สัตตมหาสถาน

Page 1

-

-

- -

หมวดศิลปะ ราคา ๓๘๐ บาท

พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับ ศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์

พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์ ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร เชษฐ์ ติงสั ชลี

ู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร เชษฐ์ ติงสั ชลี

สัตตมหาสถาน คือ สถานที่ 7 แห่งที่พระพุทธเจ้าทรงเสวยวิมุตติสุขภายหลังที่ทรงตรัสรู้  ศิลปกรรมจากดินแดนพุทธภูมิในประเทศอินเดียสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  สถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม

สัตตมหาสถาน :

สัตตมหาสถาน


หนังสือ

- - สัตตมหาสถาน   พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับ ศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์ ู้เขียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี พิมพ์ครั้งแรก  มีนาคม 2555 จานวนพิมพ์  2 ๐๐๐ เล่ม ราคา ๓๘๐ บาท  สงวนลิขสิทธิโดยส�านักพิมพ์เมืองโบราณ ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด บรรณาธิการเล่ม  าพประกอบ  ออกแบบปก รูปเล่ม  ควบคุมการ ลิต  แยกสี เพลต  พิมพ์ที่ จัดจาหน่าย

วรินวิตตา ดารามาตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี น มล ต่วนภูษา ธนา วาสิกศิริ เอ็นอาร์.  ล์ม  โทร ๐-2215-755๙ ด่านสุทธาการพิมพ์  โทร ๐-2๙๖๖-1๖๐๐-๖ บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด 2๘  ๓๐ ถนนปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 1๐2๐๐ โทร. ๐-22๘1-๖11๐  อัตโนมัติ โทรสาร ๐-22๘2-7๐๐๓ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ เชษฐ์ ติงสัญชลี.   สัตตมหาสถาน   พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดีย   และเอเชียอาร์คเนย์. -- กรุงเทพฯ   เมืองโบราณ  2555.   ๓๘4 หน้า.   1. ประติมากรรมพุทธศาสนา  2. ศิลปกรรมอินเดียกับพุทธศาสนา   ๓. ศิลปกรรมพุทธศาสนา   . ชื่อเรื่อง 2๙4.๓1๘72   - - -

สานักพิมพ์เมืองโบราณ  ในนาม บริษัทวิริยะธุรกิจ จ� ากัด   2๘  ๓๐ ถนนปรินายก แขวง บ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 1๐2๐๐  โทร. ๐-22๘1-๖11๐  อัตโนมัติ  โทรสาร  ๐-22๘2-7๐๐๓   อู้ านวยการ สุวพร ทองธิว   จู้ ดั การทัว่ ป อู้ านวยการ ายศิลป จ�านงค์ ศรีนวล ู้อานวยการ ายการตลาดและ ายประชาสัมพันธ์ ปฏิมา หนูไชยะ  บรรณาธิการสานักพิมพ์ อภิวันทน์ อดุลยพิเชฏฐ์  ที่ปรึกษาก หมาย สมพจน์ เจียมพานทอง 2 สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


สานึกในพระมหากรุณาธิคุณ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานทุนเล่าเรียนจาก มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี แก่ข้าพระพุทธเจ้า ในการ ศึกษาต่อในระดับปริญญาดุษ ีบัณฑิต ในสาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ ที่สถาบัน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแห่งประวัติศาสตร์ศิลปะ การอนุรักษ์ และพิพิธภัณฑสถาน วิทยา กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ตั้งแต่ พ.ศ. 254๖-254๙  ข้าพระพุทธเจ้า ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส กราบถวายบังคมด้วยรู้สึกซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้

ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า นายเชษฐ์ ติงสัญชลี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี


คานาสานักพิมพ์

ส�าหรับผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา คงจะคุ้นเคยกับพุทธประวัติของพระพุทธองค์  นับตั้งแต่ตอนประสูติเป็นเจ้าชายสิทธัตถะ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา จนถึงเสด็จ  ปรินิพพาน  ทั้งนี้เรื่องราวการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้านับว่าเป็นพุทธประวัติส�าคัญ  ตอนหนึ่ง  แต่เรื่องราวการเสวยวิมุตติสุขตลอด 7 สัปดาห์หลังที่ทรงตรัสรู้นั้นกลับ  ไม่เป็นทีแ่ พร่หลายมากนัก ซึง่ ทัง้ ทีม่ เี รือ่ งราวบันทึกไว้ในคัมภีรห์ ลายเล่ม และถ่ายทอด  ออกมาในรูปแบบงานศิลปกรรม ทั้งในงานจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตย-  กรรม ตั้งแต่สมัยหลังพุทธกาลในดินแดนพุทธภูมิอย่างประเทศอินเดีย และส่งต่อ  คติความเชื่อนี้มาสู่หลายดินแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หนังสือ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรม อินเดียและเอเชียอาคเนย์ ผลงานของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี แห่งภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร  เป็นงาน  ศึกษาเรื่องราว ความหมายของการเสวยวิมุตติสุขใน 7 สัปดาห์ของพระพุทธองค์  อย่างละเอียด โดยผู้เขียนได้วิเคราะห์เรื่องราวพุทธประวัติตอนนี้จากคัมภีร์ต่างๆ ทั้ง  ในพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน  ที่น่าสนใจคือ การวิเคราะห์ความเป็นมา  และการคลี่คลายของรูปแบบศิลปะ สถาปัตยกรรม และต� าแหน่งที่ตั้งของสัตต-  มหาสถาน คื อ  ต� า แหน่ ง ที่ พ ระพุทธองค์ทรงเสวยวิมุตติสุขทั้งเจ็ดแห่งในปัจจุบัน  ณ ประเทศอินเดีย และสัตตมหาสถานที่สร้างในดินแดนที่เลื่อมใสพุทธศาสนาใน  เอเชียอาคเนย์ ได้แก่ ศรีลังกา อินโดนีเซีย ไทย พม่า และลาว หนังสือเล่มนี้ไม่เพียงแต่ให้ความเข้าใจเรื่องราวทางโบราณคดีและศิลปะ  ในพุทธศาสนาเท่านั้น  แต่การศึกษาเปรียบเทียบ “สัตตมหาสถาน” ที่ปรากฏใน  งานศิลปกรรมของอินเดียอันเป็นต้นก�าเนิดพุทธศาสนาและหลายดินแดนในเอเชีย  อาคเนย์ของหนังสือเล่มนี้ ยังแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้คนต่างถิ่นผ่าน  คติ ค วามเชื่ อ ที่ มี ร่ ว มกั น  ทว่ า มี รู ป แบบของงานศิ ล ปกรรมที่ แ ตกต่ า งกั น ไปแต่ ล ะ  ท้องถิ่นแต่ละสังคม ซึ่งสะท้อนถึงการผสานศรัทธากับการสร้างสรรค์งานศิลปกรรม  อันเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละดินแดนเช่นกัน

ส�านักพิมพ์เมืองโบราณ กุมภาพันธ์ 2555

4 สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


คานา ู้เขียน

หนังสือเรื่อง สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลป กรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์ เล่มนี้ เป็นเนื้อหาโดยสังเขปจากวิทยานิพนธ์ระดับ ดุษ บี ณ ั ฑิตทีเ่ ขียนเป็นภาษาอังก ษ เรื่อง                         ซึ่งกระผมได้เสนอต่อ  สถาบันพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติแห่งประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะ การอนุรกั ษ์ และพิพธิ ภัณฑ-  สถานวิทยา                     กรุงนิวเดลี ประเทศอินเดีย ใน พ.ศ. 254๙ กระผมจึงขอร�าลึกถึงพระคุณของศาสตราจารย์ โลเกศ จันทรา อาจารย์   ที่ปรึกษาซึง่ ได้กรุณาให้คา� แนะน�าทีเ่ ป็นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการศึกษามาตลอด  นอก  จากนี้ขอกราบขอบพระคุณคณาจารย์ในสถาบันพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ โดยเฉพาะ  รองศาสตราจารย์ อรรปุถราณี เสนคุปตะ และรองศาสตราจารย์ ปารุล ปาณฑยธรร  ผู้ให้ความรู้และความช่วยเหลือกระผมด้วยดีตลอดระยะเวลาที่กระผมเรียนอยู่ที่  อินเดีย ขอกราบขอบพระคุ ณ ศาสตราจารย์ เ กี ย รติ คุ ณ  คุ ณ หญิ ง ไขศรี  ศรี อ รุ ณ  เลขานุการมูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ที่ได้ให้ความ  กรุณาช่วยเหลือกระผมในการศึกษาต่อ ณ ประเทศอินเดีย รวมถึงขอขอบพระคุณ  คณาจารย์ในคณะโบราณคดีทุกท่าน โดยเฉพาะศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สันติ  เล็กสุขุม  ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. ผาสุข อินทราวุธ  ดร. นันทนา ชุติวงศ์ และ  ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิชัย สายสิงห์ ที่ได้กรุณาให้ความรู้และความช่วยเหลือด้วยดี  เสมอมา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

5


สารบั

ส�านึกในพระมหากรุณาธิคุณ  ค�าน�าส�านักพิมพ์  ค�าน�าผู้เขียน

๓ 4 5

บทนา

๑๒

บทที่ ๑

๒๒

วินัยป ก าษาบาลี วินัยของมูลสรรวาสติวาท พุทธจริต มหาวัสดุ ลลิตวิสตระ สมันตปาสาทิกา นิทานกถา ชินจริต สม ารวิบาก ปฐมสมโพธิ บับล้านนา ชินมหานิทาน ปฐมสมโพธิ บับสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๙ ๓๒ ๓๔ ๓๘ ๓๙ ๔๑ ๔๓ ๔๖

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสัตตมหาสถาน และการเสวยวิมุตติสุข ๗ สัปดาห์ของพระพุทธเจ้า เรื่องราวของสัตตมหาสถาน ในคัม ีร์ทางพุทธศาสนา

๖ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


บทที่ ๒

๕๐

พั นาการของการจัดเรียงเหตุการณ์และข้อสังเกตเบื้องต้นอื่น  คัมภีร์วินัยป กภาษาบาลี     คัมภีร์กึ่งมหายานและมหายาน     คัมภีร์อรรถกถาลังกา     คัมภีร์พุทธประวัติที่แต่งในประเทศไทย  พั นาการของตาแหน่งสถานที่เสวยวิมุตติสุข    ต�าแหน่งของสัตตมหาสถานในอรรถกถาลังกา   ต�าแหน่งของสัตตมหาสถานในคัมภีร์พุทธประวัติ     ที่แต่งในประเทศไทย พั นาการของเรื่องราวการเสวยวิมุตติสุขในแต่ละสัปดาห์    พั นาการของโพธิบัลลังก์     พั นาการของอนิมิสเจดีย์     พั นาการของรัตนจงกรมเจดีย์     พั นาการของรัตนฆรเจดีย์     พั นาการของอชปาลนิโครธ และการผจญของมาร     และธิดามารภายหลังการตรัสรู้    พั นาการของมุจลินท์     พั นาการของราชายตนะ

๕๑ 51 51 ๖๐ ๖7 ๗๑ 71 72

การวิเคราะห์พั นาการของสัตตมหาสถาน ในคัม ีร์ทางพุทธศาสนา

๗๔ 74 75 77 7๘ 7๙ ๘2 ๘๓

บทที่ ๓

๘๗

การเสวยวิมุตติสุขกับการแสดงฐานะโลกุตระของพระพุทธเจ้า  พระพุทธเจ้าในฐานะผู้ชนะพญามารและธิดามาร     พระพุทธเจ้าในฐานะผู้อยู่เหนือเทวดาทั้งหลาย

๘๘ ๘๘ ๙2

ความหมายทางประติมานวิทยา ของพุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุข

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

7


พระพุทธเจ้าในฐานะศูนย์กลางจักรวาล     พระพุทธเจ้าในฐานะผู้เปล่งรัศมี     พระพุทธเจ้าในฐานะพระจักรพรรดิผู้ประทับบนราชบัลลังก์  การเสวยวิมุตติสุขกับการดูดกลืนลัทธิดั้งเดิมของอินเดีย    การดูดกลืนลัทธินับถือยักษ์     การดูดกลืนลัทธินับถือต้นไม้     การดูดกลืนลัทธินับถือนาค

๙5 ๙๖ ๙7 ๙๘ ๙๘ ๙๘ 1๐1

บทที่ ๔

๑๐๖

สถาปตยกรรมและประติมากรรมที่สัตตมหาสถาน พุทธคยา    สัตตมหาสถานที่ไม่มีปัญหา     สัตตมหาสถานที่มีปัญหา     สัตตมหาสถานที่หายไปอย่างสิ้นเชิง  าพสลักเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขในศิลปะศุงคะ คันธาระ มถุรา และอมราวดี    ภาพเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขในศิลปะศุงคะ     ภาพเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขในศิลปะคันธาระและมถุรา     ภาพเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขในศิลปะอมราวดี

๑๐๗ 112 12๖ 1๓๖ ๑๔๔

บทที่ ๕

๑๖๖

าพสลักเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขในศิลปะลังกา สมัยอนุราธปุระและโปลนนารุวะ    ภาพจิตรกรรมที่หินทคลวิหาร       พระพุทธรูปแสดงมุทราไขว้พระหัตถ์ไว้ที่พระอุระในศิลปะลังกา     ข้อสังเกตเพิ่มเติมของศิลปกรรมตามคติสัตตมหาสถาน

๑๖๗

สัตตมหาสถานในศิลปะอินเดีย

สัตตมหาสถานในศิลปะลังกาและเอเชียอาคเนย์ ก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙

๘ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์

144 15๓ 15๙

1๖7 1๖๘ 1๘๐


ในศิลปะลังกาก่อนพุทธศตวรรษที่ 1๙ าพสลักเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขในศิลปะทวารวดี    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับใบเสมาเล่าเรื่องอนิมิสเจดีย์     ที่วัดบึงขุมเงิน จ. ยโสธร    ความส�าคัญของใบเสมาวัดบึงขุมเงินกับประติมานวิทยา     ของภาพเล่าเรื่องอนิมิสเจดีย์ าพสลักเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขที่บุโรพุทโธในศิลปะชวา าคกลาง    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบุโรพุทโธและภาพสลักพุทธประวัติ     ภาพเล่าเรื่องสัตตมหาสถานที่บุโรพุทโธ     ความส�าคัญทางประติมานวิทยาของภาพเล่าเรื่องสัตตมหาสถาน     ที่บุโรพุทโธ าพสลักเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขในศิลปะพม่าสมัยพุกาม    พระพุทธรูปเล่าเรื่องพุทธประวัติจากทางประทักษิณ     ของอานันทเจดีย ์ ประเทศพม่า    จิตรกรรมพุกาม       พระพุทธรูป 14 ปางซึ่งสลักจากหินอังดากู     พระพิมพ์  สรุปสัตตมหาสถานในศิลปะลังกาและเอเชียอาคเนย์ ก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙

๑๘๒ 1๘๓ 1๘๓ ๑๘๕ 1๘5 1๘5 1๙4 ๑๙๕ 1๙5 2๐๐ 2๐7 21๓ ๒๑๗

บทที่ ๖

๒๒๑

ศิลปะลังกา : คติสัตตมหาสถานในจิตรกรรมสมัยแคนดี    ข้อมูลเบื้องต้นของจิตรกรรมสัตตมหาสถานในศิลปะแคนดี     ประติมานวิทยาของภาพเล่าเรื่องสัตตมหาสถานในศิลปะแคนดี  ศิลปะพม่า : คติสัตตมหาสถานในจิตรกรรมสมัยอังวะและมัณ เล    ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับจิตรกรรมที่น�ามาใช้ศึกษา

๒๒๒ 222 2๓2 ๒๓๘ 2๓๘

สัตตมหาสถานในประติมากรรม และจิตรกรรมในศิลปะลังกาและเอเชียอาคเนย์ ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๙ เปนต้นมา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี


ประติมานวิทยาของภาพเล่าเรื่องสัตตมหาสถาน     ในจิตรกรรมพม่าสมัยอังวะและมัณฑเล คติสัตตมหาสถานในจิตรกรรมและประติมากรรมของศิลปะล้านนา และศิลปะล้านช้าง    กลุ่มพระพุทธรูปแสดงมุทราไขว้พระหัตถ์ไว้ที่พระอุทร     ในศิลปะล้านนาและศิลปะล้านช้าง    จิตรกรรมลายทองในวัดปราสาท จ. เชียงใหม่     และจิตรกรรมวัดทุ่งศรีเมือง จ. อุบลราชธานี คติสัตตมหาสถานในจิตรกรรมและประติมากรรมอยุธยา    สมัยอยุธยาตอนต้น   วัดราชบูรณะ จ. พระนครศรีอยุธยา     สมัยอยุธยาตอนปลาย   วัดเกาะแก้วสุทธาราม จ. เพชรบุรี  คติสัตตมหาสถานในจิตรกรรมและประติมากรรมรัตนโกสินทร์    การประดิษฐ์ปางใหม่โดยสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส     และประติมากรรมในหอราชกรมานุสรณ์    ประติมากรรมและจิตรกรรมสมัยรัตนโกสินทร์     ที่แสดงคติสัตตมหาสถาน สรุปพั นาการของ าพเล่าเรื่องสัตตมหาสถาน ในจิตรกรรมและประติมากรรมลังกาและเอเชียอาคเนย์ หลังพุทธศตวรรษที่ ๑๙

241 ๒๔๗ 247 24๙ ๒๖๒ 2๖2 2๖๘ ๒๗๕ 275 2๘2 ๒๙๕

บทที่ ๗

๓๐๐

วัดมหาโพธาราม (วัดเจ็ดยอด) จ  เชียงใหม่    ข้อมูลทางประวัติศาสตร์     ประติมานวิทยาเกี่ยวกับต�าแหน่งที่ตั้งของสัตตมหาสถานจ�าลอง     รูปแบบและประติมานวิทยาของสัตตมหาสถานจ�าลองแต่ละแห่ง     สัตตมหาสถานจ�าลองที่วัดมหาโพธาราม   ประติมานวิทยา     และเหตุผลทางการเมือง

๓๐๒ ๓๐2 ๓๐2 ๓1๖ ๓๓2

การจาลองสถาปตยกรรม ตามคติสัตตมหาสถานในเอเชียอาคเนย์

1๐ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


ชเวกูจี เมืองหงสาวดี  ข้อมูลทางประวัติศาสตร์     ประติมานวิทยาเกี่ยวกับต�าแหน่งที่ตั้งและรูปแบบ     ของสัตตมหาสถานจ�าลอง    การศึกษาในประเด็นอื่นๆ เกี่ยวกับสัตตมหาสถานจ�าลอง     ที่ชเวกูจี วัดพระธาตุบังพวน จ  หนองคาย    ข้อมูลประวัติศาสตร์     ประติมานวิทยาเกี่ยวกับต�าแหน่งที่ตั้งของสัตตมหาสถานจ�าลอง     รูปแบบและประติมานวิทยาของสัตตมหาสถานจ�าลองแต่ละแห่ง     สัตตมหาสถานจ�าลองที่วัดพระธาตุบังพวน   ประติมานวิทยา     และเหตุผลทางการเมือง วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ    รูปแบบและประติมานวิทยาของสัตตมหาสถานจ�าลองแต่ละแห่ง     การศึกษาทางประติมานวิทยาของสัตตมหาสถานจ�าลอง     ที่วัดสุทัศนเทพวราราม สรุปการจาลองสถาปตยกรรมตามคติสัตตมหาสถาน ในเอเชียอาคเนย์ บรรณานุกรม

๓๓๔ ๓๓4 ๓๓4 ๓41 ๓๔๔ ๓44 ๓45 ๓4๘ ๓57 ๓๕๙ ๓5๙ ๓7๐ ๓๗๖ ๓๘๐

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

11


บทนา

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ สัตตมหาสถาน และการเสวยวิมตุ ติสขุ ๗ สัปดาห์ ของพระพุทธเจ้า

12 สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


อาจกล่าวได้ว่า พุทธประวัติตอน “ตรัสรู้” เป็นพุทธประวัติที่ส�าคัญที่สุดตอนหนึ่ง  เนื่องจากเป็นจุดเปลี่ยนส�าคัญที่ท�าให้เจ้าชายสิทธัตถะผู้ซึ่งเป็นเพียงบุคคลธรรมดา  กลายเป็น “พระพุทธเจ้า” ผูอ้ ยูเ่ หนือโลก คัมภีรพ์ ทุ ธประวัตทิ มี่ กี ารแต่งขึน้ รวมถึงงาน  ศิลปกรรมทางพุทธศาสนา ไม่วา่ จะอยูใ่ นช่วงเวลาหรือในดินแดนใด ก็มกั ให้ความส�าคัญ  กับพุทธประวัติตอนนี้เป็นพิเศษเสมอ ภายหลังการตรัสรู ้ เป็นช่วงระยะทีพ่ ระพุทธองค์ทรงเสวยวิมตุ ติสขุ  หรือสมาธิ  อันบรมสุขที่เกิดขึ้นจากการหลุดพ้นจากวัฏสงสาร  วิมุตติ   หลุดพ้น  การเสวย  วิมุตติสุขตลอด 7 สัปดาห์นั้น พระองค์ทรงท�าสมาธิในอิริยาบถต่างๆ กัน ทั้งประทับ  นั่ง ประทับยืน และด�าเนิน ทั้งนี้ต�าแหน่งของการเสวยวิมุตติสุขทั้งเจ็ดแห่ง หรือที่เรียกว่า “สัตตมหา-  สถาน”  สัตตะ   เจ็ด   มหา   ยิ่งใหญ่  สัตตมหาสถาน แปลว่า สถานที่อันยิ่งใหญ่  7 แห่ง นั้น การเสวยวิมุตติสุขสัปดาห์แรกเกิดขึ้น ณ โคนต้นพระศรีมหาโพธิ ส่วน  ต�าแหน่งของการเสวยวิมุตติสุขในสัปดาห์อื่นๆ กระจายอยู่ในทิศทางต่างๆ โดยรอบ  ต้นพระศรีมหาโพธิ ระยะนีเ้ องทีใ่ นคัมภีรร์ ะบุวา่ ได้เกิดปาฏิหาริยอ์ นั น่าอัศจรรย์ตา่ งๆ จ�านวนมาก  ซึ่งแสดงโดยพระพุทธองค์หรือบรรดาเทวดา การเสวยวิมุตติสุขในแต่ละสัปดาห์ล้วนแต่มีชื่อภาษาบาลีก�าหนด ซึ่งชื่อที่  เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปในบรรดาผู้นับถือพุทธศาสนาเถรวาทในเอเชียอาคเนย์หลัง  พุทธศตวรรษที ่ 1๙ ลงมานัน้  ล้วนเป็นชือ่ ทีไ่ ด้รบั การระบุไว้ในคัมภีร ์ สมันตปาสาทิกา และ นิทานกถา  ในบทน�าของอรรถกถาชาดกซึ่งแต่งขึ้นในศรีลังกาสมัยอนุราธปุระ  ราวพุทธศตวรรษที่ 1๐

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

1๓


บทที่ ๑

เรื่องราวของสัตตมหาสถาน ในคัม ีร์ทางพุทธศาสนา

พุทธประวัติตอนสัตตมหาสถานได้รับการแต่งขยายมาตลอด  2 ๐๐๐ ปของประวัตศิ าสตร์คมั ภีรท์ างพุทธศาสนา ปรากฏทัง้ ใน  คัมภีรท์ เี่ ขียนขึน้ เพือ่ เล่าเรือ่ งพุทธประวัตโิ ดยเฉพาะและคัมภีรอ์ นื่ ๆ  ที่มีพุทธประวัติแทรก โดยคัมภีร์หลักๆ ที่ปรากฏพุทธประวัติ  ตอนสัตตมหาสถานซึง่ จะใช้ในการศึกษามีจา� นวน 12 เล่ม ดังนี้  วินยั ป ก า าบา  ี  วินยั ของมู สรรวาสติวาท  พุทธ ริต  มหา-  วัสดุ   ติ วิสตระ  สมันตปาสาทิกา  นิทานกถา  ชิน ริต  สม าร-  วิบาก  ปฐมสมโพธิฉ์ บับ า้ นนา  ชินมหานิทาน  และ ปฐมสมโพธิ ์ ฉบับสมเด  กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

22 สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


วินัยป ก าษาบาลี

พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขที่เก่าแก่ที่สุดปรากฏอยู่ในคัมภีร์วินัยป ก  เล่ม ๓ มหาวรร   อนึ่ง  . .   1 กล่าวว่า เนื่องจากคัมภีร์มหาวรร  ต้องการ  กล่าวถึงประวัติของการสถาปนาสถาบันพระสงฆ์ ดังนั้นพุทธประวัติตั้งแต่ตอนหลัง  ตรัสรู้ตอนเสวยวิมุตติสุข จนถึงตอนอัครสาวก จึงปรากฏเป็นส่วนหนึ่งในคัมภีร์เล่มนี้  ส่วนอายุของคัมภีรน์ นั้   . .   2 เสนอว่าคัมภีรค์ งมีการแต่งเพิม่ เติมมาเรือ่ ยๆ จนถึง  สมัยการสังคายนาครั้งที่ 2  พุทธศตวรรษที่ 1 ถ้าข้อสันนิษฐานนี้เป็นจริง ย่อมแสดงว่า พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุข  ทีป่ รากฏในคัมภีรว์ นิ ยั ป กมีอายุเก่าแก่ไปถึงพุทธศตวรรษที ่ 1 ด้วย นับเป็นพุทธประวัติ  ตอนเสวยวิมุตติสุขที่เก่าแก่ที่สุดเท่าที่ยังคงหลงเหลือหลักฐานอยู่ในปัจจุบัน พุทธประวัตติ อนเสวยวิมตุ ติสขุ ในคัมภีรว์ นิ ยั ป กปรากฏอยูเ่ พียง 4 สัปดาห์  เท่านั้น โดยมีรายละเอียดดังนี้ โพธิกถา  หลังการตรัสรู ้ พระพุทธองค์ยงั คงประทับนัง่ อยูภ่ ายใต้ตน้ พระศรี-  มหาโพธิริมแม่น�้าเนรัญชรา ต�าบลอุรุเวลา เสวยวิมุตติสุขเป็นเวลา 7 วัน ในขณะ  เดียวกันทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท จากนั้นทรงอุทาน ๓ ครั้งว่า  โดยย่อ   เม่อ  ู้ใดเข้าใ ธรรมะ  วามสงสัยของเขา ะถูกทา าย ปเพราะเขาเข้าใ ในสาเหตุ หง  การเกิดทุกข เม่อเขาทา ายสาเหตุ หงการเกิดทุกขนัน เขาก ะชนะพ ามารประหน่ง  ดวงอาทิตยสองสวางในท้อง า อชปาลนิโครธกถา  จากนัน้ พระพุทธองค์ทรงประทับนัง่ ท�าสมาธิใต้ตน้ ไทรของ  คนเลี้ยงแพะตลอด 7 วัน ในขณะนั้นพราหมณ์ชื่อ “หุหุงกชาติกะ” ทูลถามพระองค์  เกี่ยวกับคุณสมบัติของพราหมณ์ที่แท้จริง พระพุทธองค์ตรัสอุทานว่า  โดยย่อ   พราหม ที่ ท้ ริง อ ู้ที่ปราศ าก วามชั่วทังปวง  มตวาด นดัง หห มุจลินทกถา  พระพุทธองค์เสด็จไปประทับนั่งสมาธิใต้ต้นมุจลินท์  ต้นจิก   ตลอด 7 วัน ขณะนั้นได้เกิดพายุ นหลง ดูข้ึน พญานาคชื่อมุจลินท์ออกจากที่อยู่  ของตน ได้ขดกาย 7 รอบและแผ่พงั พานปรกพระเศียรพระพุทธองค์เพือ่ ป้องกันพายุ น  มุจลินทนาคราชค�านึงว่า  โดยย่อ   ขออยาให้ วามหนาว  วามร้อน ยุง  ม ง  ม  รบกวนพระอง  หลังจาก นหยุด มุจลินทนาคราชได้แปลงตนเป็นมาณพหนุม่ มาถวาย  อัญชลีพระพุทธเจ้า ราชายตนกถา  พระพุทธองค์เสด็จไปประทับนั่งท�าสมาธิใต้ต้นราชายตนะ  ต้นเกด  ตลอด 7 วัน ขณะนัน้ พ่อค้า 2 คน ชือ่ ตปุสสะและภัลลิกะซึง่ มาจากอุกกละ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

2๓


บทที่ ๒

การวิเคราะห์พั นาการ ของสัตตมหาสถาน ในคัม ีร์ทางพุทธศาสนา

เช่นเดียวกับพุทธประวัติตอนอื่นๆ พุทธประวัติตอนสัตตมหา-  สถานหรือการเสวยวิมุตติสุข 7 สัปดาห์ของพระพุทธเจ้า ได้รับ  การแต่งและขยายเพิ่มเติมอยู่อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่พระไตรป ก  ลงมาจนถึงกลุม่ คัมภีรม์ หายาน อรรถกถาลังกา และคัมภีรท์ แี่ ต่ง  ในประเทศไทย

5๐ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


พั นาการของการจัดเรียงเหตุการณ์ และข้อสังเกตเบื้องต้นอื่น พั นาการของการจัดเรียงเหตุการณ์และข้อสังเกตเบื้องต้นอื่นๆ ของพุทธ-  ประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขนั้นแบ่งออกได้ 4 ขั้นพั นาการใหญ่ๆ คือ

คัม ีร์วินัยป ก าษาบาลี

ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วว่า พุทธประวัตติ อนเสวยวิมตุ ติสขุ ใน วินยั ป ก า าบา ี  เป็นพุทธประวัติตอนนี้ที่เก่าที่สุด การจัดเรียงเหตุการณ์ของพุทธประวัตติ อนเสวยวิมตุ ติสขุ ใน วินยั ป ก า า  บา ี อาจตั้งข้อสังเกตได้ดังนี้ 1  จานวนสัปดาห์  จ�านวนสัปดาห์แห่งการเสวยวิมุตติสุขยังคงมีเพียง 4  สัปดาห์ แสดงให้เห็นว่าการเสวยวิมุตติสุข 4 สัปดาห์นี้เป็น “ลักษณะเก่า” แตกต่าง  ไปจากคัมภีร์รุ่นหลังที่มักกล่าวถึงการเสวยวิมุตติสุข 7 สัปดาห์แล้ว 2  อิรยิ าบถในการเสวยวิมตุ ติสขุ   ใน วินยั ป ก า าบา  ี ปรากฏเฉพาะ  การท�าสมาธิโดยการ “นั่งใต้ต้นไม้” เท่านั้น คือ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ ต้นอชปาล-  นิโครธ ต้นมุจลินท์ และต้นราชายตนะ  น่าสังเกตว่ายังไม่ปรากฏการท�าสมาธิแบบยืน  และเดินที่ปราศจากต้นไม้ ๓  การระบุตาแหน่งสถานที่เสวยวิมุตติสุข  ใน วินัยป ก า าบา ี ยัง  ไม่มีการระบุว่าสถานที่เสวยวิมุตติสุขแห่งใดอยู่ ณ ทิศใดจากต้นพระศรีมหาโพธิ

คัม ีร์กึ่งมหายานและมหายาน

ในกลุม่ นีค้ มั ภีร ์ 5 เล่มได้กล่าวถึงพุทธประวัตติ อนเสวยวิมตุ ติสขุ  คือ คัมภีร ์ วินัยของมู สรรวาสติวาท พุทธ ริต มหาวัสดุ และ  ิตวิสตระ ซึ่งจะได้น�าเสนอ  ตามล�าดับไป

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

51


บทที่ ๔

สัตตมหาสถานในศิลปะอินเดีย

ศิลปะทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับคติสตั ตมหาสถานปรากฏขึน้ เป็นครัง้ แรกใน  ศิลปะอินเดีย โดยปรากฏทัง้ ในสถาปัตยกรรมและประติมากรรม ส�าหรับสถาปัตยกรรมนั้น สถานที่ 7 แห่งรอบพุทธคยา  ซึ่งเชื่อว่าเป็นต�าแหน่งที่พระพุทธองค์เสวยวิมุตติสุข เป็นสถา-  ปั ต ยกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ คติ สั ต ตมหาสถานโดยตรง  ส่ ว น  ประติมากรรมนัน้ พบจ�านวนมากในภาพสลักเล่าเรือ่ งตัง้ แต่ศลิ ปะ  สมัยศุงคะ คันธาระ มถุรา และอมราวดี ศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับคติสัตตมหาสถานในศิลปะอินเดีย  จึงอาจแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้

1๐๖ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


สถาปตยกรรมและประติมากรรม ที่สัตตมหาสถาน พุทธคยา หลั ง จากการขุ ด แต่ ง รอบวิ ห ารมหาโพธิ ที่ พุ ท ธคยา ประเทศอิ น เดี ย  พบ  โบราณสถานจ�านวนมาก ( น งั ที ่ ๑-๒) ซึง่ โบราณสถานเหล่านี ้ ส่วนหนึง่ คงมีความ  เกี่ยวข้องกับคติสัตตมหาสถานที่พระพุทธองค์เสวยวิมุตติสุขภายหลังการตรัสรู ้ อย่างไรก็ตามเนื่องจากไม่ปรากฏจารึกที่ระบุอย่างชัดเจนว่า โบราณสถานแห่งใด  คือสัตตมหาสถานแห่งใดโบราณสถานเหล่านี้จึงมีปัญหาในการตีความ

ทิศเหนือ

วิหารตาราเทวี

แ น ังที่ ๑ แผนผังกลุ่มโบราณสถานที่พุทธคยา ประเทศอินเดีย (ที่มา :    .  ,                  ,  .

.)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

1๐7


สัตตมหาสถานที่ ม่มีป หา

สัตตมหาสถานที่ไม่มีปัญหา ได้แก่ สัตตมหาสถาน 2 แห่ง คือ โพธิบัลลังก์  และรัตนจงกรมเจดีย์

โพธิบัลลังก์

โพธิบัลลังก์มีอีกชื่อหนึ่งว่า วัชราสน หรืออาสนะเพชร ในทางประติมาน-  วิทยา เนือ่ งจากพระพุทธองค์ทรงตรัสรูด้ ว้ ยพระทัยทีเ่ ด็ดเดีย่ ว ไม่หวัน่ ไหวต่อการผจญ  ของกองทัพมาร ประดุจเพชรแข็งที่ไม่อาจท�าลายได้ บัลลังก์ที่พระองค์ประทับจึงมี  ชื่อว่า วัชราสน ประเด็นที่น่าสนใจก็คือ วัชราสน์ที่พุทธคยามี 2 ต�าแหน่ง คือ วัชราสน  ายนอก ซึ่งได้แก่ บัลลังก์ศิลาภายใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ กับวัชราสน ายใน ได้แก่  พระพุทธรูปภายในครรภค หะของวิหารมหาโพธิ  น่าสังเกตว่าในขณะที่วัชราสน์  ภายในอยู่ ณ ต�าแหน่งกึ่งกลางของรั้วเวทิกา วัชราสน์ภายนอกกลับอยู่เยื้องไปทาง  ด้านหลัง การปรากฏวัชราสน์สองต�าแหน่งนีท้ า� ให้เกิดปัญหาว่า ต�าแหน่งทีพ่ ระพุทธองค์  ทรงตรัสรู้และเสวยวิมุตติสุขในสัปดาห์แรกนั้นควรเป็นวัชราสน์ใด

ประวัติและการวิเคราะห์วัชราสน์ทั้งสองตาแหน่ง

- วัชราสน์ ายนอก (๑) ข้อมูลเบื้องต้นและรูปแบบศิลปะของวัชราสน์ ายนอก วัชราสน์ภายนอกตั้งอยู่ด้านหลังวิหารมหาโพธิภายใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ  ต้นปัจจุบัน (รูปที่ ๑) มีลักษณะเป็นแท่นบัลลังก์ศิลาที่ประดับด้วยลายพันธุ์พ กษา  สลับกับหงส์จิก (รูปที่ ๒) จากการศึกษารูปแบบศิลปกรรมของลวดลายที่ปรากฏบนแท่นบัลลังก์ศิลา  พบว่าสามารถก�าหนดอายุไปได้ถึงศิลปะสมัยราชวงศ์เมารยะ เนื่องจากลวดลาย  รูปพันธุ์พ กษาสลับกับหงส์จิกนั้นเทียบได้กับลายบนหัวเสาพระเจ้าอโศกบางต้น  ๓  และจากบันทึกของหลวงจีนเหี้ยนจังได้กล่าวว่า วิหารมหาโพธิหลังแรกสร้างขึ้นใน  รัชกาลพระเจ้าอโศกมหาราช จึงเป็นไปได้วา่ แท่นบัลลังก์ศลิ านีอ้ าจสร้างขึน้ ในรัชกาลนี้ (๒) ป หาเกี่ยวกับตาแหน่งดั้งเดิมของแท่นบัลลังก์ศิลา ผู้แสวงบุญในปัจจุบันเชื่อว่าวัชราสน์ภายนอกเป็นจุดที่พระพุทธองค์ตรัสรู้  112 สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


รูปที่ ๑ ต้นพระศรีมหาโพธิ อันเป็นต�าแหน่ง วัชราสน์ภายนอก

รูปที่ ๒ บัลลังก์ศิลาภายใต้ ต้นพระศรีมหาโพธิ ศิลปะสมัยราชวงศ์เมารยะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

11๓


“ศาลา” ในศิลปะปัลลวะนี้มีโดมรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเป็นหลังคาที่ด้านหน้าและด้านหลัง  ขนาบด้วยกูฑขุ นาดใหญ่  ด้านบนสุดบนสันหลังคาประดับบราลีเรียงเป็นแถว หลังคา  ของอาคารคลุมทางจงกรมทีพ่ ทุ ธคยาจึงน่าจะมีลกั ษณะคล้ายกับภีมรถะทีม่ ามัลลปุรมั - สมัยการมาของหลวงจีนเหี้ยนจัง บันทึกของหลวงจีนเหี้ยนจังได้กล่าวถึงลักษณะของรัตนจงกรมเจดีย์ในสมัย  พุทธศตวรรษที่ 12 ไว้ว่ามีลักษณะเป็นทางจงกรมที่ก่อด้วยอิฐรองรับพระพุทธบาท  จ�านวนมาก 17 เนือ่ งจากลักษณะของรัตนจงกรมเจดียท์ หี่ ลวงจีนเหีย้ นจังเห็นในพุทธศตวรรษ  ที่ 12 มีลักษณะแตกต่างไปจากสมัยเมารยะ-ศุงคะมาก     .   จึง  เชือ่ ว่าในพุทธศตวรรษที ่ 12 หลังคาคลุมทางจงกรมสมัยเมารยะ-ศุงคะอาจจะพังลงมา  จึงเหลือเฉพาะทางจงกรมอิฐที่ตั้งอยู่กลางแจ้งเท่านั้น 1๘ และทางจงกรมดังกล่าวก็ยัง  คงตั้งอยู่กลางแจ้งดังปรากฏสืบมาจนถึงปัจจุบัน

สัตตมหาสถานที่มีป หา

สัตตมหาสถานที่มีปัญหา คือ สัตตมหาสถานที่ยังคงเป็นที่ถกเถียงในหมู่  นักวิชาการ ได้แก่ อนิมิสเจดีย์และรัตนฆรเจดีย์  เชื่อว่าสัตตมหาสถานทั้งสองแห่ง  น่าจะอยูใ่ นบริเวณกลุม่ โบราณสถานรอบวิหารมหาโพธิ  เนือ่ งจากอรรถกถาลังกากล่าว  ว่า สัตตมหาสถานทั้งสองอยู่ไม่ไกลจากต้นพระศรีมหาโพธิ อย่างไรก็ตามการระบุว่า  โบราณสถานแห่งใดคือสัตตมหาสถานแห่งใดนั้นยังคงเป็นปัญหาอยู่

อนิมิสเจดีย์

หลวงจีนเหี้ยนจังกล่าวถึงอนิมิสเจดีย์ไว้ว่า  ...ทางเหนอของทาง งกรม บน  นหิน บน ปรากฏ ตยะ (สถานที่ วรเ ารพบูชา) ขนาดให   ายในปรากฏ  พระพุทธรูปกา ัง ้องด้วยพระเนตรเบิกโพ ง...  1๙ แม้วา่ พระพุทธรูปประทับยืนจ้องต้นพระศรีมหาโพธินัน้ จะสูญหายไปแล้ว แต่  หลวงจีนเหี้ยนจังได้ก�าหนดไว้แล้วว่า อนิมิสเจดีย์อยู่ทาง “ทิศเหนือ” ของทางจงกรม    .   จึงตีความว่าฐานโบราณสถาน “ ” ( น ังที่ ๑) ซึ่งอยู่ทาง  ทิศเหนือของทางจงกรมพอดีควรจะเป็นอนิมิสเจดีย์ที่แท้จริง

12๖ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


อย่างไรก็ตามการระบุทิศของหลวงจีนเหี้ยนจังนั้นแตกต่างไปจากอรรถกถา  ลังกาทีก่ ล่าวว่า อนิมสิ เจดียอ์ ยูท่ าง “ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ” ของต้นพระศรีมหาโพธิ  . .   จึงตีความว่าวิหารตาราเทวี          ใน  น ังที่ ๑  น่าจะ  เป็นอนิมิสเจดีย์ที่แท้จริง เนื่องจากตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของวิหาร  มหาโพธิพอดี วิหารตาราเทวีนี้ปัจจุบันได้รับการเคารพบูชาจากผู้แสวงบุญในฐานะ  ของ “อนิมิสเจดีย์” ดังนั้นผู้เขียนขอน�าเสนอและวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแต่ละท ษ ี ดังนี้ ๑) ท ษ ีของ       : ฐานโบราณสถาน  ฐานโบราณสถาน “ ” เป็นฐานอาคารขนาดใหญ่ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของ  รัตนจงกรมเจดีย์ ลักษณะเป็นฐานมีมุขทางขึ้นด้านทิศใต้ คือหันหน้าไปยังวิหาร  มหาโพธิ (รูปที่ ๑๙-๒๐)  อนึ่งความกว้างใหญ่ของฐานอาคารดังกล่าว บ่งบอกว่า  โบราณสถาน “ ” นี้คงเป็นอาคารที่ส�าคัญที่สุดแห่งหนึ่งในบรรดากลุ่มโบราณสถาน  ที่พุทธคยา ลวดบัวของฐานมีลักษณะเป็นฐานเวทีพันธะ (รูปที่ ๒๑) คือมีลักษณะเป็น  ฐานบัวที่มีบัวลูกแก้วขนาดใหญ่  กลศ  คาดกลางท้องไม้  เนื่องจากยังไม่มีฐานรอง  ด้านล่าง  ฐานปฐะ  จึงอาจก�าหนดอายุของฐานได้ว่าควรอยู่ในสมัยคุปตะถึงตอนต้น  ของสมัยหลังคุปตะ ฐานโบราณสถาน “ ” นี ้   .   ตีความว่า ควรเป็นอนิมสิ เจดีย์  ตามบันทึกของหลวงจีนเหี้ยนจัง 2๐ และมีความเห็นว่า เนื่องจากโบราณสถานแห่งนี ้ ตัง้ อยูใ่ นระดับชัน้ ดินเดียวกับวิหารมหาโพธิ และตัง้ อยูใ่ นต�าแหน่งทิศทีต่ รงกับอนิมสิ -  เจดียใ์ นบันทึกของหลวงจีนเหีย้ นจัง     .   จึงเชือ่ ว่าโบราณสถานแห่งนี ้  21 น่าจะตรงกับอนิมิสเจดีย์ (๒) ท ษ ีของ     : วิหารตาราเทวี อาคารขนาดเล็กซึง่ เรียกว่า วิหารตาราเทวี นัน้ ตัง้ อยูท่ างทิศตะวันออกเฉียงเหนือ  จากวิหารมหาโพธิ  สภาพของอาคารในปัจจุบันเป็นทรงศิขระรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ซึ่ง  มีลักษณะเลียนแบบศิขระของวิหารมหาโพธินั่นเอง (รูปที่ ๒๒) วิหารแห่งนี้ตั้งอยู ่ บนเนินดินสูงประมาณ 2-๓ เมตร นิทานกถา กล่าวว่า อนิมิสเจดีย์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของต้น  พระศรีมหาโพธิ   . .   จึงตีความว่าวิหารตาราเทวีซงึ่ อยูต่ รงกับทิศทีร่ ะบุในคัมภีร ์ นั้นน่าจะหมายถึงอนิมิสเจดีย 22 ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

127


รูปที่ ๑๙ ฐานโบราณสถาน  อนิมิสเจดีย์ของ   .

รูปที่ ๒๐ ฐานโบราณสถาน  แสดงถึงที่ตั้งว่าอยู่ทางทิศเหนือ ของรัตนจงกรมเจดีย์ และวิหารมหาโพธิ 12๘ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


รูปที่ ๒๑ รายละเอียดลวดบัว ของฐานโบราณสถาน

รูปที่ ๒๒ วิหารตาราเทวี อนิมิสเจดีย์ของ  . .  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

12๙


มีเพียงเทวดาและมารเท่านั้นที่กล่าวไว้ในคัมภีร์ว่าเข้ามาเกี่ยวข้องกับพระพุทธองค์  ในสัปดาห์นี้ อนึ่ง ในศิลปะอินเดียโบราณ ผ้าโพกหัวอยู่ในฐานะของมงกุ กษัตริย์หรือ  มงกุ เทวดา บุคคลที่แวดล้อมทางจงกรมจึงอาจตีความว่า หมายถึงเทวดาผู้มาเ ้าใน  ขณะที่พระพุทธองค์ก�าลังเดินจงกรมนั่นเอง โดยสรุปแล้ว ภาพสลักที่ส่วนบนของเสาต้นทิศใต้ของโตรณะทางด้านทิศ  ตะวันออก เป็นอีกส่วนหนึง่ ทีแ่ สดงถึงภาพตอนเสวยวิมตุ ติสขุ ของพระพุทธเจ้า ทัง้ เรือ่ ง  โพธิบลั ลังก์และรัตนจงกรม โดยทัง้ สองเรือ่ งเรียงกันในลักษณะด้านล่างขึน้ ไปด้านบน

าพเล่าเรื่อง  นาคปรก  ที่สถูปเปานิ

สถูปเปานิตั้งอยู่ใกล้เมืองนาคปุระในรัฐมหาราษฏร์ มีอายุราวพุทธศตวรรษ  ที ่ 4-๖ ได้มกี ารค้นพบเสาเวทิกาต้นหนึง่  มีภาพ “นาคปรก” ซึง่ แสดงด้วยบัลลังก์เปล่า  ถูกปรกโดยนาคราช 5 เศียร โดยทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้ต้นไม้อีกทีหนึ่ง (รูปที่ ๔๑) นี่คือภาพพระพุทธเจ้าเสวยวิมุตติสุขภายใต้ต้นมุจลินท์ซึ่งกล่าวไว้ใน  ัม ีร  วินยั ป ก  การทีภ่ าพพระพุทธเจ้าอยูภ่ ายใต้ตน้ ไม้และนาคราชนัน้  แสดงถึงเหตุการณ์  ที่พระพุทธองค์ทรงประทับอยู่ภายใต้ต้นมุจลินท์ก่อนที่มุจลินทนาคราชจะมาปรกเพื่อ  ป้องกันพระองค์จาก น ความส�าคัญของภาพ “นาคปรก” จากสถูปเปานิมี 2 ประการ ประการแรก  คือ ในขณะทีส่ ถูปสาญจีทา� เป็นภาพมุจลินท์เข้าเ า้ พระพุทธเจ้าด้านหน้า แต่ภาพสลัก  ที่เปานิกลับท�าเป็นภาพมุจลินทนาคราชปรกพระพุทธเจ้าด้วยพังพาน  าพสลักจาก เปานิจึงเปน  พระพุทธรูปนาคปรก  ที่เก่าที่สุดเท่าที่ค้นพบในปจจุบัน ความส�าคัญประการที่ 2 คือ ภาพ “นาคปรก” จากสถูปเปานิเป็นภาพเล่า  เรื่องที่มี “นาคปรก” พร้อม “ต้นมุจลินท์” ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการจัดวางภาพที่ถูกต้อง  ตาม  ัม ีรวินัยป ก โดยปกติแล้วตั้งแต่ศิลปะอมราวดีลงมาในศิลปะเกือบทุกสมัย  ในเอเชียอาคเนย์แทบจะไม่มพี ระพุทธรูปนาคปรกองค์ใดทีป่ รากฏต้นมุจลินท์อยูด่ า้ นหลัง  ด้วย ภาพสลักทีส่ ถูปเปานินจี้ งึ ถือเป็นจุดเริม่ ต้นของการท�าพระพุทธรูปนาคปรก ใน  ฐานะภาพเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขในสัปดาห์ “มุจลินท์” ก่อนที่จะได้รับความนิยม  อย่างยิ่งทั้งในศิลปะอมราวดี ศิลปะลังกา และศิลปะหลายสกุลช่างในเอเชียอาคเนย์

152 สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


าพเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุข ในศิลปะคันธาระและมถุรา

สมัยราชวงศ์กุษาณะเป็นระยะที่ศิลปะสองสกุลช่างได้เจริญขึ้น คือศิลปะ คันธาระในแคว้นคันธาระ และศิลปะมถุราซึง่ มีศนู ย์กลางอยูท่ เี่ มืองมถุรา  ภาพเล่าเรือ่ ง  การเสวยวิมุตติสุขได้ปรากฏทั้งสองศิลปะโดยมีประติมานวิทยาที่เป็นลักษณะเฉพาะ  ของตนเองแตกต่างจากศิลปะสมัยราชวงศ์ศุงคะ

าพเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขในศิลปะคันธาระ

มีการค้นพบภาพสลักเล่าเรือ่ งการเสวยวิมตุ ติสขุ ในศิลปะคันธาระจ�านวนมาก  จากแคว้นคันธาระ ปัจจุบนั เก็บรักษาอยูใ่ นพิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ นิวเดลี พิพธิ ภัณฑ์  เมืองลา อร์ และพิพธิ ภัณฑ์เมืองจัณฑีคั   ประเด็นส�าคัญทีส่ ดุ คือ ภาพสลักเกือบทุกภาพ  ล้วนแต่แสดงตอนจตุโลกบาลถวายบาตรในสัปดาห์ราชายตนะทั้งสิ้น

หน้าบันคันธาระ ในพิพธิ ณ ั สถานแห่งชาติ นิวเดลี ประเทศอินเดีย (รูปที ่ ๔๒)

หน้าบันนี้เป็นภาพพระพุทธรูปประทับนั่งแสดงอภัยมุทราอยู่กึ่งกลางภาพ  ภายใต้ต้นไม้ โดยรอบพระพุทธองค์ปรากฏภาพบุคคลทรงผ้าโพกหัว 4 คนถือบาตร  4 ใบถวายพระพุทธเจ้า ตามเรื่อง “ราชายตนะ” ซึ่งปรากฏมาตั้งแต่  ัม ีรวินัยป ก ผู้ที่ถวายบาตร  4 ใบแด่พระพุทธเจ้านัน้ คือจตุโลกบาล ภาพสลักดังกล่าวนีจ้ งึ หมายถึงเหตุการณ์ตอน  จตุโลกบาลถวายบาตรในสัปดาห์ราชายตนะอย่างแน่นอน อนึง่  ตัง้ แต่ศลิ ปะศุงคะมาจนถึงศิลปะคันธาระ มถุรา และอมราวดี ผ้าโพกหัว  ถือเป็นเครือ่ งทรงของเทวดาหรือกษัตริย ์ เนือ่ งจากจตุโลกบาลมีฐานะเป็นทัง้ เทวดาและ  กษัตริย์แห่งทิศทั้งสี่ในเวลาเดียวกัน จตุโลกบาลจึงทรงผ้าโพกหัวเสมอ นอกจากนี้ยังมีบุคคลอีก 2 คนซึ่งไม่สวมผ้าโพกหัวปรากฏขนาบข้างพระ-  พุทธเจ้า บุคคลทัง้ สองน่าจะหมายถึงตปุสสะและภัลลิกะ พ่อค้าทีเ่ ข้ามาถวายมธุปณฑิกา  แด่พระพุทธเจ้า ส่วนต้นไม้ที่พระพุทธเจ้าประทับนั้นตีความได้ว่า คือต้นราชายตนะ  ต้นไม้ที่ทรงประทับนั่งในสัปดาห์สุดท้ายของการเสวยวิมุตติสุข ดังทีไ่ ด้กล่าวแล้วว่าภาพเล่าเรือ่ งการถวายบาตรของจตุโลกบาลนัน้  ได้ปรากฏ  มาก่อนแล้วตัง้ แต่ทสี่ ถูปสาญจี องค์ประกอบภาพทีส่ าญจีมกี ารจัดวางภาพพระพุทธเจ้า  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

15๓


บทที่ ๕

สัตตมหาสถานในศิลปะลังกา และเอเชียอาคเนย์ ก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙

ประติ ม านวิ ท ยาตามคติ สั ต ตมหาสถานในศิ ล ปะลั ง กาและ  เอเชียอาคเนย์ก่อนพุทธศตวรรษที่ 1๙ ปรากฏเฉพาะในงาน  ประติมากรรมและจิตรกรรม โดยปรากฏในศิลปะอนุราธปุระ  และโปลนนารุวะของลังกา ศิลปะทวาราวดีในประเทศไทย ศิลปะ  ชวาภาคกลางในประเทศอินโดนีเซีย และศิลปะพุกามในประเทศ  พม่า

1๖๖ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


ศิลปะที่เกี่ยวเนื่องกับคติสัตตมหาสถานในศิลปะลังกาและเอเชียอาคเนย์แบ่งได้ดังนี้

าพสลักเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุข ในศิลปะลังกาสมัยอนุราธปุระและโปลนนารุวะ าพจิตรกรรมที่หินทคลวิหาร (

)

ที่หินทคลวิหารไม่ไกลจากเมืองแคนดี พบภาพจิตรกรรมสมัยอนุราธปุระ  ซึง่ อาจเกีย่ วเนือ่ งกับคติสตั ตมหาสถาน ภาพจิตรกรรมดังกล่าวนีอ้ าจเป็นภาพเล่าเรือ่ ง  สัตตมหาสถานทีเ่ ก่าแก่ทสี่ ดุ ทีค่ น้ พบภายนอกอินเดีย ปัจจุบนั นีม้ กี ารเขียนจ�าลองภาพ  จิตรกรรมดังกล่าวไว้ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรุงโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา  (รูปที่ ๔๙) จิตรกรรมนัน้ ยังคงหลงเหลืออยูเ่ พียง 2 ตอน เป็นภาพพระพุทธเจ้าแวดล้อม   1 ด้วยบริวาร  ซึ่ง  . .   กล่าวไว้ว่า จากลักษณะการใช้สีและการจัดวาง  ทัศนียวิทยานั้นสามารถเทียบได้กับจิตรกรรมถ�้าอชันตาและสีคีริยะ จึงก�าหนดอายุ  ได้ในสมัยอนุราธปุระ ราวพุทธศตวรรษที่ 12-14 ภาพนัน้ แบ่งออกเป็นสองตอน ทางซ้ายของผูด้ แู สดงภาพพระพุทธองค์ประทับ  นั่งแสดงพระหัตถ์ในท่ารับ แวดล้อมไปด้วยเทวดาซึ่งแต่ละองค์ถือบาตร ส่วนทางขวา  เป็นภาพพระพุทธองค์ประทับนัง่ และยกพระหัตถ์ขนึ้ แสดงอภัยมุทราหรือวิตรรกมุทรา  โดยมีเทวดาขนาดใหญ่ประคองอัญชลี ภาพแรก ควรหมายถึงตอนพระพุทธเจ้าประทับใต้ตน้ ราชายตนะและจตุโลก-  บาลถวายบาตร เนื่องจากปรากฏภาพเทวดาถือบาตรทั้งสี่องค์อย่างชัดเจน ส่วนภาพที่สอง อาจหมายถึงตอนพระพรหมสหัมปติมาอาราธนาธรรมกับ  พระพุทธองค์ขณะประทับใต้ตน้ อชปาลนิโครธ 2 หรืออาจหมายถึงตอนพระอินทร์ถวาย  ผลสมอแด่พระพุทธองค์ตามคัมภีร์อรรถกถาลังกาที่แต่งในสมัยอนุราธปุระก็เป็นได้ อนึง่  น่าจะเคยมีภาพเล่าเรือ่ งการเสวยวิมตุ ติสขุ ในสัปดาห์อนื่ ๆ ทีห่ นิ ทคลวิหาร  ด้วยก่อนที่ภาพเหล่านี้จะลบเลือนไป แต่ไม่ทราบว่าภาพจิตรกรรมดังกล่าวนั้นเขียน  การเสวยวิมุตติสุขจ�านวน 4 สัปดาห์หรือ 7 สัปดาห์ อย่างไรก็ดีภาพเล่าเรื่องการเสวยวิมุตติสุขที่หินทคลวิหารนี้แสดงให้เห็น  ว่าน่าจะเคยมีจิตรกรรมเล่าเรื่องนี้ในสถานที่อื่นๆ ในสมัยอนุราธปุระด้วย  อนึ่ง  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

1๖7


สมัยอยุธยาตอนปลาย : วัดเกาะแก้วสุทธาราม จ  เพชรบุรี ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับจิตรกรรม ายในอุโบสถ วัดเกาะแก้วสุทธาราม จ  เพชรบุรี

ภายในพระอุโบสถ วัดเกาะแก้วสุทธาราม จ. เพชรบุร ี ปรากฏจิตรกรรมสมัย  อยุธยาตอนปลายซึ่งมีจารึกระบุถึง พ.ศ. 2277 ๓1  ตรงกับรัชกาลพระเจ้าอยู่หัว  บรมโกศ และเนือ่ งจากจิตรกรรมนีม้ รี ปู แบบทีอ่ าจเชือ่ มโยงได้กบั จิตรกรรมสมัยอยุธยา  ตอนปลายโดยทั่วไป ๓2  จิตรกรรมที่นี่จึงควรมีอายุในระยะเดียวกับศักราชที่ปรากฏ  ในจารึก จิตรกรรมที่เล่าเรื่องสัตตมหาสถานนั้นปรากฏอยู่บนผนังด้านทิศเหนือ ใน  ขณะที่อีกด้านหนึ่งเป็นจิตรกรรมเรื่องอัษฏมหาสถาน เรือ่ งสัตตมหาสถานปรากฏอยูร่ ะหว่างภาพเจดีย ์ (รูปที ่ ๑๒๙) ซึง่ เจดียเ์ หล่า  นีอ้ าจเป็นตัวแทนถึงสถานทีศ่ กั ดิสิทธิเหล่านีก้ ไ็ ด้  อนึง่  “เจติยะ” ในภาษาบาลีหมายถึง  สิง่ หรือสถานทีท่ คี่ วรเคารพ ๓๓  ส่วนค�าว่า “เจดีย”์  ในภาษาไทยกลับหมายความถึง สถูป  เนือ่ งด้วยสัตตมหาสถานรวมถึงอัษฏมหาสถานเป็นสถานทีท่ คี่ วรเคารพตามความหมาย  ของค�าว่า “เจติยะ” ในภาษาบาลี จึงท�าให้มกี ารวาดภาพ “เจดีย”์  แทรกสัตตมหาสถาน  และอัษฏมหาสถาน

รูปที่ ๑๒๙ จิตรกรรมผนังทิศเหนือ ของพระอุโบสถ วัดเกาะแก้วสุทธาราม จ. เพชรบุรี ศิลปะอยุธยาตอนปลาย ราวพุทธศตวรรษที่ 2๓ 2๖๘ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


รูปที่ ๑๓๐ พระประธานในพระอุโบสถ วัดเกาะแก้วสุทธาราม ซึ่งอาจหมายถึงตอนตรัสรู้และโพธิบัลลังก์

ประติมานวิทยาของ าพเล่าเรื่องสัตตมหาสถาน ที่วัดเกาะแก้วสุทธาราม จ  เพชรบุรี โพธิบัลลังก์

เป็นที่น่าสนใจว่าไม่ปรากฏภาพการเสวยวิมุตติสุขสัปดาห์ที่ 1 ในภาพเล่า  เรื่องสัตตมหาสถานที่วัดเกาะแก้วสุทธาราม เนื่องจากผนังด้านทิศเหนือเขียนภาพ  อนิมิสเจดีย์เป็นภาพแรก  ในบางศิลปะ เช่น ภาพสลักหินอังดากูในศิลปะพุกาม  ภาพจิตรกรรมที่ถ�้าทัมพุลละ และจิตรกรรมในกรุวัดราชบูรณะก็ไม่ปรากฏภาพการ  เสวยวิมตุ ติสขุ สัปดาห์ท ี่ 1 เช่นกัน  เนือ่ งจากภาพเล่าเรือ่ งเหล่านีไ้ ด้รวมเอาการเสวย-  วิมุตติสุขสัปดาห์ที่ 1 เข้าไปกับภาพเล่าเรื่องตอน “มารวิชัย-ตรัสรู้” ส่วนที่วัดเกาะแก้วสุทธารามนั้น อาจเป็นไปได้ที่โพธิบัลลังก์ได้แสดงรวมกับ  พระพุทธรูปประธานซึ่งอยู่ในปางสมาธินั้น (รูปที่ ๑๓๐) ยังอาจตีความเชื่อมโยงกับ  การตรัสรู้รวมถึงการเสวยวิมุตติสุขสัปดาห์ที่ 1 ได้ด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

2๖๙


รูปที่ ๑๓๕ มุจลินท์ จิตรกรรมในพระอุโบสถ วัดเกาะแก้วสุทธาราม จ. เพชรบุรี

รูปที่ ๑๓๖ ราชายตนะ จิตรกรรมในพระอุโบสถ วัดเกาะแก้วสุทธาราม จ. เพชรบุรี 274 สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


คติสัตตมหาสถานในจิตรกรรม และประติมากรรมรัตนโกสินทร์ การประดิษฐ์ปางใหม่โดยสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส และประติมากรรมในหอราชกรมานุสรณ์ ข้อมูลเบื้องต้น

เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชประสงค์จะ  บ�าเพ็ญพระราชกุศลให้ยงิ่ ใหญ่ จึงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชติ ชิโนรส  สืบค้นพุทธประวัตเิ พือ่ สร้าง “ปาง” ใหม่สา� หรับพระพุทธรูป  ปางใหม่ทที่ รงประดิษฐ์น ี้ มีจ�านวน 4๐ ปาง ตามพุทธประวัติ 4๐ ตอน  จากนั้นพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า-  เจ้าอยูห่ วั  โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูป 4๐ องค์ตามปางทีส่ ร้างใหม่และประดิษฐาน  ไว้ที่หอราชกรมานุสรณ์ในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ๓๘

คติสัตตมหาสถานกับปางประดิษฐ์ใหม่

จากบรรดาปางประดิษฐ์ใหม่น ี้ ปรากฏพระพุทธรูป 7 ปางซึง่ เกีย่ วข้องโดยตรง  กับคติสัตตมหาสถาน ดังนี้ (๑) อนิมิสเจดีย์  พระพุทธรูปประทับยืนแสดงมุทราไขว้พระหัตถ์ไว้ที่พระ-  อุทร (รูปที่ ๑๓๗) (๒) รัตนจงกรมเจดีย์  พระพุทธรูปในอิริยาบถเดินก�าลังก้าวพระบาทและ  แสดงมุทราไขว้พระหัตถ์ไว้ที่พระอุทร ๓๙ (รูปที่ ๑๓๘) (๓) อชปาลนิโครธ  เป็นพระพุทธรูปประทับนัง่ ยกพระหัตถ์ขวาแสดงอภัย-  มุทรา (รูปที ่ ๑๓๙) ซึง่ ได้รบั การถวายนามใหม่วา่  “พระพุทธรูปปางห้ามมาร” อันตรง  กับตอนอชปาลนิโครธซึ่งธิดามารได้เข้ามายั่วยวนพระพุทธองค์ 4๐ (๔) มุจลินท์  เป็นพระพุทธรูปประทับนัง่ ภายใต้การปกป้องของมุจลินทนาคราช  (รูปที ่ ๑๔๐) โดยพระวรกายนัน้ อยูภ่ ายในขนดนาคของพญามุจลินท์ แตกต่างไปจาก  พระพุทธรูปนาคปรกโดยทั่วไปที่พระพุทธองค์มักประทับอยู่เหนือขนดนาค (๕) ราชายตนะ  สมเด็จฯ กรมพระปรมานุชติ ชิโนรส ทรงประดิษฐ์ปางใหม่  ถึง ๓ ปางส�าหรับเรื่องราชายตนะ กล่าวคือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

275


- ปางฉันสมอ  เล่าเรื่องตอนพระพุทธองค์ทรงฉันผลสมอที่เป็นยาหลังจาก  ทีพ่ ระอินทร์ได้ถวาย  เป็นภาพพระพุทธรูปประทับนัง่  พระหัตถ์ขวาถือผลสมอ 41 (รูป  ที่ ๑๔๑) - ปางประสานบาตร  เล่าเรือ่ งตอนพระพุทธองค์ทรงรวมบาตรทัง้ สีท่ จี่ ตุโลกบาล  ถวาย  เป็นภาพพระพุทธรูปประทับนัง่  พระหัตถ์ซา้ ยวางบนพระเพลาโดยทีม่ บี าตรอยู ่ ด้านบน ส่วนพระหัตถ์ขวานั้นวางอยู่บนบาตร 42 (รูปที่ ๑๔๒) - ปางประทานพระเกศา  เล่าเรื่องตอนพระพุทธองค์ประทานพระเกศธาตุ  ๘ เส้นแก่ตปุสสะและภัลลิกะ  เป็นภาพพระพุทธรูปประทับนั่ง พระหัตถ์ขวายกขึ้น  ลูบพระเศียร 4๓ (รูปที่ ๑๔๓) นอกจากนีส้ มเด็จฯ กรมพระปรมานุชติ ชิโนรส ยังทรงก�าหนดให้พระพุทธรูป  ประทับยืนแสดงมุทราไขว้พระหัตถ์ไว้ที่พระอุระนั้น เป็น “ปางร�าพึง” ซึ่งตรงกับตอน  ที่ทรงพิจารณาสัตว์โลกภายหลังสัปดาห์ราชายตนะ 44 (รูปที่ ๑๔๔)

รูปที่ ๑๓๗ พระพุทธรูปตอนอนิมิสเจดีย์ ตามระบบปางใหม่ของสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส หอราชกรมานุสรณ์ ศิลปะรัตนโกสินทร์ 27๖ สัตตมหาสถาน : พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์


รูปที่ ๑๓๘ พระพุทธรูป ตอนรัตนจงกรมเจดีย์ ตามระบบปางใหม่ของสมเด็จฯ กรมพระปรมานุชิตชิโนรส หอราชกรมานุสรณ์ (ที่มา : ม.ร.ว., สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์, พระพุทธปฏิมาใน พระบรมมหาราชวัง, หน้า ๒๒๑, ๒๔๓.)

รูปที่ ๑๓๙ พระพุทธรูปปางห้ามมาร ส�าหรับตอนอชปาลนิโครธ (ที่มา : ม.ร.ว., สุริยวุฒิ สุขสวัสดิ์, พระพุทธปฏิมา ในพระบรมมหาราชวัง, หน้า ๒๒๑, ๒๔๓) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เชษฐ์ ติงสัญชลี

277


-

-

- -

หมวดศิลปะ ราคา ๓๘๐ บาท

พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับ ศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์

พุทธประวัติตอนเสวยวิมุตติสุขกับศิลปกรรมอินเดียและเอเชียอาคเนย์ ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร เชษฐ์ ติงสั ชลี

ู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร เชษฐ์ ติงสั ชลี

สัตตมหาสถาน คือ สถานที่ 7 แห่งที่พระพุทธเจ้าทรงเสวยวิมุตติสุขภายหลังที่ทรงตรัสรู้  ศิลปกรรมจากดินแดนพุทธภูมิในประเทศอินเดียสู่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  สถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม

สัตตมหาสถาน :

สัตตมหาสถาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.