พระพุทธรูปสำคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย

Page 1

sak 20/9/54



พระพุทธรูปปางแสดงธรรม ประทับนั่งแบบยุโรป ศิลปะทวารวดี


พระพุทธรูปนาคปรกปางสมาธิ ศิลปะลพบุรี


พระพุทธรูปนาคปรกปางมารวิชัย ศิลปะภาคใต้ สกลุช่างไชยา


พระพุทธตรีโลกเชษฐ์ วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพฯ ศิลปะรัตนโกสินทร์


พระพุทธรูปทรงเครื่องต้นอย่างพระมหาจักรพรรดิ วัดนางนอง กรุงเทพฯ ศิลปะรัตนโกสินทร์


สำรบัญ ค�าน�าส�านักพิมพ์  ค�าน�าผู้เขียน

กล่ำวน�ำ

ความหมาย ที่มา และคติการสร้างพระพุทธรูป  ประเภท วัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างพระพุทธรูป    • งานประติมากรรม    • งานจิตรกรรม    • พระพุทธรูปปางต่างๆ

ยุคสมัยของพระพุทธรูปในประเทศไทย  การก�าหนดชื่อเรียกยุคสมัยและการก�าหนดอายุ  พระพุทธรูปในศิลปะช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๙    • พระพุทธรูปรุ่นแรกที่พบในดินแดนไทย   (ก่อนสมัยทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๙-๑๑)    • พระพุทธรูปรุ่นแรกที่สร้างขึ้นในดินแดนไทย   กับหลักฐานการรับวัฒนธรรมพุทธศาสนา    • ศิลปะทวารวดี (ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖)    • ศิลปะภาคใต้และสมัยศรีวิชัย (ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๘)    • ศิลปะเขมรที่พบในประเทศไทย (ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๘)    • ศิลปะสมัยลพบุรี (กลางพุทธศตวรรษที่ ๑๘-ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙)    • ศิลปะหริภุญชัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘)    • ศิลปะภาคใต้ สกุลช่างไชยา พุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙)  พระพุทธรูปในศิลปะตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๑๙-ปัจจุบัน    • ศิลปะสมัยสุโขทัย (ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙-ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐)  • ศิลปะสมัยล้านนา (ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙-ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๒)    • ศิลปะสมัยอยุธยา (ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐-ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๔)  • ศิลปะล้านช้างและศิลปะลาว (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙  ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๔)  • ศิลปะสมัยรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ ๒๔-ปัจจุบัน)  สรุปรูปแบบและลักษณะพระพุทธรูปในศิลปะไทยแต่ละสมัย

๑๙ ๒๐ ๒๔ ๒๖ ๒๙ ๒๙ ๓๑ ๓๒ ๔๑ ๔๑ ๔๒ ๔๒ ๔๘ ๕๑ ๖๐ ๖๖ ๗๐ ๗๕ ๘๐ ๘๒ ๘๒ ๙๑ ๑๐๑ ๑๑๑ ๑๑๗ ๑๒๖


พระพุทธรูปส�ำคัญของไทย

คติการสร้างพระพุทธรูป    • แนวคิดพระพุทธรูปส�าคัญ  พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองและพระพุทธรูปส�าคัญของไทย : ประวัติความเป็นมา และรูปแบบศิลปกรรม    • พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง    • พระพุทธรูปที่มีผู้ศรัทธามากที่สุดในประเทศไทย    • พระพุทธรูปส�าคัญในสมัยต่างๆ (ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรม   มีความงาม มีศรัทธา และความศักดิ์สิทธิ์ในการเคารพบูชา)

พระพุทธรูปกับศรัทธำควำมเชื่อของคนไทยต่อพระพุทธศำสนำ

ความศรัทธาในพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองที่เกิดจากความศักดิ์สิทธิ์   และคุณค่าของความงามทางศิลปกรรม  ศรัทธาและจุดมุ่งหมายในการสร้างพระพุทธรูปจากหลักฐานศิลาจารึก  คติการสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ : ภาพสะท้อนความรุ่งเรืองของบ้านเมือง   ทางศาสนา เศรษฐกิจ และอ�านาจทางการเมือง  คติการสร้างพระพุทธรูปกับวัฒนธรรมประเพณีที่ส�าคัญ  การสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ในสวนสาธารณะหรือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ :    งานในพุทธศตวรรษปัจจุบันกับแนวความคิดอย่างใหม่ที่ปรับเปลี่ยน  ผลกระทบต่อการสร้างพระพุทธรูปขนาดใหญ่ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน  วัฒนธรรมบริโภคนิยมกับการหมดไปของศิลปะท้องถิ่น  ความศรัทธาและพุทธพาณิชย์  พระพุทธรูปกับการท่องเที่ยว  พระพุทธรูปกับการสร้างศรัทธาที่แปลกใหม่

บรรณำนุกรม

ภาคผนวก ๑ พระพุทธรูปปางต่างๆ  ภาคผนวก ๒ มหาบุรุษลักษณะ ๓๒ ประการ  ภาคผนวก ๓ ภาพลายเส้นเปรียบเทียบพัฒนาการ   ของพระพุทธรูปในรายละเอียดต่างๆ

๑๓๔ ๑๓๔ ๑๓๖ ๑๓๘ ๑๓๘ ๑๕๗ ๑๖๕ ๓๘๐ ๓๘๐ ๓๘๕ ๓๘๙ ๓๙๔ ๓๙๖ ๔๐๒ ๔๐๔ ๔๐๗ ๔๐๘ ๔๑๐ ๔๑๔ ๔๒๐ ๔๒๖ ๔๒๘


กล่ำวน�ำ พระพุทธรูป คือ รูปเคำรพแทนองค์พระพุทธเจ้ำ ในดินแดนไทยได้พบ หลักฐานตั้งแต่เมื่อแรกเริ่มรับวัฒนธรรมทางศาสนาประมาณพุทธ-  ศตวรรษที่   ๘-๙ และพบว่ า มี ก ารสร้ า งพระพุ ท ธรู ป เป็ น ของตั ว เอง  เกิดขึ้นในสมัยทวารวดีตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เป็นต้นมา จนถึง  ปัจจุบัน พระพุทธรูปในแต่ละยุคสมัยได้สะท้อนถึงงานช่างที่บ่งบอกถึง  ความเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละสกุลช่าง พัฒนาการทางด้านรูปแบบ  ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับดินแดนใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ยังมีเรื่อง  ของขนาด ปริมาณ และวัสดุในการสร้างที่บอกได้ถึงความเจริญรุ่งเรือง  ความเสือ่ ม ความมีอา� นาจ และอิทธิพลทางการเมืองในแต่ละยุคสมัยได้  เป็นอย่างดี   ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันในสังคมไทยยังมีความเชื่อถือศรัทธา  พระพุทธรูป มีการเคารพบูชา การสร้าง และการท�านุบ�ารุงรักษาพระ  พุทธรูปอยูต่ ลอดเวลา และดูเหมือนว่าในปัจจุบนั มีความศรัทธาเพิม่ มาก  ยิง่ ขึน้   ความศรัทธาดังกล่าวเป็นผลมาจากชาวไทยเป็นชาวพุทธทีม่ คี วาม  เชือ่ ในการท�าบุญกุศลด้วยการสร้างพระพุทธรูปเพือ่ ถวายให้กบั พระพุทธ-  ศาสนา การอุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ใดผู้หนึ่งหรือตัวผู้สร้างเอง เพื่อเป็นการ  สัง่ สมบุญบารมีในอันทีจ่ ะไปเกิดในชาติทดี่ ขี นึ้  ความปรารถนาทีจ่ ะไปเกิด  ในยุคของพระศรีอาริย์ และผลสุดท้ายคือการหลุดพ้นจากการเวียนว่าย  ตายเกิด คือ การนิพพาน

๒๔ พระพุทธรูปส�าคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย


ด้วยเหตุที่พระพุทธรูปเป็นตัวแทนอย่างหนึ่งของงานศิลปกรรม  ทีแ่ สดงให้เห็นถึงความเจริญและความเสือ่ มของบ้านเมืองและพระพุทธ-  ศาสนา การศึกษารูปแบบและพัฒนาการทางศิลปะในแต่ละยุคสมัยจึง  เป็นข้อมูลส�าคัญอย่างหนึ่งในการศึกษาทางประวัติศาสตร์ศิลปะและ  โบราณคดี เช่น ในสมัยทวารวดี พระพุทธรูปได้สะท้อนให้เห็นถึงยุคสมัย  แรกเริ่มที่มีการรับพระพุทธศาสนาจากอินเดียที่มีรูปแบบและการแสดง  ปางที่ใกล้เคียงกัน  ในสมัยสุโขทัย พระพุทธรูปมีความงามตามอุดมคติ  อาจสะท้อนให้เห็นถึงความสงบร่มเย็นของชาวสุโขทัย  หรือแม้แต่ในสมัย  รัชกาลที ่ ๓ ทีม่ กี ารสร้างวัดและพระพุทธรูปอย่างมาก อันสะท้อนให้เห็น  ถึงสังคมที่ต้องการศาสนาในการสั่งสอนคน และเป็นศูนย์กลางในการ  ศึกษาศิลปวิทยาการต่าง ๆ เป็นต้น อีกส่วนหนึง่ พบว่าคนไทยมีความศรัทธาต่อพระพุทธรูปทีม่ คี วาม  ส�าคัญ เป็นพระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิค์ บู่ า้ นคูเ่ มือง เช่น พระแก้วมรกต พระ  พุทธสิหงิ ค์ พระพุทธชินราช พระพุทธโสธร  หรือพระพุทธรูปส�าคัญขนาด  ใหญ่ เช่น พระพุทธไตรรัตนนายก วัดพนัญเชิง  หลวงพ่อมงคลบพิตร  วิหารพระมงคลบพิตร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นต้น  พระพุทธรูป  ส�าคัญเหล่านี้เป็นศูนย์รวมส� าคัญทางด้านจิตใจของคนในชาติ จาก  ศรัทธาความเชือ่ เรือ่ งพระพุทธรูป ท�าให้ตอ้ งทบทวนแนวความคิดว่า คน  เหล่านัน้ ไหว้พระพุทธรูปด้วยเหตุผลใด และมีความเข้าใจในเรือ่ งรูปแบบ  ศิลปกรรม ประวัติความเป็นมา แนวความคิดในการก่อสร้างมากน้อย  เพียงใด จากเหตุผลดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการศึกษาเรื่องพระพุทธรูป  ในประเทศไทย เพื่อการศึกษาทางด้านรูปแบบศิลปกรรมของพระพุทธ-  รูป ประวัตคิ วามเป็นมา พัฒนาการทางด้านรูปแบบ ความศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละ  ความศรัทธาของประชาชนที่มีต่อพระพุทธรูปส�าคัญ เพื่อเป็นข้อมูลทาง  วิชาการทีจ่ ะน�าไปค้นคว้าวิจยั  การน�าไปใช้ประโยชน์ในการเผยแพร่ความรู้  ทั่วไปในการเรียนการสอน การท่องเที่ยว และเป็นประโยชน์ต่อคนทั่วไป  ในการสร้างความเข้าใจทีถ่ กู ต้องในการเคารพบูชาพระพุทธรูป ตลอดจน  เป็นการสืบทอดพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนสืบไป

๒๕ ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

กล่ำวน�ำ


ควำมหมำย ที่มำ และคติกำรสร้ำงพระพุทธรูป พระพุทธรูป หรือ พระพุทธปฏิมา คือ รูปแกะสลักจากหิน ไม้ รูป  หล่อโลหะ หรือรูปปัน้ จากดินขึน้ รูปตามคติมหาบุรษุ ลักษณะ เพือ่ เป็นการ  ระลึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า องค์ศาสดาผูก้ อ่ ตัง้ พระพุทธศาสนา เพือ่ ให้  พุทธศาสนิกชนได้เคารพกราบไหว้บูชา ที่มาของการสร้างพระพุทธรูปมี  ปรากฏอยู่ใน ต�ำนำนพระแก่นจันทน์ ซึ่งได้กล่าวถึงพุทธประวัติตอน  ที่พระพุทธองค์ได้เสด็จขึ้นไปเทศนาโปรดพระพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้น  ดาวดึงส์ และทรงประทับอยูบ่ นนัน้ เป็นระยะเวลา ๑ พรรษา  ฝ่ายพระเจ้า  ปเสนทิโกศลแห่งกรุงสาวัตถีบนโลกมนุษย์มีความร�าลึกถึงพระพุทธองค์  จึ ง ทรงรั บ สั่ ง ให้ ช ่ า งแกะสลั ก พระพุ ท ธรู ป ด้ ว ยไม้ แ ก่ น จั น ทน์ แ ดงขึ้ น ประดิษฐานไว้เหนืออาสนะทีน่ งั่  อันเป็นทีพ่ ระพุทธองค์เคยประทับ  ครัน้   พระพุทธองค์เสด็จกลับจากดาวดึงส์มาถึงที่ประทับ พระแก่นจันทน์  ได้ลุกขึ้นต้อนรับพระองค์เป็นมหัศจรรย์ แต่พระพุทธเจ้าได้ตรัสให้พระ  แก่นจันทน์ประทับลงทีเ่ ดิม เพือ่ ให้สาธุชนรุน่ หลังได้เห็นเป็นแบบอย่างใน  การสร้างพระพุทธรูปในคราวทีพ่ ระพุทธองค์ทรงดับสังขารไปแล้ว  อย่างไร  ก็ตามต�านานดังกล่าวคงจะเป็นเรื่องราวที่มีการแต่งเรียบเรียงขึ้นใน  สมัยที่มีการสร้างพระพุทธรูปกันแพร่หลายแล้ว   ในระยะเวลา ๒๐๐-๖๐๐ ปี   หลั ง จากที่ พ ระพุ ท ธเจ้ า เสด็ จ ปรินพิ พาน ยังไม่ปรากฏว่ามีประเพณีการสร้างพระพุทธรูปเพือ่ การเคารพ  บูชา หรืออาจจะเป็นข้อห้ามอยูใ่ นขณะนัน้   แต่จะมีการสร้างภาพสัญลักษณ์  แทนเหตุการณ์สา� คัญในพุทธประวัตติ อนต่าง ๆ เช่น รูปพระนางสิรมิ หา-  มายาทรงยืนเหนีย่ วกิง่ ไม้แสดงตอนประสูต ิ รูปต้นโพธิม์ ที ปี่ ระทับว่างเปล่า  อยู่ที่โคนต้นแสดงการตรัสรู้แจ้งเห็นจริงของพระพุทธเจ้า หรือรูปธรรม-  จักรมีกวางหมอบด้านหน้าอันหมายถึงการแสดงธรรมเทศนาเป็นครัง้ แรก  ของพระพุทธองค์ เป็นต้น ดังตัวอย่างภาพสลักทีส่ ถูปสาญจีและทีเ่ จติย-  สถานต่าง ๆ ที่สร้างขึ้นในสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช   การสร้างพระพุทธรูปเป็นครั้งแรกในอินเดียปรากฏขึ้นในสมัย  ของพระเจ้ากนิษกะในราชวงศ์กษุ าณะ แห่งแคว้นคันธาระ ราวพุทธศักราช  ๒๖ พระพุทธรูปส�าคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย


๖๖๓-๗๐๕ โดยได้รับแรงบันดาลใจจากชาวกรีกผู้นิยมสร้างรูปเคารพ  เทพเจ้า ผสมผสานกับความเชื่อดั้งเดิมของชาวอินเดียพื้นเมืองที่มีการ  สร้างรูปเคารพอยู่แล้ว จึงเกิดเป็นคติการสร้างรูปเคารพพระพุทธรูปขึ้น  เป็นครั้งแรก จัดเป็นพระพุทธรูปสมัยคันธารราฐที่มีลักษณะรูปร่าง  หน้าตา และการห่มจีวรคล้ายการนุง่ ผ้าของชาวกรีกโบราณ  อารยธรรม  กรีกที่กล่าวถึงนี้ได้แผ่ขยายเข้าสู่ดินแดนชมพูทวีปตั้งแต่พุทธศตวรรษ  ที ่ ๓ ภายใต้การน�าของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช กษัตริยแ์ ห่งอาณา  จักรแมซิโดเนีย ทางตอนเหนือของประเทศกรีซ ที่ได้แผ่ขยายอ�านาจ  ครอบคลุมดินแดนต่าง ๆ ในคาบสมุทรบอลข่าน อียิปต์ ตุรกี เปอร์เซีย  รวมถึงดินแดนในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย คือ แคว้นคันธาระ  ในขณะนั้น พระพุทธรูปไม่ใช่รปู เหมือนของพระพุทธเจ้า แต่เป็นรูปสัญลักษณ์  แทนพระพุทธองค์  พระพุทธรูปแต่ละสกุลช่างแต่ละสมัยจะมีความ  แตกต่างกันด้านรูปแบบไปบ้าง ทว่าพระพุทธรูปทุกองค์ล้วนแสดงถึง  สัญลักษณ์สา� คัญที่เรียกว่า มหาปุริสลักษณะ คือ ลักษณะของมหาบุรุษ  ทัง้  ๓๒ ประการ ซึง่ มีระบุในต�านานว่าเป็นลักษณะของพระพุทธเจ้า เช่น  มีขนระหว่างคิ้ว เรียกว่า อุณำโลม ส่วนบนของศีรษะนูนสูงขึ้นคล้าย  สวมมงกุฎ เรียกว่า พระเกตุมำลำ หรือ อุษณีษะ  มีพระรัศมีหรือแสง  เปล่งออกมาจากพระเศียร คือต่อมกลมคล้ายดอกบัวตูม หรือชูสูงขึ้น  คล้ายเปลวไฟ เป็นต้น (ดูค�าอธิบายในภาคผนวก ๒ หน้า ๔๒๖)   พระพุทธรูปเก่าแก่ที่สุดที่พบในประเทศไทยเป็นพระพุทธรูป  ที่สร้างขึ้นในประเทศอินเดีย  พบทั้งพระพุทธรูปสมัยอมราวดี (ศิลปะ  อินเดีย ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๗-๙) และพระพุทธรูปสมัยคุปตะ (ศิลปะ  อินเดีย ช่วงพุทธศตวรรษที ่ ๙-๑๑) เป็นพระพุทธรูปขนาดเล็กพอเหมาะ  ส�าหรับพ่อค้าหรือนักบวชชาวอินเดียจะน�าติดตัวเดินทางเข้ามาค้าขาย  และเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนที่เป็นประเทศไทยในปัจจุบันได้  โดยสะดวก ชนท้องถิน่ คงเริม่ มีการยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาแบบนิกาย  เถรวาทในราวพุทธศตวรรษที่ ๘-๙ ดังปรากฏหลักฐานการสร้างศาสน-  สถาน พระพุทธรูป และประติมากรรมดินเผารูปพระสงฆ์ที่บริเวณเมือง  ๒๗ ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

กล่ำวน�ำ


ภาพลายเส้นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐)

ศิลปะสุโขทัย ระยะแรก ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙

พระพุทธรูปขัดสมาธิเพชร สมัยสุโขทัย ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐

พระพุทธรูปหมวดใหญ่ พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐

พระพุทธรูปลีลา สมัยสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐

๙๐ พระพุทธรูปส�าคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย


• ศิลปะสมัยล้านนา

(ต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๙-ต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๒)

อาณาจักรล้านนาเริม่ ต้นในสมัยของพญามังรายจากแคว้นโยนก (เชียงราย) ยกทัพเข้ามาโจมตีและยึดครองแคว้นหริภญ ุ ชัยได้ พระองค์ จึงได้รวมเอาแคว้นโยนกและแคว้นปิง (หริภุญชัย) เข้าด้วยกัน แล้ว สถาปนาเมืองขึ้นใหม่คือ “เชียงใหม่” ในปี พ.ศ. 18๓๙2๙ จึงนับเป็น การเริ่มต้นของอาณาจักรล้านนาอย่างแท้จริง อาณาจักรล้านนาเจริญ รุง่ เรืองอยูต่ งั้ แต่ตน้ พุทธศตวรรษที่ 1๙ เป็นต้นมาจนถึงต้นพุทธศตวรรษ ที่ 22 จึงตกอยูภ่ ายใต้การปกครองของพม่าเป็นเวลากว่า 2๐๐ ปี ภาย หลังจึงมาขึ้นต่อกรุงเทพฯ ในสมัยรัตนโกสินทร์ การจัดล�าดับยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ศิลปะของล้านนามี แนวความคิดในการจัดค่อนข้างต่างจากศิลปะสุโขทัยที่ส่วนใหญ่ใช้ รูปแบบและวิวัฒนาการเป็นหลัก แต่ในล้านนานอกจากจะพิจารณาจาก รูปแบบและวิวัฒนาการแล้ว ยังใช้เอกสารทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง กัน ได้แก่ ต�านาน พงศาวดาร และจารึก การแบ่งยุคสมัยจึงอิงอยู่ กับการจัดล�าดับยุคทางประวัติศาสตร์ เพราะเหตุว่าในล้านนานั้นมี หลักฐานทางด้านเอกสารเหล่านี้ใช้ยืนยันได้ เราจึงสามารถแบ่งระยะยุค ของล้านนาได้ดังนี้ คือ

ระยะที่ ๑ ล้านนาระยะแรก ยุคแห่งการสร้างบ้านแปงเมือง  (สมัยพญามังราย-พระเจ้าผายู พ.ศ. ๑๘๓๙-๑๙๐๐)

พระพุทธรูปมีวิวัฒนาการสืบต่อมาจากศิลปะหริภุญชัยตอน ปลายส่วนหนึ่ง และส่วนหนึ่งคงกลับไปรับอิทธิพลของปาละจากพุกาม เข้ามาอีกครั้งหนึ่ง เพราะเหตุว่าในสมัยหริภุญชัยนั้นมีวิวัฒนาการจน กลายเป็นแบบพืน้ บ้านไปแล้ว แต่ในล้านนาระยะแรกนีง้ านศิลปกรรมกลับ ไปใกล้เคียงกับปาละยิ่งขึ้น พระพุทธรูปมีพระพักตร์กลม ทรงแย้ม พระโอษฐ์ ขมวดพระเกศาใหญ่ ชายสังฆาฏิสั้นเหนือพระกรรณ และ พระพุทธรูปในระยะแรกนีไ้ ม่จ�าเป็นต้องท�าขัดสมาธิเพชรเสมอไป เพราะ เหตุวา่ การท�าขัดสมาธิราบนัน้ ปรากฏอยูน่ านแล้วในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้๓๐ รวมทั้งในสมัยหริภุญชัยก็พบทั้งขัดสมาธิเพชรและขัดสมาธิราบ ๙1 ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

ยุคสมัยของพระพุทธรูปในประเทศไทย


สรุปรูปแบบและลักษณะพระพุทธรูปในศิลปะไทยแต่ละสมัย ศิลปะทวารวดี (ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖)  พระพุทธรูปมีพระพักตร์กลมแป้น พระขนงต่อกันเป็นรูปปีกกา พระ นาสิกแบน พระโอษฐ์หนาแบะ ขมวดพระเกศาใหญ่ อุษณีษะเตี้ย นิยมแสดงปางทรงแสดงธรรม (วิตรรกมุทรา)

ศิลปะที่พบทางภาคใต้และสมัยศรีวิชัย (ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘) กลุ่มที่ ๑ มีลักษณะที่เป็นแบบท้องถิ่นที่สืบทอดมาจากสายวัฒนธรรม อิ น เดี ย ของศิ ล ปะอมราวดี แ ละศิ ล ปะคุ ป ตะ พระพั ก ตร์ ก ลมป้ อ ม ขมวดพระเกศาใหญ่ พระเนตรโปน กลุ่มที่ ๒ อิทธิพลศิลปะทวารวดี แสดงวิตรรกทั้งสองพระหัตถ์ ครอง จีวรห่มคลุม พระพักตร์แบน พระขนงต่อกันเป็นรูปปีกกา พระเนตร โปน พระนาสิกแบน พระโอษฐ์แบะ ริมพระโอษฐ์หนา ขมวดพระ เกศาใหญ่ มีอุษณีษะเตี้ย ๆ กลุ่มที่ ๓ สมัยศรีวิชัย อิทธิพลศิลปะปาละและศิลปะชวาภาคกลาง พระพุทธรูปประทับนัง่ ขัดสมาธิเพชร เหนือฐานบัวคว�า่ -บัวหงาย เรียกว่า “บัวแบบปาละ” มีชายผ้าที่คลี่ออกมาด้านหน้าตัดเป็นรูปครึ่งวงกลม คล้ายพัด พระพุทธรูปมีพระพักตร์เล็ก ขมวดพระเกศาปานกลาง มี อุษณีษะ ไม่มีพระรัศมี สังฆาฏิสั้นระดับพระถันปลายตัดตรง

ศิลปะเขมรที่พบในประเทศไทย (ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๘) ศิลปะเขมรที่พบในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในสมัยนครวัดและสมัย บายน ส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูปนาคปรก สมัยนครวัด พระพุทธรูป มีพระพักตร์สี่เหลี่ยม แสดงสีพระพักตร์ถมึงทึง พระเนตรเบิกกว้าง นิยมพระพุทธรูปทรงเครือ่ ง มีเทริดและมงกุฎทรงกรวย ประดับกรองศอ และนาคมีเครื่องทรง สมัยบายน พระเนตรปิดเหลือบลงต�่า แสดง ถึงสมาธิและความสงบ พระพุทธรูปทรงแย้มพระโอษฐ์ นิยมเรียกว่า “ยิ้มแบบบายน” 12๖ พระพุทธรูปส�าคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย


ศิลปะสมัยลพบุรี (กลางพุทธศตวรรษที่ ๑๘-ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙) ส่วนใหญ่เป็นพระพุทธรูปนาคปรกปางสมาธิ ประทับนัง่ เหนือขนดนาค สามชัน้ พระชงฆ์มสี นั เล็กน้อย พระเศียรยังแสดงเครือ่ งทรงคือมงกุฎ ทรงสูงที่ท�าเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นมีการประดับลายกลีบบัว พระเนตร ปิดและเหลือบลงต�า่ พระโอษฐ์แบะกว้าง ขอบพระโอษฐ์หนา ทรงแย้ม พระโอษฐ์แบบบายน แต่มีลักษณะที่แตกต่างจากศิลปะบายน ได้แก่ พระพักตร์ยาวเป็นรูปไข่มากกว่า พระวรกายยืดสูงกว่า

ศิลปะหริภุญชัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘)  พระพุ ท ธรู ป มี อิ ท ธิ พ ลศิ ล ปะพุ ก าม พระพุ ท ธรู ป ขั ด สมาธิ เ พชร มี ชายผ้าที่ตกลงมาที่หน้าตักท�าเป็นรูปครึ่งวงกลมและมีริ้วซ้อนกัน คล้ า ยพั ด พระพั ก ตร์ เ คร่ ง ขรึ ม พระขนงต่ อ กั น และยกเป็ น สั น ขึ้ น มา พระเนตรโปน พระโอษฐ์ ห นาและกว้ า ง บางครั้ ง พบเป็ น ร่ อ งคล้ า ยกั บ พระมั ส สุ ขมวดพระเกศามี ลั ก ษณะเฉพาะคื อ เป็ น เกลียวยกสูงขึ้นมามาก มีอุษณีษะทรงกรวยขนาดใหญ่

ศิลปะภาคใต้ สกุลช่างไชยา (ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๘-๑๙) พระพุทธรูปแสดงรูปแบบระหว่างศิลปะทวารวดีและศิลปะเขมร เช่น การแสดงวิตรรกมุทราทั้งสองพระหัตถ์แบบทวารวดี มีรัดประคด และผ้าจีบหน้านางประดับลวดลายแบบเขมร ส่วนที่เป็นลักษณะ เฉพาะคือ การแสดงปางประทานอภัยด้วยพระหัตถ์ซ้าย รัดประคด ท�าคดโค้งอย่างมาก พระรัศมีเป็นต่อมกลมขนาดใหญ่และมีใบโพธิ์ ประดับ พระพักตร์รูปไข่ พระขนงโก่ง พระเนตรใหญ่ ปิดและเหลือบ ลงต�่า พระนาสิกโด่ง ริมพระโอษฐ์บางและริมพระโอษฐ์บนจีบ

12๗ ศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์

ยุคสมัยของพระพุทธรูปในประเทศไทย


พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง และพระพุทธรูปส�าคัญของไทย : ประวัติความเป็นมาและรูปแบบศิลปกรรม แนวทำงกำรศึกษำเกี่ยวกับพระพุทธรูปและศรัทธำควำมเชื่อ ของคนไทย อำจก�ำหนดเกณฑ์ทั่ว ๆ ไปเป็นข้อสังเกตในกำรท�ำควำม เข้ำใจดังนี้คือ กลุ่มที่ 1 พระพุทธรูปคู่บ้ำนคู่เมือง กลุ่มที่ ๒ พระพุทธรูปที่มีศรัทธำมำกที่สุดในประเทศไทย กลุ่มที่ 3 พระพุทธรูปส�ำคัญในสมัยต่ำง ๆ (ที่มีคุณค่ำทำง ศิลปกรรม มีควำมงำม มีศรัทธำและควำมศักดิ์สิทธิ์ในกำรเคำรพบูชำ) • พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง พระพุทธรูปส�ำคัญที่จัดเป็นพระพุทธรูปคู่บ้ำนคู่เมืองที่ควร กล่ำวถึงมี ๒ องค์ คือ พระพุทธมหำมณีรัตนปฏิมำกร (พระแก้วมรกต) และพระพุทธสิหิงค์

พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต)

พระพุทธมหำมณีรตั นปฏิมำกร หรือ พระแก้วมรกต (รูปที ่ ๖๘) มีต�ำนำนและพงศำวดำรกล่ำวถึงประวัติควำมเป็นมำหลำยกระแส โดย ส่วนใหญ่แล้วจะกล่ำวถึงทำงด้ำนปำฏิหำริยเ์ ป็นส�ำคัญ ในส่วนทีป่ รำกฏ ในต�ำนำนของชำวล้ำนนำกล่ำวว่ำ พระแก้วมรกตนั้นสร้ำงขึ้นที่เมือง ปำตลีบตุ ร ประเทศอินเดีย และได้อญ ั เชิญไปยังเกำะลังกำและอำณำจักร รูปที่ ๖๘ พระพุทธมหำมณีรัตนปฏิมำกร (พระแก้วมรกต) ในเครื่องทรงฤดูหนำว ประดิษฐำนภำยในพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศำสดำรำม พระบรมมหำรำชวัง กรุงเทพฯ (ที่มำภำพ : กรมศิลปำกร) 138 พระพุทธรูปส�ำคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย


139 ศำสตรำจำรย์ ดร. ศักดิ์ชัย สำยสิงห์

พระพุทธรูปส�าคัญของไทย


พระพุทธรูป กับศรัทธาความเชื่อของคนไทย ต่อพระพุทธศาสนา ความศรัทธาในพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ที่เกิดจากความศักดิ์สิทธิ์และคุณค่าของ ความงามทางศิลปกรรม พระพุทธรูปส�ำคัญที่มีควำมศักดิ์สิทธิ์และผู้คนศรัทธำ เช่น พระแก้วมรกต พระพุทธสิหิงค์ พระพุทธชินรำช พระพุทธโสธร เป็นต้น ควำมส�ำคัญของพระพุทธรูปเหล่ำนีน้ เี้ กิดจำกต�ำนำนกำรสร้ำงและประวัติ ควำมเป็นมำ พระพุทธคุณ ควำมศักดิส์ ทิ ธิอ์ ภินหิ ำรต่ำง ๆ ตัวอย่ำงเช่น พระแก้ ว มรกต (รู ป ที่   ๑๘๐) เป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ มี ต� ำ นำน ควำมเป็นมำอันแสดงควำมส�ำคัญและศักดิ์สิทธิ์คือ เกิดจำกเทวดำหรือ พระอินทร์มำเนรมิต มีกำรอัญเชิญพระแก้วมรกตไปประดิษฐำนตำม ที่ต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ และเป็นพระพุทธรูป ทีส่ ร้ำงด้วยวัสดุหำยำก แม้วำ่ จะเป็นหินสีเขียวแต่กเ็ ข้ำใจกันว่ำเป็นมรกต เหล่ำนี้นับเหตุผลส�ำคัญที่ท�ำให้พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปอันทรง คุณค่ำและท�ำให้เกิดศรัทธำแก่ประชำชนทั้งชำวไทย ชำวลำว และชำว เขมร จึงมีผู้คนนิยมกรำบไหว้บูชำ รวมทั้งกำรสร้ำงพระแก้วจ�ำลองขึ้น อย่ำงแพร่หลำย พระพุทธสิหงิ ค์ (รูปที ่ ๑๘๑) แม้วำ่ ตำมต�ำนำนพระพุทธสิหงิ ค์ จะเกิดขึ้นพร้อมกับพระแก้วมรกต แต่ศรัทธำควำมศักดิ์สิทธิ์นั้นรองลง มำจำกพระแก้วมรกต อย่ำงไรก็ตำมจำกต�ำนำนที่กล่ำวถึงควำมศรัทธำ 380 พระพุทธรูปส�ำคัญและพุทธศิลป์ในดินแดนไทย


รูปที่ ๑๘๐ พระพุทธมหำมณีรัตนปฏิมำกร (พระแก้วมรกต) และบรรยำกำศภำยใน พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศำสดำรำม พระบรมมหำรำชวัง กรุงเทพฯ

รูปที่ ๑๘๑  พระพุทธสิหิงค์ ประดิษฐำนในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ พิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ พระนคร กรุงเทพฯ

381 ศำสตรำจำรย์ ดร. ศักดิ์ชัย สำยสิงห์

พระพุทธรูปกับศรัทธาความเชื่อของคนไทยต่อพระพุทธศาสนา


sak 20/9/54


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.