองโบราณ มีนาคม ๒๕๖๓ ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

11


ค�ำน�ำผู้เขียน

ดินแดนล้านนาเป็นถิ่นไทยงามที่อุดมไปด้วยธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีอันดีงามที่สืบสานมากว่า ๗๐๐ ปี  มรดก วัฒนธรรมล้านนา โดยเฉพาะงานศิลปกรรม ยังคงแสดงความรุง่ เรือง ของอาณาจักรทีม่ มี าแล้วตัง้ แต่อดีต ตัง้ แต่สมัยหริภญ ุ ชัย ล้านนา ผ่าน ยุคฟื้นฟูบ้านเมือง สู่ปัจจุบัน  ดินแดนล้านนาไม่เคยร้างลาจากผู้คน ชาวล้านนามีพื้นฐานทางวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง มีชา่ งที่สืบสานประเพณี และวัฒนธรรมของตัวเอง  ศิลปกรรมล้านนาจึงมีเอกลักษณ์เฉพาะ ทีม่ ี ความงามด้วยพุทธศิลป์ทเี่ กิดจากศรัทธาความเชือ่ ทางศาสนาประกอบ เข้าด้วยกัน คู่มือน�ำชม ศิลปกรรมโบราณในล้านนา เป็นหนังสือที่เรียบเรียง ขึน้ เพือ่ สือ่ สารงานศิลปกรรมของชาวล้านนา สูผ่ ชู้ มจะได้เข้าถึงซึง่ หลัก ฐานทางวัฒนธรรม ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์  ตัวบทหนังสือ ประกอบด้วย เกริ่นน�ำสังเขปประวัติศาสตร์ล้านนา ภาพรวมของงาน ศิลปกรรม ประวัติศาสตร์เมืองและศิลปกรรมที่เป็นลักษณะเฉพาะ ของแต่ละเมือง แล้วจึงน�ำชมวัดวาอารามต่าง ๆ ในแต่ละเมืองทุก ยุคทุกสมัย  โดยจะกล่าวถึงลักษณะรูปแบบศิลปกรรม ทัง้ เจดีย ์ วิหาร งานประดับตกแต่ง จิตรกรรมฝาผนัง การวิเคราะห์ที่มาของรูปแบบ แนวคิด คติการสร้าง การก�ำหนดอายุสมัย ลักษณะทางศิลปกรรมที่ โดดเด่นและความส�ำคัญของแหล่งศิลปกรรมนั้น ๆ คู่มือน�ำชม ศิลปกรรมโบราณในล้านนา จึงเหมาะส�ำหรับคน ทั่วไปที่อ่านไปชมไป เพื่อท�ำความเข้าใจงานศิลปกรรม ที่สามารถ รับรู้และเข้าถึงได้เอง  นอกจากนี้ยังใช้ส�ำหรับการเรียนการสอนทาง ด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ โบราณคดี การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม มัคคุเทศก์ การจัดการวัฒนธรรม  ใช้เป็นคูม่ อื น�ำชมส�ำหรับมัคคุเทศก์ 12

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า


อาชีพได้อย่างเหมาะสม ทัง้ นีจ้ ะท�ำให้มกี ารพัฒนาคุณภาพการรับรูท้ าง ด้านศิลปกรรมล้านนาได้ดยี งิ่ ขึน้   รวมทัง้ เป็นการอนุรกั ษ์ ส่งเสริมการ เพิ่มคุณค่าและมูลค่าของมรดกทางวัฒนธรรมล้านนาอีกแนวทางหนึ่ง ในที่นี้ผู้เขียนจึงขอขอบคุณ คณบดีคณะโบราณคดีที่ได้จัดสรร งบประมาณกองทุนอุดหนุนการวิจยั และสร้างสรรค์คณะโบราณคดี ใน การเรียบเรียงคูม่ อื น�ำชมนี  ้ ขอบพระคุณศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ  ดร. สันติ เล็กสุขมุ  ผูถ้ า่ ยทอดความรูศ้ ลิ ปะล้านนาแก่ผเู้ ขียน  คุณอภิวนั ทน์ อดุลยพิเชฏฐ์ บรรณาธิการ และส�ำนักพิมพ์เมืองโบราณที่สนับสนุน การจัดพิมพ์ในครั้งนี้ ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓

ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

13


สารบัญ ค�ำน�ำส�ำนักพิมพ์ ค�ำน�ำผู้เขียน

๑๑ ๑๒

บทที ๑  ่ ประวัติศาสตร์ล้านนาโดยสังเขป ๑๘ ความเป็นมาของอาณาจักรล้านนา ๑๘ ประวัติศาสตร์ลา้ นนาโดยสังเขป ๒๒ บทที ๒  ่ ศิลปกรรมล้านนา ๓๓ ศิลปะหริภุญชัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘) ๓๓ ศิลปะล้านนา (พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๓) ๓๗ ศิลปะหลังสมัยล้านนา (พุทธศตวรรษที ่ ๒๔ ถึงปัจจุบัน) ๔๙ สรุปรูปแบบเจดีย์ ในศิลปะหริภุญชัยและล้านนา สรุปรูปแบบพระพุทธรูปในศิลปะหริภุญชัยและล้านนา บทที่ ๓ ชมศิลปกรรมโบราณเมืองเชียงใหม่ วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง วัดเชียงมั่น วัดอุโมงค์มหาเถรจันทร์ วัดบุปผาราม (วัดสวนดอก) วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) วัดป่าแดงหลวง วัดพระธาตุดอยสุเทพ วัดโลกโมฬีอาราม 14

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า

๕๖ ๕๙ ๖๔ ๖๖ ๘๔ ๙๒ ๑๐๒ ๑๐๗ ๑๑๑ ๑๒๔ ๑๒๙ ๑๓๓ ๑๔๓


วัดพม่าในเมืองเชียงใหม่ วัดบวกครกหลวง

๑๔๖ ๑๔๙

บทที่ ๔ ชมศิลปกรรมโบราณเมืองล�ำพูน ๑๖๘ วัดจามเทวี (วัดกู่กุด) ๑๗๐ ๑๗๗ วัดพระธาตุหริภุญชัย วัดพระยืน ๑๘๔ โบราณสถานกู่ช้าง กู่ม้า ๑๘๘ บทที่ ๕ ศิลปกรรมเมืองล�ำปาง ๑๙๔ ประวัติความเป็นมาของเมืองล�ำปาง ๑๙๔ ประวัติศาสตร์และหลักฐานทางศิลปกรรม ๑๙๖ งานศิลปกรรมเมืองล�ำปาง ๒๐๒ ชมศิลปกรรมโบราณเมืองล�ำปาง ๒๑๒ วัดพระธาตุล�ำปางหลวง ๒๑๔ วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม ๒๓๕ วัดพระธาตุเสด็จ ๒๔๔ วัดปงสนุก ๒๕๘ วัดบุญวาทย์วิหาร ๒๖๒ วัดเกาะวาลุการาม ๒๖๕ ๒๖๗ วัดไหล่หินหรือวัดไหล่หินหลวง  (วัดเสลารัตนปัพพตาราม) วัดปงยางคก ๒๖๙ วัดศรีชุม ๒๗๑ วัดศาสนโชติการาม (วัดป่าฝาง) ๒๗๓ วัดม่อนจ�ำศีล ๒๗๕ วัดม่อนปู่ยักษ์ (วัดม่อนสัณฐาน) ๒๗๖ วัดพระเจดีย์ซาวหลัง ๒๗๘ บทที่ ๖ ศิลปกรรมเมืองเชียงแสน-เชียงราย ๒๘๕ ประวัติความเป็นมาของเมืองเชียงแสน ๒๘๕ ศิลปกรรมเมืองเชียงแสน ๒๙๒ ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

15


ชมศิลปกรรมโบราณเมืองเชียงแสน ๓๑๖ วัดพระธาตุสองพี่น้อง ๓๑๘ วัดป่าสัก ๓๒๑ วัดเจดีย์หลวง ๓๒๕ วัดอาทิต้นแก้ว ๓๒๙ วัดพระบวช ๓๓๑ วัดมุงเมือง ๓๓๓ ๓๓๕ วัดพระธาตุจอมกิตติ ชมศิลปกรรมโบราณเมืองเชียงราย ๓๓๘ วัดพระธาตุดอยทอง (วัดพระธาตุดอยจอมทอง) ๓๔๐ วัดพระแก้ว ๓๔๓ วัดพระสิงห์ ๓๔๘ บทที่ ๗ ศิลปกรรมเมืองน่าน ๓๕๖ ประวัติความเป็นมาของเมืองน่าน ๓๕๖ ศิลปกรรมเมืองน่าน ๓๖๖ ชมศิลปกรรมโบราณเมืองน่าน ๓๗๒ วัดพญาวัด ๓๗๔ วัดพระธาตุแช่แห้ง ๓๗๗ วัดสวนตาล ๓๘๒ ๓๘๔ วัดพระธาตุช้างค�้ำวรวิหาร วัดพญาภู ๓๙๓ วัดภูมินทร์ ๓๙๖ วัดหัวข่วง ๔๑๐ คุ้มเจ้าเมืองน่านและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ น่าน ๔๑๓ วัดหนองบัว ๔๑๕ วัดเบ็งสกัด ๔๒๖ วัดต้นแหลง ๔๒๙ บทที่ ๘ ศิลปกรรมเมืองแพร่ ๔๓๗ ประวัติความเป็นมาของเมืองแพร่ ๔๓๗ ชมศิลปกรรมโบราณเมืองแพร่ ๔๔๐ 16

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า


วัดพระธาตุช่อแฮ วัดศรีชุม วัดหัวข่วง คุ้มเจ้าหลวงเมืองแพร่ บ้านวงศ์บุรี

๔๔๒ ๔๔๔ ๔๔๙ ๔๕๑ ๔๕๓

บทที่ ๙ ศิลปกรรมเมืองพะเยา ๔๕๖ ประวัติความเป็นมาของเมืองพะเยา ๔๕๖ ศิลปกรรมเมืองพะเยา ๔๖๐ ชมศิลปกรรมโบราณเมืองพะเยา ๔๖๖ วัดป่าแดงบุญนาค ๔๖๘ วัดศรีโคมค�ำ ๔๗๐ ๔๗๘ วัดหลวงราชสัณฐาน วัดลี ๔๘๘ บทที่ ๑๐ ศิลปกรรมไทใหญ่ในแม่ฮ่องสอน ๔๙๒ ประวัติความเป็นมาของแม่ฮ่องสอน ๔๙๒ ศิลปกรรมไทใหญ่เมืองแม่ฮ่องสอน ๔๙๓ ชมศิลปกรรมไทใหญ่เมืองแม่ฮ่องสอน ๔๙๘ วัดพระธาตุดอยกองมู ๕๐๐ ๕๐๖ วัดกลางเวียง (วัดหัวเวียง) วัดจองค�ำ ๕๑๓ วัดจองกลาง ๕๑๗ วัดก�้ำก่อ ๕๒๓ วัดพระนอน ๕๒๗ ๕๓๑ วัดกลางทุ่ง บรรณานุกรม ภาคผนวก พระแก้วมรกต คือพระพุทธรูปล้านนาที่มี ความสัมพันธ์ทางด้านรูปแบบกับพระพุทธรูปหินทราย สกุลช่างพะเยา

๕๓๖ ๕๔๕

ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

17


ประวัติศาสตร์ล้านนา โดยสังเขป ความเป็นมาของอาณาจักรล้านนา แผนที่แสดง ต�ำแหน่ง แปดจังหวัด ในภาคเหนือ ของประเทศไทย  ที่เคยเป็นเมือง ส�ำคัญในยุค อาณาจักรล้านนา

ที่ตั้งและสภาพภูมิประเทศของอาณาจักรล้านนา

อาณาจักรล้านนา ได้แก่ ดินแดนภาคเหนือตอนบน ประกอบด้วย ๘ จังหวัด คือ เชียงใหม่ เชียงราย ล�ำพูน ล�ำปาง พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอน  ภูมิประเทศของอาณาจักรล้านนาประกอบด้วย พืน้ ทีร่ าบลุม่ ขนาดใหญ่ทสี่ ำ� คัญ ๒ แหล่ง ได้แก่ ด้านทิศตะวันออกคือ ที่ราบลุ่มแม่น�้ำกก-อิง (เชียงราย-พะเยา) เป็นที่ตั้งของชุมชนโบราณ

น. นาน

เชียงราย

นาน

ลำพูน

ลำปาง น. ยม

น. วัง

น.

น. ตื๋น

แพร

ปาด

น. ยวม

18

น. ว

า

เชียงใหม

.ป ง

น. แ  ม จ

พะเยา แมฮองสอน

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า


คือ โยนก ด้านทิศตะวันตก คือ ที่ราบลุ่มแม่น�้ำปิง-กวง (เชียงใหม่ล�ำพูน) เป็นทีต่ งั้ ของแคว้นหริภญ ุ ชัย  ต่อมาพญามังรายได้รวมดินแดน ทั้งสองเข้าด้วยกัน  สถาปนาเป็น อาณาจักรล้านนา และสร้าง เมือง เชียงใหม่ เป็นศูนย์กลางอาณาจักรใน พ.ศ. ๑๘๓๙

หลักฐานทางโบราณคดีในยุคก่อนประวัติศาสตร์ และยุคหัวเลี้ยวหัวต่อทางประวัติศาสตร์ ในล้านนา

จากหลักฐานทางโบราณคดี ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ในเขต ภาคเหนือตอนบน ได้ค้นพบเครื่องมือหินกะเทาะโดยจัดไว้อยู่ ในยุค ไพลสโตซีน๑  ต่อมาได้ค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีที่ส�ำคัญที่ถ�้ำผีแมนและถ�้ำยวน ในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งจัดอยู่ ในวัฒนธรรม แบบฮัวบินเนียน๒ (Hoabinhian) กล่าวคือ พบเมล็ดข้าว อันแสดง ให้เห็นถึงพัฒนาการของกลุ่มชนที่รู้จักการเพาะปลูกและเก็บอาหารไว้ กิน อันเป็นวัฒนธรรมแบบเกษตรกรรม๓ มีอายุอยู่ในราว ๘,๐๐๐ และ ๖,๐๐๐ ปี นับว่าเป็นการค้นพบแหล่งโบราณคดี ในยุคเกษตรกรรม แห่งแรกในประเทศไทย๔  ต่อมาจึงมีการค้นพบหลักฐานทางโบราณคดี หลายแหล่งทีแ่ สดงพัฒนาการจากสมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ ยุคหัวเลีย้ ว เครื่องมือหินกะเทาะ  จัดแสดงใน พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ เชียงใหม่

ก�ำไลส�ำริด ลูกปัด หินคาร์เนเลียน  และโบราณวัตถุ จากแหล่งโบราณคดี บ้านวังไฮ อ. เมือง  จ. ล�ำพูน จัดแสดง ในพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ หริภุญไชย  ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

19


พระยาประชากิจกรจักร, พงศาวดารโยนก, หน้า ๒๖๑-๒๖๒.  พระรัตนปัญญาเถระ, ชินกาลมาลีปกรณ์, หน้า ๑๐๕. ๑๖ พระรัตนปัญญาเถระ, ชินกาลมาลีปกรณ์, หน้า ๑๑๑. และดูใน A.B. Griswold and Prasert na Nagara, “Epigraphie and Historical Studies No.13 : The Inscription of Wat Phra Y n,” in JSS, V. 62, Part I, Bangkok, 1974, pp. 123-142. ๑๗ พระยาประชากิจกรจักร, พงศาวดารโยนก, หน้า ๓๓๓. ๑๘ เรือ่ งเดียวกัน, หน้า ๓๒๘-๓๔๐. และดูใน พระราชพงศาวดาร, พระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยาฉบับพระราชหัตถเลขา ภาคที ๑ ่ , (กรุงเทพ ฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๓๔), หน้า ๖๒ และ ๒๒๕-๒๒๙. ๑๙ พระยาประชากิจกรจักร, พงศาวดารโยนก, หน้า ๓๒๘-๓๒๙. ๒๐ พระรัตนปัญญาเถระ, ชินกาลมาลีปกรณ์, หน้า ๑๓๓. และ พระยาประชากิจกรจักร, พงศาวดารโยนก, หน้า ๓๕๒. ๒๑ พระรัตนปัญญาเถระ, ชินกาลมาลีปกรณ์, หน้า ๑๖๘. และ พระยาประชากิจกรจักร, พงศาวดารโยนก, หน้า ๓๗๑. ๒๒ ส�ำนักนายกรัฐมนตรี, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์, ต�ำนาน พื้นเมืองเชียงใหม่, ปริวรรตโดย ทน ตนมั่น, (พระนคร : คณะกรรมการจัดพิมพ์ เอกสารทางประวัติศาสตร์, ๒๕๑๔), หน้า ๗๐-๗๑.  และดูใน สรัสวดี อ๋องสกุล, ประวัตศิ าสตร์ลา้ นนา, (กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลีชชิง่  จ�ำกัด, ๒๕๓๙), หน้า ๑๕๐. ๒๓ พระยาประชากิจกรจักร, พงศาวดารโยนก, หน้า ๓๗๔. ๒๔ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๓๗๔-๓๗๕. ๒๕ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๓๙๗. ๒๖ ประชุมพงศาวดาร เล่มที่ ๔๐ (ภาคที่ ๖๕-๖๖), (พระนคร : คุรุสภา, ๒๕๑๒), หน้า ๖๗. ๑๔ ๑๕

32

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า


ศิลปกรรมล้านนา

ศิลปะหริภุญชัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘)

ศิลปะหริภญ ุ ชัยมีพนื้ ฐานทางด้านรูปแบบมาจากการรับวัฒนธรรม ทางศาสนาในสมัยทวารวดีจากภาคกลางของประเทศไทย เห็นได้จาก งานศิลปกรรมในระยะแรกที่เหมือนกับศิลปะทวารวดี โดยเริ่มตั้งแต่ ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ เป็นต้นมา สัมพันธ์กับหลักฐานในต�ำนานที่ กล่าวถึงการเสด็จมาของพระนางจามเทวีจากเมืองลพบุรี พร้อม ๆ กับการน�ำศาสนาและรูปแบบศิลปกรรมขึ้นมา  อย่างไรก็ตามได้พบ หลักฐานทางศิลปกรรมในยุคนี้ไม่มากนัก หรือแม้แต่ในรุ่นต่อมาราว พุทธศตวรรษที่ ๑๕-๑๖ ที่แนวความคิดส่วนใหญ่เชื่อว่าเป็นอิทธิพล ศิลปะเขมร แต่ก็พบหลักฐานน้อยมาก  ศิลปะสมัยหริภุญชัยที่พบหลักฐานมากที่สุดอยู่ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ที่ถือว่ามีงานศิลปกรรมที่เป็นรูปแบบเฉพาะของ ตัวเองอย่างแท้จริง มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ค่อนข้างชัดเจน คือ ศิลาจารึกที่ระบุศักราชและพระนามพระมหากษัตริย์  โดยมีบทบาท ของแหล่งศิลปกรรมที่ส�ำคัญ คือ ศิลปะจากพุกามหรือเมืองมอญทาง ตอนใต้ของพม่า สอดคล้องกับจารึกที่ใช้ภาษามอญและความสัมพันธ์ ทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏในต�ำนาน  ลักษณะอันเด่นชัดที่ปรากฏใน งานประติมากรรม เช่น พระพุทธรูปประทับนัง่ ขัดสมาธิเพชร การครอง จีวรทีเ่ ป็นแบบพุกาม รวมทัง้ งานประดับตกแต่งสถาปัตยกรรม เช่น ซุม้ ลายปูนปั้น เทวดาต่าง ๆ เป็นต้น ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

33


อย่างไรก็ตามศิลปะหริภุญชัยมีการพัฒนาที่เป็นรูปแบบเฉพาะ ของตัวเอง เช่น ลักษณะของพระพักตร์ในงานประติมากรรม ซึง่ ถือได้ ว่าเป็นวัฒนธรรมของดินเผาและปูนปัน้ อย่างแท้จริง ประติมากรรมทีม่ ี พระพักตร์คอ่ นข้างดุ พระเนตรพองโต บางครัง้ มีพระมัสสุ ขมวดพระ เกศาทีเ่ ป็นเกลียวทรงสูง รวมถึงเทคนิคการท�ำทีป่ น้ั ขมวดพระเกศามา ติดในภายหลัง หรืออีกกลุ่มหนึ่งที่ท�ำจากแม่พิมพ์

สถาปัตยกรรม

หลักฐานทางสถาปัตยกรรมเหลืออยู่น้อยมาก การศึกษาจึง กระท�ำได้เฉพาะของเจดีย์แต่ละองค์เท่านั้น  ที่ส�ำคัญคือ เจดีย์กู่กุด และรัตนเจดีย์ วัดจามเทวี (กู่กุด) และสุวรรณเจดีย์ วัดพระธาตุหริภุญชัย จังหวัดล�ำพูน  - เจดียก์ กู่ ดุ  เป็นเจดียล์ กั ษณะพิเศษคือ เป็นทรงปราสาททีอ่ ยู่ใน ผั ง สี่ เ หลี่ ย ม เรื อ นธาตุ ท�ำ ซ้ อ นกั น เป็ น ชั้ น ๆ แต่ ล ะชั้ น ประดิ ษ ฐาน พระพุทธรูปในซุม้ จระน�ำด้านละ ๓ องค์ จึงมีชนั้ ละ ๑๒ องค์ มีทงั้ หมด ห้าชั้น จึงมีพระพุทธรูปประดับทั้งหมด ๖๐ องค์ ที่มุมเจดีย์ ในแต่ละ ชัน้ มีการประดับเจดียจ์ ำ� ลองขนาดเล็กเรียกว่า “สถูปกิ ะ” ส่วนยอดของ เจดีย์หักหายไปจึงกลายเป็นชื่อเรียกของเจดีย์ว่า “กู่กุด” สันนิษฐาน ว่าส่วนยอดน่าจะเป็นยอดทรงกรวยเหลี่ยม ประดับชั้นลูกแก้วอกไก่ เป็นชุดและคั่นจังหวะด้วยแถวกลีบบัวหงาย๑  โดยเทียบกับสุวรรณ เจดีย์ ในบริเวณวัดพระธาตุหริภุญชัย ซึ่งเป็นเจดีย์ทรงเดียวกันที่ยังมี ส่วนยอด  - รัตนเจดีย์ เป็นเจดีย์ทรงปราสาทยอดที่มีเรือนธาตุอยู่ ในผัง แปดเหลี่ยม เริ่มตั้งแต่ฐานจนถึงส่วนเรือนธาตุและส่วนรองรับองค์ ระฆังอยู่ในผังแปดเหลีย่ ม กล่าวคือ มีฐานเขียง ๒ ชัน้ รองรับส่วนฐาน บัวที่คล้ายกับฐานบัววลัยของเจดีย์แบบทวารวดี  ถัดขึ้นไปเป็นเรือน ธาตุที่ประดับซุ้มจระน�ำประดิษฐานพระพุทธรูปไว้ภายในทั้งแปดด้าน ลักษณะเป็นซุม้ ฝักเพกาแบบพม่า (clec) เหนือส่วนเรือนธาตุทำ� เป็นชัน้ 34

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า

เจดีย์กู่กุด วัดจามเทวี  อ. เมือง จ. ล�ำพูน

รัตนเจดีย์ วัดจามเทวี  อ. เมือง จ. ล�ำพูน


คล้ายกับชัน้ ของหลังคาเอนลาด  เหนือขึน้ ไปเป็นเจดียท์ รงระฆังทีม่ ฐี าน แปดเหลีย่ มเจาะช่องจระน�ำประดิษฐานพระพุทธรูปนัง่ ทัง้ แปดด้าน รอง รับเจดีย์ทรงระฆังกลม  ส่วนยอดสุดหักหายไป น่าจะมีบัลลังก์ (หรือ อาจจะไม่มีบัลลังก์) ปล้องไฉน และปลียอด ตามระเบียบของเจดีย์ ทรงระฆังทั่วไป รัตนเจดียน์ า่ จะพัฒนามาจากเจดียแ์ บบปาละในศิลปะอินเดีย ได้ พบสถูปจ�ำลองส�ำริดขนาดเล็ก ทีเ่ ป็นเจดียท์ รงปราสาทยอดมีเรือนธาตุ แปดเหลีย่ มประดับซุม้ จระน�ำประดิษฐานพระพุทธรูปทุกด้าน ส่วนยอด เป็นเจดีย์ทรงระฆัง พบที่เมืองลพบุรีและเมืองสุโขทัย เจดีย์ลักษณะ นี้น่าจะมีมาแล้วตั้งแต่สมัยทวารวดี ในภาคกลางของประเทศไทย แต่ปัจจุบันเหลือเฉพาะส่วนฐานเจดีย์ที่เป็นแปดเหลี่ยมหลายแห่ง อายุของรัตนเจดีย์น่าจะสร้างขึ้นพร้อม ๆ กับเจดีย์กู่กุด ก�ำหนด ได้จากพระพุทธรูปทีป่ ระดับในซุม้ จระน�ำซึง่ เป็นรูปแบบเดิมทุกองค์และ มีรูปแบบเดียวกันทั้งหมด โดยรูปแบบเหมือนกับพระพุทธรูปประดับ ที่เจดีย์กู่กุด ทั้งลักษณะพระพักตร์ที่เป็นศิลปะหริภุญชัยแท้ และการ ครองจีวรที่มีอิทธิพลศิลปะพุกาม จึงน่าจะมีอายุในราวกลางพุทธศตวรรษที ่ ๑๗-กลางพุทธศตวรรษที ่ ๑๘ อาจจะตรงกับจารึกบางหลัก ของพระเจ้าสววาธิสิทธิ ที่เกิดแผ่นดินไหวและพระองค์ ได้มาบูรณะ เจดีย์วัดกู่กุด๒ โดยอาจรวมถึงรัตนเจดีย์องค์นี้ด้วย

ประติมากรรม

ประติมากรรมในศิลปะหริภญ ุ ชัยส่วนใหญ่สร้างขึน้ จากปูนปัน้ และ ดินเผาเป็นหลัก ทีเ่ ป็นหินทรายและส�ำริดพบน้อยมาก  ดังนัน้ จึงไม่ใช่ ประติมากรรมลอยตัว และเป็นประติมากรรมทีส่ ร้างขึน้ ประดับศาสนสถาน ส่วนใหญ่เป็นงานที่สร้างขึ้นเนื่องในพุทธศาสนาแบบเถรวาท ได้แก่ พระพุทธรูป พระสาวก และงานประดับศาสนสถานทีเ่ ป็นเทวดา รูปบุคคล และลวดลายต่าง ๆ  ในทีน่ จี้ ะขอกล่าวถึงเฉพาะพระพุทธรูป เป็นหลัก

ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

35


ชมศิลปกรรมโบราณ เมืองเชียงใหม่

ถ. วงแหวนรอบใน

สี่แยกขวงสิงห ๑๑

๑๐๐๔ มหาวิท•ยาลัย ถ. หวย แกว เชียงใหม ถ. สุเทพ

ไป อ. สารภี ถ. วิชยานนท ถ. ทาแพ

ถ. ศรีดอนไชย

วัดรํ่าเปง• ๑๒๑

ทิศเหนือ

ดิเสวี

ถ. สิรินธร

ถ. หัส

พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เชียงใหม

ก ถ. ชางเผือ

บานมงดอยปุย • พระตำหนัก ภูพิงคราชนิเวศน

นนเลีย บ คลองชล ป ระทาน

ถ. ห

วยแก

๑๑๔๑

ว

๑๐

ถ. ศ

ไปทางหลวง หมายเลข ๑๑ บ อ ร ถ . วงแหวน ใน ๑๐๘

ถ. อารักษ ถ. บุญเรืองฤทธิ์

ถ. ศิริมังคลาจารย

วัดปราสาท•

ถ. สุเทพ

ถ.

ถ. สิงหราช

สวนสาธารณะ หนองบวกหาด

ไปสนามบิน

ถ. ช ถ. ทิพยเนตร

๘  วัดป่าแดงหลวง  วัดพระสิงห์ ๙  พระธาตุดอยสุเทพ  วัดเจดีย์หลวง ๑๐  วัดเชียงมั่น  วัดโลกโมฬีอาราม ๑๑  วัดแสนฝาง  วัดอุโมงค์มหาเถรจันทร์  วัดบุปผาราม (วัดสวนดอก) ๑๒  วัดบุพพาราม  วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) ๑๓  วัดเชตวัน  วัดคูอุ่ โมืมงค์ อ นํสาวนพุ ช มทศิธธรรม ล ป ก ร ร ม โ บ๑๔ร  วั า ณดมหาวั ใ น ล้ นา น น า

ถนนมหิดล

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ 64๗

ถ. สามลาน

ถ.


ไป อ. แมริม สี่แยกขวงสิงห ๑๑

ถ. ซุปเปอร ไฮเวย

ไป อ. สารภี และลำพูน

ทิศเหนือ

ถ. ชางเผือก

วัดกูเตา •

แมนํ้าปง

วัดเชียงยืน วัดป•าเปา

ชวงศ 

ศ

ธิวง

สิท

ราษ ฎร

•วัดอุปคุต

ไปวัดบวกครกหลวง สะพานนวรัฐ ขัวเหล็ก

จ ถ. เ

ไปลำพูน

ระเทศ รญิ ป

ถ. ศรีดอนไชย

ง

ถ. อนสุ ารสุนทร

แมนํ้าป

ถ. ลอยเคราะห

ถ. กำแ พงด นิ

วงศ

ถ. สุริย

ถ. ทิพยเนตร

วัดศรีสุพรรณ

ถ. ราชเชียงแสน

ัวลา

ถ. ว

• ตลาดประตูเชียงใหม

จริญ

ถ. บำรุงบุรี

ถ. ชางหลอ

ถ. เ

• ตลาดวโรรส

ลา

ะ ด

ถ. ถ.

๑๑ ๑๓ ถ. ทาแพ ๑๒ ๑๔

ถ. คชสาร

เก ถ. พระปก

ถ. สามลาน

ถ. ราชมรรคา

วัดเกตุการาม

ทายวัง

ถ. ชางม อ ย

ถ. มูลเมือง

ถ. จาบาน

ถ. สิงหราช

ถ. รา

ถ. ชัยภูมิ

ถ. ราชภาคินัย

อนุสาวรีย ถ. ราชวิถี สามกษัตริย หอศิลปวัฒนธรรมฯ • • พิพธภัณฑพื้นถิ่นลานนา • ๔ ถ. อินทวโรรส วัดอินทขีล• • วัดดวงดี ถ. ราชดำเนิน วัดพันเตา•

นวรัฐ

ว ถ. แก

ถ. วิชยานนท

ถ. เวียงแกว

าท•

ถ. ศรีภูมิ

ถ. มณีนพรัตน

ถ. วังสิงหค

๑๐

ไปสถานีขนสง

ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

65


วัดพระสิงห์

นมัสการพระพุทธสิหิงค์ พระคู่เมืองเชียงใหม่ ที่ตั้ง ๒ ถนนสามล้าน อ�ำเภอเมือง

ตามต�ำนานกล่าวว่า พระเจ้าผายู กษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านนา (ครองราชย์ พ.ศ. ๑๘๗๙-๑๘๙๘) โปรดให้สร้างวัดแห่งนีข้ นึ้ และสร้าง เจดีย์เพื่อบรรจุอัฐิพระเจ้าค�ำฟู พระราชบิดา  เจดีย์สูง ๒๓ วา เรียก ชื่อว่า “วัดพระเชียง”  และเนื่องจากวัดนี้อยู่ติดกับ “ตลาดลีเชียง” ของเมืองเชียงใหม่ ชาวบ้านจึงเรียกชือ่ วัดว่า “วัดลีเชียงพระ”๑  ดังนัน้ วัดพระสิงห์จงึ ไม่นา่ จะสร้างขึน้ ก่อน พ.ศ. ๑๘๗๘ เพราะในปีนพี้ ระเจ้า ค�ำฟูได้ย้ายราชธานีขึ้นไปครองเมืองเชียงแสนและเสด็จสวรรคตที่ เมืองเชียงแสนในปีเดียวกัน  พระเจ้าผายู ราชโอรส ขึ้นครองราชย์ สืบต่อ ได้อัญเชิญพระบรมอัฐิกลับมายังเมืองเชียงใหม่ และโปรดให้ ก่อสถูปบรรจุไว้ที่วัดลีเชียงหรือลีเชียงพระแห่งนี๒้ วัดลีเชียงปรากฏในหลักฐานเอกสารอีกครั้งในสมัยของพระเจ้า แสนเมืองมา  ที่กล่าวถึงท้าวมหาพรหม เจ้าเมืองเชียงราย ผู้เป็น พระปิตุลาพยายามจะแย่งราชสมบัติพระเจ้าแสนเมืองมา แต่ทรง

66

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า

วัดพระสิงห์


พ่ายแพ้และหนี ไปประทับที่เมืองก�ำแพงเพชร  ภายหลังได้ขึ้นมาขอ คืนดีต่อพระเจ้าแสนเมืองมา พระเจ้าแสนเมืองมาทรงให้อภัยและ ให้กลับไปครองเมืองเชียงรายตามเดิม  ในคราวทีท่ า้ วมหาพรหมเสด็จ กลับมา ได้ทรงน�ำพระพุทธรูปส�ำคัญสององค์จากเมืองก�ำแพงเพชร มายังล้านนาได้แก่ พระแก้วมรกตและพระพุทธสิหิงค์ โดยได้ถวาย พระพุทธสิหงิ ค์แด่พระเจ้าแสนเมืองมา และทรงน�ำพระแก้วมรกตไปยัง เชียงราย  พระเจ้าแสนเมืองมาทรงน�ำพระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐาน ไว้ ในมณฑปวัดลีเชียงประชาชนทั่วไปจึงนิยมเรียกวัดนี้ว่า “วัดพระสิงห์” ซึ่งน่าจะหมายถึงวัดพระพุทธสิหิงค์๓ ตามนามของพระพุทธรูป ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา วัดพระสิงห์จึงกลายเป็นวัดส�ำคัญของเมืองเชียงใหม่ ได้รับการ บูรณปฏิสงั ขรณ์โดยกษัตริยล์ า้ นนาและเจ้าเมืองเชียงใหม่สบื ต่อมา เช่น ในสมัยพระเมืองแก้ว มีการบูรณะครั้งใหญ่และสร้างอาคารเพิ่มเติม เช่น วิหารลายค�ำ พระอุโบสถ เป็นต้น  ส่วนในสมัยของเจ้าเมืองเชียงใหม่ ได้มีการบูรณะเพิ่มเติม เช่น ในจารึกหินทรายแดงพบที่ฐานพระอุโบสถกล่าวว่า พระเจ้ากาวิละ (เจ้าเมืองเชียงใหม่) นิมนต์พระสังฆราช วัดพระสิงห์ สร้างอุโบสถ มณฑปปราสาทภายในอุโบสถ และหอธรรมขึ้นใน พ.ศ. ๒๓๕๔๔  ใน สมัยเจ้ากาวิโรรสสุริยวงศ์มีการบูรณะวัดพระสิงห์ครั้งส�ำคัญใน พ.ศ. ๒๔๐๖๕ และในสมัยของเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าเมืองเชียงใหม่องค์สุดท้าย ได้มีการบูรณะโดยครูบาศรีวิชัยและชาวบ้าน ร่วมกันปฏิสังขรณ์เจดีย์ และวิหาร๖ วัดพระสิงห์เป็นวัดส�ำคัญของเมืองเชียงใหม่ เป็นแหล่งทีร่ วบรวม งานศิลปกรรมไว้อย่างครบถ้วนทั้งงานสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ตั้งแต่ยุคอาณาจักรล้านนาจนมาถึงงานศิลปกรรมใน ปัจจุบนั   งานสถาปัตยกรรมรุน่ อาณาจักรล้านนา ได้แก่ เจดียท์ รงระฆัง แบบล้านนา พระพุทธสิหิงค์สกุลช่างเชียงใหม่ และพระพุทธรูปแบบ สิงห์หนึ่งองค์อื่น ๆ  งานสถาปัตยกรรมที่เป็นแบบพื้นถิ่น ได้แก่ พระ อุโบสถ วิหารลายค�ำ และหอไตรที่เป็นแบบอย่างงานช่างของล้านนา

ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

67


ศิลปกรรมเมืองล�ำปาง

ประวัติความเป็นมาของเมืองล�ำปาง ต�ำนานชื่อเมืองล�ำปาง

นครล�ำปางตั้งอยู่บนพื้นที่ราบลุ่มแม่น�้ำวัง ในเขตภาคเหนือตอน บนล้อมรอบด้วยขุนเขา  ล�ำปางมีชื่อเมืองอยู่หลายชื่อ เช่น เขลางค์นคร เวียงละกอน (เวียงละคอน) ล�ำภะกัปปะนคร อาลัมพางคนคร ล�ำพาง ล�ำป้าง (ล�ำปาง)  ส�ำหรับชือ่  “เขลางค์นคร” เป็นชือ่ เมืองในสมัยหริภญ ุ ชัย ปรากฏ ใน ต�ำนานจามเทวีวงศ์ กล่าวถึงพระพรหมฤๅษีเป็นผู้สร้างเมืองนี้ขึ้น ถวายแด่พระเจ้าอนันตยศ โอรสของพระนางจามเทวี๑ ส่วนชื่อ “เวียงละกอน” หรือ “ละคร” น่าจะมาจากต�ำนาน พื้นเมืองของล�ำปาง โดยเฉพาะ ต�ำนานพระธาตุล�ำปางหลวง ที่เป็น ปรัมปราคติ กล่าวถึงในสมัยพุทธกาลว่า พระพุทธเจ้าเสด็จมายังดิน แดนแห่งนี้ที่มีชื่อว่า บ้านลัมภะการีวัน เพื่อกระท�ำพุทธท�ำนาย มีชาว ลัวะชื่ออ้ายคอน (ตามส�ำเนียงภาษาเหนือออกเป็นอ้ายกอน) ได้น�ำน�้ำ ผึง้ ใส่กระบอกไม้ปา้ งมาถวาย พระพุทธเจ้าเสวยแล้วทรงทิง้ กระบอกไม้ นั้นและทรงพยากรณ์ว่า ในภายภาคหน้าสถานที่นี้จะกลายเป็นเมือง มีชื่อว่า “ลัมภะกัปปะนคร” และพระพุทธองค์ทรงมอบเส้นพระเกศา ให้กบั อ้ายกอน  อ้ายกอนได้นำ� บรรจุลงในผอบทองค�ำ  ต่อมาหลังจาก พระพุทธเจ้าปรินพิ พานแล้วจึงได้มกี ารสร้างพระธาตุ คือ “ลัมภะกัปปะ” 194

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า


ประตูมา เวียงเขลางคนคร

ประตูตาล

ประตูผาบอง

แนวกำแพงเมือง ประตูนกกต ประตูปลายนา ประตูนาสรอย ประตูเชียงใหม

ขวงเมือง

ประตูปอง

เวียงเขลางค ยุคหลัง

ประตูตนผึ้ง

ประตูหัวเวียง ประตูศรีเกิด

เวียงนครลำปาง ประตูสวนดอก ประตูศรีชุม

หวยแมกระติ๊บ

แมนํ้า

วัง

ประตูเชียงราย

ประตูนางเหลียว

ประตูชัย

หรือ พระธาตุล�ำปางหลวง๒ จึงเป็นทีม่ าของชือ่ เมืองตามต�ำนานทีเ่ รียก ต่างกันออกไป คือ “ลัมภะกัปปะนคร” คือชื่อตามพยากรณ์ของพระ พุทธองค์ในต�ำนานที่เขียนด้วยภาษาบาลี อันมีที่มาจากไม้ “ป้าง” ใน เอกสารเรียกแตกต่างกันออกไป คือ อาลัมพางคนคร ล�ำพาง ล�ำป้าง ภายหลังจึงกลายมาเป็น “ล�ำปาง” นัน่ เอง  ส่วน “เวียงละกอน” (หรือ ละคอน) มาจากชื่ออ้ายกอนหรือคอน ผู้ที่น�ำน�้ำผึ้งใส่กระบอกไม้ป้าง มาถวายพระพุทธเจ้า  ร่องรอยของเมืองโบราณล�ำปางปรากฏหลักฐานอยู่หลายแห่ง โดยมีเมืองส�ำคัญที่น่าจะเป็นเมืองแรกเริ่มตามต�ำนานพระธาตุล�ำปาง หลวง คือ “เมืองโบราณพระธาตุล�ำปางหลวง” ปัจจุบันอยู่ ในเขต อ�ำเภอห้างฉัตร ห่างจากตัวเมืองล�ำปางไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๑๐ กิ โ ลเมตร  ต่ อ มาจึ ง ย้ า ยเมื อ งมายั ง บริ เ วณเมื อ งล� ำ ปางใน ปัจจุบัน ซึ่งมีเมืองอยู่ทั้งสองฟากของแม่น�้ำวัง

แผนที่แสดงเมือง ล�ำปางแต่ละสมัย

ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

195


ไก่ขาว : จากต�ำนานสู่สัญลักษณ์ของเมืองล�ำปาง

ไก่ขาวที่เป็นสัญลักษณ์ของจังหวัดล�ำปางในปัจจุบัน มาจาก ต�ำนานเมืองล�ำปางอันมีที่มาจากความเชื่อเรื่อง “พระเจ้าเลียบโลก” หมายถึง ดินแดนที่พระพุทธเจ้าเคยเสด็จมา (เช่นเดียวกับที่ปรากฏ ในต�ำนานวัดพระธาตุลำ� ปางหลวง) ทีเ่ ชือ่ ว่าพระพุทธเจ้าได้เสด็จมาถึง ดินแดนที่เป็นที่ตั้งเมืองล�ำปางแห่งนี้และได้ทรงพยากรณ์ ไว้ ในคราว ที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จมานั้น พระอินทร์เกรงว่าชาวเมืองจะตื่นมาท�ำ อาหารไม่ทนั ถวายพระพุทธเจ้า จึงได้แปลงหรือเนรมิตเป็นไก่ขาวมาขัน เพื่อปลุกชาวเมือง หรืออีกนัยหมายถึงไก่ขันเพื่อส่งสัญญาณให้ฤๅษี รู้ว่าพระพุทธเจ้าได้ฉันภัตตาหารที่ถวายแล้ว  เมืองนี้จึงมีอีกชื่อหนึ่ง ว่า “กุกกุฏนคร” คือ “เมืองไก่ขัน”

ประวัติศาสตร์และหลักฐานทางศิลปกรรม  หลักฐานความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของเมืองล�ำปาง

• สมัยก่อนประวัติศาสตร์

บริเวณจังหวัดล�ำปางได้พบหลักฐานวัฒนธรรมสมัยก่อนประวัต-ิ ศาสตร์อยู่เป็นจ�ำนวนมาก แสดงให้เห็นว่ามีการอยู่อาศัยของมนุษย์ มาแล้วตั้งแต่สมัยก่อนประวัติ โดยได้พบหลักฐานเครื่องมือเครื่องใช้ จ�ำพวกเครื่องมือหินกะเทาะอยู่หลายพื้นที่ ซึ่งมีการก�ำหนดอายุตั้งแต่

196

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า

ก�ำแพงเมือง  คูเมือง และประตู เมือง บริเวณประตู ม่า (ม้า)


ภาพเขียนสีสมัยก่อน ประวัติศาสตร์ที่ประตูผา  (ที่มา : ศูนย์ข้อมูลเล็ก-ประไพ  วิริยะพันธุ์)

ยุคหินเก่า คือ ไพลโตซีนตอนต้น (lower pleistocene) เช่นในเขต อ�ำเภอแม่ทะ และได้พบหลักฐานการอยู่อาศัยของมนุษย์สืบต่อกันมา ในช่วงสังคมเกษตรกรรมในยุคหินใหม่ตอนปลาย ได้พบภาพเขียนสี สมัยก่อนประวัติศาสตร์หลายแห่ง เช่นที่บ้านแม่เบิน ต�ำบลเมืองมาย อ�ำเภอแจ้หม่ , บริเวณศาลเจ้าพ่อประตูผา จังหวัดล�ำปาง (เส้นทางสาย ล�ำปาง-งาว กิโลเมตรที่ ๖๐) เป็นต้น

• ล�ำปางในสมัยหริภญ ุ ชัย (ราวพุทธศตวรรษที ๑ ่ ๓-๑๘)

ต�ำนานการสร้างเมืองล�ำปางหรือชื่อเดิมคือเขลางค์นครปรากฏ ในต�ำนานล้านนาหลายฉบับ เช่น ต�ำนานมูลศาสนา จามเทวีวงศ์  ชินกาลมาลีปกรณ์  กล่าวถึงการสร้างเมืองเขลางค์นครว่ามีมาแล้ว ตั้งแต่สมัยหริภุญชัย ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ โดยกล่าวว่า พระนาง จามเทวีทรงมีพระโอรสฝาแฝด คือ เจ้ามหันตยศและเจ้าอนันตยศ เมือ่ พระโอรสทัง้ สองเติบโตขึน้  พระนางจามเทวีให้พระเจ้ามหันตยศครอง เมืองหริภุญชัย และได้สร้างเมืองเขลางค์นครขึ้น ให้พระเจ้าอนันตยศ ครอง โดยมีสุพรหมฤๅษีเป็นผู้ช่วยสร้าง๓  สันนิษฐานว่าเมืองเขลางค์นครที่เป็นเมืองรุ่นแรกตั้งอยู่ที่ต�ำบล เวี ย งเหนื อ  อ� ำ เภอเมื อ ง ผั ง เมื อ งเป็ น รู ป หอยสั ง ข์ ห รื อ วงรี ข นาด ประมาณ ๖๐๐ x ๑,๕๐๐ เมตร โดยมีแนวก�ำแพงเมืองโค้งตามแนว ของแม่น�้ำวัง  ปัจจุบันในเขตเมืองนี้มีวัดส�ำคัญที่อยู่ ในเวียง คือ วัด พระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม  วัดนอกเวียงมีวดั พันเชิง วัดพระเจ้าทันใจ

วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม วัดส�ำคัญใน เวียงเขลางค์นคร

ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

197


ศิลปกรรมเมืองน่าน

ประวัติความเป็นมาของเมืองน่าน ที่ตั้งและสภาพภูมิประเทศ

เมืองน่านตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกของภาคเหนือตอนบน มีแม่นำ�้   สายหลักคือแม่นำ�้ น่าน  ทางทิศเหนือและทิศตะวันออกติดกับประเทศ  สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศใต้ติดกับจังหวัดแพร่และ  อุตรดิตถ์ และทิศตะวันตกติดกับจังหวัดพะเยา

356

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า

วัดภูมินทร์ วัดส�ำคัญ กลางเมืองน่าน


สภาพภูมิประเทศเป็นพื้นที่ราบในหุบเขา โดยมีเทือกเขาผีปันน�้ำ  และเทือกเขาหลวงพระบางล้อมรอบ ความสูงประมาณ ๑,๐๐๐ ถึง  ๒,๐๐๐ เมตรเหนือระดับน�้ำทะเล  พื้นที่ส่วนใหญ่จึงเป็นภูเขาและป่า  ไม้  มีแม่น�้ำน่านไหลผ่าน เกิดเป็นที่ราบลุ่มที่ตั้งชุมชนและเป็นแหล่ง  เกษตรกรรมประมาณ ๑ : ๔ ของพื้นที่

ประวัติการตั้งถิ่นฐาน

• เมืองน่านในสมัยก่อนประวัติศาสตร์

บริเวณเมืองน่านปรากฏหลักฐานการอยู่อาศัยของผู้คนมาแล้ว  ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ได้มีการส�ำรวจขุดค้นทางโบราณคดี  และพบหลักฐานในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตั้งแต่ยุคแรกเริ่ม คือ  สมัยหินเก่าและหินกลาง หรือที่เรียกว่า “สังคมล่าสัตว์” (ตั้งแต่ราว  ๒๐๐,๐๐๐-๗,๐๐๐ ปีมาแล้ว) และพบได้พบหลักฐานสืบต่อกันมา  ทุกยุคสมัย คือสมัยหินใหม่ (ราว ๕,๐๐๐-๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว) จนถึง  ยุคโลหะ (ราว ๒,๐๐๐-๑,๓๐๐ ปีมาแล้ว) ซึ่งรวมเรียกว่า “สังคม  เกษตรกรรม” และได้พัฒนาสู่สังคมเมืองและเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์  ในเวลาต่อมา๑ หลักฐานทางโบราณคดีที่ส�ำคัญ คือ เครื่องมือเครื่องใช้ จ�ำพวก  ขวานหินกะเทาะในสมัยหินเก่าและหินกลาง ขวานหินขัดในสมัยหิน

เครื่องมือหิน  สมัยก่อนประวัติศาสตร์พบที่ เมืองน่าน ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

357


ไป อ. ปางมะผา

ะพาส ถ. ขุนลุมปร

ชมศิลปกรรมไทใหญ่ เมืองแม่ฮ่องสอน

ถ. มรรคสันติ

ถ.

วัดกลางเวียง วัดจองค�ำ วัดจองกลาง วัดพระธาตุดอยกองมู วัดพระนอน วัดก�้ำก่อ วัดกลางทุ่ง

มรร

คส

ันต ิ

คล

ิริมง

ถ. ศ

ถ. ผดุงมวย

ตอ

๔ ๕

ชสา

ถ. ร งุ เรือ งก

ถ. ขุน

ส ลุมประพา

อนุสาวรีย• พระยาสิงหนาทราชา

ถ. น าวาค

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗

ถ. ประชาชนอุทิศ

า รคา

ไปศูนยราชการ จ. แมฮองสอน, อ. ขุนยวม


ทิศเหนือ ุ

หวยน้ำป

ถ. ปางลอน

ิคม

ที่วาการ อ. เมือง

ถ. นิเวศ

ถ. สิง

พิศาล

หนาท

บำรุง

๒ ๓

ผือก ถ. ข ัวเ

ำนา

หนองจองคำ

ญ สถติ ย

ถ. อดุ มชา วนเิ ท ศ

ราชา

สนามบิน

ถ. พ า ณชิ ยว ฒ ั นา

• ตลาด

ถ.


วัดพระธาตุดอยกองมู

พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำเมืองแม่ฮ่องสอน ที่ตั้ง ยอดดอยกองมู ต�ำบลจองค�ำ

วัดพระธาตุดอยกองมูมี “พระธาตุดอยกองมู” เป็นพระธาตุ ศักดิส์ ทิ ธิป์ ระจ�ำเมืองแม่ฮอ่ งสอน ตามประวัตกิ ล่าวว่า วัดนีเ้ ดิมชือ่  วัด ปลายดอย ซึ่งแต่เดิมบริเวณที่สร้างวัดนี้เป็นป่ารกที่โจรกะเหรี่ยงอยู่ อาศัย ผู้ ใหญ่บ้านและชาวบ้านจึงได้ร่วมมือช่วยกันถางป่าให้เตียน เพื่อไม่ให้เป็นที่ซ่องสุมของโจร  ต่อมาคหบดีชาวไทใหญ่นามว่า จองต่องสู่ และภรรยา เห็นว่าบริเวณนี้เป็นพื้นที่ดี เห็นทิวทัศน์สวยงาม จึงได้สร้างพระธาตุขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๓ ด้วยความร่วมมือของชาว บ้ า นและมี ช ่ า งชาวมอญจากเมื อ งมะละแหม่ ง มาสร้ า ง รวมทั้ งได้ อัญเชิญพระธาตุของพระมหาโมคัลลานะจากเมืองมะละแหม่งมา ประดิษฐาน  พระเจดีย์มีฐานกว้าง ๒๐ เมตร สูง ๓๓ เมตร และได้ อัญเชิญพระพุทธรูปจากเมืองมะละแหม่งมาประดิษฐานรอบเจดีย ์ เพือ่ แสดงพุทธประวัตติ อน “สัตตมหาสถาน” คือสถานทีส่ ำ� คัญทัง้ เจ็ดแห่ง ภายหลังการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า๓  อย่างไรก็ตามแม้เจดีย์จะแล้ว เสร็จแต่ยังไม่สมบูรณ์นัก ยังไม่ได้ยกฉัตร เพราะผู้สร้างต้องคดีเกี่ยว กับการค้าไม้และเสียชีวิตในเวลาต่อมา พระเจดีย์จึงถูกทิ้งไว้ระยะ

วัดพระธาตุ ดอยกองมู

500

คู่ มื อ นํ า ช ม ศิ ล ป ก ร ร ม โ บ ร า ณ ใ น ล้ า น น า


หนึ่งจนยอดพระธาตุพังทลายลงมา ต่อมาได้รับการบูรณะจนเสร็จ สมบูรณ์ มีการยกฉัตรเมื่อราว พ.ศ. ๒๔๙๑-๒๔๙๓๔ ในสมัยของพญาสิงหนาทราชา เจ้าเมืองแม่ฮ่องสอนองค์แรก ได้มาสร้างเจดีย์องค์เล็กอีกองค์หนึ่งไว้ใกล้ ๆ ใน พ.ศ. ๒๔๑๗  ตาม ประวัติกล่าวว่า ท่านได้น�ำช่างชาวไทใหญ่มาสร้างและได้พระธาตุของ พระสารีบุตรมาจากเมืองมัณฑเลย์ บรรจุในเจดีย์และมีการยกฉัตร ฉลองเจดีย์ใน พ.ศ. ๒๔๑๘๕

ศิลปกรรมวัดพระธาตุดอยกองมู

วั ด พระธาตุ ด อยกองมู มี พ ระธาตุ ส ององค์   ถื อ เป็ น พระธาตุ ศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำเมืองแม่ฮ่องสอน ในความเป็นพระธาตุแห่งแรกของ เมืองและตั้งอยู่บนเนินเขา น่าจะอิงกับคติของล้านนาและพม่า ที่ เปรียบเทียบพระธาตุเจดียก์ บั เจดียจ์ ฬุ ามณีทอี่ ยูบ่ นสวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์ ตามความเชือ่ เรือ่ งศูนย์กลางจักรวาลคือสวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์  และสอด คล้องกับการสร้างบ้านแปงเมืองที่จะต้องสถาปนาพระธาตุศักดิ์สิทธิ์ ประจ�ำเมืองเพื่อเป็นศูนย์กลางของบ้านเมือง วัดนี้มีสิ่งปลูกสร้างและงานศิลปกรรมที่ส�ำคัญคือพระธาตุสอง องค์  องค์แรก (องค์ใหญ่) สร้างโดยช่างชาวมอญจากเมืองมะละแหม่ง บรรจุพระธาตุของพระโมคัลลานะ  ส่วนองค์เล็กสร้างโดยพญาสิงหนาทราชา เจ้าเมืองแม่ฮ่องสอนองค์แรก ฝีมือช่างชาวไทใหญ่ บรรจุ พระธาตุของพระสารีบุตร

พระธาตุดอยกองมู

รูปแบบศิลปกรรมของพระธาตุองค์ใหญ่ เป็นเจดียท์ รงระฆังแบบ มอญ จัดอยู่ ในกลุ่มเจดีย์ที่มีฐานแปดเหลี่ยม ฐานชั้นล่างประดับซุ้ม จระน�ำทั้งแปดทิศ  ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป  ถัดขึ้นไปเป็นชุด ฐานบัวซ้อนกัน ๓ ชัน้ รองรับบัวปากระฆัง องค์ระฆังขนาดใหญ่ประดับ รัดอก ไม่มบี ลั ลังก์อนั เป็นความนิยมของเจดียแ์ บบมอญ-พม่า  ถัดขึน้ ไปจึงเป็นปล้องไฉน ปัทมบาท ปลี และฉัตรตามล�ำดับ ศ า ส ต ร า จ า ร ย์ ด ร . ศั ก ดิ์ ชั ย ส า ย สิ ง ห์

501


ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

“คู่ มื อ นำ � ชม ศิ ล ปกรรมโบราณในล้ า นนา เป็ น หนังสือที่เรียบเรียงขึ้นเพื่อสื่อสารงานศิลปกรรมของชาว ล้ า นนา สู่ ผู้ ช มจะได้ เ ข้ า ถึ ง ซึ่ ง หลั ก ฐานทางวั ฒ นธรรม ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์  ตัวบทหนังสือประกอบ ด้วย เกริ่นนำ�สังเขปประวัติศาสตร์ล้านนา ภาพรวมของ งานศิลปกรรม ประวัติศาสตร์เมืองและศิลปกรรมที่เป็น ลักษณะเฉพาะของแต่ละเมือง แล้วจึงนำ�ชมวัดวาอาราม ต่ า ง ๆ ในแต่ ล ะเมื อ งทุ ก ยุ ค ทุ ก สมั ย   โดยจะกล่ า วถึ ง ลักษณะรูปแบบศิลปกรรม ทั้งเจดีย์ วิหาร งานประดับ ตกแต่ง จิตรกรรมฝาผนัง การวิเคราะห์ที่มาของรูปแบบ แนวคิด คติการสร้าง การกำ�หนดอายุสมัย ลักษณะทาง ศิลปกรรมที่โดดเด่นและความสำ�คัญของแหล่งศิลปกรรม นั้น ๆ คู่มือนำ�ชม ศิลปกรรมโบราณในล้านนา จึงเหมาะ สำ�หรับคนทั่วไปที่อ่านไปชมไป เพื่อทำ �ความเข้าใจงาน ศิลปกรรม ที่สามารถรับรู้และเข้าถึงได้เอง  นอกจากนี้ยัง ใช้สำ�หรับการเรียนการสอนทางด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ โบราณคดี การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม มัคคุเทศก์ การ จัดการวัฒนธรรม  ใช้เป็นคู่มือนำ�ชมสำ�หรับมัคคุเทศก์ อาชีพได้อย่างเหมาะสม...”

คู่มือนำ�ชม ศิลปกรรมโบราณในล้านนา

รู้จักศิลปะล้านนาผ่านการเที่ยวชมสถานที่สำ�คัญ ๖๕ แหล่งใน ๘ จังหวัดภาคเหนือ  ให้รายละเอียดข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ รูปแบบศิลปะ ที่สำ�คัญและโดดเด่นของแต่ละสถานที่  คู่ มื อ สำ � หรั บ มั ค คุ เ ทศก์   และผู้ ที่ อ ยู่ ใ นสายงานการ ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม  คู่มือที่สามารถใช้เที่ยวชมวัดในภาคเหนือได้ด้วยตนเอง

หมวดประวัติศาสตร์/ศิลปะ ราคา ๖๕๐ บาท ISBN 978-616-465-036-7

สั่งซื้อออนไลน์ที่ @sarakadeemag

ล้านนา คู่มือน�ำชม  ศิลปกรรมโบราณใน

ศ า ส ต ร า จ า ร ย์   ด ร .  ศั  ก ดิ์  ชั  ย  ส า ย สิ  ง ห์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.