86 กลเม็ดเคล็ดลับ กับ "ดินหิน"

Page 1

PORTRAIT DRAWING by DIN HIN

P O RT R A I T D R AW I N G by DIN HIN

หมวดศิลปะ ราคา 400 บาท

400.PORTRAIT DRAWING

86 กลเม็ดเคล็ดลับ กับ “ดินหิน” 86 things they don’t tell you about


คำ�นำ�ศิลปิน

หนังสือเล่มนี้เกิดจากเพื่อน ๆ พี่ ๆ น้อง ๆ ใน Facebook ที่สนใจศิลปะด้วยกัน ยุให้รวบรวมงาน เขียนรูปภาพเหมือนของเราที่เขียนเล่น ๆ ให้เพื่อน เขียนลงประกอบเรื่องในหนังสือบ้าง เขียนภาพ เหมือนรับจ้างบ้าง ประกอบกับอยากมีหนังสือประกอบการสอน เพราะเวลาอธิบาย นักเรียนจะจำ� ไม่ได้ทั้งหมด  ถ้าเป็นหนังสือจะเอามาทบทวนทีหลังได้เรื่อย ๆ จึงเห็นประโยชน์ตรงนี้แก่นักเรียน โดย เฉพาะที่อยู่ต่างจังหวัด จึงมีมานะเขียนขึ้นมาจนสำ�เร็จ โชคดีที่คุณจำ�นงค์ ศรีนวล จากสำ�นักพิมพ์ สารคดีภาพได้เห็นและจัดพิมพ์ให้ ทั้ง 86 ข้อของ 86 things they don’t tell you about PORTRAIT DRAWING* ผมเขียนมาจาก ชีวิตจริงและความคิดส่วนตัวที่ถือปฏิบัติอยู่  เป็น ประสบการณ์ตรง ทำ�ได้บ้าง ไม่ได้บ้าง จึงมา บอกเล่าให้คิดกันต่อ เพราะการวาดรูปได้ดีไม่ใช่เพียงแค่วาดรูปเป็น ซึ่งใช้เพียงแค่ทักษะเท่านั้น ก็จะ เป็นเพียงงานช่าง  แต่การวาดรูปที่เป็นศิลปะบริสุทธิ์ (Pure Art) จะต้องใช้จินตนาการผสมผสาน กับจิตวิญญาณอันซับซ้อนที่ยากจะบอกเล่าเป็นคำ�พูดหรือตัวหนังสือได้  เพราะเป็นอารมณ์ความรู้สึก ในการรับรู้ เป็นความรู้สึกสัมผัส (Perception) ผมจึงเห็นว่ามีองค์ประกอบมากมายที่จะบอกเล่า เพื่อ จะเป็นแรงบันดาลใจให้แก่คนรุ่นหลัง ๆ ดินหิน รักพงษ์อโศก มกราคม 2557

พูดคุย สอบถาม หรือแนะนำ�ได้ที่ Facebook : dinhin หรืออีเมล dinhin2503@gmail.com ทุกความเห็นของท่านจะนำ�ไปสู่การปรับปรุงหนังสือเล่มนี้ ให้มีคุณค่ามากยิ่งขึ้นในการจัดพิมพ์ครั้ง ต่อ ๆ ไป

4

* ตัวเลข 86 นี้มาจากพระชนมายุ 86 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที ่ 9 ในปี 2556

AW Drawing Din-Hin.indd 4

2/17/14 7:57 PM


ประวัติศิลปิน

ดิน หิน รักพงษ์อโศก จบการศึกษาด้านศิลปะจากคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปัจจุบันเป็นอาจารย์ในคณะมนุษ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ สวนดุ สิ ต  เขาเป็ น ศิ ล ปิ น ที่ เ คยร่ ว มงานกั บ นิ ต ยสารสารคดี   มาเนิ่ น นาน ทั้ ง ด้ ว ยตำ�แหน่ ง บรรณาธิการฝ่ายศิลปะ และในฐานะนักวาดภาพประกอบ  ล่าสุดเขายังเป็นผู้วาดภาพเหมือนเพื่อ แนะนำ�ตัวนักเขียน และภาพเหมือนนักเขียนแต่ละคนที่ ใช้กับคอลัมน์ประจำ�ต่าง ๆ ของนิตยสาร สารคดี ด้วย

5

AW Drawing Din-Hin.indd 5

2/13/14 1:37 PM


8

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช AW Drawing Din-Hin.indd 8

2/13/14 1:37 PM


9

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช AW Drawing Din-Hin.indd 9

2/13/14 1:37 PM


10

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) AW Drawing Din-Hin.indd 10

2/13/14 1:37 PM


11

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) AW Drawing Din-Hin.indd 11

2/13/14 1:37 PM


12

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปโ) พุทธทาสภิกขุ AW Drawing Din-Hin.indd 12

2/13/14 1:37 PM


13

พระธรรมโกศาจารย์ (เงื่อม อินทปโ) พุทธทาสภิกขุ AW Drawing Din-Hin.indd 13

2/13/14 1:38 PM


16

พระราชวุฒาจารย์ (ดูลย์ อตุโล) หลวงปู่ดูลย์ AW Drawing Din-Hin.indd 16

2/13/14 1:38 PM


17

พระไพศาล วิสาโล (วงศ์วรวิสิทธิ์) เจ้าอาวาสวัดป่าสุคะโต อ�ำเภอแก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ AW Drawing Din-Hin.indd 17

2/13/14 1:38 PM


20

ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี (Corrado Feroci) AW Drawing Din-Hin.indd 20

2/13/14 1:38 PM


21

ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี (Corrado Feroci) AW Drawing Din-Hin.indd 21

2/13/14 1:38 PM


28

สมโภชน์ อุปอินทร์ AW Drawing Din-Hin.indd 28

2/13/14 1:38 PM


29

ลาวัณย์ (ดาวราย) อุปอินทร์ AW Drawing Din-Hin.indd 29

2/13/14 1:38 PM


40

พัฒนะ เหลืองจรัสสุริยา AW Drawing Din-Hin.indd 40

2/13/14 1:39 PM


ครองศักดิ์ จุฬามรกต41

AW Drawing Din-Hin.indd 41

2/13/14 1:39 PM


74

นัท สุมนเตมีย์ AW Drawing Din-Hin.indd 74

2/13/14 1:41 PM


75

รัฐมนตรี หล้าสมบัติ AW Drawing Din-Hin.indd 75

2/13/14 1:41 PM


82

ยืนยง โอภากุล “แอ๊ด คาราบาว” AW Drawing Din-Hin.indd 82

2/13/14 1:42 PM


83

สรพงษ์ ชาตรี AW Drawing Din-Hin.indd 83

2/13/14 1:42 PM


110

ภาพเหมือนตัวเอง AW Drawing Din-Hin.indd 110

2/13/14 1:43 PM


อุเทน มหามิตร

AW Drawing Din-Hin.indd 111

111

2/13/14 1:43 PM


86 Things they don’t tell you about PORTRAIT DRAWING 86 กลเม็ดเคล็ดลับ กับ “ดินหิน”

1. ฝึกหัด  ฝึกหัด  ฝึกหัด

ลงมือท�ำคือหัวใจของการเขียนรูป พรสวรรค์มีในบางคนเท่านัน้  แต่เป็นของไม่เทีย่ ง ไม่ยงั่ ยืนอะไร ถ้าไม่ทำ� ต่อเนือ่ งทุก ๆ วันก็มอื ตกได้  บางคนฝันจะประสบความส�ำเร็จอย่างสวยหรู ในขณะทีบ่ างคนก�ำลังลงมือกระท�ำ หัวใจของคนท�ำงานศิลปะคือการลงมือท�ำอย่างต่อเนือ่ งยาวนาน ที่ใดจิตวิญญาณไม่ทำ� งานประสานกับมือ ที่นั้นจะไม่มีศิลปินเกิดขึ้นเลย  จึงไม่มีวิธีใดที่ดีกว่าการฝึกฝนอยู่บ่อย ๆ เท่าที่จะท�ำได้  การเขียนทุก ๆ วันเป็นการฝึกทักษะให้เกิดความช�ำนาญ (กฎการซ้อมมือข้อที่ 1 ควรอยู่ให้ห่างจาก smart phone มิเช่นนัน้ คุณจะ chat เล่น FB เล่น LINE และนัง่ ดู instagram ของเพือ่ น ๆ 555)

2. ดู  ดู  ดู

นักเขียนจะต้องท่องเทีย่ วไปพบปะผูค้ นทีต่ า่ ง ๆ เสมอ เพือ่ เก็บข้อมูลไว้เขียนเรือ่ ง แต่ศลิ ปินจะเก็บสะสมสิง่ ทีพ่ บเจอต่าง ๆ เพือ่ เป็นแรงบันดาลใจในการสร้างงาน จะเป็นศิลปินวาดเส้นเก่ง ๆ ต้องดูผลงาน Drawing ทีด่  ี ๆ โดยเฉพาะของต่างประเทศ เช่น จีน รัสเซีย อเมริกา และศิลปินทางยุโรป ฯลฯ การเห็นมากท�ำให้ มีประสบการณ์มาก ได้เห็นงานศิลปะดี ๆ ก็จะช่วยเพิม่ พลังในการสร้างสรรค์งานของเรา ให้เกิดไฟในการ ท�ำงานมากขึน้  เวลาต้องการใช้งานมันจะดึงออกมาเองจากฮาร์ดดิสก์ในสมองของเราทีเ่ ก็บข้อมูลเอาไว้

3. เดินทางบ่อย ๆ

156

สุภาษิตจีนกล่าวว่า “เดินทางหมืน่ ลี ้ อ่านหนังสือหมืน่ เล่ม จึงจะนับว่าเป็นปราชญ์” คนรุน่ ใหม่ในเมืองมักอ่าน จากอินเตอร์เน็ตมากกว่าหนังสือที่พิมพ์ลงกระดาษเป็นเล่ม ๆ  การเดินทางบ่อย ๆ เป็นการศึกษาหา ประสบการณ์ตรงทีด่ กี ว่าแค่คดิ ตามจากหนังสือทีค่ นอืน่ เขียน  การไปดูงานศิลปะ พบปะผูค้ นในวันเปิดงาน ศิลปะ ได้พบผูใ้ หญ่ ท�ำให้ได้ขอ้ คิดดี ๆ จากประสบการณ์ตรงของท่าน ได้แอบถ่ายรูปท่านเอาไว้เขียน ได้เห็น การวางตัว วางบุคลิกในการเข้าสังคมให้เราได้ศกึ ษา อาจารย์เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ บอกว่า “อ่านหนังสือ คือการอ่านความคิดของผูอ้ นื่   เขียนหนังสือคือการอ่านความคิดของตนเอง”  การเขียนรูปก็คอื การแปร ความคิดของเราให้เป็นภาพ เราไม่ใช่นกั ฝันเฉย ๆ แต่เราสร้างความฝันของเราออกมาเป็นภาพวาด  การ เขียนรูปใหม่ ๆ ทุกครัง้ จึงต้องมีการวางแผนความคิดของตัวเอง จะให้ออกมาเป็นอย่างไร เขียนเพือ่ อะไร ให้มภี าพจินตนาการในใจก่อนจะลงมือเขียน

AW Drawing Din-Hin.indd 156

2/13/14 1:46 PM


4. มีสมุดสเก็ตช์ติดตัวไว้ตลอด

จะไว้ในรถ ในกระเป๋าสะพายก็ได้ พอมีเวลาว่างนิดหน่อย เราก็ขดี เขียนเส้น ฝึกมือตลอด แม้แต่ขนึ้ รถเมล์ ถ้าได้นง่ั ก็เขียนเส้น ฝึกมือให้แคล่วคล่องทุกวัน เป็นเส้นอะไรก็ได้ เขียน ๆ เขียน ๆ เป็นเส้นยุง่  ๆ พันกันไปมา ก็ได้ ฝึกประสาทมือให้กล้าในการเขียนเส้น อาจแอบเขียนคนเผลอ ๆ เขียนนิว้ มือหรือนิว้ ตีนตัวเองก็ได้  หรือ เขียนหน้าคนในจินตนาการโดยไม่ดแู บบ จะฝึกให้เรามีสติและสมาธิอยูก่ บั การเขียนรูปอยูเ่ สมอ  เราฝักใฝ่อะไร บ่อย ๆ เราก็จะช�ำนาญในสิง่ นัน้  ๆ เมือ่ ถึงเวลาเราลงมือท�ำงานจริง มือเราก็จะไม่แข็ง จะคล่องแคล่ว ท�ำเส้น ได้สวยงาม มีชวี ติ ชีวา

5. ลืมตาให้มากกว่าคนอื่นย่อมได้เปรียบ

นกทีต่ นื่ แต่เช้าย่อมจับหนอนได้กอ่ น  นอนน้อย ๆ พูดน้อย ๆ จะได้มพี ลังงานเหลือไปท�ำงานศิลปะ ควรนอน ประมาณสีท่ มุ่  ตืน่ เช้า ๆ ตีสตี่ หี า  ้ การนอนและตืน่ ตามเวลาเป็นการรักษาสุขภาพให้ยนื ระยะได้ยาว ๆ ท�ำงาน ศิลปะได้ต่อเนื่องโดยไม่เจ็บป่วยบ่อย ๆ นาฬิกาชีวิต (Biological clock) ถูกก�ำหนดแล้วในธรรมชาติ ช่วงเวลา 24 ชัว่ โมงในหนึง่ วันนัน้  ภายในร่างกายมนุษย์มกี ารไหลเวียนของพลังชีวติ ผ่านอวัยวะภายในร่างกาย ตามเวลา  การตืน่ เช้ามาวาดรูปทุกวันเราก็จะมีผลงานสะสมไว้มากมาย  เป็นสิง่ ทีจ่ ะมีคา่ ต่อไปในภายหน้า เพราะผลงานคือตัวบ่งบอกคุณค่าของเรานัน่ เอง

6. ศึกษานอกศาสตร์

ทัง้ ภาษาอังกฤษ และการใช้คอมพิวเตอร์ รูปทีเ่ ราถ่ายมาเขียนจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องปรับแต่งให้เห็นคมชัด ขึน้ ในคอมพิวเตอร์ เพือ่ ให้เขียนได้งา่ ยขึน้  ถ้าต้นแบบไม่คมชัดก็ยากทีจ่ ะเขียนรูปให้ดแี ละสวยงามได้  ส่วน ภาษาอังกฤษผมศึกษาด้วยตนเองจากเว็บไซต์ตา่ ง ๆ ทีส่ อนฟรี มีมากมาย ทัง้ อ่านและฟังเสียง และได้เป็น อาจารย์พเิ ศษหลายแห่งเพราะการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์  การติดต่อทางอีเมลหรือ facebook กับคนต่างชาติกเ็ ป็นโอกาสให้การงานเราก้าวหน้าขึน้  รวมทัง้ เราควรจะต้องรูเ้ รือ่ งความหลากหลายทางชีวภาพ ทุนทางปัญญา การคิดเชิงระบบ การแพทย์ทางเลือก สุขภาพองค์รวม เพราะทุกอย่างจะโยงใยกันและกัน ท�ำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ เกิดสิง่ ใหม่ ๆ รูปแบบ เทคนิค วิธกี ารวาดรูปใหม่ ๆ และศิลปะการด�ำรงชีวติ ให้ยนื ยาวด้วย

7. “มิตรดี สหายดี สังคมสิ่งแวดล้อมดี เป็นทั้งหมดทั้งสิ้นของพรหมจรรย์”

พระพุทธองค์ตรัสไว้  สิง่ แวดล้อมท�ำให้จติ ใจของปุถชุ นคนธรรมดาเปลีย่ นแปลงได้  แต่จติ ใจของนักปราชญ์ สามารถเปลีย่ นแปลงสิง่ แวดล้อมได้  การอยู่ในสิง่ แวดล้อมทีด่ จี งึ มีความจ�ำเป็นมาก สิง่ แวดล้อมหมายถึง ทุก ๆ อย่าง ทัง้ รูปธรรมและนามธรรม เราเองต้องแสวงหาสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ให้เราท�ำงานได้ด ี ทัง้ ผูค้ นและ วัตถุเป็นองค์ประกอบส�ำคัญทีจ่ ะท�ำให้เราสร้างงานศิลปะได้ดี

8. ยิง่ รูจ้ ดุ อ่อนของตนเองมาก ยิง่ จะพัฒนาเร็วขึน้

และเชือ่ มัน่ ในตนเองมากขึน้   คนทีเ่ ขียนรูปต้องวิเคราะห์งานตัวเองเป็นด้วย เป็นสิง่ จ�ำเป็นมาก  เพราะไม่คอ่ ย มีคนกล้าติงานของเรา นอกจากผูร้  ู้ ครูบาอาจารย์  เราจึงต้องดูงานดี ๆ ให้เยอะ ๆ แล้วจะเห็นข้อบกพร่อง หรือจุดอ่อนของเรา  น�ำไปปรับปรุงแก้ไขให้งานเราพัฒนาขึน้ ตลอดเวลา  การท�ำงานเยอะ ๆ จะท�ำให้เรา ค้นพบวิธกี ารแก้ปญ ั หาเรือ่ งเทคนิคในการเขียน  เราก็จะสามารถแบ่งปันวิธกี ารแก้ปญ ั หาให้แก่ผอู้ นื่ ทีเ่ พิง่ เริม่ ต้น หรือมีประสบการณ์นอ้ ยกว่าเราได้ดว้ ย  การถ่ายทอดความรูเ้ ป็นสิง่ จ�ำเป็น เพราะการสอนคนอืน่ จะ ท�ำให้เราได้เรียนรูเ้ พิม่ ขึน้

AW Drawing Din-Hin.indd 157

157

2/13/14 1:46 PM


PORTRAIT DRAWING by DIN HIN

P O RT R A I T D R AW I N G by DIN HIN

หมวดศิลปะ ราคา 400 บาท

400.PORTRAIT DRAWING

86 กลเม็ดเคล็ดลับ กับ “ดินหิน” 86 things they don’t tell you about


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.