ชำแหละวิทยาศาสตร์จอมปลอม

Page 1


หนังสือ  ช�าแหละวิทยาศาสตร์จอมปลอม ผู้เขียน  ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ  สงวนลิขสิทธิโดยส�านักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด ห้ามการลอกเลียนไม่ว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต พิมพ์ครั้งที่ 1 ตุลาคม 255   จ�านวนพิมพ์ 3,000 เล่ม ราคา 190 บาท ข้อมูลบรรณานุกรม บัญชา ธนบุญสมบัติ. ช�าแหละวิทยาศาสตร์จอมปลอม.--กรุงเทพฯ : สารคดี, 255 . 1 0 หน้า. I. วิทยาศาสตร์กับชีวิตประจ�าวัน.   Ⅱ. วิทยาศาสตร์กับมนุษย์.  1. ชื่อผู้เขียน.     500.2     B  97 - 1 -77 7-1 -5

คณะผู้จัดท�า บรรณาธิการเล่ม : ปณต ไกรโรจนานันท์  ผูช้ ว่ ยบรรณาธิการ : น มล สุวรรณอ่อน ออกแบบปก : ชาญศักดิ สุขประชา  จัดรูปเล่ม : นัทธินี สังข์สุข พิสูจน์อักษร : นวลจันทร์ ทองมาก ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ จัดพิมพ์  ส�านักพิมพ์สารคดี (ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด) จัดจ�าหน่าย  บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ากัด 2 , 30 ถนนปรินายก แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทร. 0-22 1- 110 (อัตโนมัติ)  โทรสาร 0-22 2-7003 เพลต  เอ็นอาร์ ล์ม โทร. 0-2215-7559 พิมพ์  โรงพิมพ์ สิกส์เซ็นเตอร์  โทร. 0-2433-7704 ส�านักพิมพ์สารคดี ผู้อ�านวยการ : สุวพร ทองธิว  ผู้จัดการทั่วไป : จ�านงค์ ศรีนวล   ที่ปรึกษากฎหมาย : สมพจน์ เจียมพานทอง ผู้อ�านวยการฝ่ายการตลาด/โ ษณา : ปฏิมา หนูไชยะ   ผู้อ�านวยการฝ่ายศิลป/ฝ่ายผลิต : จ�านงค์ ศรีนวล ผู้จัดการฝ่ายตลาด : พิเชษฐ ยิ้มถิน  ที่ปรึกษาส�านักพิมพ์ : สุดารา สุจฉายา บรรณาธิการส�านักพิมพ์ : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ หนังสือเล่มนี้ใช้หมึกพิมพ์ซึ่งมีส่วนผสมของน�้ามันถั่วเหลือง ช่วยลดการใช้วัตถุดิบจากน�้ามันปโตรเลียม ช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

p1-7.indd 2

9/23/13 11:56 AM


จากสา ักพิมพ์

3

ช� า แ ห ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ อ ม ป ล อ ม

“ราคาน�้ามันขึ้นได้ก็ขึ้นไป มาใช้น�้ามันเบนซินจากพืชฝีมือ  คนไทยกันดีกว่า  พิสูจน์แล้ว วิ่งฉิวจริง   “ยังไม่พอ หากอยากประหยัดเงินมากขึ้นไปอีก ใช้ปลัก  ประหยัดน�้ามัน ‘Pra  ad  od’ สิ   เสียบที่จุดบุหรี่ปุ บ ประหยัด  น�า้ มันปับ  ประดิษฐ์จากหลักการวิทยาศาสตร์ชนั้ สูง  อาจารย์สถาบัน  ชั้นน�าทดสอบแล้วบอกว่า เยี่ยมสุดในสามโลก”   ถามจริง ๆ เถอะคุณเชื่อหรือไม่   มีเหตุผลใดที่เชื่อ และมี  เหตุผลใดที่ไม่เชื่อ   หากไม่ทราบ ก็ต้องอ่านหนังสือเล่มนี้    โดย ดร. บัญชา ธนบุญ-  สมบัต ิ จะตีแผ่กลยุทธ์ของพวกลวงโลกทีน่ า� หลักการทางวิทยาศาสตร์  จริงมาผสมปนเปจนมัว่  หรือน�ามาใช้อย่างไม่ถกู ต้อง หรืออ้างถึงท ษฎี  ยาก ๆ เพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือ โดยยกตัวอย่างผลิตภัณ ์หรือ  ความเชือ่ ที ่ “จับได้” แล้วว่าเป็นพวกหลอกลวงต้มตุนแท้ ๆ เช่น เครือ่ ง  ตรวจระเบิด  T200 ทีไ่ ม่ต่างอะไรจากไม้ลา้ งป่าช้า น�า้ มหัศจรรย์ท ี่ อ้างว่าเพิม่ ก�าลังวังชา เรือ่ งโลกแตกเมือ่ ปี ค.ศ. 2012 ซึง่ ไม่แตกจริง  รวมทั้งแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ที่เข้าใจผิดกันบ่อย ๆ   อย่างไรก็ตามตัวอย่างในหนังสือเล่มนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่ง  เท่านัน้  ในสังคมของเรายังมีวทิ ยาศาสตร์จอมปลอมแฝงตัวหลอกลวง  เราอยูอ่ กี มาก  การได้รกู้ ลยุทธ์การตลาดของวิทยาศาสตร์ปลอมจะ  เป็นภูมิคุ้มกันทางปัญญาให้เราได้รู้เท่าทัน ไม่ถูกหลอกไปเรื่อย ๆ ส�านักพิมพ์สารคดี

p1-7.indd 3

9/23/13 11:56 AM


M i n d & C r e a t i v i t y

4

จาก ขย ท�าไมผมจึงเขียนหนังสือเล่มนี้ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมานี้  ดูเหมือนว่าวงการวิทยาศาสตร์  และวงการสื่อสารมวลชนในบ้านเราได้ให้ความส�าคัญกับการสร้าง  ความตระหนักทางวิทยาศาสตร์แก่สาธารณชน (Public Awareness   of  cience) มากทีเดียว  กิจกรรมนี้บางครั้งก็เรียกว่า การสร้าง  ความรูค้ วามเข้าใจทางวิทยาศาสตร์แก่สาธารณชน (Public  nder-  standing of  cience)   ทีเ่ ป็นเช่นนีผ้ มเข้าใจว่าส่วนหนึง่ เกิดจากการทีป่ ระเด็นส�าคัญ  ทีเ่ กิดขึน้ ในสังคมมักต้องใช้ความรูท้ างวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี  ในการท�าความเข้าใจด้วยไม่มากก็นอ้ ย  ประเด็นดังกล่าวอาจมีตงั้ แต่  เรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ ส่วนตัว เช่น จะเลือกใช้ผลิตภัณ ์ชนิดหนึ่ง ๆ   ไหม ?  ไปจนถึงเรื่องใหญ่ที่มีผลกระทบต่อส่วนรวม เช่น จะเอา   MOs ไหม ? จะเอาโรงไ านิวเคลียร์ไหม ? และจะแก้ปัญหา   (หรือแม้แต่ใช้ประโยชน์จาก) โลกร้อนอย่างไร ? เป็นต้น   การสร้าง “ความตระหนัก” ดังกล่าวนีต้ อ้ งท�าอย่างถูกต้อง   ทันท่วงที และทีส่ า� คัญคือต้องมีศลิ ปะในการพลิกแพลงให้สอดคล้อง  กับกลุ่มเปาหมายซึ่งอาจเป็นกลุ่มจ�าเพาะ (เช่น ผู้มีอ�านาจในการ  ก�าหนดนโยบาย หรือชุมชนหนึง่  ๆ) หรือเป็นกลุม่ ขนาดใหญ่ทมี่ ผี คู้ น  จ�านวนมาก (เช่น สังคมโดยรวม)  มิเช่นนัน้ แล้วกิจกรรมทีท่ า� ไปอาจ  สูญเปล่า หรือเลวร้ายทีส่ ดุ คือ กลับไปสร้าง “ความตระหนก” ในหมู่  สาธารณชนแทน (ไม้หันอากาศหายไปตัวเดียว... เป็นเรื่อง)   จากประสบการณ์ของผมและเพือ่ นร่วมงานหลายคนพบว่า  มีความผิดปกติบางอย่างที่เกิดขึ้นซ�้าแล้วซ�้าเล่า ซึ่งเมื่อแก้ไขแล้วก็  ยัง นกลับมาอีก บางทีกม็ าในรูปแบบเดิม บางทีกม็ าในรูปแบบใหม่

p1-7.indd 4

9/23/13 11:56 AM


ช� า แ ห ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ อ ม ป ล อ ม

ความผิดปกติที่ว่านี้  ได้แก่  ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์ที่ผิดพลาด  คลาดเคลื่อน ซึ่งมีแง่มุมหลากหลาย แต่ที่ส�าคัญคือ มีผู้น�าไปใช้  หลอกลวงคนจ�านวนไม่น้อย    หนังสือเล่มนี้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์จอมปลอม   และมีกรณีศกึ ษาทีส่ า� คัญบางกรณี (เช่น  T200 และกรณีโลกแตก   2012) ซึ่งเคยเป็นข่าวดังทั้งในระดับประเทศและระดับโลกมาก่อน   ผมหวังว่าข้อมูลทีใ่ ห้ไว้นคี้ งจะช่วยให้คณ ุ ผูอ้ า่ นได้แง่คดิ ทีเ่ ป็นประโยชน์  ในการเสพข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ทีป่ ระดังเข้ามาแทบทุกวันในปัจจุบนั บัญชา ธนบุญสมบัติ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ศุกร์ 5 ตุลาคม 2555 www.facebook.com/buncha2509 buncha2509 gmail.com

p1-7.indd 5

9/23/13 11:56 AM


สาร ัญ

กลยุทธ์การตลาดของวิทยาศาสตร์จอมปลอม  ลูกเล่นลวงโลกของน�้ามหัศจรรย์  น�้ามันเบนซินชนิดใหม่ต้องผ่านข้อก�าหนดอะไรบ้าง ?  ระวัง “สเตนเลสเกรดย้อมแมว” !  แผนที่ชิวหาพาหลงทาง (ร่วม 100 ปี) !  กรณี  T200 เมื่อวิทยาศาสตร์จอมปลอม   สั่นสะเทือนสังคมไทย  ไขปริศนาโลกแตก ค.ศ. 2012  หลังปี ค.ศ. 2012 มีค�าท�านายโลกแตกปีไหนอีกบ้าง ?  เข้าใจ “พายุสุริยะ” ให้ลึกกว่าข่าวในสื่อ  พายุสุริยะมีผลกระทบต่อวงการบินอย่างไร ?  แนวคิดวิทย์...ที่เข้าใจผิดกันบ่อย ๆ  “แนวค�าตอบ” แนวคิดวิทย์...ที่เข้าใจผิดกันบ่อย ๆ  ภาคผนวก  ดัชนี

p1-7.indd 6

22 2 35 3 43 9 105 130 137 14 1 0 175

9/23/13 11:56 AM


รู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมการตลาด ของวิทยาศาสตร์ปลอม ดร. บัญชา ธนบุญสมบัติ

p1-7.indd 7

9/23/13 11:56 AM


M i n d & C r e a t i v i t y

8

กลยุทธ์การตลาดของ วิทยาศาสตร์จอมปลอม

กรณี  T200 และการหลอกลวงต้มตุนที่เกิดขึ้นในบ้านเราหลาย  กรณีท�าให้เราเห็น ทธิเดชของวิทยาศาสตร์จอมปลอมว่าสามารถ  ท�าให้สงั คมสับสนวุน่ วายได้มากมายเพียงใด จึงน่าจะเป็นประโยชน์  หากเรามาดูกันให้ชัด ๆ ว่า วิทยาศาสตร์จอมปลอมคืออะไร และ  วิธีการที่น�ามาใช้ต้มตุนเหยื่อจ�านวนมากให้หลงเชื่อมีอะไรบ้าง   ลองมาดูค�าว่า “วิทยาศาสตร์จอมปลอม” กันก่อน ผมใช้  ค�านี้ครอบคลุมในหลายระดับ ตั้งแต่   (1) การเข้าใจแนวคิดทางวิทยาศาสตร์แบบผิด ๆ    (2) มายาคติ   (3) วิทยาศาสตร์เทียม   (4) การหลอกลวงต้มตุน การเข้าใจแนวคิดทางวิทยาศาสตร์แบบผิด ๆ (mis- conception) เช่น “ส�าหรับผลไม้ที่ติดอยู่บนต้น หากแรงกิริยา  คือแรงที่โลกดึงดูดผลไม้  แรงปฏิกิริยาก็คือแรงที่กิ่งไม้ดึงผลไม้นั้น

p8-21.indd 8

9/23/13 11:57 AM


9

ช� า แ ห ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ อ ม ป ล อ ม

เอาไว้”  ข้อความที่ว่ามานี้ผิด เพราะที่ถูกต้องคือ “ส�าหรับผลไม้ท ี่ ติดอยู่บนต้น หากแรงกิริยาคือแรงที่โลกดึงดูดผลไม้  แรงปฏิกิริยา  ก็คือแรงที่ผลไม้นั้นดึงดูดโลก” ต่างหาก   เรื่องนี้อย่าท�าเป็นเล่นไป เพราะมีคนที่สอนพื้นฐานผิด ๆ   แบบนี้ไปเปดส�านักกวดวิชา โดยการสนับสนุนจากองค์กรใหญ่  โปรโมตกันแบบจัดหนักมาแล้ว !   ความเข้าใจผิดเช่นนี้อาจดูเหมือนเรื่องเล็ก ๆ ที่ไม่น่าจะมี  ผลเสียมากมาย  แต่ปัญหาก็คือ ความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานแบบ  ผิด ๆ ย่อมท�าให้ไม่สามารถต่อยอดความรู้ได้อย่างถูกต้อง แถม  ยังเปดโอกาสให้ถูกหลอกลวงได้โดยง่าย ไม่ว่าจะถูกชักจูงให้ซื้อ  ผลิตภัณ ์  หรือถูกชี้น�าให้ลุ่มหลงเป็นสาวกของลัทธิความเชื่อที่  ผิดเพี้ยน   หากการเข้าใจแนวคิดทางวิทยาศาสตร์แบบผิด ๆ เกิดขึ้น  มานาน ก็จะกลายเป็นความเชื่อแบบฝังหัวที่แก้ไขได้ยากมาก ๆ   เรียกว่า มายาคติ (myth) ตัวอย่างเช่น ความเชื่อที่ว่า “ปลายลิ้น  รับรู้เฉพาะรสหวาน โคนลิ้นรับรู้เฉพาะรสขม” ข้อความที่ว่ามานี้ผิด  เพราะที่ถูกต้องคือ “ปลายลิ้นไวต่อรสหวาน โคนลิ้นไวต่อรสขม”   ต่างหาก  ใครสนใจสามารถอ่านเรื่อง “แผนที่ชิวหา พาหลงทาง   (ร่วม 100 ปี) !” ในหนังสือเล่มนี้ได้

แผนที่ต่อมรับรสบนลิ้นที่เคยเชื่อกันมานาน เป็นมายาคติที่แก้ไขได้ยากยิ่ง

p8-21.indd 9

9/23/13 11:57 AM


M i n d & C r e a t i v i t y

10

มายาคติในเรือ่ งต่าง ๆ เป็นเรือ่ งใหญ่ และอาจส่งผลกระทบ  ได้ถงึ ระดับสังคมทีเดียว เช่น มายาคติทางประวัตศิ าสตร์อาจท�าให้  เกิดอคติทางชาติพันธุ์  ดูถูกดูแคลนชนชาติอื่นว่าด้อยกว่าชาติตน   ส่วนมายาคติทางวิทยาศาสตร์อาจท�าให้ตัดสินใจผิดพลาด หรือ  เพิ่มความเสี่ยงภัยต่อสุขภาพและชีวิตได้ทีเดียว   วิทยาศาสตร์จอมปลอมอีกรูปแบบหนึง่  ได้แก่ วิทยาศาสตร์ เทียม (Pseudo-Science หรือเขียนว่า Pseudoscience ก็ได้)  ซึง่ หมายถึง ระบบความเชือ่ ทีอ่ า้ งว่าเป็นวิทยาศาสตร์ มีหลักการและ  ท ษฎีของตนเอง แต่เอาเข้าจริงแล้วหลักการและท ษฎีเหล่านั้น  ไม่ได้ผา่ นการตรวจสอบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทถี่ กู ต้อง   ตัวอย่างวิทยาศาสตร์เทียม เช่น พลังจิต สิง่ บินลึกลับ ( O) โหรา-  ศาสตร์ ไม้ล้างป่าช้า (dowsing rod) เครื่องจักรชั่วนิรันดร์ (per-  petual machine) และกรณีโลกแตก ค.ศ. 2012 เป็นต้น   น่ า รู ้ ด ้ ว ยว่ า วิ ท ยาศาสตร์ เ ที ย มมี ทั้ ง ส่ ว นที่ จ ริ ง  (ในบาง  เงื่อนไข) ส่วนที่เท็จ ผสมปนเปไปกับส่วนที่เป็นความเชื่อหรือการ  คาดเดา ซึ่งแยกแยะได้ไม่ง่ายนัก  อย่างไรก็ดีมีเกณ ์ทางปรัชญา  ที่ใช้ตัดสินว่าอะไรเป็นวิทยาศาสตร์แท้  ( cience) อะไรเป็นวิทยา  ศาสตร์เทียม (Pseudoscience) ได้แก่  หลักพิสูจน์ว่าเป็นเท็จ (falsifiability principle) ซึ่งเสนอโดยนักปรัชญาชื่อ คาร์ล  พอปเพอร์  ( arl Popper)  กล่าวโดยย่อที่สุดคือ ข้อความหรือ

เซอร์คาร์ล พอปเพอร์ นักปรัชญาผู้เสนอหลักการ แยกแยะวิทยาศาสตร์แท้ออกจากวิทยาศาสตร์เทียม

p8-21.indd 10

9/23/13 11:57 AM


11

ช� า แ ห ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ อ ม ป ล อ ม

ท ษฎีอะไรก็ตามที่จะถือว่าเป็นวิทยาศาสตร์ได้นั้นจะต้องสามารถ  ถูกพิสูจน์ว่าเป็นเท็จได้ ในทางวิทยาศาสตร์นั้น ไม่ว่าผลการสังเกตหรือผลการ  ทดลองจะออกมาสอดคล้องกับท ษฎีสักกี่ครั้งก็ตาม เราก็ไม่อาจ  มัน่ ใจได้วา่ ผลการทดลองในครัง้ ต่อไปจะไม่ขดั แย้งกับท ษฎี  เรือ่ งนี ้ ไอน์สไตน์เคยกล่าวไว้วา่  “ o amount of e perimentation can   ever prove me right  a single e periment can prove   me wrong” นั่นคือ “ไม่ว่าจะท�าการทดลองมากมายเพียงไร ก็  ไม่สามารถพิสูจน์ว่าผมถูกต้องได้  แต่การทดลองเพียงการทดลอง  เดียวก็สามารถพิสูจน์ได้ว่าผมผิด”   การแยกแยะระหว่างวิทยาศาสตร์แท้กบั วิทยาศาสตร์เทียมนี้  มีรายละเอียดน่ารู ้ คุณผูอ้ า่ นสามารถค้นค�าเว็บด้วยค�าว่า falsi ca-  tion, falsi able และ falsi ability principle รวมทั้งชื่อ  arl   Popper ดูได้   วิทยาศาสตร์จอมปลอมในระดับที่รุนแรงที่สุด ได้แก่  การ หลอกลวงต้มตุน ๋ (fraud) ซึง่ หมายถึงผลิตภัณ ห์ รือลัทธิความเชือ่   ทีผ่ ผู้ ลิต ผูข้ าย หรือผูเ้ สนอลัทธิความเชือ่  จงใจอวดอ้างสรรพคุณเกิน  จริงไปมาก  อย่างกรณี  T200 ก็เข้าข่ายการหลอกลวงต้มตุนโดยใช้  หลักการของไม้ลา้ งป่าช้า ซึง่ เป็นวิทยาศาสตร์เทียมแบบหนึง่ นัน่ เอง   คราวนี้ลองมาดูกันว่า ผู้ที่เผยแพร่วิทยาศาสตร์จอมปลอม  ใช้กลยุทธ์อะไรจนท�าให้คนจ�านวนมากหลงเชื่อ ดังนี้

กลยุทธ์ที่  1 : น�าเสนอผลิตภัณฑ์หรือลัทธิความเชื่อ ทีม่ ผี คู้ นสนใจจ�านวนมาก โดยอ้างว่าสิง่ ทีน ่ า� เสนอนัน ้ สอดคล้อง กับทางวิทยาศาสตร์ แฉกลยุทธ์ท ี่ 1 : ผลิตภัณ ด์ งั กล่าวมักอ้างว่าเป็นนวัต-  กรรมล่าสุด โดยอาจอ้างถึงการค้นพบทางวิทยาศาสตร์  แถมด้วย  ศัพท์วิทยาศาสตร์ยาก ๆ ซึ่ง ังดูไ เทค  ค�าที่ถูกใช้บ่อย ๆ จนน่า  สังเกต ได้แก่ พลังแม่เหล็ก นาโน ควอนตัม และชีวภาพ

p8-21.indd 11

9/23/13 11:57 AM


M i n d & C r e a t i v i t y

12

ส่วนลัทธิความเชื่อนั้น มักปักธงข้อสรุปไว้ล่วงหน้าว่า ลัทธิ  ความเชื่อ “เหนือกว่า” วิทยาศาสตร์  เช่น เจ้าลัทธิได้ค้นพบความรู้  ทางวิทยาศาสตร์ในปัจจุบันจนหมดสิ้นแล้ว  แถมยังรู้สิ่งที่วิทยา  ศาสตร์ในปัจจุบันยังไม่รู้อีกด้วย (โดยเฉพาะเรื่องจิต)  วิธีการที่  พบก็คือ การแสร้งกล่าวเชิดชูวิทยาศาสตร์ตอนต้น แต่กลับเหยียบ  ให้ต�่ากว่าลัทธิที่น�าเสนอตอนหลัง เพื่อให้ลัทธิดังกล่าวดูสูงส่งน่า  เลื่อมใสนั่นเอง   ไม่วา่ จะเป็นผลิตภัณ ห์ รือลัทธิทอี่ งิ วิทยาศาสตร์จอมปลอม   จะพบว่ามีการน�าค�าศัพท์  ท ษฎี  และผลลัพธ์ทางวิทยาศาสตร์มา  ใช้อย่างสับสน ผิดที่ผิดทาง คือไม่เป็นไปตามเงื่อนไขของท ษฎีที่  เกี่ยวข้อง   • หากเป็นผลิตภัณ ์  ก็จะไม่พบหลักฐานทางวิชาการที่  เชื่อถือได้สนับสนุน เช่น บทความวิจัยที่ได้รับการตรวจสอบโดย  ผู้ทรงคุณวุฒิ

ข่าวองค์การอาหารและยา (อย.) เตือนเกี่ยวกับชุดชั้นในอินฟราเรด ที่มา : หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ หน้า 5 (เศรษฐกิจ)

p8-21.indd 12

9/23/13 11:57 AM


13

ช� า แ ห ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ อ ม ป ล อ ม

• หากเป็นลัทธิความเชื่อ ก็จะใช้การตีความค�าศัพท์และ  ท ษฎีต่าง ๆ เพื่อให้ดูประหนึ่งว่าลัทธิของตนนั้นช่างสอดคล้องกับ  วิทยาศาสตร์สมัยใหม่เสียนี่กระไร กลยุทธ์ที่ 2 : อ้างหลักฐานสนับสนุน เช่น สิทธิบัตร ผลการทดสอบจากสถาบัน และคัมภีร์ทางศาสนา แฉกลยุทธ์ที่  2 : หากสนใจผลิตภัณ ์หนึ่ง ๆ ที่อ้างว่า  ได้รับสิทธิบัตร ก็ควรตรวจสอบว่าสิทธิบัตรนั้นมีจริงหรือไม่  และ  ข้อมูลในสิทธิบัตรสอดคล้องกับสรรพคุณต่าง ๆ ที่ผลิตภัณ ์นั้น  กล่าวอ้างหรือไม่   เคยมีก รณี   “น�้า มัน เบนซินลวงโลก” กรณีหนึ่งที่อ้างว่า  “ผ่านการทดสอบคุณภาพในทุกรายการที่ส่งทดสอบ” ซึ่ง ังเผิน ๆ   เหมือนว่าน่าจะใช้งานได้  แต่ข้อเท็จจริงก็คือ มาตรฐานก�าหนดให้  ทดสอบน�้ามันชนิดใหม่ต้องผ่านการทดสอบกว่า 20 รายการ โดย  ผู้ผลิตน�้ามันเบนซินลวงโลกดังกล่าวส่งน�้ามันของตนเข้าทดสอบ  เพียงแค่หา้ รายการเท่านัน้  (และก็ผา่ นทัง้ ห้ารายการนีต้ รงตามอ้าง)

ตัวอย่างข่าวซึ่งระบุว่ามีการคิดค้นน�้ามันเบนซินชนิดใหม่ ที่อ้างว่ามีคุณภาพดี แต่มีราคาถูกกว่าที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งเวลาจะเป็นเครื่องพิสูจน์ที่ดีที่สุดว่าข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร ที่มา : หนังสือพิมพ์คมชัดลึก ปีที่ 2 ฉบับที่ 519 วันอังคารที่ 18 มีนาคม 2546 หน้า 1

p8-21.indd 13

9/23/13 11:57 AM


M i n d & C r e a t i v i t y

42

p38-42.indd 42

ขุมทรัพย์ทางปัญญา

ขอแนะน�าบทความต่อไปนี้   • แผนที่ลิ้นลวงโลก ในนิตยสาร UpDATE ปีที่  19 ฉบับที่  207   ธันวาคม 2547 หน้า 34-39 เขียนโดย ดร. ว่าที่  ร.ต. เจษฎา เด่นดวง-  บริพันธ์   • “The Taste Map : All Wrong” ใน Scientific American,   March 2001 หรือที่  http://www.geocities.com/franzbardon/  tastemap.html   • Collection of References Regarding the Chemotopic   Organization of Taste ที ่ http://www.med-rz.uni-sb.de/med_fak/  physiol1/LDM/chemotopic_1.htm

9/23/13 11:59 AM


43

ช� า แ ห ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ อ ม ป ล อ ม

กร มอวิทยาศาสตร์จอมปลอม สั ส ทอ สัง ม ทย

ในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 มี  ข่าวใหญ่ซงึ่ เป็นทีส่ นใจของคนไทยโดยทัว่ ไปข่าวหนึง่  ได้แก่ ข้อสงสัย  เกี่ ย วกั บ ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ ง าน  T200 ซึ่ ง ผู ้ ผ ลิ ต อ้ า งว่ า เป็ น  อุปกรณ์แบบพกพาทีส่ ามารถตรวจหาวัตถุระเบิด (หรือสารเสพติด)   จากระยะไกลได้   ในที่สุดจึงมีการจัดตั้งคณะกรรมการทดสอบประสิทธิภาพ   T200 และมีการทดสอบอุปกรณ์นใี้ นวันอาทิตย์ท ี่ 14 กุมภาพันธ์  2553 ทีบ่ า้ นวิทยาศาสตร์สริ นิ ธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย   โดยต่อมานายกรัฐมนตรีนายอภิสิทธิ เวชชาชีวะ ได้แถลงผลการ  ทดสอบต่อสื่อสารมวลชนเมื่อวันอังคารที่  1  กุมภาพันธ์  2553   โดยมีข้อความซึ่งเป็นสาระส�าคัญดังนี้  (ถอดเสียงพูดจากคลิปข่าว  ช่อง 9 ใน  ouTube)   “ผลของการทดลองก็ปรากฏว่า การใช้อุปกรณ์นี้สามารถ  ชี้ได้ถูกกล่อง 4 ครั้งจาก 20 ครั้ง ซึ่งไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ  ก็คือ  หมายความว่าไม่ได้แตกต่างจากกรณีที่สุ่มเอา”

p43-65.indd 43

9/23/13 11:59 AM


M i n d & C r e a t i v i t y

44

“เพราะฉะนั้นในขณะนี้สิ่งที่ชัดเจนแน่นอนก็คือว่า จะไม่มี  การซื้ออุปกรณ์นี้เพิ่มเติม   “เพราะว่าทางหน่วยงานผู้ปฏิบัติเขาก็ยังมีความเชื่อของ  เขาอยู่  แล้วก็อาจจะยังไม่ทราบ และอาจจะยังไม่เข้าใจถึงแนววิธี  การในการทดลอง เพราะฉะนั้นก็ต้องเอาข้อมูลนี้ไปให้เขาเข้าใจ   ขณะนี้ในชั้นนี้ก็ต้องแจ้งให้เขาทราบโดยเร็วที่สุด”

ข่าวหน้า 1 หนังสือพิมพ์คมชัดลึก ปีที่ 9 ฉบับที่ 04 วันพ หัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ 255

p43-65.indd 44

9/23/13 11:59 AM


4

ช� า แ ห ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ อ ม ป ล อ ม

เพื่อเป็นการบันทึกกรณีส�าคัญต่อวงการวิทยาศาสตร์และ  สังคมไทยโดยรวมนี้ไว้  ผมจะขอแสดงข้อมูล หลักการ และทัศนะ  ต่อกรณี  T200 นี้ในสามประเด็นหลัก ได้แก่   1. มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : เหตุใด  T200   จึงไม่อาจท�างานได้ตามข้อมูลทางเทคนิคที่บริษัทผู้ผลิตกล่าวอ้าง   กล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือ เหตุใด  T200 จึงเข้าข่ายอุปกรณ์ลวงโลก  ในมุมมองทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   2. มุมมองเชิงสถิติและคณิตศาสตร์  : การทดสอบ  T  200 เมือ่ วันที ่ 14 กุมภาพันธ์ 2553 มีแก่นสารอย่างไร และเหตุใด   T200 จึง “สอบตก” นัน่ คือ ไม่ผา่ นเกณ ท์ สี่ ามารถยอมรับว่าเป็น  อุปกรณ์ที่ใช้งานได้จริง   หากเราเข้าใจหลักการแปลผลทางสถิติในการทดสอบ  ครั้งแรกนี้  ก็ย่อมจะช่วยให้เราเข้าใจผลการทดสอบอุปกรณ์อื่น ๆ   ด้วยวิธีการในท�านองเดียวกันซึ่งอาจมีขึ้นอีกในอนาคต (เช่น กรณี  อุปกรณ์ตรวจจับสารเสพติด ALPHA  เป็นต้น)   3. ข้อสังเกตอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรณี GT200 : กรณี  T200 มีประเด็นส�าคัญทีเ่ กีย่ วข้องมากมาย อีกทัง้ ยังส่งผลกระทบ  ต่อสังคมไทยในแง่มมุ ต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง  ในหัวข้อนีผ้ มจะกล่าว  ถึงกรณีตัวอย่างที่มีผู้เสนอไว้  รวมทั้งประเด็นที่ใหญ่กว่า  T200   นั่นคือ การสร้างความตระหนักเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์จอมปลอม   หรือ Public Awareness of Pseudo- cience

1. มุมมองเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

พิจารณาเอกสารซึง่ ระบุขอ้ มูลทางเทคนิคของ  T200 จาก  บริษัท  lobal Technical ในภาพ   ข้อมูลส�าคัญทีเ่ กีย่ วข้องกับสมรรถนะของเครือ่ งว่าจะสามารถ  ท�างานได้ตามที่กล่าวอ้าง เช่น ตรวจจับวัตถุระเบิด และ/หรือ สาร  เสพติด ฯลฯ มีอย่างน้อยสี่อย่าง ได้แก่  แหล่งพลังงาน (Power   ource) วิธีการตรวจจับ (Detection Method) ระยะห่างที ่ สามารถตรวจจับได้ (Detection Distance) และปริมาณน้อยทีส่ ดุ

p43-65.indd 45

9/23/13 11:59 AM


M i n d & C r e a t i v i t y

2

วงการสื่อสารมวลชน : นอกจากจะช่วยเผยแพร่ความรู้  ทางวิทยาศาสตร์สู่สาธารณชน หรือที่เรียกว่า Public  nder-  standing of  cience แล้ว อยากให้พิจารณาการสร้างความ  ตระหนักเกีย่ วกับ (พิษภัย) ของวิทยาศาสตร์จอมปลอม หรือ Public   Awareness of Pseudo- cience อย่างต่อเนือ่ ง โดยไม่จา� เป็น  ต้องรอให้เกิดคดีหรือกรณีใหญ่ ๆ เช่นนี้ขึ้นมาก่อน กรณี GT200 (และกรณีอน ื่ ๆ ในลักษณะเดียวกัน) เป็น บททดสอบสังคมไทยว่าจะให้ความส�าคัญกับวิชาการที่ถูกต้อง รวมทั้งข้อเท็จจริงที่สามารถตรวจสอบได้มากน้อยเพียงใด

ขุมทรัพย์ทางปัญญา

ขอแนะน�าแหล่งข้อมูลต่อไปนี้   - http://www.gt200.org (เว็บไซต์ของไทยซึง่ เกาะติดกรณี  T200   และกรณีอื่น ๆ ใกล้เคียงกัน)   - http://en.wikipedia.org/wiki/ T200    - http://www. ustnet.org/Lists/ T T%20Resources/  Attachments/440/moleeval_apr02.pdf (บทความจาก  andia   ational Laboratories ซึ่งอธิบายการทดสอบอุปกรณ์ MOL )   - http://www.tnspl.in/solutions/ urveillance/Alpha .pdf   (ข้อมูลเกี่ยวกับ ALPHA  จากผู้ผลิต)   - http://en.wikipedia.org/wiki/Alpha_   - http://www.hazard-detection.com/images/H DD1_  presentation_2010.pdf (ข้อมูลเกี่ยวกับ H DD1 จากผู้ผลิต)   - http://gotoknow.org/blog/science/33 972 (เว็บบล็อกของ  ผมส�าหรับกรณี  T200)

p43-65.indd 62

9/23/13 11:59 AM


เกมจ�าลองการทดสอบ GT200

3

p43-65.indd 63

ช� า แ ห ล ะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ อ ม ป ล อ ม

มีกิจกรรมง่าย ๆ ที่จะช่วยให้เราเข้าใจการทดสอบ  T200 ด้วยวิธี  การทางสถิติได้ดีขึ้น  กิจกรรมนี้จ�าลองการทดสอบ  T200 ให้อยู่  ในรูปแบบที่เรียบง่ายที่สุด โดยเก็บแก่นสาระส�าคัญไว้ได้   ในกิจกรรมนี้จะสมมุติให้     • มี “ผูซ้ อ่ นระเบิด” หนึง่ คน ส่วนทีเ่ หลือ เป็น “ผูค้ น้ หา  ระเบิด” จ�านวน “ผู้ค้นหาระเบิด” ในทางท ษฎีอาจมีกี่คนก็ได้ไม่  จ�ากัด แต่ในทางปฏิบตั สิ กั ประมาณ 100 คนก็จะให้ขอ้ มูลทางสถิต ิ ที่น่าสนใจแล้ว     • มีการซ่อนระเบิดทั้งสิ้น 20 ครั้ง     • แต่ละครั้งระเบิดจะถูกซ่อนในกล่องใดกล่องหนึ่งใน  สี่กล่อง ที่เรียกว่า กล่อง A, B, C หรือ D   วิธีการเป็นดังนี้ครับ     1) ทุกคนได้รับแผ่นเกมจ�าลองการทดสอบ  T200   คนละหนึ่งแผ่น     2) “ผูซ้ อ่ นระเบิด” ซ่อนระเบิด 20 ครัง้  (โดยไม่ให้ใคร  เห็น) เช่น ถ้าครัง้ ที ่ 1 ซ่อนในกล่อง B ก็จะกาช่อง 1B, ครัง้ ที ่ 2 ซ่อน  ในกล่อง D ก็กาช่อง 2D ไล่ไปเรื่อย ๆ จนถึงครั้งที่ 20     3) “ผู้ค้นหาระเบิด” แต่ละคนเดาใจผู้ซ่อนระเบิดว่า  แต่ละครั้งซ่อนในกล่องไหน เช่น ถ้าคิดว่าครั้งที่ 1  ซ่อนในกล่อง B   ก็กาช่อง 1B (เดาถูก) ถ้าคิดว่าครั้งที่  2 ซ่อนในกล่อง A ก็กา 2A   (เดาผิด) ไล่ไปเรื่อย ๆ จนถึงครั้งที่ 20     4) เมือ่  “ผูค้ น้ หาระเบิด” ทุกคนเดาครบทุกข้อแล้ว ก็ถงึ   เวลาที่ “ผู้ซ่อนระเบิด” จะเฉลย ไล่ไปเรื่อย ๆ จากครั้งที่ 1-20     5) “ผูค้ น้ หาระเบิด” แต่ละคนจะนับจ�านวนข้อทีต่ นเอง  เดาถูกเอาไว้ เช่น คุณ ก เดาถูก 4 ข้อ คุณ ข เดาถูก 7 ข้อ ฯลฯ     ) ประมวลภาพรวม โดยนับจ�านวนผู้ที่เดาถูก 0, 1,   2, 3, 4,..., 20 ข้อ

9/23/13 11:59 AM



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.