กำเนิดสปีชีส์ The Origin of Species (พิมพ์ครั้งที่ 4)

Page 1

DARWIN

ON

THE ORIGIN OF SPECIES OR THE

PRESERVATION OF FAVOURED RACES IN THE STRUGGLE FOR LIFE.

กำเนิด

การคัดเลือกโดยธรรมชาติ natural selection การดิ้นรนเพื่อความดำรงอยู struggle for existence

กำเนิด

การแพร กระจายทางภูมิศาสตร geographical distribution

650305

โดย

ชาร ลส ดาร ว�น

ดร. นำชัย ช�วว�วรรธน และคณะ แปล

786164 9

ISBN 978-616-465-030-5

หมวดว�ทยาศาสตร

ราคา 399 บาท

ชาร ลส ดาร ว�น

ข าพเจ าเร�ยกหลักการเก็บรักษา ความผันแปรเล็กน อยแต ละอย าง ที่มีประโยชน ไว นี้ด วยคำศัพท ว า การคัดเลือกโดยธรรมชาติ

กฎของความผันแปร laws of variation

โดย

คำนิยมโดย ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ว�สุทธ�์ ใบไม

การคัดเลือกทางเพศ sexual selection ความผันแปรใดก็ตาม ซ�่งสืบเนื่องมาจากการดิ้นรนเพื่อช�ว�ต ไม ว าจะเล็กน อยเพียงใดและไม ว าด วยสาเหตุใดที่ทำให มันสืบทอดต อมา หากความผันแปรนั�นมีประโยชน ในระดับใดก็ตาม ต อสิ่งมีช�ว�ตแต ละตัวของสป ช�ส ใดๆ… ความผันแปรนั�นมีแนวโน มจะนำไปสู การเก็บรักษาสิ่งมีช�ว�ตตัวนั�นไว แล วโดยทั่วไปจะสืบทอดสู รุ นลูกของมัน รวมทั�งรุ นลูกเหล านี้ยังมีโอกาสอยู รอดดีกว า…

กฎทั่วไปกฎหนึ่งซ�่งนำไปสู พัฒนาการ ของสิ่งมีช�ว�ตทั้งมวล นั่นคือ การเพิ่มจำนวน และการผันแปรเพื่อให สิ่งมีช�ว�ตที่เข มแข็งที่สุด มีช�ว�ตอยู และสิ่งมีช�ว�ตที่อ อนแอที่สุดตายไป ชาร ลส ดาร ว�น

BY MEANS OF NATURAL SELECTION,

ชาร ลส ดาร ว�น ได ปฏิวัติการศึกษา ช�วว�ทยาและประวัติศาสตร ธรรมชาติ ของสิ่งมีช�ว�ตในโลกนี้ อย างหาที่เปร�ยบมิได ในประวัติศาสตร ของมนุษยชาติ… ทฤษฎีว�วัฒนาการของดาร ว�น มีผลต อการพัฒนาองค ความรู ด านว�ทยาศาสตร ช�วภาพ ยุคใหม และการไขปร�ศนา เกี่ยวกับความจร�งของสิ่งมีช�ว�ตในโลกนี้

ี่ 4

รั้งท พ ค พิม

CHARLES

หนังสือขายดีระดับโลก ที่เสนอแนวคิดอันทรงพลังที่สุดทางว�ทยาศาสตร ซ�่งยังคงก อให เกิดความเห็นต างมานานกว า 150 ป

399.-

หนังสือคลาสสิกยอดเยี่ยมตลอดกาลที่สั่นสะเทือนทั้งวงการว�ทยาศาสตร และศาสนา ได รับการพิมพ ฉบับแปลกว า 40 ภาษารวมกว า 400 สำนวนทั่วโลก


หนังสือ ก�ำเนิดสปีชีส์ The Origin of Species ผู้เขียน ชาร์ลส์ ดาร์วิน บรรณาธิการคณะผู้แปล  ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์ ผู้แปล ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์, ดร. อุบลศรี เลิศสกุลพาณิช, รศ. ดร. จันทร์เพ็ญ จันทร์เจ้า, ผศ. ดร. ต่อศักดิ์ สีลานันท์, ดร. ณัฐพล อ่อนปาน, ผศ. ดร. ศศิวิมล แสวงผล, ว่าที่ร้อยตรี รศ. ดร. เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ © สงวนลิขสิทธิ์โดยส�ำนักพิมพ์สารคดี ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด ห้ามการลอกเลียนไม่วา่ ส่วนหนึ่งส่วนใดของหนังสือ นอกจากจะได้รับอนุญาต พิมพ์ครั้งที่ 1, 2, 3 พ.ศ. 2558 พิมพ์ครั้งที่ 4 กุมภาพันธ์ 2563  จ�ำนวนพิมพ์ 2,000 เล่ม ราคา 399 บาท ข้อมูลบรรณานุกรม ดาร์วิน, ชาร์ลส์ โรเบิร์ต. ก�ำเนิดสปีชีส์. The Origin of Species.--พิมพ์ครั้งที่ 4.--นนทบุรี : สารคดี, 2563. 512 หน้า. I. สปีชีส์ (Species).  1. ชื่อเรื่อง. II. ดาร์วิน, ชาร์ลส์ โรเบิร์ต, ค.ศ. 1809-1882. 575 ISBN 978-616-465-030-5

คณะผู้จัดท�ำ บรรณาธิการต้นฉบับแปล : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ กองบรรณาธิการ : ปณต ไกรโรจนานันท์, นฤมล สุวรรณอ่อน ออกแบบปก/จัดรูปเล่ม : ชาญศักดิ์ สุขประชา คอมพิวเตอร์ : วัลลภา สะบู่ม่วง พิสูจน์อักษร : นวลจันทร์ ทองมาก ควบคุมการผลิต : ธนา วาสิกศิริ จัดพิมพ์ ส�ำนักพิมพ์สารคดี (ในนามบริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด) จัดจ�ำหน่าย บริษัทวิริยะธุรกิจ จ�ำกัด 3 ซอยนนทบุรี 22 ถนนนนทบุรี (สนามบินน�้ำ) ต�ำบลบางกระสอ อ�ำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร 0-2547-2700 โทรสาร 0-2547-2721 เพลต เอ็น.อาร์.ฟิล์ม โทร. 0-2215-7559 พิมพ์ ด่านสุทธาการพิมพ์  โทร. 0-2966-1600-6 ส�ำนักพิมพ์สารคดี ผู้อ�ำนวยการ : สุวพร ทองธิว ผู้จัดการทั่วไป : จ�ำนงค์ ศรีนวล ที่ปรึกษากฎหมาย : สมพจน์ เจียมพานทอง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายศิลป์/ฝ่ายผลิต : จ�ำนงค์ ศรีนวล ผู้จัดการฝ่ายตลาด/โฆษณา : กฤตนัดตา หนูไชยะ บรรณาธิการส�ำนักพิมพ์ : สุวัฒน์ อัศวไชยชาญ

สั่งซื้อหนังสือออนไลน์ที่ @sarakadeemag

หนังสือเล่มนี้ใช้หมึกพิมพ์ซึ่งมีส่วนผสมของน�้ำมันถั่วเหลือง ช่วยลดการใช้วัตถุดิบจากน�้ำมันปิโตรเลียม ช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

aworigin0-14-3.indd 2

19/02/2020 21:46


จากส�ำนักพิมพ์

หากถามว่า เหตุใดเราถึงต้องอ่านก�ำเนิดสปีชีส์ ที่เขียนโดย ชาร์ลส์ ดาร์วิน นอกเสียจากชื่อเสียงที่ได้รับการยอมรับกันทั่วโลก ว่าคือหนังสือวิทยาศาสตร์ที่ ยอดเยี่ยมตลอดกาล และสร้างความสั่นสะเทือนอย่างใหญ่หลวงต่อทั้งวงการ วิทยาศาสตร์ ศาสนา หรือแม้กระทั่งสังคมและการเมือง ค�ำตอบหนึ่งอาจเป็นว่า ผลงานชิ้นนี้แสดงถึงพลังอ�ำนาจสูงสุดในการ พยายามท�ำความเข้าใจ “ธรรมชาติ” ของมนุษย์ เป็นธรรมชาติที่มี “กฎ” ซึ่งควบคุมให้ทุกสิ่งด�ำเนินไปอย่างสอดคล้อง มิใช่เพราะถูกควบคุมด้วย “อ�ำนาจพิเศษ” ที่อยู่นอกเหนือเหตุและผล และด้วยสติปัญญาของมนุษย์ เราก็อาจเข้าถึง “กฎ” นั้นได้ ในก�ำเนิดสปีชีส์ เราจะได้เห็นการแสดงหลักการ พร้อมด้วยข้อเท็จจริง และตัวอย่างอันมากมายที ่ ชาร์ลส์ ดาร์วนิ  ยกขึน้ มาน�ำเสนอ และทีส่ ำ� คัญยิง่ ยวด คือค�ำอธิบายอย่างรอบคอบต่อทุกข้อโต้แย้งรุนแรงทีม่ ตี อ่ ทฤษฎีของเขา  ในแต่ละ บทครอบคลุมทุกประเด็นจากข้อเท็จจริงทัว่ โลกเท่าทีพ่ บในยุคสมัยนัน้   โดยดาร์วนิ ได้ตรวจสอบข้อมูลต่างๆ และบรรดาความเชื่อกับความยึดมั่นซึ่งครอบง�ำมา นาน และยังท�ำการทดลองแปลกๆ เพื่อพิสูจน์ความจริงและค้นหาความเป็นไป ได้ในทุกวิถีทาง หากใครก็ตามทีต่ อ้ งการเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ทำ� งานอย่างไร สิง่ ทีด่ าร์วนิ แสดงไว้ในหนังสือเล่มนี้คือตัวอย่างอันยอดเยี่ยมที่สุดเท่าที่เคยมีบันทึกมา ส�ำหรับก�ำเนิดสปีชีส์ ฉบับแปลภาษาไทยครั้งแรกนี้ ส�ำนักพิมพ์สารคดี ขอขอบพระคุณอย่างสูงต่อคณะผู้แปลซึ่งถือว่าเป็นผู้ได้สร้างก้าวส�ำคัญครั้งใหญ่ ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น    3

aworigin0-14-3.indd 3

16/03/2015 16:43


ของการแปลหนังสือวิทยาศาสตร์ที่มีความส�ำคัญระดับโลก ซึ่งเป็นหนังสือที่มี คุณค่าสูงยิ่งที่คนไทยควรจะได้อ่าน ดุจเดียวกับนวนิยายคลาสสิกระดับโลกของ นักประพันธ์ต่างๆ  โดยคณะผู้แปลได้มอบความไว้วางใจให้ส�ำนักพิมพ์สารคดี เป็นผู้ดูแลในการบรรณาธิการขั้นสุดท้ายและจัดพิมพ์ หากมีข้อผิดพลาดประการใดๆ ปรากฏในการจัดพิมพ์ฉบับภาษาไทย ครั้งนี้ ส�ำนักพิมพ์สารคดีขอน้อมรับความผิดพลาดนั้นไว้ในความรับผิดชอบของ ส�ำนักพิมพ์ทุกประการ ก�ำเนิดสปีชสี  ์ ได้ตงั้ ค�ำถามต่อความเชือ่ ทีค่ รอบง�ำมานาน แม้ในปัจจุบนั ว่าเราอยู่ภายใต้ความพึงพอใจของ “อ�ำนาจพิเศษ” ที่อยู่เหนือค�ำอธิบายใดๆ หรืออยู่ภายใต้ “กฎ” ของธรรมชาติที่มีหลักการ อธิบายได้ด้วยเหตุและผล ไม่ส�ำคัญว่าทฤษฎีในหนังสือเล่มนี้ถูกต้องอย่างสมบูรณ์หรือไม่ แต่ สิ่งส�ำคัญกว่าที่ก�ำเนิดสปีชีส์ ได้มอบไว้แก่มนุษยชาติ โดย ชาร์ลส์ ดาร์วิน ผู้เป็น “ตัวแทน” อันโดดเด่นของมนุษย์ คือความตระหนักในพลังแห่งสติปัญญาที่ ก่อรูปขึ้นจากการรวบรวมข้อเท็จจริงมากมายมหาศาล และความอุตสาหะอย่าง ยิ่งยวดในการพิจารณาถึงกฎหรือหลักการที่เชื่อมโยงข้อเท็จจริงเหล่านั้นอย่างมี เหตุและผล นี่อาจเป็นลักษณะและนิสัยอันเด่นชัดที่สุดที่ท�ำให้มนุษย์ “วิวัฒน์” มา จนถึงทุกวันนี้ มิใช่การยอมจ�ำนนให้แก่การกระท�ำของ “อ�ำนาจพิเศษ” ที่มิอาจเข้าใจ ได้แต่อย่างใด

ส�ำนักพิมพ์สารคดี

4    กํ า เ นิ ด ส ปี ชี ส์  T h e O r i g i n o f S p e c i e s

aworigin0-14-3.indd 4

16/03/2015 16:43


ค�ำนิยม

ธรรมชาติของสรรพสิง่ แท้จริงแล้วหนีไม่พน้ ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ตาม หลักพุทธปรัชญา ซึง่ มนุษย์ในโลกปัจจุบนั เริม่ รับรูแ้ ละเข้าใจในความจริงดังกล่าว จากข้อมูลข่าวสารผ่านสือ่ ต่างๆ เกีย่ วกับเหตุการณ์การเปลีย่ นแปลงของโลกทีเ่ กิด ถีข่ นึ้ มาก ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ความแปรปรวนของภูมอิ ากาศ โลกจนท�ำให้เกิดภาวะแห้งแล้ง อากาศร้อนจัดและหนาวจัด การเกิดพายุรุนแรง จนเกิดน�้ำท่วมในทุกภูมิภาคของโลก ตลอดจนการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตจ�ำนวน มากจากกิจกรรมของมนุษย์ในการบุกรุกท�ำลายป่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการของโลกเกิดขึ้นทั้งทางกายภาพ และชีวภาพ  นักวิชาการมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับก�ำเนิดสิง่ มีชวี ติ บนโลกนีก้ ว่า 3,500 ล้านปีทแี่ ล้ว และพบว่าสิง่ มีชวี ติ มีการสูญพันธุแ์ ละมีววิ ฒ ั นาการต่อเนือ่ งกัน มาตลอดเวลาจนเกิดความหลากหลายของสปีชีส์ทั้งจุลินทรีย์ พืช และสัตว์  นัก วิชาการยอมรับกันอย่างกว้างขวางว่า สรรพสัตว์บนโลกนีม้ วี วิ ฒ ั นาการมายาวนาน จากหลักฐานทางธรณีวทิ ยาและชีววิทยาพืน้ ฐาน โดยเฉพาะวิชาการด้านกายวิภาค เปรียบเทียบและด้านซากดึกด�ำบรรพ์ ซึง่ สะท้อนให้เห็นชัดเจนว่าสัตว์ไม่มกี ระดูก สันหลังเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการมาเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง จนกระทั่งเกิดเป็น พวกสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนม ไพรเมต และมนุษย์ ซึง่ นับว่าเป็นจุดสูงสุดของสัตว์โลก ข้อมูลพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ดังกล่าวได้รับการยืนยันสนับสนุนจากการศึกษา ชีววิทยายุคใหม่ทงั้ ในระดับโมเลกุลและระดับประชากรโดยใช้เทคโนโลยีทที่ นั สมัย แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตเริ่มมีมาตั้งแต่ยุคกลางโดย นักปราชญ์ชาวกรีก อาทิ เพลโต (Plato) และอริสโตเติล (Aristotle) ผูม้ คี วามเชือ่ ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น    5

aworigin0-14-3.indd 5

16/03/2015 16:43


ว่าสรรพชีวิตทั้งมวลล้วนเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติโดยพลังมืด ความเชื่อเช่นนี้ได้รับการบอกเล่าสืบทอดต่อกันมาในยุโรป  จนกระทั่งต้นคริสต์ศตวรรษที ่ 19 เมือ่ นักธรรมชาติวทิ ยาชาวฝรัง่ เศสชือ่ ลามาร์ก (Lamarck) ได้แสดง ความคิดเห็นอย่างโจ่งแจ้งว่า สิง่ มีชวี ติ ทุกรูปแบบทีป่ รากฏบนโลกล้วนเป็นผลพวง ของการเปลีย่ นแปลงวิวฒ ั นาการมาจากบรรพบุรษุ โดยการปรับตัวให้เหมาะสมกับ สิ่งแวดล้อม  ดังกรณีตัวอย่างที่รู้จักกันดีว่า ยีราฟคอยาววิวัฒนาการมาจาก ั นาการของลามาร์กไม่สามารถพิสจู น์ให้เห็น บรรพบุรษุ ยีราฟคอสัน้  แต่ทฤษฎีววิ ฒ จริงได้ในสมัยนั้น จึงเกิดการต่อต้านอย่างมากจากนักธรรมชาติวิทยาร่วมสมัย แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตได้เปลี่ยนโฉมหน้าไป มากทีส่ ดุ ในกลางคริสต์ศตวรรษที ่ 19 เมือ่  ชาร์ลส์ ดาร์วนิ  (Charles Darwin) นัก ธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษได้เสนอข้อมูลหลักฐานอย่างละเอียดพร้อมด้วยค�ำ อธิบายยืนยันการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตตามทฤษฎีการคัดเลือก โดยธรรมชาติ ชาร์ลส์ ดาร์วนิ  มีความสนใจในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับประวัตศิ าสตร์ธรรมชาติ ตั้งแต่วัยเด็ก เขาเรียนจบปริญญาตรีด้านเทววิทยา แต่กลับมีความรู้และความ ช�ำนาญด้านสัตว์ พืช และธรณีวิทยามากกว่าด้านอักษรศาสตร์ และด้วยความ สามารถดังกล่าวท�ำให้ดาร์วินได้รับโอกาสดีที่ร่วมเดินทางไปกับเรือหลวงบีเกิล (HMS Beagle) ในฐานะนักธรรมชาติวิทยาหนุ่มเพื่อส�ำรวจธรรมชาติรอบโลก โดยเฉพาะในทวีปอเมริกาใต้ ดาร์วนิ ได้เก็บตัวอย่างพืช สัตว์ และซากดึกด�ำบรรพ์ จ�ำนวนมาก รวมทั้งข้อมูลทางธรณีวิทยา  ตลอดเวลา 5 ปี (ค.ศ. 1831-1836) ของการเดินทางส�ำรวจรอบโลก ดาร์วินได้บันทึกข้อมูลทางวิทยาศาสตร์และข้อ สังเกตต่างๆ อย่างละเอียดจนก่อให้เกิดฐานคิดทฤษฎีก�ำเนิดสปีชีส์โดยการคัด เลือกตามธรรมชาติอย่างชัดเจน ในขณะเดียวกัน อัลเฟรด วอลเลซ (Alfred Wallace) นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษได้ศึกษาความหลากหลายของสัตว์ และพืชในหมู่เกาะมลายูและอินโดนีเซีย และได้พัฒนาแนวคิดขึ้นมาเองเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของสปีชีส์คล้ายกับทฤษฎีวิวัฒนาการของดาร์วิน  ในที่สุดนักธรรมชาติวิทยาทั้งสองท่านก็ได้รับเชิญให้เสนอผลงานการวิจัยที่น�ำไปสู่การตั้งทฤษฎี วิวัฒนาการพร้อมกันในที่ประชุมวิชาการของสมาคมลินเนียนแห่งกรุงลอนดอน เมื่อกลางปี ค.ศ. 1858 หลังจากการประชุมฯ ดาร์วินได้ทุ่มเทเวลาและความ 6    กํ า เ นิ ด ส ปี ชี ส์  T h e O r i g i n o f S p e c i e s

aworigin0-14-3.indd 6

16/03/2015 16:43


อุตสาหะให้แก่งานเขียนหนังสือเล่มส�ำคัญเรือ่ ง On the Origin of Species by  Means of Natural Selection, or the Preservation of Favoured Races  in the Struggle for Life หรือทีร่ จู้ กั กันในชือ่ สัน้ ๆ ว่า The Origin of Species  ซึ่งตีพิมพ์เป็นรูปเล่มออกเผยแพร่ในปลายปี ค.ศ. 1859 หนังสือเล่มนี้ถือว่าเป็น คัมภีร์ทางวิชาชีววิทยาซึ่งมีอิทธิพลอย่างมหาศาลต่อวงการศึกษาด้านปรัชญาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตจนถึงทุกวันนี้ ชาร์ลส์ ดาร์วนิ  ได้ปฏิวตั กิ ารศึกษาชีววิทยาและประวัตศิ าสตร์ธรรมชาติ ของสิ่งมีชีวิตในโลกนี้อย่างหาที่เปรียบมิได้ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ อัน เป็นฐานรากส�ำคัญส�ำหรับการวิจยั ชีววิทยาพืน้ ฐานของนักวิชาการรุน่ ต่อๆ มาจน เกิดการค้นพบสิง่ ใหม่ๆ ในด้านซากดึกด�ำบรรพ์สตั ว์ พืช และจุลนิ ทรีย ์ ตลอดจน การวิจยั ชีววิทยาสาขาใหม่ ได้แก่ นิเวศวิทยาและพันธุศาสตร์ ทัง้ ในระดับประชากร และในระดับโมเลกุลดีเอ็นเอที่ช่วยอธิบายถึงกลไกการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมี ชีวติ และความหลากหลายทางชีวภาพดังทีท่ ราบกันดีในปัจจุบนั   ทฤษฎีววิ ฒ ั นาการ ของดาร์วินมีผลต่อการพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพยุคใหม่และ การไขปริ ศ นาเกี่ ย วกั บ ความจริ ง ของสิ่ ง มี ชี วิ ต ในโลกนี้   ดั ง วลี ข อง ที โ อดอร์ ดอบซานสกี (Theodor Dobzansky) ทีก่ ล่าวไว้วา  ่ “หากไม่ใช้ทฤษฎีววิ ฒ ั นาการ ก็จะไม่สามารถอธิบายอะไรในสาขาชีววิทยาได้เลย” (Nothing in biology makes sense except in the light of evolution.)  ชีวิตและผลงานของ ชาร์ลส์ ดาร์วิน จึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อวงการวิทยาศาสตร์ยุคใหม่ ผมขอแสดงความชืน่ ชมและยินดีกบั ทีมงานผูแ้ ปลกลุม่ นีท้ ไี่ ด้จดั ท�ำหนังสือ แปลเล่มนี้เป็นครั้งแรกของไทยที่มีความหมายและมีความส�ำคัญอย่างยิ่งส�ำหรับ วงการวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยภายใต้ชอื่  ก�ำเนิดสปีชสี  ์ ผูแ้ ปลทุกท่านเป็นผูท้ ี่ มีความรูค้ วามสามารถ และได้ใช้ความพยายาม มุง่ มัน่  และทุม่ เทแรงกายแรงใจ เพื่อให้คนไทยได้มีโอกาสอ่านผลงานของ ชาร์ลส์ ดาร์วิน ในรูปแบบภาษาไทยที่ เข้าใจง่าย  หนังสือเล่มนีจ้ ะท�ำให้ผอู้ า่ นได้รสู้ กึ ถึงความมุง่ มัน่ และความตัง้ ใจอย่าง แน่วแน่ แต่แฝงไว้ดว้ ยความกังวลใจของดาร์วนิ ในขณะทีเ่ ขาก�ำลังเรียบเรียงเนือ้ หา สาระพร้อมการวิเคราะห์ข้อมูลและค�ำอธิบายท่ามกลางข้อจ�ำกัดต่างๆ ทางด้าน ความคิดที่ขัดแย้งกัน รวมทั้งปัญหาด้านสุขภาพของเขาเองจนท�ำให้ดาร์วินคิด ท้อใจบ้างในบางครั้ง แต่ด้วยความมุ่งมั่นพร้อมทั้งหลักฐานและสมมุติฐานที่ ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น    7

aworigin0-14-3.indd 7

16/03/2015 16:43


ชัดเจนท�ำให้ดาร์วินคาดหวังว่า หนังสือที่เขาเขียนนี้จะมีผลดีและมีประโยชน์ต่อ นักวิชาการรุ่นต่อๆ มาในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตได้มากขึ้น เพราะดาร์วินเชื่อมั่นว่า แนวคิดและทฤษฎีวิวัฒนาการของเขาสามารถใช้อธิบาย ความเป็นมาเป็นไปของสิ่งมีชีวิตบนโลกได้จริง หนังสือแปลเล่มนี้จะสร้างความรู้ความเข้าใจถึงที่มาที่ไปของแนวคิด เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและการเกิดสปีชีส์ใหม่ได้เป็นอย่างดี และจะ เป็นแรงบันดาลใจให้นกั ชีววิทยารุน่ ใหม่ของไทยได้ศกึ ษาสิง่ มีชวี ติ ทีม่ คี วามหลาก หลายของชนิดและความหลากหลายทางพันธุกรรมตามระบบนิเวศทีห่ ลากหลาย และซับซ้อนของประเทศไทย เพือ่ ก่อให้เกิดองค์ความรูใ้ หม่ดา้ นความหลากหลาย ทางชีวภาพที่มีอยู่มากมายในทุกภูมิภาคของไทย และเป็นทรัพยากรธรรมชาติ ที่ทรงคุณค่าต่อการพัฒนาการอนุรักษ์และการน�ำไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติต่อไป ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้

8    กํ า เ นิ ด ส ปี ชี ส์  T h e O r i g i n o f S p e c i e s

aworigin0-14-3.indd 8

16/03/2015 16:43


ค�ำปรารภจากคณะผู้แปล

หนังสือ The Origin of Species เป็นหนึง่ ในหนังสือส�ำคัญของโลกทีท่ กุ คนควร จะได้อ่านอย่างน้อยสักครั้งในชีวิต ! เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ผู้คนและหน่วยงานจ�ำนวนมากทั่วโลกกล่าวถึงความส�ำคัญและความ โดดเด่นของหนังสือเล่มนี ้ รวมถึงแนวคิดทีป่ รากฏในหนังสือเล่มนี ้ เช่น นิตยสาร Discover ฉบับเดือนธันวาคม ค.ศ. 2006 ยกย่องให้หนังสือเล่มนีเ้ ป็น 1 ใน 25 หนังสือวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล  ขณะที่เว็บไซต์ Online College Course บรรจุหนังสือนี้ไว้ในรายชื่อ “หนังสือ 100 เล่มส�ำคัญที่ควรอ่านขณะอยู่ มหาวิทยาลัย” รวมอยู่กับหนังสือส�ำคัญเล่มอื่นๆ ทั้งแนววิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ  เช่นเดียวกับทีเ่ ว็บไซต์ OEDB (Open Educational Database) ที่จัดให้เป็น 1 ใน 100 หนังสือวิทยาศาสตร์ยอดนิยมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดตลอดกาล นักอ่าน นักเขียน และนักคิดคนส�ำคัญหลายๆ คนต่างก็ยกย่องให้หนังสือ เล่มนีเ้ ป็นหนังสือส�ำคัญทีม่ ผี ลต่อรากฐานการคิดของชาวตะวันตกและเป็น “หนังสือ ที่เปลี่ยนโลก” แน่นอนว่านิตยสารวิทยาศาสตร์ย่อมต้องยกย่องหนังสือและแนวคิด ด้านวิวัฒนาการอย่างยิ่ง ดังเห็นได้จากนิตยสาร Scientific American ฉบับ พิเศษฉลองครบ 2 ศตวรรษปีเกิดของดาร์วนิ เมือ่ เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009 ระบุ ว่า “เรื่องวิวัฒนาการเป็นแนวคิดที่ทรงพลังที่สุดทางวิทยาศาสตร์” ในท�ำนองเดียวกัน ชาร์ลส์ ดาร์วนิ  ผูเ้ ขียนหนังสือเล่มนีก้ ไ็ ด้รบั การยกย่อง เป็นอย่างสูง ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น    9

aworigin0-14-3.indd 9

16/03/2015 16:43


สารบัญ

บทน�ำ บทที่ 1 ความผันแปรภายใต้การเพาะเลี้ยงให้เป็นพันธุ์พื้นเมือง บทที่ 2 ความผันแปรภายใต้ธรรมชาติ  บทที่ 3 การดิ้นรนเพื่อความด�ำรงอยู่  บทที ่ 4 การคัดเลือกโดยธรรมชาติ  บทที่ 5 กฎของความผันแปร  บทที่ 6 ความยุ่งยากของทฤษฎี  บทที่ 7 สัญชาตญาณ  บทที่ 8 ความเป็นลูกผสม  บทที่ 9 ความบกพร่องของหลักฐานทางธรณีวิทยา  บทที่ 10 การเข้าแทนที่ทางธรณีวิทยาของชีวอินทรีย์  บทที่ 11 การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์  บทที่ 12 การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ — ต่อ  บทที่ 13 ความเกี่ยวดองร่วมกันของชีวอินทรีย์ : สัณฐานวิทยา :  วิทยาเอ็มบริโอ : อวัยวะเจริญอย่างไม่สมบูรณ์  บทที่ 14 ทบทวนและสรุป  ดัชนี  ประวัติคณะผู้แปล

18 24 58 74 94 142 178 214 250 282 314 348 384 412 458 491 507

16    กํ า เ นิ ด ส ปี ชี ส์  T h e O r i g i n o f S p e c i e s

aworigin0-14-3.indd 16

16/03/2015 16:43


aworigin0-14-3.indd 17

16/03/2015 16:43


บทน�ำ

ขณะอยู่บนเรือหลวงบีเกิล (HMS Beagle) ในฐานะนักธรรมชาติวิทยา ข้าพเจ้า สะดุดใจยิ่งกับข้อเท็จจริงอันชัดเจนเรื่องการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ ในทวีปอเมริกาใต้ และเรื่องความสัมพันธ์ทางธรณีวิทยาของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ ในทวีปนั้นในปัจจุบันกับเมื่อในอดีต  ส�ำหรับข้าพเจ้าแล้วข้อเท็จจริงเหล่านี้ฉาย แสงให้แก่การก�ำเนิดสปีชีส์ อันเป็นความลึกลับแห่งความลึกลับทั้งมวล ดังที่นัก ปรัชญาผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่งของเราเรียกขาน  ระหว่างการเดินทางกลับบ้าน ใน ค.ศ. 1837 ข้าพเจ้าก็เกิดความคิดขึน้ ว่า ค�ำถามนีอ้ าจตอบได้ดว้ ยการรวบรวม และพิจารณาข้อเท็จจริงทุกรูปแบบซึ่งอาจชี้ทางไปสู่ค�ำตอบ  หลังจากท�ำงาน วิจยั นาน 5 ปีขา้ พเจ้าจึงกล้าพอจะตัง้ สมมุตฐิ านของเรือ่ งนี ้ และสรุปคร่าวๆ เป็น บันทึกสั้นๆ  ใน ค.ศ. 1844 ข้าพเจ้าขยายความเพิ่มเติมอีก ได้เป็นร่างข้อสรุป ซึ่งดูเหมือนว่าเป็นไปได้ส�ำหรับข้าพเจ้าในขณะนั้น  จากช่วงเวลาดังกล่าวกระทั่ง ปัจจุบัน ข้าพเจ้ายังคงศึกษาเรื่องนี้อย่างต่อเนื่อง  ข้าพเจ้าหวังว่าข้าพเจ้าจะได้ รับการอภัยที่เข้าสู่รายละเอียดส่วนตัวเหล่านี้ เนื่องจากข้าพเจ้าต้องการแสดงให้ เห็นว่า ข้าพเจ้ามิได้เร่งรีบหาข้อสรุปในเรื่องนี้เลย งานของข้าพเจ้าในขณะนี้เกือบเสร็จสิ้นแล้ว แต่เนื่องจากข้าพเจ้าอาจ ต้องใช้เวลาอีก 2 หรือ 3 ปีในการท�ำให้เสร็จสมบูรณ์ และสุขภาพของข้าพเจ้าก็ ไม่สู้แข็งแรงดีนัก  ข้าพเจ้าได้รับการกระตุ้นเตือนให้ตีพิมพ์บทคัดย่อของเรื่องนี้ เสีย แต่ขา้ พเจ้าได้รบั การโน้มน้าวใจมากเป็นพิเศษเมือ่  มร. วอลเลซ (Mr. Wallace) ซึ่งขณะนี้ก�ำลังศึกษาประวัติศาสตร์ธรรมชาติของกลุ่มเกาะมลายูอยู่ ได้ข้อสรุป ทัว่ ไปทีเ่ กือบจะเหมือนกันทุกประการกับทีข่ า้ พเจ้าสรุปในเรือ่ งก�ำเนิดสปีชสี ์  เมือ่ 18    กํ า เ นิ ด ส ปี ชี ส์  T h e O r i g i n o f S p e c i e s

aworigin0-14-3.indd 18

16/03/2015 16:43


ปีก่อนเขาส่งบันทึกเรื่องนี้มาให้ข้าพเจ้า พร้อมกับร้องขอให้ข้าพเจ้าส่งบันทึกนั้น ไปยังเซอร์ชาร์ลส์ ไลเอลล์ (Sir Charles Lyell) ซึง่ ก็ได้สง่ บันทึกนัน้ ไปยังสมาคม ลินเนียน (The Linnean Society) และมีการตีพิมพ์บันทึกดังกล่าวในวารสาร ฉบับปีที่ 3 ของสมาคม  เซอร์ ซี. ไลเอลล์ และ ดร. ฮุกเกอร์ (Dr. Hooker) ซึ่ง ทัง้ สองท่านรูเ้ รือ่ งงานของข้าพเจ้า โดยท่านหลังยังได้อา่ นฉบับร่างของข้าพเจ้าใน ค.ศ. 1844 ด้วย ทัง้ คูใ่ ห้เกียรติขา้ พเจ้าโดยการให้คำ� แนะน�ำว่า ควรตีพมิ พ์เนือ้ หา โดยย่อที่คัดมาบางส่วนจากต้นฉบับของข้าพเจ้าควบคู่ไปกับบันทึกชิ้นเยี่ยมของ มร. วอลเลซ นับเป็นเรือ่ งหลีกเลีย่ งไม่ได้ทบี่ ทคัดย่อซึง่ ข้าพเจ้าตีพมิ พ์นจี้ ะไม่สมบูรณ์ แบบ  ข้าพเจ้าไม่อาจให้รายชื่อเอกสารอ้างอิงและชื่อผู้ให้ข้อมูลส�ำหรับค�ำกล่าว อ้างบางข้อของข้าพเจ้า และข้าพเจ้าจ�ำต้องเชื่อว่าผู้อ่านจะยอมเชื่อใจเรื่องความ ถูกต้องของข้าพเจ้า  ไม่ต้องข้องใจเลยว่าจะมีข้อผิดพลาดต่างๆ เล็ดลอดอยู่ บ้าง แม้ข้าพเจ้าหวังว่าตนเองพยายามระมัดระวังอยู่เสมอกับการเชื่อถือผู้ให้ ข้อมูลที่ดีเท่านั้น  ในที่นี้ข้าพเจ้าอาจให้ได้เพียงข้อสรุปทั่วไปของสิ่งที่ข้าพเจ้า สรุปได้ พร้อมกับรูปภาพเพียงสองสามรูปที่ใช้แสดงข้อเท็จจริง  แต่ข้าพเจ้าก็ หวังว่าในกรณีส่วนใหญ่แล้วน่าจะเพียงพอ  คงไม่มีผู้ใดรู้สึกมากไปกว่าข้าพเจ้า ถึงความจ�ำเป็นหลังจากนี้ที่จะต้องตีพิมพ์รายละเอียดข้อเท็จจริงทั้งหมด พร้อม ด้วยเอกสารอ้างอิงทีข่ า้ พเจ้าใช้เป็นพืน้ ฐานในการเข้าสูข่ อ้ สรุปต่างๆ และข้าพเจ้า หวังว่าในอนาคตจะได้ท�ำงานในส่วนนี้  ข้าพเจ้าตระหนักดีว่าเนื้อหาที่อภิปราย ไว้ในหนังสือเล่มนีแ้ ทบจะไม่มแี ม้แต่จดุ เดียวทีไ่ ร้ขอ้ ถกเถียง  นับเป็นเรือ่ งชัดเจน ว่าบ่อยครั้งที่ข้อเท็จจริงก็ชักน�ำไปสู่ข้อสรุปต่างๆ ในทิศทางตรงกันข้ามกับที่ ข้าพเจ้าสรุป  การจะได้ผลการศึกษาอย่างถูกต้องนัน้ จะเป็นไปได้เฉพาะเมือ่ มีการ กล่าวอ้างและการสร้างสมดุลอย่างเต็มที่ระหว่างข้อเท็จจริงกับข้อโต้แย้งทั้งสอง ด้านของแต่ละค�ำถาม และเรื่องนี้ก็ไม่อาจท�ำได้ในที่นี้ ข้าพเจ้าเสียใจเป็นอย่างยิ่งที่ข้อจ�ำกัดเรื่องพื้นที่ท�ำให้ข้าพเจ้าไม่อาจ แสดงความขอบคุณต่อความช่วยเหลือต่างๆ นานาอันเปี่ยมความกรุณายิ่งที่ นักธรรมชาติวทิ ยามากมายมีให้ขา้ พเจ้า  ในจ�ำนวนนีบ้ า้ งก็ไม่รจู้ กั เป็นการส่วนตัว กับข้าพเจ้า  อย่างไรก็ตามข้าพเจ้าไม่อาจปล่อยให้โอกาสนีผ้ า่ นเลยไปโดยไม่แสดง ความขอบคุณต่อ ดร. ฮุกเกอร์ ผู้ซึ่งในช่วง 15 ปีที่ผ่านมาช่วยเหลือข้าพเจ้าใน ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น    19

aworigin0-14-3.indd 19

16/03/2015 16:43


บทที่ 1

ความผันแปรภายใต้การเพาะเลี้ยงให้เป็นพันธุ์พื้นเมือง สาเหตุของความผันแปร — ผลกระทบของพฤติกรรม — ความสัมพันธ์รว่ มกันของการเติบโต — การสืบทอดลักษณะ — ลักษณะของพันธุเ์ ลีย้ ง (domestic variety) — ความยากลำ�บาก ของการแยกแยะพันธุต์ า่ งๆ ออกจากกัน — กำ�เนิดของพันธุ์เลี้ยงจากหนึ่งสปีชีส์หรือมากกว่า — ความแตกต่างและต้นกำ�เนิดของนกพิราบเลี้ยง — หลักของการคัดเลือกในสมัยโบราณ และผลกระทบ — การคัดเลือกแบบตามกระบวนการและแบบไม่ได้ตง้ั ใจ — กำ�เนิดทีย่ งั ไม่เป็น ที่ทราบกันของผลิตผลจากการเพาะเลี้ยงของเรา — สภาพต่างๆ ซึ่งเหมาะกับอำ�นาจในการ คัดเลือกของมนุษย์

24    กํ า เ นิ ด ส ปี ชี ส์  T h e O r i g i n o f S p e c i e s

aworigin0-14-3.indd 24

16/03/2015 16:43


เมือ่ เรามองไปทีส่ ตั ว์แต่ละตัวหรือพืชแต่ละต้นในพันธุห์ รือพันธุย์ อ่ ย (subvariety) เก่าแก่ที่เราเพาะเลี้ยงกันมานาน หนึ่งในประเด็นแรกๆ ซึ่งสะดุดใจเราก็คือ โดย ทัว่ ไปแล้วพวกมันแต่ละตัวแตกต่างจากกันมากกว่าเมือ่ เทียบกับสัตว์แต่ละตัวหรือ พืชแต่ละต้นในสปีชีส์หรือพันธุ์หนึ่งๆ ในสภาวะธรรมชาติ  เมื่อเรานึกถึงความ หลากหลายอย่างยิง่ ของสัตว์เลีย้ งและพืชปลูก ซึง่ ผันแปรมาทุกยุคทุกสมัยภายใต้ บรรยากาศและการเลีย้ งดูทแ่ี ตกต่างกันเป็นทีส่ ดุ  ข้าพเจ้าคิดว่าเราถูกบังคับให้สรุป ว่า ความผันแปรทีม่ ากยิ่งนี้เป็นเพียงผลเนื่องจากผลิตผลจากการเพาะเลีย้ งของ เราอยู่ภายใต้สภาวะของชีวิตที่ไม่ได้มีรูปแบบเป็นหนึ่งเดียวกันนัก และแตกต่าง กันมากพอสมควรจากสภาวะทีส่ ปีชสี พ์ อ่ แม่ตอ้ งเผชิญในธรรมชาติ  ข้าพเจ้ายังคิด ด้วยว่ามีโอกาสอยูบ่ า้ งทีจ่ ะเป็นไปตามทรรศนะของ แอนดรูว ์ ไนต์ (Adrew Knight) ทีว่ า่ ความผันแปรนีอ้ าจเชือ่ มโยงบางส่วนกับอาหารทีม่ ลี น้ เกิน  ดูเหมือนค่อนข้าง จะชัดเจนว่าระหว่างรุน่ แล้วรุน่ เล่าหลายๆ รุน่  ชีวอินทรียต์ อ้ งประสบกับสภาวะใหม่ๆ ของชีวติ ซึง่ เป็นต้นเหตุให้เกิดความผันแปรในระดับทีเ่ ห็นได้ และเมือ่ การจัดโครง สร้างองค์รวมเกิดความผันแปรขึน้ แล้ว โดยทัว่ ไปก็มกั จะเกิดความผันแปรต่อเนือ่ ง ไปอีกหลายรุน่ มาก  ไม่มหี ลักฐานแม้แต่กรณีเดียวว่า ภายใต้การเพาะเลีย้ งให้เป็น พันธุ์พื้นเมือง ความผันแปรได้หยุดลง  พืชเก่าแก่ที่สุดที่เรานำ�มาเพาะปลูก เช่น ข้าวสาลี ยังคงให้ลกั ษณะใหม่ๆ อยูเ่ รือ่ ยๆ  สัตว์พนื้ เมืองเก่าแก่ทสี่ ดุ ของเราต่าง ก็ยังคงสามารถปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนได้อย่างรวดเร็ว เรือ่ งทีว่ า่ ช่วงใดของชีวติ ก่อให้เกิดความผันแปร ไม่วา่ ในรูปแบบใด โดย ทัว่ ไปแล้วยังเป็นกรณีถกเถียงกันอยูว่ า่ เกิดขึน้ ในช่วงต้นหรือช่วงปลายการพัฒนา ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น    25

aworigin0-14-3.indd 25

16/03/2015 16:43


aworigin0-14-3.indd 490

16/03/2015 16:43


ดัชนี

ก กฎของความผันแปร  142 กฎลำ�ดับที่ 2  279, 469, 482 กฎเอกภาพของต้นแบบ  211 ก้นทะเล  295 กระต่าย  352 กระบวนการลดระดับของแผ่นดิน   286 กระเพาะว่ายน้ำ�  451 กระรอกบิน  187 กลุ่มของสปีชีส์  318 กลุ่มคละ  429 กลุ่มเบี่ยงเบน  429 กลุ่มย่อยภายใต้กลุ่ม  477, 482 กลุ่มหิน  284, 293, 297, 464 กลุ่มหินชอล์ก  290, 324 กลุ่มหินชุดตติยภูมิ  306 กลุ่มหินตติยภูม  ิ 295, 321 กลุ่มหินใต้ทะเล  326 กลุ่มหินที่มีซากดึกดำ�บรรพ์  303 กวาง  259 ก็อดวิน-ออสเต็น (Godwin-Austen)  302

กอร์ดีเยรา  352, 374 กะเทย  109 กะหล่ำ�ปลี  111 การกระจายพันธุ์ในระหว่างยุคน้ำ�แข็ง   367 การกลายผ่าน  305 การกลายพันธุ  ์ 304 การกำ�หนดจำ�นวนเฉลี่ยของ สปีชีส์  83 การแกว่งกวัดของระดับ  291, 295, 304, 311, 344, 359 การเข้าแทนที่  209, 329, 340, 410 การเข้าแทนที่ทางธรณีวิทยา  314 การแข่งขัน  322, 329 การคัดเลือก  45 - แบบไม่รู้ตัว  51, 222 - แบบสะสม  46 การคัดเลือกของมนุษย์  114 การคัดเลือกโดยธรรมชาติ  53, 76, 94, 101, 104, 108, 136, 145, 147, 153, 157, 162, 180, 189,  192, 200, 206, 209, 211, 217,  239, 246, 285, 319, 322, 328,  ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น    491

aworigin0-14-3.indd 491

16/03/2015 16:43


381, 433, 454, 459, 473 การคัดเลือกโดยมนุษย์  53, 151 การคัดเลือกทางเพศ  101, 166, 203 การจัดจำ�แนก  137, 413, 477, 485 การชะล้าง  288 การชะล้างของแถบวีลด์  290 การใช้  145 การซ้ำ�อย่างพืช  158 การ์ดเนอร์ (Gardner)  375 การดิ้นรนเพื่อความดำ�รงอยู่  68, 74, 192, 433, 459, 466  การดิ้นรนระหว่างเพศผู้เพื่อ ครอบครองเพศเมีย  102 การตกตะกอน  297 การ์ตเนอร์ (Gartner)  64, 252, 267, 274, 276 การทดลองเรื่องการลอยน้ำ�ทะเล ของพืช  362 การทรุดตัว  295, 298 การทวีจำ�นวนแบบยกกำ�ลัง เชิงเรขาคณิต  21 การทำ�ลายล้างขนานใหญ่  81 การแบ่งหน้าที่เชิงสรีรวิทยา  107 การปรับตัวร่วมกัน (co-adaptation)  75 การปรับตัวให้เข้ากับสภาพภูมิอากาศ   150 การปรับปรุงพันธุ  ์ 51 การปรับเปลี่ยน  156, 175 การปรับเปลี่ยนผ่านการคัดเลือก โดยธรรมชาติ  353, 395 การปรากฏขึ้นอย่างฉับพลัน ของทั้งกลุ่มสปีชีส  ์ 305, 309 การเป็นหมัน  279, 460, 480

- กฎที่ควบคุม  260 - ของลูกผสม  254 - ของลูกผสม  269 - เป็นเรื่องเกิดขึ้นโดยบังเอิญ  266 - มีแนวโน้มถูกกำ�จัดด้วยการ เพาะเลี้ยง  273 - เมื่อผสมข้ามครั้งแรก  252 - สาเหตุ  268 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ  96 การเปลี่ยนผ่าน  186 การเปลี่ยนระดับของแผ่นดิน  358 การผสมข้าม  36, 56, 105, 109, 114, 460, 473 - พืช  255 - สัตว์  259 การผสมข้ามครั้งแรก  268, 279 การผสมข้ามแบบไขว้  263, 280 การผสมในสายพันธุ์ใกล้ชิด  85, 272 การผสมในสายเลือดใกล้ชิดกัน  254 การผันกลับ  31, 42, 169, 170, 472 การผันแปรแต่กำ�เนิด  164 การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์  348, 384, 420, 427, 461, 475 การแพร่กระจายเป็นครั้งคราว  360 การยกตัวขึ้น  296 การรังสรรค์  144, 168, 192, 200, 373, 390, 395, 399, 470, 472,  481 การรังสรรค์ชีวิตจากศูนย์กลาง แห่งเดียว  358 การไร้ปีกของด้วง  147 การลดระดับของแผ่นดิน  464 การเลิกใช้  145, 175, 188, 199, 454, 478

492    กํ า เ นิ ด ส ปี ชี ส์  T h e O r i g i n o f S p e c i e s

aworigin0-14-3.indd 492

16/03/2015 16:43


506    กํ า เ นิ ด ส ปี ชี ส์  T h e O r i g i n o f S p e c i e s

aworigin0-14-3.indd 506

16/03/2015 16:43


ประวัติคณะผู้แปล

ดร. น�ำชัย ชีววิวรรธน์ ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโทจากภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหา วิทยาลัยมหิดล ด้วยทุนพัฒนาและส่งเสริมผูม้ คี วามสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (พสวท.) และระดับปริญญาเอกจาก Kumamoto University ด้วย ทุนมอนบูโชของประเทศญีป่ นุ่  เข้าท�ำงานทีส่ ำ� นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ตัง้ แต่ป ี 2537  ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งรองผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายสือ่ วิทยาศาสตร์ และท�ำหน้าทีเ่ กีย่ วกับการสือ่ สารวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย การเขียน แปล ตรวจบรรณาธิการ และเป็นพิธีกร มีงานเขียนและงานแปลด้าน วิทยาศาสตร์ภาษาไทยแล้ว 20 เล่ม ในจ�ำนวนนีม้ พี จนานุกรมเทคโนโลยีชวี ภาพ  อังกฤษ-ไทย และสารานุกรมบริแทนนิกา (หมวดพันธุศาสตร์) รวมอยู่ด้วย ดร. อุบลศรี เลิศสกุลพาณิช ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินยิ มอันดับ 2) จากภาควิชาชีวเคมี คณะ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาเอกด้านชีวเคมีจาก Virginia Polytechnic Institute & State University ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยทุน กระทรวงวิทยาศาสตร์  เข้าท�ำงานที่ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ตั้งแต่ ปี 2542  ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่งนักวิจยั อาวุโส  งานวิจยั ทีผ่ า่ นมา ได้แก่ การศึกษา เป้าหมายยาต้านมาลาเรียและกลไกการดื้อยาแอนติโฟเลตในเชื้อมาลาเรีย ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น    507

aworigin0-14-3.indd 507

16/03/2015 16:43


รองศาสตราจารย์ ดร. จันทร์เพ็ญ จันทร์เจ้า ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านชีววิทยา (เกียรตินิยมอันดับ 2) จากคณะ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้วยทุนพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความ สามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ระดับปริญญาโทและ เอกด้านชีววิทยาจาก Virginia Tech ประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยทุนจากส�ำนัก งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2542 จนถึงปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ต่อศักดิ์ สีลานันท์ เป็นคนลพบุร ี เริม่ เรียนระดับประถมศึกษาทีโ่ รงเรียนก�ำจรวิทย์ แล้วย้ายมาศึกษา ต่อที่โรงเรียนธีรศาสตร์จนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จากนั้นศึกษาต่อระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายทีโ่ รงเรียนพระปฐมวิทยาลัย และได้รบั ทุนในโครงการ พสวท. เข้าศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิตและปริญญามหาบัณฑิตในสาขาวิชาพฤกษศาสตร์ ทีจ่ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตจาก Iowa State University ประเทศสหรัฐอเมริกา ในสาขาวิชาพฤกษศาสตร์ด้าน Plant Systematics and Evolution  ปัจจุบันรับราชการเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  สอนและวิจยั ด้านความหลากหลายของ พืชในประเทศไทย และชีววิทยาการสืบพันธุข์ องกล้วยไม้  งานอดิเรกทีช่ นื่ ชอบคือ ท่องเที่ยวธรรมชาติและนอนเปล

508    กํ า เ นิ ด ส ปี ชี ส์  T h e O r i g i n o f S p e c i e s

aworigin0-14-3.indd 508

16/03/2015 16:43


อาจารย์ ดร. ณัฐพล อ่อนปาน ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิ ด ล ปริ ญ ญาโทด้ า น Ecosystem Analysis and Governance จาก University of Warwick และปริญญาเอกสาขา Biological Sciences จาก University of Exeter สหราชอาณาจักร ด้วยทุนโครงการพัฒนาและส่งเสริมผูม้ ี ความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.)  ปัจจุบนั เป็นอาจารย์ ประจ�ำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  มีการสอนและ วิจัยด้านวิวัฒนาการ พันธุศาสตร์ นิเวศวิทยา และความหลากหลายทางชีวภาพ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศศิวิมล แสวงผล จบการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาจากโรงเรียนสาธิตแห่งมหา วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาตรี (เกียรตินยิ มอันดับ 2) สาขาพฤกษศาสตร์จาก ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปริญญาโท สาขาพืชสวนจาก University of Florida เมือง Gainesville ประเทศสหรัฐอเมริกา และปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยา ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  เริ่มท�ำงานในต�ำแหน่งอาจารย์ที่ภาควิชา พฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เมือ่ ปี 2538  ปัจจุบนั เป็น ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาพฤกษศาสตร์  เนือ้ หาวิชาหลักทีส่ อน ั นาการของพืช พฤกษศาสตร์พชื เศรษฐกิจ และการวาด คือ อนุกรมวิธานพืช วิวฒ ภาพทางวิทยาศาสตร์  งานวิจยั หลักคือ การศึกษาความหลากหลายของกล้วยป่า และพันธุ์ทุเรียนในประเทศไทย

ช า ร์ ล ส์ ด า ร์ วิ น    509

aworigin0-14-3.indd 509

16/03/2015 16:43


ว่าที่ร้อยตรี รองศาสตราจารย์ ดร. เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านพันธุศาสตร์จากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับปริญญาโทด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (พันธุวิศวกรรม) จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และระดับปริญญาเอกด้าน Molecular Biology จาก University of Edinburgh สหราชอาณาจักร ด้วยทุน พัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาตั้งแต่ปี 2545  สอนวิชาหลักคือวิชาวิวัฒนาการ (evolution) และร่วมสอนวิชาอื่นๆ ทางด้านชีววิทยา มีความสนใจในด้านการ ศึ ก ษาวิ วั ฒ นาการและความหลากหลายทางชี ว ภาพของสิ่ ง มี ชี วิ ต ต่ า งๆ ใน ประเทศไทย

510    กํ า เ นิ ด ส ปี ชี ส์  T h e O r i g i n o f S p e c i e s

aworigin0-14-3.indd 510

16/03/2015 16:43


CHARLES

DARWIN

หนังสือขายดีระดับโลก ที่เสนอแนวคิดอันทรงพลังที่สุดทางว�ทยาศาสตร ซ�่งยังคงก อให เกิดความเห็นต างมานานกว า 150 ป

ON

THE ORIGIN OF SPECIES

ชาร ลส ดาร ว�น

BY MEANS OF NATURAL SELECTION, OR THE

PRESERVATION OF FAVOURED RACES IN THE STRUGGLE FOR LIFE.

กำเนิด

การคัดเลือกโดยธรรมชาติ natural selection การดิ้นรนเพื่อความดำรงอยู struggle for existence

กำเนิด

การแพร กระจายทางภูมิศาสตร geographical distribution

ความผันแปรใดก็ตาม ซ�่งสืบเนื่องมาจากการดิ้นรนเพื่อช�ว�ต ไม ว าจะเล็กน อยเพียงใดและไม ว าด วยสาเหตุใดที่ทำให มันสืบทอดต อมา หากความผันแปรนั�นมีประโยชน ในระดับใดก็ตาม ต อสิ่งมีช�ว�ตแต ละตัวของสป ช�ส ใดๆ… ความผันแปรนั�นมีแนวโน มจะนำไปสู การเก็บรักษาสิ่งมีช�ว�ตตัวนั�นไว แล วโดยทั่วไปจะสืบทอดสู รุ นลูกของมัน รวมทั�งรุ นลูกเหล านี้ยังมีโอกาสอยู รอดดีกว า…

ISBN 978-616-7767-50-5

หมวดว�ทยาศาสตร

ราคา 399 บาท

ข าพเจ าเร�ยกหลักการเก็บรักษา ความผันแปรเล็กน อยแต ละอย าง ที่มีประโยชน ไว นี้ด วยคำศัพท ว า การคัดเลือกโดยธรรมชาติ

กฎของความผันแปร laws of variation

ชาร ลส ดาร ว�น

คำนิยมโดย ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ว�สุทธ�์ ใบไม

การคัดเลือกทางเพศ sexual selection

โดย

ชาร ลส ดาร ว�น ได ปฏิวัติการศึกษา ช�วว�ทยาและประวัติศาสตร ธรรมชาติ ของสิ่งมีช�ว�ตในโลกนี้ อย างหาที่เปร�ยบมิได ในประวัติศาสตร ของมนุษยชาติ… ทฤษฎีว�วัฒนาการของดาร ว�น มีผลต อการพัฒนาองค ความรู ด านว�ทยาศาสตร ช�วภาพ ยุคใหม และการไขปร�ศนา เกี่ยวกับความจร�งของสิ่งมีช�ว�ตในโลกนี้

กฎทั่วไปกฎหนึ่งซ�่งนำไปสู พัฒนาการ ของสิ่งมีช�ว�ตทั้งมวล นั่นคือ การเพิ่มจำนวน และการผันแปรเพื่อให สิ่งมีช�ว�ตที่เข มแข็งที่สุด มีช�ว�ตอยู และสิ่งมีช�ว�ตที่อ อนแอที่สุดตายไป

399.-

โดย

ชาร ลส ดาร ว�น

ดร. นำชัย ช�วว�วรรธน และคณะ แปล

หนังสือคลาสสิกยอดเยี่ยมตลอดกาลที่สั่นสะเทือนทั้งวงการว�ทยาศาสตร และศาสนา ได รับการพิมพ ฉบับแปลกว า 40 ภาษารวมกว า 400 สำนวนทั่วโลก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.