‡∑§‚π‚≈¬’ เทคโนโลยี ส◊ËÕื่อ “√°“√»÷ สารการศึ°ก…“ ษา ¡Ÿมู≈ลπ‘นิ∏ธ‘»ิศ“ μ√“®“√¬å าสตราจารย์Àห¡àม่Õอ¡À≈«ßªî มหลวงปิòπ่น ¡“≈“°ÿ มาลากุ≈ล
„πæ√–√“™Ÿ ¡¿å ¡‡¥Á μπ√“™ ÿ ¥“œ ต ¬“¡∫√¡√“™°ÿ ¡“√’ มารี ในพระราชู ปถัมภ์สมเด็ªจ∂—พระกนิ ษฐาธิ®æ√–‡∑æ√— ราชเจ้า กรมสมเด็ จพระเทพรั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ ���บ�ที���่ 11 ������� ปี��ท�ี่ � 2619 ฉบั ประจำ�ปี�ก���� ารศึ��� กษา2555 2562 ❖❖❖
��ที�� ่ป���รึ�� กษา
��.�� ภู��ม���ิภ�� �.��.�� ����� �������� รศ.ชม าค รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ ��.��.����� ��������ง��� ศาสตรเมธี ศ.ดร.ผดุ อารยะวิญญู �.��.��� ดร.จันทร์� ������� ชุ่มเมือ�งปั��ก
������� ���การ บรรณาธิ
��.��.������� ����� ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ
��������������� คณะกรรมการดำ����� เนินงาน
ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ��.��.������� ����� รศ.ดร.สาโรช โสภี��ร� ัก�� ข์ ��.��.����� ���� รศ.ดร.วี ��.��.��ร�ะ� ไทยพานิ ��������ช รศ.ดร.สุ โคตรบรรเทา ��.��.��น�ทร �� ���������� ผศ.ดร.ไพบู เปานิ� ล ��.��.�����ล��ย์ ����� รศ.ดร.พงษ์ �.�.��.�����ประเสริ ������ ��ฐ� หกสุวรรณ อาจารย์ อนั�น������ ต์ ��.��.��น�้ำ� �� สุ��ข���� นางเยาวดี มสวั���ส� ดิ์ ��������� ��น่�ว����
ศาสตรเมธี รศ.ดร.ประหยั ��.��.������ � ���������� ด จิระวรพงศ์ รศ.ดร.สานิ���ตย์������� กายาผาด ��.��.���� ผศ.ดร.พู ศรี �เวศย์ ��.�� ���� ล����� �� �� อุฬาร ศาสตรเมธี รศ.ดร.สุ ธิพงศ์ หกสุวรรณ ��.��.�� ������� �����ท��� รศ.ดร.เผชิ�ญ���กิ����� จระการ ��.��.���� ศาสตรเมธี������� รศ.ดร.วิ นัย�วี��� ระวัฒนานนท์ ��.��.���� � ���� นางวัน�ดี�� บุ���ญ���ทวี��� �������
ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา และประชาสัมพันธ์ ������� นางเยาวดี น่วมสวัส�ดิ��์ ��� �� �� �� ����� ���������� ��������� ��������� � เจ้าของ ��������� ����������� ��� ����มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
ในพระราชู ปถัมภ์สมเด็�จ��พระกนิ ษฐาธิ��ราชเจ้ า กรมสมเด็ จพระเทพรั าฯ สยามบรมราชกุ ������������������ �������� ������ � ��������� ����ต��นราชสุ ������ด�������� ��������ม��ารี
������������ สำ�นักงาน ����
���� มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ����
เลขที อาคาร 14���ชั�้น������� 2 มหาวิ ทยาลั�ยศรีนครินทรวิโรฒ �����่ �114 ������������ �� ������ โทรศั ท์ 0-2259-1919 0-2261-1777 �����พ� 114 ����� 14 ���� 2โทรสาร ���������� ���������������� ���.0-2259-1919 ������.0-2261-1777
สารบัญ
หน้า
บก.แถลง .................................................................................................................................................................................. 3 คณะกรรมการร่วมกลั่นกรอง ................................................................................................................................................... 4 พระคติธรรม สมเด็จพระอริยวงคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก . ........................................................... 6 พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ................................. 9 พระราโชวาทสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร .......... 11 ประวัติย่อ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ............................................................................................................... 14 ลักษณะของบุคคลที่เกื้อต่อสันติภาพโดย : รองศาสตราจารย์ชม ภูมิภาค ............................................................................................ 21 การปฏิรูปการศึกษาไทย “นวัตกรรมของนักการศึกษาไทย” : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ................................................. 29 Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน: บทเรียนจาก École 42 : ผศ.ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร ................... 35 เทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต: แนวโน้ม การประยุกต์ใช้และความท้าทาย : ศาสตรเมธี รศ.ดร.ประหยัด จิระวรพงศ์ ......................... 46 มวยไทย มรดกชาติที่เราควรภาคภูมิใจศาสตรเมธี : ดร.ศักดิ์ชาย ทัพสุวรรณ . .................................................................................... 63 พลังปัญญาที่มาสารสนเทศท้องถิ่น : ศาสตรเมธี ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน ..................................................... 67 คุณค่าของเพลงและดนตรีในมิติปัจจยาภิรมย์ : ศาสตรเมธี ดร.ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์ . ............................................................................. 79 หน้าต่างงานวิจัย ............................................................................................................................................................................. 83 โปรแกรมประยุกต์บนเว็บส�ำหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในมหาวิทยาลัย : ภูมิพัฒน์ โทอินทร์, ผศ.ดร.สมภพ ทองปลิว, ผศ.ดร.ประกาศิต ช่างสุพรรณ ........................................................................................... 84 การพัฒนาระบบการสอนจุลภาคอิงเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร เพื่อพัฒนาทักษะการสอน ส�ำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา : ลัลน์ลลิต สืบประดิษฐ์, ทิพย์เกสร บุญอ�ำไพ, ไพโรจน์ เบาใจ .................................................................. 93 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความยึดมั่นผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ : ยุทธนา พันธ์มี, ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์, ประหยัด จิระวรพงศ์ ................................................................................................................... 110 การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน รายวิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 : ภานุพงศ์ พลซื่อ, ธนดล ภูสีฤทธิ์ ................................................................................................................................................... 129 การพัฒนาระบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา : โสมณุดา สัมมานุช, ธนดล ภูสีฤทธิ์, สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ ................................................... 140 การพัฒนาระบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาและ ทักษะการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริงระดับประถมศึกษา : สุชัญญา เยื้องกลาง, ธนดล ภูสีฤทธิ์, สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ .............. 153 การใช้บล็อกเพื่อการจัดการความรู้ ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม : กรกฎ ผกาแก้ว, รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ สมพงษ์ ...................................................................................................................... 166 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วิธีการน�ำเสนอแบบนิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ : พงศกร สุวรรณะ, สุขมิตร กอมณี, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง .................................................................................. 173 การพัฒนาหนังสือดิจิทัลวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับน�้ำและอากาศ เพื่อส่งเสริมความสามารถ การคิดวิเคราะห์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 : เพ็ญประภา สีมา, ณรงค์ สมพงษ์ . ...................................................... 182 การพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สําหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 : ศรัญญา เจริญผล, รศ.ดร.ณรงค์ สมพงษ์ ........................................................................................................................................ 188 การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม : ขนิษฐา ผาลทอง, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง, สุขมิตร กอมณี . ............................ 197 การพัฒนาชุดการสอน เรื่องการแต่งกลอนสุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : ภัทร์ศยาพรรณ เกตุสิงห์, ภูเบศ เลื่อมใส, ดวงพร ธรรมะ .................................................................................................................. 213 การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ : สิรวีณ์ ด�ำรงค์ธนัทโรจน์, ภูเบศ เลื่อมใส, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง . .............................................................................................................. 224 กิจกรรมของมูลนิธิ .............................................................................................................................................................. 241 แนะน�ำเว็บไซต์ มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวง ปิ่น มาลากุล ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี .........................245
∫°.·∂≈ß บ.ก.แถลง ���������������������������������������� ���������������� ������������ � ������ก���� ����บ�นี้��เ ป็�น��������� ��������� หนั ง สื อ เทคโนโลยี สื่ อ สารการศึ ษาฉบั ปี ที่ 26 ยั�ง��������� ให้ ค วามส� ำ คั��ญ�� กั บ นักเทคโนโลยี กษา �และนั การศึกษา ที่ท่านสามารถน� ำบทความมาเผยแพร่ ในเล่มนี้ได้ �������ก�ารศึ ������ ����ก������������� ���������������� ����� ������ นอกจากนี ้ยังให้�ค���วามส� คัญกั�บ���� งานวิ จัย เพื่อผู้อ่านจะได้น�ำไปใช้ป����� ระโยชน์���ในการอ้ งงาน ������ ����ำ���� ���������������������� ���������า��งอิ���� เขียนต่������ างๆ �ตลอดจนเพื ยนการสอน��������� ให้มีประสิทAgmented ธิภาพ และประสิ ทธิผล ��������่อ�น�ำ����ไปใช้ ����ใ�นการเรี E-Learning Reality ทั้งนี้เนื่องจากความดีของการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร ที่จะช่วยให้ผลการเรียนของนักเรียน ����������������������������������������� ����������������������������� สูงขึ้นได้ M-Learning ����� � �� � �� � ���� � ��� � ��� � ���� � �� � ������ ������� � ������� � � ส่วนบทความก็ยังให้ความส�ำคัญอย่างต่อเนื่อง และขอขอบคุณ ท่านศาสตรเมธี ���������ม�นี��้ซ�ึ่ง�มี����� ������� �������� �������� สาขาต่������� างๆ ที่ก�รุ�� ณาส่��������� งบทความมาลงในเล่ ประโยชน์ มาก และขอขอบคุ ณคณาจารย์� �����รองศาสตราจารย์ ����������������ช��������� ����������ลนิ���ธ�ิ �������� �����ห��ม่�อ��มหลวงปิ ��������่น ต่างๆ���อาทิ ม ภูมิภาค�ประธานมู ศาสตราจารย์ ������ ����ดร.พู �������ลศรี ����เวศย์ ���อ�ฬุ �������� � �������� ����������� มาลากุ���ล������ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ าร ดร.พีระพงษ์ สิทธิอมร�ผู����� ช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมภพ ทองปลิว และท่านอื่นๆ ที่กรุณาส่งบทความมาลงในวารสารฯ จึงขอขอบคุณ ไว้ ������� ณ โอกาสนี้ ������������ ����บ�สนุ ����� ����ดพิ�ม����� �������บ��นี�จ้ ��นออกมา ���� ข้าพเจ้��า�ขอขอบคุ ณทุกท่� าน��ที�ใ่ ��ห้ก���� ารสนั น การจั พ์วารสารฉบั �����ขอให้ ������ �����������ว������ ���������� ����� ������� เป็นเล่����� มสวยงาม ท่านและครอบครั มีความสุ ขและความเจริ ญในชี วิตตลอดไป
������������ ��.������� (ผู��้ช��่ว��ยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์����� เบาใจ) ��������� ������������� ����������� �� ������ บรรณาธิ�ก��ารวารสารเทคโนโลยี สื่อสารการศึ กษา � กรรมการและเหรั ญิก�มู�������� ลนิธิศาสตราจารย์ มหลวงปิ่น มาลากุ ����������������ญ���� ��������ห��ม่อ������������ ���� ล ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
¡Ÿ≈π‘∏‘»“ μ√“®“√¬å À¡àÕ¡À≈«ßªîòπ ¡“≈“°ÿ≈ PROFESSOR MOMLUANG PIN MALAKUL FOUNDATION ¡À“«‘∑¬“≈—¬»√’π§√‘π∑√«‘‚√≤ ª√– “π¡‘μ√ ÿ¢ÿ¡«‘∑ 23 ‡¢μ«—≤π“ °√ÿ߇∑æœ 10110 ‚∑√»—æ∑å.0-2259-1919 ‚∑√ “√.0-2261-1777
คณะกรรมการร่ กรอง §≥–°√√¡°“√√àว«มกลั ¡°≈—Ëπ่น°√Õß ¿Ÿ¡ภู‘¿ม“§ ิภาค
√Õß»“ μ√“®“√¬å 1. 1.รองศาสตราจารย์ ชม ™¡ ºŸâ™à«¬»“ μ√“®“√¬å ¥√.‰æ‚√®πå 2. 2.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์
√Õß»“ μ√“®“√¬å 3. 3.รองศาสตราจารย์ ดร.สุ¥√. ÿ นทร π∑√
‚§μ√∫√√‡∑“ โคตรบรรเทา
4. ศาสตรเมธี ศาสตราจารย์ 4. »“ μ√“®“√¬å ¥√.º¥ÿßดร.ผดุง
‡∫“„® เบาใจ
อารยะวิ≠ยêŸญู Õ“√¬–«‘ 5. 5.ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ หกสุวรรณ √Õß»“ μ√“®“√¬å ¥√.«’√–ดร.สุทธิพงศ์‰∑¬æ“π‘ ™ 6. 6.รองศาสตราจารย์ ดร.วี¥√. “‚√™ ระ √Õß»“ μ√“®“√¬å
ไทยพานิ ‚ ¿’ √—°¢å ช 7. รองศาสตราจารย์ ดร.สาโรช โสภีรักข์ 7. √Õß»“ μ√“®“√¬å ¥√.ª√–À¬—¥ ®‘√–«√æß»å 8. ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.ประหยัด จิระวรพงศ์ 8. √Õß»“ μ√“®“√¬å ¥√. “π‘μ¬å °“¬“º“¥ 9. รองศาสตราจารย์ ดร.สานิตย์ กายาผาด 9. √Õß»“ μ√“®“√¬å ¥√.‡º™‘≠ °‘®√–°“√ 10. รองศาสตราจารย์ ดร.เผชิญ กิจระการ √Õß»“ μ√“®“√¬å ¥√.«‘π—¬ดร.วินัย «’√วี–«— 11. 10. ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ระวั≤ฒπ“ππ∑å นานนท์
√Õß»“ μ√“®“√¬å ¥√.æß…å ª√–‡ √‘ 12. 11. รองศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ ประเสริ ฐ ∞ À° ÿ หกสุ«√√≥ วรรณ ºŸâ™à«¬»“ μ√“®“√¬å ∑Õß™— 13. 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิ¥√.æ‘ ตร μ√ ทองชัÈπ ้น
14. 13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ลศรี √Õß»“ μ√“®“√¬åดร.พู ¥√. ÿ ∑∏‘æ ß»å
15. 14. ดร.พี¥√.æŸ ระพงษ์ ≈»√’
15. ¥√.æ’√–æß…å
เวศย์ อุฬาร À° ÿ «√√≥ สิทธิÕอÿÃมร ‡«»¬å “√
‘∑∏‘Õ¡√
¡Ÿ≈¡Ÿπ‘≈∏π‘‘»∏“ μ√“®“√¬å Õ¡À≈«ßªî òπ ¡“≈“°ÿ ≈≈ ‘»“ μ√“®“√¬åÀ¡àÀ¡à Õ¡À≈«ßªî òπ ¡“≈“°ÿ PROFESSOR MOMLUANG PINPIN MALAKUL FOUNDATION PROFESSOR MOMLUANG MALAKUL FOUNDATION ¡À“«‘¡À“«‘ ∑¬“≈—∑¬“≈— ¬»√’¬π»√’ §√‘π§√‘ ∑√«‘π∑√«‘ ‚√≤‚√≤ ª√– “π¡‘ μ √ ª√– “π¡‘μ√ ÿ¢ÿ¡ ÿ«‘¢∑ÿ¡23 ≤π“≤°√ÿ 10110 «‘∑ ‡¢μ«— 23 ‡¢μ«— π“߇∑æœ °√ÿ߇∑æœ 10110 ‚∑√»—‚∑√»— æ∑å.0-2259-1919 ‚∑√ “√.0-2261-1777 æ∑å.0-2259-1919 ‚∑√ “√.0-2261-1777
������ ������������� �� ������ � � �������������������������� ��� ���������� �������� �� ������ มู ล นิ ธ ิ ศ าสตราจารย์ ห ม่ อ มหลวงปิ ่ น มาลากุ ล ��������� ������������� ��������� ������� ������������������ �������� ��������� ����� ��������� ������� ������������ ในพระราชูปถัมภ์สมเด็ จ พระกนิ ษ ฐาธิ ร าชเจ้ า กรมสมเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยามบรมราชกุ มารี ����� ���� �� ��� ����� ������������� ����� ��������.�.2554-2558 � ��� ���� ������������� ����� �� �.�.2554-2558 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารมูลนิธิ พ.ศ. 2558-2562
���������� �������������� ����� ����� ����� ��� ��1/2554 ��������������������� ������ 2554 ��������� ��� ���������� �������������� ����� �� ����� ��� 1/2554 �������� 14 �� 14 ������ 2554 ���������� ในการประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารมู ล นิ ธ ิ ครั ้ ง ที ่ 2 / 2558 เมื ่ อ วั น ที ่ 5 สิ ง หาคม 2558 เรื ่ อ งการ ������������� ��������� ���.�.2554-2558 ���� ������ �� ���� ����������������� �� ������� ���� ��������� ��� �� ������������� � �.�.2554-2558 ���� ���� ����� ����������������� �� �������������� ��� �� เลือกตั้งคณะกรรมการบริหารชุดพ.ศ.2558 - 2562 ที่ประชุมมีมติเลือกตั้ง รองศาสตราจารย์ชม ภูมิภาค ��������������� ����� �������� �������� ��������� ��� ������ ��15 �� �� ��������� �� ������ �������� ����������� � 15 เป็นประธานมูลนิธิ และได้เลือกตั้งกรรมการอื่นๆ อีกรวมทั้งประธานเป็นจ�ำนวน 14 คน ���� ����������� ���������������� ��14 ���น��������� ������������������� ���จึ�ง� ��ประกาศแต่ �.�.2554-2558 �ด�ำเนิ 14 ��การขอจดทะเบี ���������� ����ย������������� ����� �� �.�.2554-2558 อาศั ย���� มติ ท�ี่ป���������� ระชุมที่ม�อบหมายให้ นกรรมการชุ�ด���� ใหม่ งตั้ง ��คณะกรรมการมู ������ ���� ลนิธิ ดังนี้ ������ ������������� 1.�������������� �������������� ����� ������������� 1. 1.รองศาสตราจารย์ ชม��ภู�ม���ิภ�าค ประธานกรรมการ ��.�� ���� �ม��ณฑา ����� ������ � ������������� � 1� 1 2. 2.รองศาสตราจารย์ ดร.คุ ณ��.�� หญิ พรหมบุ ญ � รองประธานกรรมการคนที ่1 2.�������������� �������������� �งสุ��� ������ ������ ������������� 3. 3. ดร.จั น��.�� ทร์ อ��งปั ก� ����� รองประธานกรรมการคนที ่2 ����ชุ�่ม��� ��เมื����� ������������� � 2� 2 3.��.�� ��������� ������������� 4. 4. ผู4.้ช��่ว��ยศาสตราจารย์ เลิ�ศ���ชู���น���าค กรรมการและเลขานุ ���������������� ��� ���������������� �ก��าร ���������������� ����� ���������������� ��� 5. 5. ดร.พี ร ะพงษ์ สิ ท ธิ อ มร กรรมการและผู ช ้ ว ่ ยเลขานุ ������ ��������� ������������ ����������� �ก��าร 5.��.����.�� ������ ����� ������������ ����������� ��� 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ กรรมการและเหรัญญิก 6. 6.������������������� ��.������� ����� �������� ��������������� �����นธ์ กรโกสียกาจ �������������� �������������� 7. รองศาสตราจารย์ ดร.ท่า��.������� นหญิงประภาพั กรรมการ ��.����.�� ���(กมลาศน์ �) นี ������� 7.����������� ����������� ����������� �������� � ลเซ่น ������� 8. 7. หม่ อมหลวงจุ ฑามาตย์ กรรมการ ��.����.�� ����ช���ัย�����อ่��อ������� ���� �������������� ��นมิ �������� ��� ������ ����������� ������� 9. 8. ผู8.้ช�������������� ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฤทธิ ่ง ���� ������� กรรมการ 9. 9.�������� ��� ������������������� ������� 10. นางวั น�������� ดี บุญ�ทวี กรรมการ ������ ������� 11. 10.อาจารย์ ว พงศาปาน กรรมการ ��.����.�� �เฉลี ����ย��� ����� ����� ������� 10. ����� ����� ������� 12. อาจารย์ ประวิท��ร�ตรี กรรมการ 11.11. �������� ������� �������� ������เพ็���ญมาลย์ ������� 13. ร้ อ ยต�ำรวจโท บั ญ ชา บุ ญ ทวี กรรมการและประชาสั มพันธ์ 12.12. �������������� ������� ������ ) ) ������� �������� ������� �������(������� � (������� ������� 14. นางสาวชื่นชม จริโมภาส กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 13.13. ������� ��������������� ��� ��� ������� ������� � ���� ������� 14.14. ������� ���������� �������� ������� ������� � ������� ������� ประกาศ ณ วันที่ 11 สิงหาคม 2558 ������ � ��������� �15 ������ 2554 ������ ��� 15 ������ 2554
(�������������� �� ����ชม �������) (�������������� �ภู��ม��) (รองศาสตราจารย์ ิภาค) �������� � �� � � � ���������� � �� � ������� � � ������ � � ล �������� � �� � � � ���������� � �� � ������� �� ่น������ ประธานมูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ มาลากุ ��������� ���� �พระกนิ �������� �������� ����� ������������ ������� ดาฯ ��������� ���จ���� ��������� ������� ������������ ในพระราชู ป�ถั��ม��ภ์����ส��มเด็ ษฐาธิ ร�าชเจ้ า �กรมสมเด็ จพระเทพรัต�นราชสุ สยามบรมราชกุมารี
พระคติธรรม สมเด็จพระอริยวงคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก 6
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
7
8
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
พระบรมราโชวาท
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ ๙) เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
9
ครูต้องตั้งมั่นในศีลธรรม “เมื่อเจริญเติบโตขึ้น ก็เป็นหน้าที่ของครูอาจารย์สั่งสอนให้ได้รับวิชาความรู้สูง และอบรม จิตใจให้ถึงพร้อมด้วยคุณธรรม เพื่อจะได้เป็นพลเมืองดีของชาติสืบต่อไป งานของครูจึงเป็นงาน ที่ส�ำคัญยิ่ง ท่านทั้งหลายซึ่งจะออกไปท�ำหน้าที่ครู จะต้องตั้งมั่นอยู่ในหลักศีลธรรมและพยายาม ถ่ายทอดวิชาความรู้แก่เด็กให้ดีที่สุดที่จะท�ำได้ นอกจากนี้จงวางตัวให้สมกับที่เป็นครู ให้นักเรียนมี ความเคารพนับถือ และเป็นที่เลื่อมใสไว้วางใจจากผู้ปก ครองของนักเรียนด้วย” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร แก่บัณฑิตวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร 13 ธันวาคม 2505
แม่พิมพ์ของชาติ “เพราะทุกท่านส่วนใหญ่จะออกไปท�ำหน้าที่ครูบาอาจารย์ เป็นแม่พิมพ์ของชาติ จึงต้อง เป็นแม่พิมพ์ที่ดี ให้กุลบุตรกุลธิดา ซึ่งเป็นศิษย์ของท่านเจริญรอยไปตามไปในทางที่ดีงาม จะต้อง ส�ำนึกอยู่ตลอดเวลาว่าเราเป็นครู จะต้องปลูกฝังศิษย์ทั้งด้านความรู้ ความประพฤติ และหลัก อันดีงาม ไม่ใช่เพียงด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น เราสอนด้านไหนก็ย่อมจะเน้นหนักในด้านนั้นเป็น ธรรมดา จะต้องสอดแทรกด้านอื่น ๆ ตามโอกาสและความเหมาะสม” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตวิทยาลัยวิชาการศึกษา มหาสารคาม 27 พฤศจิกายน 2517
การสั่งสอนศิษย์ “ในการสั่งสอนศิษย์นั้น มีความจ�ำเป็นอย่างหนึ่งซึ่งส�ำคัญมากด้วย ที่จะต้องพยายาม หาทางใช้หลักวิชาและ วิธีการสอนทีมีประสิทธิภาพ เพื่อที่จะช่วยให้นักเรียนสามารถคิด เข้าใจ และเห็นจริงด้วยตนเองในเนื้อหาสาระ ตลอดจนกฎและหลักเกณฑ์ที่ได้เรียนรู้แล้วใช้ได้เอง โดย มองเห็นและทราบถึงประโยชน์ของการใช้หรือการท�ำตามบทเรียนนั้น ๆ อย่างแน่ใจ ด้วยการ ให้การศึกษาแก่ศษิ ย์ โดยหลักการนี้ จะท�ำให้ได้ประโยชน์ถงึ สองชัน้ อย่างหนึง่ คือท�ำให้ครูได้ฝกึ ฝน ตนเองให้ชำ� นิชำ� นาญในการใช้ทงั้ หลักวิชาครูทงั้ หลักวิชาสามัญ อีกอย่างหนึง่ จะท�ำให้ศษิ ย์เล่าเรียน วิชาการได้อย่างถูกต้อง ได้ประโยชน์ตรงกับความมุ่งหมายของการให้การศึกษา” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 23 มิถุนายน 2420
10
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
พระราโชวาท
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
11
พระราโชวาท สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๙ ณ อาคารกีฬา ๑ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อ�ำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก วันพุธ ที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๐ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้ามา ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ในวันนี้. ขอแสดงความชื่นชมต่อผู้ทรงคุณวุฒิและบัณฑิตทุกคน ที่ได้ รับเกียรติและความส�ำเร็จ. คนเราโดยทั่วไป แม้จะเชื่อว่าตนมีความพร้อมในการท�ำงานอยู่มากก็ตาม แต่เมื่อ ต้องประสบปัญหาข้อขัดข้องต่างๆ ก็อาจบังเกิดความท้อถอย เหนื่อยหน่ายขึ้นได้. ที่เป็น ดังนี้ ก็เพราะขาดคุณสมบัติส�ำคัญ ๒ ประการ คือความอดทน กับการเพียร. ความอดทน คือความมั่นคงหนักแน่นไม่หวั่นไหว เมื่อได้รับความยากล�ำบากหรือยู่ในสภาวะที่ไม่พึง ประสงค์ ส่วนความเพียรคือความกล้าทีจ่ ะต่อสูฟ้ นั ฝ่าความยากล�ำบากทัง้ ปวง ความอดทน กับความเพียรนี้เมื่อมีประกอบพร้อมกัน ย่อมเกื้อกูลให้บุคคลสามารถผ่านพ้นอุปสรรค ปัญหาในการท�ำงานทุกอย่าง จนงานที่ท�ำด�ำเนินก้าวหน้าและส�ำเร็จผลได้โดยสวัสดี. บัณฑิตทั้งหลายนับว่าเป็นผู้มีความพร้อมทางสติปัญญา คือมีความรู้ทางวิชาการส�ำหรับ จะน�ำมาใช้ปฏิบัติงานอยู่แล้ว หากจะได้สร้างเสริมความพร้อมทางจิตใจให้เป็นผู้มีความ อดทนและความเพียรเป็นปรกตินิสัย ก็จะสามารถสร้างสรรค์ความส�ำเร็จและความเจริญ ก้าวหน้าทั้งในชีวิตและกิจการได้อย่างสมบูรณ์พร้อม. ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขออวยพรให้บัณฑิตทุกคน และทุกท่าน ที่มาประชุมพร้อมกัน ณ ที่นี้ มีความผาสุกสวัสดีจงทั่วกัน.
12
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
พระราโชวาท สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๕๘ ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อ�ำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก วันอังคาร ที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๕๙ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้ามา ปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ในวันนี้. ขอแสดงความชื่นชมต่อผู้ทรงคุณวุฒิและบัณฑิตทุกคน ที่ได้ รับเกียรติและความส�ำเร็จ. ท่านทั้งหลายที่ส�ำเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิต นับว่าเป็นผู้เตรียมตัวพร้อมแล้ว ส�ำหรับการท�ำงาน ด้วยได้ศึกษาวิชาการมาครบถ้วนแล้วตามหลักสูตร. วิชาการทั้งปวง ที่ท่านได้เล่าเรียนมานั้น ประกอบด้วยหลักความจริงที่เชื่อถือได้ว่าเป็นสิ่งดีทั้งสิ้น แต่จะมี ประโยชน์มากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับการน�ำไปใช้เป็นส�ำคัญ. หากน�ำไปใช้ในทางที่ถูก ก็จะอ�ำนวยผลเป็นประโยชน์เป็นความเจริญ. หากน�ำไปใช้ในทางที่ผิด ก็จะก่อให้เกิดโทษ เป็นความเสื่อม. เหตุนี้ ผู้ใช้จึงต้องมีความส�ำรวมระวัง ที่จะน�ำความรู้ไปใช้ด้วยเจตนาที่ดี ที่บริสุทธิ์ และด้วยวิธีการที่เที่ยงตรงเป็นธรรมทั้งต้องศึกษาผลที่จะเกิดตามมาอย่าง รอบคอบและรอบด้าน โดยใช้ความคิดพิจารณาที่ถูกต้องตามหลักเหตุผลความเป็นจริง. จึงขอให้บณ ั ฑิตทุกคนศึกษาเรือ่ งการน�ำความรูไ้ ปใช้ให้เข้าใจกระจ่างจะได้สามารถใช้ชวี ติ อันทรงคุณค่าที่อุตส่าห์เล่าเรียนมาด้วยยาก ให้ส�ำเร็จผลแต่ในทางที่ดีที่สร้างสรรค์ ทั้งแก่ ตนเอง แก่งานที่ท�ำ และแก่ชาติบ้านเมืองพร้อมทุกส่วน. ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ขออวยพรให้บณ ั ฑิตทุกคนมีความสุข และ ความเจริญมัน่ คงในชีวติ ทัง้ ขอให้ทกุ ท่านทีม่ าประชุมพร้อมกัน ณ ทีน่ ี้ มีความผาสุกสวัสดี จงทั่วกัน.
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
13
ª√–«—쑬àÕ
»“ μ√“®“√¬å À¡àÕ¡À≈«ßªîòπ ¡“≈“°ÿ≈
ประวัติย่อ ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล π“¡
À¡àÕ¡À≈«ßªîòπ ¡“≈“°ÿ≈
«—π‡¥◊Õπªï‡°‘¥ «—π‡ “√å∑’Ë 24 μÿ≈“§¡ æ.».2446 ‡«≈“ 09.05 π. ≥ ∫â“π∂ππÕ—…Ɠߧå ∫‘¥“
‡®â“æ√–¬“æ√–‡ ¥Á® ÿ‡√π∑√“∏‘∫¥’ (À¡àÕ¡√“™«ß»å‡ªï¬ ¡“≈“°ÿ≈)
¡“√¥“
∑à“πºŸâÀ≠‘߇ ߒˬ¡ æ√–‡ ¥Á® ÿ‡√π∑√“∏‘∫¥’ ( °ÿ≈‡¥‘¡ « —πμ ‘ßÀå)
æ’ËπâÕß√à«¡∫‘¥“¡“√¥“ 1. À¡àÕ¡À≈«ßª° 2. À¡àÕ¡À≈«ßªÑÕß 3. À¡àÕ¡À≈«ßªÕß 4. À¡àÕ¡À≈«ßªîòπ 5. À¡àÕ¡À≈«ß‡ªπ»√’ 6. À¡àÕ¡À≈«ß‡ªïò¬¡ ‘π 7. À¡àÕ¡À≈«ßªπ»—°¥‘Ï 8. À¡àÕ¡À≈«ßª“πμ“
14
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) ¡“≈“°ÿ≈ (∂÷ß·°à°√√¡) (¡“≈“°ÿ≈) « —πμ ‘ßÀå
°“√»÷°…“ æ.».2450 æ.».2451 æ.».2452 æ.».2453 æ.».2457 æ.».2458
æ.».2464 æ.».2465 æ.».2467 æ.».2471 æ.».2474 æ.».2498 ¡√
‡√‘¡Ë ‡√’¬πÀπ—ß ◊Õ∑’∫Ë “â π°—∫§√Ÿ·©≈â¡ (·©≈â¡ »ÿªμ√—°…å ¿“¬À≈—߇ªìπæ√–¬“ Õπÿ»“ μ√åæ“𑙬°“√) ‡√’¬πÀπ—ß ◊Õ°—∫§√ŸÕŸã (æ√–¬“æ𑙬»“ μ√å«‘∏“π) ‡√’¬π°—∫§√Ÿ‡™◊ÈÕ (À¡àÕ¡À≈«ß‡™◊ÈÕ Õ‘»√“ß°Ÿ√ ¿“¬À≈—߇ªìπÀ≈«ß‰«∑‡¬») ‡¢â“‡√’¬π‚√߇√’¬π¡—∏¬¡√“™∫Ÿ√≥– (ªí®®ÿ∫—π§◊Õ ‚√߇√’¬π «π°ÿÀ≈“∫ «‘∑¬“≈—¬) ‡≈¢ª√–®”μ—« 145 Õ∫‰≈à‰¥â™π—È ª√–∂¡æ‘‡»…ªï∑’Ë 3 μ“¡·ºπ°“√ »÷°…“ æ.».2452 ´÷Ë߇ª≈’ˬπ‡ªìπ¡—∏¬¡ 3 μ“¡·ºπ°“√»÷°…“ æ.».2456 ‡¢â“‚√߇√’¬π¡À“¥‡≈Á°À≈«ß ‡≈¢ª√–®”μ—« 199 ‡√’¬π´È”™—Èπ ¡—∏¬¡ªï∑’Ë 3 ¬°‡«âπ«‘™“§≥‘μ»“ μ√å ·≈–¿“…“Õ—ß°ƒ… ¢÷Èπ‰ª‡√’¬π™—Èπ¡—∏¬¡ªï∑’Ë 4 æ√–∫“∑ ¡‡¥Á®æ√–¡ß°ÿƇ°≈Ⓡ®â“Õ¬ŸÀà «— ∑√ßæ√–°√ÿ≥“‚ª√¥‡°≈â“œ ·μàß μ—ßÈ „À⇪ìππ—°‡√’¬π¡À“¥‡≈Á°„πæ√–∫√¡√“™«—ß ‰¡à ‰¥â‡√’¬π∑’Ë ‚√߇√’¬πÕ’° ·μà ª≈“¬ªïπ—Èπ¬—ߧߡ“ Õ∫‰≈à·≈– “¡“√∂ Õ∫ºà“π™—Èπ¡—∏¬¡ªï∑’Ë 5 ‡≈◊ËÕ𠉪‡√’¬π™—Èπ¡—∏¬¡ªï∑’Ë 6 ‰¥â ·μà ‰¡à ‰¥â¡“‡√’¬πÀ√◊Õ¡“ Õ∫Õ’°‡≈¬ ∑√ßæ√–°√ÿ≥“‚ª√¥‡°≈â“œ „Àâ ‰¥â√—∫∑ÿπ¢Õß°√–∑√«ß∏√√¡°“√ ÕÕ°‰ª »÷°…“μàÕ ≥ ª√–‡∑»Õ—ß°ƒ… μÕπ·√°‰¥â ‰ªÕ¬Ÿà°—∫§√Õ∫§√—« Marshall ∑’ˇ¡◊Õß brighton ‡æ◊ËÕΩñ°Ωπ¥â“π¿“…“·≈–ª√–‡æ≥’ ‡¢â“»÷°…“¿“…“ —π °ƒμ ·≈–∫“≈’∑’Ë School of Oriental Studies ·Ààß ¡À“«‘∑¬“≈—¬≈Õπ¥Õπ ‡¢â“»÷°…“∑’Ë Brasenose College ·Ààß¡À“«‘∑¬“≈—¬ÕÕ°´åøÕ√å¥ ‚¥¬ ‡≈◊Õ°¿“…“ —𠰃쇪ìπ«‘™“‡Õ° ·≈–¿“…“∫“≈’‡ªìπ«‘™“‚∑ ”‡√Á®°“√»÷°…“·≈–‰¥â√—∫ª√‘≠≠“μ√’‡°’¬√μ‘π‘¬¡ B.A “¢“¿“…“ ‚∫√“≥μ–«—πÕÕ° ¡À“«‘∑¬“≈—¬ÕÕ°´åøÕ√å¥ æ‘®“√≥“¡Õ∫ª√‘≠≠“Õ—°…√»“ μ√å¡À“∫—≥±‘μ (M.A) ”‡√Á®°“√»÷°…“ «‘∑¬“≈—¬ªÑÕß°—π√“™Õ“≥“®—°√ (√ÿàπ·√°)
∑à“πºŸâÀ≠‘ߥÿ…Æ’¡“≈“ ¡“≈“°ÿ≈ ≥ Õ¬ÿ∏¬“ (‰°√ƒ°…å) ∏‘¥“‡®â“æ√–¬“¡À‘∏√·≈–∑à“πºŸâÀ≠‘ß°≈’∫ ‰¡à¡’∫ÿμ√∏‘¥“
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
15
√—∫√“™°“√ æ.».2455 æ.».2458 æ.».2461 æ.».2474
∂«“¬μ—«‡ªìπ¡À“¥‡≈Á°∑’Ëæ√–∑’Ëπ—ËßÕ—¡æ√ ∂“𠇪ìππ—°‡√’¬π¡À“¥‡≈Á°√—∫„™â√ÿàπ‡≈Á° ‡ªìππ—°‡√’¬π¡À“¥‡≈Á°√—∫„™â√ÿàπ„À≠à Õ“®“√¬åª√–®”°Õß·∫∫‡√’¬π°√¡«‘™“°“√ Õ“®“√¬å摇»…§≥–Õ—°…√ »“ μ√å ·≈–«‘∑¬“»“ μ√å ®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ æ.».2475 Õ“®“√¬å‚∑ Õ“®“√¬åª√–®”§≥–Õ—°…√»“ μ√å æ.».2477 À—«Àπâ“·ºπ°Ωñ°À—¥§√Ÿ¡—∏¬¡ §≥–Õ—°…√»“ μ√å·≈–«‘∑¬“»“ μ√å ®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ √—°…“°“√„πμ”·Àπàߧ√Ÿ„À≠à ‚√߇√’¬π ¡—∏¬¡ÀÕ«—ß æ.».2480 Õ“®“√¬å‡Õ° Õ—π¥—∫ 1 ºŸâÕ”π«¬°“√‚√߇√’¬π‡μ√’¬¡Õÿ¥¡»÷°…“ ·Ààß ®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ æ.».2481 Õ“®“√¬å‡Õ° Õ—π¥—∫ 3 æ.».2482 Õ“®“√¬å‡Õ° Õ—π¥—∫ 4 æ.».2485 Õ∏‘∫¥’°√¡ “¡—≠»÷°…“ ÕÕ°®“°μ”·ÀπàßÀ—«Àπâ“·ºπ°Ωñ°À—¥§√Ÿ ¡—∏¬¡®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“≈—¬™—Èπ摇»… μ˔՗μ√“ æ.».2486 ™—Èπ摇»… Õ—π¥—∫ 1 æ.».2487 ™—Èπ摇»… Õ—π¥—∫ 2 æâπ®“°μ”·ÀπàߺŸâÕ”π«¬°“√‚√߇√’¬π‡μ√’¬¡ Õÿ¥¡»÷°…“ ∑’˪√÷°…“‚√߇√’¬π‡μ√’¬¡Õÿ¥¡»÷°…“∑”ß“π„πÀπâ“∑’Ë ‡≈¢“∏‘°“√®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ (22 ‘ßÀ“§¡ - 6 μÿ≈“§¡) æ.».2489 ™—Èπ摇»… Õ—π¥—∫ 3 ª≈—¥°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√ (∂÷ß 26 ∏—𫓧¡ æ.».2500) æ.».2495-2496 √—°…“°“√„πμ”·ÀπàßÕ∏‘∫¥’°√¡«‘™“°“√ æ.».2497 √—°…“°“√„πμ”·ÀπàßÕ∏‘∫¥’°√¡°“√Ωñ°À—¥§√Ÿ (∂÷ß 27 °—𬓬π æ.».2499) »“ μ√“®“√¬å摇»…„π§≥–§√ÿ»“ μ√å ®ÿÓ≈ß°√≥å ¡À“«‘∑¬“≈—¬ æ.».2500 √— ∞ ¡πμ√’ «à “ °“√°√–∑√«ß»÷ ° …“∏‘ ° “√·≈–°√–∑√«ß«— ≤ π∏√√¡ √—∞∫“≈™ÿ¥ π“¬æ®πå “√ ‘𠇪ìπ𓬰√—∞¡πμ√’ æ.».2500-2501 √— ∞ ¡πμ√’ «à “ °“√°√–∑√«ß»÷ ° …“∏‘ ° “√·≈–°√–∑√«ß«— ≤ π∏√√¡ √—∞∫“≈™ÿ¥ æ≈‚∑∂πÕ¡ °‘μμ‘¢®√ ‡ªìπ𓬰√—∞¡πμ√’ √—°…“°“√
16
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
æ.».2502-2506 æ.».2502-2506 æ.».2506-2512 æ.».2506-2512
Õ∏‘°“√∫¥’®ÿÓ°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ (18-29 ‘ßÀ“§¡ æ.».2501) æâπ Õ∏‘°“√∫¥’®ÿÓ°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ (18-29 ‘ßÀ“§¡ æ.».2501) æâπ ®“°μ”·Àπàß√—∞¡πμ√’«à“°“√°√–∑√«ß«—≤π∏√√¡ (1 °—𬓬π) ®“°μ”·Àπàß√—∞¡πμ√’«à“°“√°√–∑√«ß«—≤π∏√√¡ (1 °—𬓬π) ‡π◊ËÕß®“°¬ÿ∫°√–∑√«ß ‡π◊ËÕß®“°¬ÿ∫°√–∑√«ß √—∞¡πμ√’«“à °“√°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√ √—∞∫“≈™ÿ¥®Õ¡æ≈ ƒ…¥‘Ï ∏π–√—™μå √—∞¡πμ√’«“à °“√°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√ √—∞∫“≈™ÿ¥®Õ¡æ≈ ƒ…¥‘Ï ∏π–√—™μå ‡ªìπ𓬰√—∞¡πμ√’ ‡ªìπ𓬰√—∞¡πμ√’ √—∞¡πμ√’«“à °“√°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√ √—∞∫“≈™ÿ¥®Õ¡æ≈∂πÕ¡ °‘μμ‘¢®√ √—∞¡πμ√’«“à °“√°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√ √—∞∫“≈™ÿ¥®Õ¡æ≈∂πÕ¡ °‘μμ‘¢®√ ‡ªìπ𓬰√—∞¡πμ√’ ‡ªìπ𓬰√—∞¡πμ√’
°“√ª√–™ÿ¡π“𓙓쑧√—Èß ”§—≠ °“√ª√–™ÿ¡π“𓙓쑧√—Èß ”§—≠ æ.».2467 ºŸâ·∑ππ—°‡√’¬π‰∑¬ °“√ª√–™ÿ¡ Meeting of University Leaque of æ.».2467 ºŸâ·∑ππ—°‡√’¬π‰∑¬ °“√ª√–™ÿ¡ Meeting of University Leaque of Nations Nations æ.».2472 ºŸâ·∑π√—∞∫“≈ °“√ª√–™ÿ¡ 1stst Work Conference on Adult Educaæ.».2472 ºŸâ·∑π√—∞∫“≈ °“√ª√–™ÿ¡ 1 Work Conference on Adult Education ∑’Ë Cambridge tion ∑’Ë Cambridge æ.».2474 ºŸªâ Ø‘∫μ— ß‘ “π™—«Ë §√“« °“√ª√–™ÿ¡ Leaque of Nations Temporary Colæ.».2474 ºŸªâ Ø‘∫μ— ß‘ “π™—«Ë §√“« °“√ª√–™ÿ¡ Leaque of Nations Temporary Collaborator ¢Õß —ππ‘∫“μ‘™“μ‘∑’Ë GENEVA laborator ¢Õß —ππ‘∫“μ‘™“μ‘∑’Ë GENEVA æ.».2491 À—«Àπⓧ≥–ºŸâ —߇°μ°“√≥å °“√ª√–™ÿ¡ ¡—™™“ ¡—¬ “¡—≠ (General æ.».2491 À—«Àπⓧ≥–ºŸâ —߇°μ°“√≥å °“√ª√–™ÿ¡ ¡—™™“ ¡—¬ “¡—≠ (General Conference) §√—Èß∑’Ë 3 ¢ÕßÕߧ尓√»÷°…“ «‘∑¬“»“ μ√å·≈–«—≤π∏√√¡ Conference) §√—Èß∑’Ë 3 ¢ÕßÕߧ尓√»÷°…“ «‘∑¬“»“ μ√å·≈–«—≤π∏√√¡ ·Ààß Àª√–™“™“μ‘ (UNESCO) ∑’Ë°√ÿ߇∫√ÿμ ª√–‡∑»‡≈∫“πÕπ ·Ààß Àª√–™“™“μ‘ (UNESCO) ∑’Ë°√ÿ߇∫√ÿμ ª√–‡∑»‡≈∫“πÕπ æ.».2492 UNESCO ‡™‘≠‡ªìπºŸÕâ ”π«¬°“√ —¡¡π“‡√◊ÕË ß°“√»÷°…“ºŸâ „À≠à„π™π∫∑∑’Ë æ.».2492 UNESCO ‡™‘≠‡ªìπºŸÕâ ”π«¬°“√ —¡¡π“‡√◊ÕË ß°“√»÷°…“ºŸâ „À≠à„π™π∫∑∑’Ë √—∞‰¡‡´Õ√å (Mysore) ª√–‡∑»Õ‘π‡¥’¬ (UNESCO Seminar çRural Adult √—∞‰¡‡´Õ√å (Mysore) ª√–‡∑»Õ‘π‡¥’¬ (UNESCO Seminar çRural Adult Education for Community Actioné) Education for Community Actioné) æ.».2493 ª√–∏“π°“√ª√–™ÿ¡ ECAFE - UNESCO Sorking Group ∑’Ë°√ÿ߇∑æœ æ.».2493 ª√–∏“π°“√ª√–™ÿ¡ ECAFE - UNESCO Sorking Group ∑’Ë°√ÿ߇∑æœ æ.».2494 À—«Àπⓧ≥–ºŸâ·∑π‰∑¬ °“√ª√–™ÿ¡π“π“™“μ‘«à“¥«¬°“√»÷°…“¢Õß Inæ.».2494 À—«Àπⓧ≥–ºŸâ·∑π‰∑¬ °“√ª√–™ÿ¡π“π“™“μ‘«à“¥«¬°“√»÷°…“¢Õß International Bureau Education (IBF) ∑’Ë°√ÿ߇®π’«“ ª√–‡∑» «‘μ ternational Bureau Education (IBF) ∑’Ë°√ÿ߇®π’«“ ª√–‡∑» «‘μ ‡´Õ√å·≈π¥å ‡´Õ√å·≈π¥å æ.».2495 ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°μ—È߇ªìπ°√√¡°“√∫√‘À“√ (Executive Board) ¢Õß UNESCO æ.».2495 ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°μ—È߇ªìπ°√√¡°“√∫√‘À“√ (Executive Board) ¢Õß UNESCO ∑’Ë°√ÿߪ“√’ ∑’Ë°√ÿߪ“√’ æ.».2497 ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°μ—È߇ªìπ°√√¡°“√∫√‘À“√ (Executive Board) ¢Õß UNESCO æ.».2497 ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°μ—È߇ªìπ°√√¡°“√∫√‘À“√ (Executive Board) ¢Õß UNESCO ¡—¬∑’Ë 2 ∑’ˇ¡◊Õß¡Õπ‡μ√‘‡§‚Õ ª√–‡∑»Õÿ√ÿ°«—¬ ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°μ—È߇ªìπ√Õß ¡—¬∑’Ë 2 ∑’ˇ¡◊Õß¡Õπ‡μ√‘‡§‚Õ ª√–‡∑»Õÿ√ÿ°«—¬ ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°μ—È߇ªìπ√Õß ª√–∏“π°“√ª√–™ÿ¡ ¡—™™“¢Õß UNESCO ∑’‡Ë ¡◊Õß¡Õπ‡μ«‘‡¥‚Õ ª√–‡∑» ª√–∏“π°“√ª√–™ÿ¡ ¡—™™“¢Õß UNESCO ∑’‡Ë ¡◊Õß¡Õπ‡μ«‘‡¥‚Õ ª√–‡∑» Õÿ√ÿ°«—¬ ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°‡ªìπ√Õߪ√–∏“π °“√ª√–™ÿ¡π“π“™“μ‘ «à“¥â«¬°“√ Õÿ√ÿ°«—¬ ‰¥â√—∫‡≈◊Õ°‡ªìπ√Õߪ√–∏“π °“√ª√–™ÿ¡π“π“™“μ‘ «à“¥â«¬°“√ »÷°…“ International Bureau Education (IBF) ∑’Ë°√ÿ߇®π’«“ ª√–‡∑» »÷°…“ International Bureau Education (IBF) ∑’Ë°√ÿ߇®π’«“ ª√–‡∑» «‘μ‡´Õ√å·≈π¥å «‘μ‡´Õ√å·≈π¥å เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา 17
æ.».2505
æ.».2506
æ.».2508
æ.».2511
√Õߪ√–∏“π °“√ª√–™ÿ¡√—∞¡πμ√’«à“°“√°√–∑√«ß»÷°…“∏‘°“√¢Õß ª√–‡∑»„πÕ“‡´’¬ (Minister of Education of Asian States Meeting on Education and Economic Planning ‡√’¬°¬àÕÊ «à“ MINEDAS) √Õߪ√–∏“π“∏‘∫¥’®ÕÀåπ —π (Johnson) ·Ààߪ√–‡∑» À√—∞Õ‡¡√‘°“ ‡™‘≠„Àâ ‰ªª√–™ÿ¡ Peace Corps ‡√◊ËÕß °”≈—ߧπß“π™—Èπ°≈“ß ∑’˪√–‡∑» ªÕ√å‚μ√‘‚° (Portorico) UNESCO ·≈– IAU (International Association of University) ·μàß μ—Èß„À⇪ìπºŸâ‡™’ˬ«™“≠¥â“π°“√»÷°…“¢Õß¡À“«‘∑¬“≈—¬·≈–‡™‘≠ª√–™ÿ¡ UNESCO-IAU Commission on the Fole of Higher Education in the Development of Nations ∑’Ë°√ÿß°—«≈“≈—¡‡ªÕ√å ª√–‡∑»¡“‡≈‡´’¬ ºŸâ‡™’ˬ«™“≠¥â“π°“√»÷°…“¢Õß¡À“«‘∑¬“≈—¬ ª√–™ÿ¡ UNESCO - IAU Commission on the Role of Higher Education in the Development of Nations ‡√◊ËÕß∫∑∫“∑¢ÕßÕÿ¥¡»÷°…“„π°“√æ—≤π“ ª√–‡∑» ∑’Ë°√ÿ߇∑æœ ª√–∏“π°“√ª™ÿ¡ MINEDAS ∑’Ë°√ÿ߇∑æœ (À≈—ß ®“°°“√ª√–™ÿ¡§√—Èßπ’È ‰¥â‡™‘≠™«π√—∞¡πμ√’°≈ÿà¡Õ“‡´’¬Õ“§‡π¬å®—¥μ—Èß Õߧ尓√ SEAMEO (South-East Asia Minister of Education Organization) ‡ªìπº≈ ”‡√Á® ≈ßπ“¡„π π∏‘ —≠≠“ SEAMEO „ππ“¡√—∞∫“≈‰∑¬∑’˪√–‡∑» ‘ߧ‚ª√å
μ”·Àπàß∑’Ë∑√ßæ√–°√ÿ≥“‚ª√¥‡°≈â“œ ·μàßμ—Èß æ.».2484 °√√¡°“√®—¥°“√√“™‘π’¡Ÿ≈π‘∏‘ (‚¥¬æ√–√“™‡ “«π’¬å) æ.».2485 √“™∫—≥±‘μ ”π—°»‘≈ª°√√¡ “¢“«√√≥§¥’ ·≈–¿“…“»“ μ√å °√√¡°“√ ¿“®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ æ.».2490 °√√¡°“√ ¿“¡À“«‘∑¬“≈—¬‡°…μ√»“ μ√å æ.».2507 °√√¡°“√ ¿“¡À“«‘∑¬“≈—¬‡™’¬ß„À¡à æ.».2508 Õ∏‘°“√∫¥’¡À“«‘∑¬“≈—¬»‘≈ª“°√ ∂÷ß æ.».2514 Õÿªπ“¬°°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï„π §≥–≈Ÿ°‡ ◊Õ·Ààß™“쑧√—Èß·√° æ.».2512 Õÿªπ“¬°°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï„π§≥–≈Ÿ°‡ ◊Õ·Ààß™“μ‘ §√—Èß∑’Ë Õß ¡“™‘°«ÿ≤‘ ¿“ æ.».2515 °√√¡°“√ ¿“¡À“«‘∑¬“≈—¬»‘≈ª“°√ (∂÷ß æ.».2519) ¡“™‘° ¿“π‘μ∫‘ ≠ — ≠—μ‘ ·Ààß™“μ‘ (∂÷ß æ.».2516) æ.».2518 ¡“™‘°«ÿ≤‘ ¿“ ¡—¬∑’Ë 2 (∂÷ß æ.».2519) æ.».2529 √“™∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï
18
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
‡§√◊ËÕß√“™Õ‘ √‘¬“¿√≥å æ.».2458 æ.».2460 æ.».2475 æ.».2475 æ.».2481 æ.».2483 æ.».2486 æ.».2491 æ.».2492 æ.».2493 æ.».2494 æ.».2495 æ.».2497 æ.».2500 æ.».2503 æ.».2504 æ.».2505 æ.».2510 æ.».2516 æ.».2528 æ.».2532
‡À√’¬≠√“™√ÿ®‡‘ ß‘π ‡À√’¬≠√“™‘π√’ ™— °“≈∑’Ë 5 ( .º.) ‡À√’¬≠∫√¡√“™“¿‘‡…° √—™°“≈∑’Ë 6 (√.√.».6) ‡À√’¬≠√—μπ“¿√≥å «.ª.√. ™—Èπ 5 ‡À√’¬≠∑’Ë√–≈÷°ª∞¡∫√¡√“™“πÿ √≥å μ쑬®ÿ≈®Õ¡‡°≈â“ ( ◊∫ °ÿ≈) μ√‘¬“¿√≥å¡ß°ÿƉ∑¬ μ√‘μ√“¿√≥å™â“߇º◊Õ° ∑«‘쑬“¿√≥å¡ß°ÿƉ∑¬ ∑«‘쑬“¿√≥å™â“߇º◊Õ° ª√–∂¡“¿√≥å¡ß°ÿƉ∑¬ ‡À√’¬≠∫√¡√“™“¿‘‡…° √—™°“≈∑’Ë 9 ‡À√’¬≠√“™°“√™“¬·¥π ª√–∂¡“¿√≥å™â“߇º◊Õ° ‡À√’¬≠®—°√æ√√¥‘¡“≈“ ∑ÿ쑬®ÿ≈®Õ¡‡°â“ ¡À“«™‘√¡ß°ÿÆ ‡À√’¬≠√—μπ“¿√≥å ¿.ª.√.™—Èπ 3 ‡À√’¬≠©≈Õß 25 æÿ∑∏»μ«√√… ¡À“ª√¡“¿√≥å™â“߇º◊Õ° ∑ÿ쑬®ÿ≈®Õ¡‡°≈â“«‘‡»… ‡À√’¬≠√—™°“≈∑’Ë 9 ‡ ¥Á®π‘«—μ‘æ√–π§√ ‡À√’¬≠≈Ÿ°‡ ◊Õ ¥ÿ¥’ ‡À√’¬≠°“™“¥ √√‡ √‘≠ ™—Èπ 1 ª∞¡®ÿ≈®Õ¡‡°≈â“ ‡À√’¬≠¥ÿ…Æ’¡“≈“ ‡¢Á¡»‘≈ª«‘∑¬“ ‡À√’¬≠√—μπ“¿√≥å ¿.ª.√. ™—Èπ 2 ‡§√◊ËÕß√“™Õ‘ √‘¬“¿√≥åÕ—π‡ªìπ ‘√‘¬‘Ëß√“¡°’√μ‘
‡§√◊ËÕß√“™¬åÕ‘ √‘¬“¿√≥åμà“ߪ√–‡∑» æ.».2505 Great Cross with Star and Sash (‡¬Õ√¡—π) æ.».2507 Grand Cordon Leopod (‡∫≈‡¬’ˬ¡) Sacred Treasure 1st Class (≠’˪ÿÉπ) æ.».2510 The Order of Distinguished Diplomatic Merit Service Class (‡°“À≈’) æ.».2511 Grand Cordon of Order of Brilliant Star (®’π§≥–™“μ‘) เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
19
‡°’¬√쑉¥â√—∫®“°Àπ૬ߓπ·≈– ∂“∫—πμà“ßÊ æ.».2505 §√ÿ»“ μ√å¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï ®ÿÓ≈ß°√≥å¡À“«‘∑¬“≈—¬ æ.».2507 π‘μ»‘ “ μ√奅ÿ Æ’∫≥ — ±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï (LLD. ¡À“«‘∑¬“≈—¬Õ‘π‡¥’¬π“ ª√–‡∑» À√—∞Õ‡¡√‘°“ æ.».2509 »‘≈ª¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï (‚∫√“≥§¥’) ¡À“«‘∑¬“≈—¬»‘≈ª“°√ æ.».2510 °“√»÷°…“¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï «‘∑¬“≈—¬°“√»÷°…“ (¡À“«‘∑¬“≈—¬ »√’π§√‘π∑√«‘‚√≤) æ.».2516 »‘≈ª»“ μ√å¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï ¡À“«‘∑¬“≈—¬‡™’¬ß„À¡à æ.».2517 »‘≈ª»“ μ√å¥ÿ…Æ’∫—≥±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï ¡À“«‘∑¬“≈—¬»‘≈ª“°√ æ.».2527 ª√—™≠“¥ÿ…Æ’∫≥ — ±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï ( “¢“¿“…“‰∑¬) ¡À“«‘∑¬“≈—¬√“¡§”·Àß æ.».2530 Õ—°…√»“ μ√奅ÿ Æ’∫≥ — ±‘μ°‘μμ‘¡»—°¥‘Ï ¡À“«‘∑¬“≈—¬»‘≈ª“°√ »‘≈ªîπ·Ààß™“μ‘ “¢“«√√≥»‘≈ªá ∫ÿ§§≈¥’‡¥àπ¢Õß™“μ‘ “¢“æ—≤π“°“√»÷°…“ æ.».2531 ºŸâ π—∫ πÿπ°“√Õπÿ√—°…å¡√¥°‰∑¬¥’‡¥àπ √—∫æ√–√“™∑“πæ√–‡°’Ȭ«∑Õߧ” „π∞“π–ºŸâ à߇ √‘¡¿“…“‰∑¬¥’‡¥àπ æ.».2535 √—∫æ√–√“™∑“π‚≈àπ—°°“√Ωñ°À—¥§√Ÿ‰∑¬ æ.».2535 √—∫√“ß«—≈Õ“‡´’¬π “¢“«√√≥°√√¡ ‰¥â√—∫°“√¬°¬àÕ߇ªìπ∫ÿ§§≈∑’Ë ∑”§ÿ≥ª√–‚¬™πå·°à°“√»÷°…“¢Õß™“μ‘Õ¬à“ß Ÿß¬‘Ëß æ.».2537 ‰¥â √— ∫ °“√ª√–°“»‡™‘ ¥ ™Ÿ ‡ °’ ¬ √μ‘ ‡ ªì π ªŸ ™ π’ ¬ ∫ÿ § §≈¥â “ π¿“…“·≈– «√√≥°√√¡‰∑¬ À¡àÕ¡À≈«ßªîòπ ¡“≈“°ÿ≈ ‰¥â°√“∫∂«“¬∫—ߧ¡≈“∂÷ß·°àÕ —≠°√√¡ ‡¡◊ËÕ«—πæƒÀ— ∫¥’∑’Ë 5 μÿ≈“§¡ æ.».2538 ‡«≈“ 17.05 π. ¥â«¬‚√§‡ âπ‡≈◊Õ¥„π ¡Õßμ’∫·≈–‰μ«“¬ ≥ ‚√ß欓∫“≈æ√–¡ß°ÿƇ°≈â“ ‘√‘√«¡Õ“¬ÿ‰¥â 91 ªï 11 ‡¥◊Õπ 11 «—π æ.».2546 ‰¥â√—∫°“√¬°¬àÕß®“°¬Ÿ‡π ‚° ‡ªìπ∫ÿ§§≈ ”§—≠¥’‡¥àπ¢Õß‚≈° ¥â“π°“√»÷°…“ «—≤π∏√√¡ «√√≥°√√¡ ·≈–°“√ ◊ËÕ “√
20
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ลักษณะของบุคคลที่เกื้อต่อสันติภาพ โดย : รองศาสตราจารย์ชม ภูมิภาค นายกสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย
ท่านผู้ฟังที่เคารพ สมาคมการศึ ก ษาแห่ ง ประเทศไทย เสนอบทความชุด “การศึกษาเพื่อสันติภาพ” ทางสถานวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เดือนละ 1 ครั้ง ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 จะพูดเรื่อง “ลักษณะของบุคคลที่เกื้อต่อสันติภาพ” นกพิราบคาบกิ่งมะกอก สัญลักษณ์ของสันติภาพ สั น ติ ภ าพของโลกนั้ น จะเกิ ด ขึ้ น อยู ่ ที่ จิ ต ใจของพลโลกทุ ก คน ใจมนุ ษ ย์ นั้ น น� ำ ไปสู ่ พฤติกรรมรูปต่างๆ ใจของมนุษย์ตอ้ งมีสนั ติภาพ การศึกษาต้องพยายามปลูกฝังบุคลิก ต้ อ งมี ลั ก ษณะต่ า งๆ ที่ จ ะเป็ น อุ ป การะแก่ ลักษณะอันจะเอื้ออ�ำนวยต่อการเกิดสันติภาพ สันติภาพ ให้เกิดขึ้นในตัวผู้รับการศึกษาให้ได้ มิฉะนั้นแล้ว ความฝันในเรื่องสันติภาพถาวรก็เป็นจริงได้ยาก ผมได้เคยกล่าวมาแล้วว่า สันติภาพนั้น อยู่ที่ใจมนุษย์ หากจิตใจของมนุษย์ทุกคนใน โลกนี้มีความสงบสุข ปรากฎการณ์ที่แสดงออก มาย่อมมีความสงบสุขไปด้วย ในภาวะเช่นนี้เรา เรียกว่า สันติภาพในใจของมนุษย์ แม้ว่าในขณะนี้ในหลายจุดของโลกจะมี ความวุน่ วาย มีความรุนแรง แต่กม็ ปี รากฎการณ์ แห่งความรัก ความเอือ้ อารี ความห่วงใยในเพือ่ น เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
21
มนุษย์ร่วมโลกเกิดขึ้น เช่น จากความร่วมมือ ร่วมใจของบุคคลและองค์การต่างๆ ทีเ่ ข้าไปช่วย เหลือประเทศต่างๆ ในอาฟริกาที่พบกับทุกขภิกภัย การเดินการกุศล เพื่อช่วยเด็กผู้ยากไร้ ไม่มที อี่ ยูอ่ าศัยของคนในอเมริกาเอง เป็นต้น เมือ่ เป็นเช่นนี้ ความหวังในสันติภาพของโลกจึงมีอยู่ และจ�ำเป็นที่จะต้องแพร่กระจายความคิดเรื่อง สันติภาพถาวรให้เกิดขึ้นในจิตใจของมนุษย์ทุก เพศทุกวัยเสียโดยเร็ว หลักธรรมของศาสนาต่างๆ นัน้ เป็นสิง่ ที่ ผู้คนนับถือศาสนานั้นจะได้ศึกษาและปลูกฝังให้ เกิดขึ้นในจิตใจของมนุษย์ซึ่งนับถือศาสนานั้นๆ ศาสนาต่างๆ ทุกศาสนาย่อมมีหลักธรรมอยู่เป็น อันมากที่จะน�ำไปสู่การมีสันติภาพในใจของผู้ นับถือศาสนานั้นๆ ความเชื่อในศาสนานั้นก็มี เป็นอันมากทีบ่ คุ คลไม่ปรารถนาจะพิสจู น์ แต่เชือ่ มั่นและน�ำไปปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวันเลยที่เดียว ความเชื่อเป็นแรงส�ำคัญที่จะควบคุมพฤติกรรม ของมนุษย์ ด้วยเหตุนี้ศาสนาต่างๆ ควรจะได้ คัดเลือกและเผยแพร่หลักธรรมนั้น ให้เกิดขึ้น ในใจของศาสนิกชนของตน หลักธรรมในพระพุทธศาสนานั้นมีอยู่ เป็นอันมาก ที่เป็นหลักธรรมซึ่งปลูกฝังลงใน ใจของคนแล้ว ใจของเขาจะมีความสงบสุข มี สั น ติ ภ าพ และน� ำ ไปสู ่ สั น ติ ภ าพในชุ ม ชนใน ประเทศ และชุมชนโลก เรามาลองส� ำ รวจดู ว ่ า หลั ก ธรรมใน พระพุทธศาสนานั้นว่ามีหลักธรรมประการใด บ้างที่จ�ำเป็นยิ่งต่อการสร้างสันติภาพ ความจริง แล้วหัวใจส�ำคัญของพระพุทธศาสนานั้นก็คือ 22
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
การสร้างสังคมโลกที่มีความสงบสุข ความรัก ความเมตตาอารี เกื้อกูลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ของมนุษย์ร่วมโลก ถือว่ามนุษย์ทั่วโลกนั้นเป็น เพื่อนมนุษย์ ร่วมเกิดแก่เจ็บตายด้วยกันทั้งนั้น จึงไม่ควรเบียดเบียนซึ่งกันและกัน ความจริงแล้วหากเราจะพิจารณาศึกษา จากแหล่งต่างๆ เช่น แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 หลักสูตรประถมศึกษา 2521 หลักสูตร มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น พ.ศ. 2521 หลั ก สู ต ร มัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2524 โดยดูจาก จุ ด มุ ่ ง หมาย หรื อ จุ ด หมาย เราจะทราบว่ า คุณธรรมใดบ้างที่จะเป็นจะต้องปลูกฝังในจิตใจ คนไทย เพื่อให้เกิดสันติภาพในจิตใจของคนไทย อันจะน�ำไปสู่สันติภาพในชุมชนโลกในบั้นปลาย เรามาดูแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 ในหมวด 1 ความมุ่งหมาย ข้อความหมวด 1 ความมุง่ หมายเขียนไว้ ว่า ตามนั ย แห่ ง แผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ฉบับนี้ การศึกษาเป็นกระบวนการต่อเนื่องกัน ตลอดชีวิต เพื่อสร้างเสริมคุณภาพของพลเมือง ให้สามารถด�ำรงชีวิตและท�ำประโยชน์แก่สังคม โดยเป็นการศึกษาเพื่อสร้างเสริมความอยู่รอด ปลอดภัย ความมั่นคงและความผาสุกร่วมกันใน สังคมไทยเป็นประการส�ำคัญ ความมุ่งหมายของการศึกษา มีดังนี้ 1. ให้มีความเคารพในสิทธิและหน้าที่ ของตนเองและของผู้อื่น มีระเบียบวินัย มีความ เคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย ศาสนา และ หลักธรรม
2. ให้มีความเข้าใจและกระตือรือร้นที่ จะมีสว่ นร่วมในการปกครองประเทศตามวิถที าง ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 3. ให้ความรับผิดชอบต่อชาติ ต่อท้อง ถิ่น ต่อครอบครัวและตนเอง 4. ให้มีความส�ำนึกในการเป็นคนไทย ร่วมกัน และการเป็นส่วนหนึ่งของมนุษยชาติ มี ความรักชาติ ตระหนักในความมั่นคงปลอดภัย ของชาติ และมีส่วนร่วมในการป้องกันประเทศ 5. ให้มคี วามยึดมัน่ และผดุงความเสมอ ภาพ ความสุจริตและความยุติธรรม 6. ให้มีบุคลิกภาพที่ดี มีสุขภาพและ อนามัยสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ 7. ให้มีความขยัยหมั่นเพียร มีความ สามารถในการประกอบอาชีพและจับจ่ายใช้สอย อย่างประหยัด 8. ให้ มี ค วามสามารถในการติ ด ต่ อ ท�ำความเข้าใจและร่วมมือซึ่งกันและกัน รู้จัก แสวงหาความจริง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหาและข้อขัดแย้งด้วยสันติ ปัญญา และโดยสันติวิธี 9. ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และเห็น คุณค่าในวิทยาการศิลปะ วัฒนธรรม ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรของประเทศ ปัจจุบันได้มีพระบรมราชโองการให้ใช้ แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2535 ตัง้ แต่ วันที่ 10 มีนาคม 2535 ความมุ่งหมายของการจัดการศึกษา ได้ ก�ำหนดไว้ว่าการศึกษาเป็นกระบวนการที่ท�ำให้
มนุ ษ ย์ ส ามารถพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของตน สามารถด�ำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีสันติสุข และสามารถเกื้ อ หนุ น การพั ฒ นาประเทศ ได้ อ ย่ า งเหมาะสม และสอดคล้ อ งกั บ ความ เปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้านของประเทศ โดยนัย ดังกล่าว ความมุ่งหมายของการจัดการศึกษาจึง เป็นการพัฒนาบุคคลใน 4 ด้านอย่างสมดุลและ กลมกลืนกัน คือ 1. ด้านปัญญา บุคคลที่ได้รับการศึกษา พึงเป็นผู้มีปัญญา คือ รู้จักเหตุและผล รู้จัก แยกแยะผิดชอบชั่วดี คุณและโทษ สิ่งที่ควร กระท�ำไม่ควรกระท�ำบนพื้นฐานของความจริง รู้จักแก้ไขปัญหาได้อย่างฉลาด และรู้เท่าทัน ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และหลากหลาย มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้ า งสรรค์ และใฝ่เรียนใฝ่รู้ เพื่อความก้าวหน้าทางความรู้ และวิทยาการต่างๆ รู้คุณค่าของภูมิปัญญาและ วัฒนธรรมของสังคมไทย รู้จักเลือกรับวิทยาการ และวัฒนธรรมจากภายนอก 2. ด้านจิตใจ บุคคลที่ได้รับการศึกษา รู้จักฝึกฝนจิตใจคนให้มีความเจริญงอกงามทาง คุณธรรม ได้แก่ ความละอายต่อการกระท�ำผิด รู้จักควบคุมตนเองให้ประพฤติตามกรอบความ ถูกต้องที่ดีงาม มีศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจ รู้จักพอ มีสมาธิและมีความอดทนหนัก แน่น อันจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ การงานและการด�ำรงชีพ 3. ด้านร่างกาย บุคคลทีไ่ ด้รบั การศึกษา มีร่างกายที่เจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย รู้จัก รักษาสุขภาพร่างกายทั้งของตนและของสมาชิก เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
23
ในครอบครัว 4. ด้านสังคม บุคคลที่ได้รับการศึกษา พึ ง มี พ ฤติ ก รรมทางสั ง คมที่ ดี ง าม ทั้ ง ในการ ท�ำงานและการอยู่ร่วมกันในครอบครัว องค์กร และสังคม รูจ้ กั ช่วยเหลือเกือ้ กูลประโยชน์แก่กนั และกัน โดยไม่เห็นแก่ตน มีความสามารถและ ทักษะในการติดต่อสือ่ สารของบุคคลอืน่ สามารถ ใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม รวม ทัง้ ใช้ภาษาต่างประเทศเพือ่ การติดต่อสือ่ สารกับ นานาประเทศได้ สามารถด�ำรงเอกลักษณ์และ วัฒนธรรมที่ดีงามของไทย ตระหนักและปฏิบัติ ตามสิทธิหน้าที่และความรับผิดชอบที่พึงมีต่อผู้ อื่น ต่อสังคม ต่อมวลมนุษยชาติ มีความมุ่งมั่น ที่จะพัฒนาและสร้างสรรค์ ให้มีสันติสุข รู้จัก เคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผูอ้ นื่ ตาม ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเ์ ป็น ประมุข รู้จักใช้และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี ตลอดจนร่วมส่งเสริม บทบาทของประเทศไทยในประชาคมโลกในทาง ที่เหมาะสม หากเราจะมองลงไปในขัน้ ปฏิบตั ิ นัน่ คือ หลักสูตร เราควรจะมองตั้งแต่หลักสูตรประถม ศึกษาไปจนถึงหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ในหลักสูตรประถมศึกษา พ.ศ. 2521 ในส่วนจุดมุ่งหมายในหมวดที่ว่าด้วยคุณสมบัติ ต้องการเน้นมีจุดหมาย ดังนี้ 1. มีความเสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนรวม ให้เห็นแก่ตัว 2. มีวินัยในตนเอง มุ่งมั่นในการท�ำงาน ให้ส�ำเร็จ 24
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
3. ขยันหมัน่ เพียร ซือ่ สัตย์ ประหยัดและ อดทน 4. รู้จักคิด วิจารณ์และตัดสินใจอย่างมี เหตุผล 5. มีขันติธรรมต่อค�ำวิจารณ์ และความ แตกต่างระหว่างบุคคลหรือหมู่เหล่า 6. มีน�้ำใจเป็นนักกีฬา รู้จักยกย่องผู้อื่น 7. รู้จักท�ำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ โดยรู้จักเป็นผู้ให้ ผู้รับ ผู้น�ำ ผู้ตามที่ดี นอกจากนี้ ยังมีจุดหมายที่ส�ำคัญยิ่งอีก หมวดหนึ่ง คือ หมวด 3 คือชีวิตที่สงบสุข ใน หมวดนี้ มีคุณสมบัติที่ส�ำคัญอยู่ 6 ข้อ คือ 1. รู ้ จั ก ปรั บ ตั ว ให้ เ หมาะสมกั บ การ เปลี่ยนแปลงของสังคม สิ่งแวดล้อม และวิทยา การใหม่ๆ 2. เข้ า ใจและศรั ท ธาในศาสนาที่ ต น นับถือ และน�ำหลักธรรมมาใช้ในชีวิตประจ�ำวัน 3. รู ้ จั ก ใช้ เ วลาให้ เ กิ ด ประโยชน์ แ ก่ ตนเองและส่วนรวม 4. มีความคิดริเริ่มที่เป็นประโยชน์แก่ ตนเองและส่วนรวม 5. มีอิสระในการคิด แต่พร้อมที่จะรับ ฟังความคิดเห็นของคนอื่นอย่างมีเหตุผล 6. รู้จักแก้ไขปัญหาโดยสันติวิธี คราวนี้ ม าดู จุ ด หมายของหลั ก สู ต ร มัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 จุดหมาย ของหลักสูตร มีดังนี้ 1. เพือ่ ให้ผเู้ รียนค้นพบและพัฒนาความ สามารถ ความถนัดและความสนใจของตนเอง
2. เพือ่ ให้มนี สิ ยั ใฝ่หาความรู้ ทักษะ รูจ้ กั คิดและวิเคราะห์อย่างมีระเบียบ วิธีการและมี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3. เพื่ อ ให้ เ กิ ด ทั ศ นะที่ ดี ต ่ อ สั ม มาชี พ ทุกชนิด มีระเบียบวินัยในการท�ำงานทั้งในส่วน ตนเองและหมู่คณะ มานะพากเพียร อดทน ประหยัด และใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ 4. เพื่ อ ให้ มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ มี วิ นั ย ใน ตนเอง เคารพต่อกฎหมายและกติกาของสังคม รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม ตลอด ทั้งเสริมสร้างความเสมอภาค และความเป็น ธรรมในสังคม 5. เพื่ อ ให้ รู ้ จั ก สิ ท ธิ แ ละหน้ า ที่ รู ้ จั ก ท�ำงานเป็นหมู่คณะ มีความสามัคคีและเสียสละ เพื่อส่วนรวม รู้จักแก้ปัญหาด้วยสันติวิธีอย่างมี หลักการและเหตุผล 6. เพื่อให้มีความรู้และทักษะที่เป็นพื้น ฐานเพียงพอแก่การน�ำไปปรับปรุงการดรงชีวิต ทั้งในส่วนงานและครอบครัว รวมทั้งการฝึกงาน และการกศึกษาเพิ่มเติม 7. เพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกาย และจิตใจ และให้รู้จักส่งเสริมการสาธารณสุข ชุมชน 8. เพื่ อ ให้ รั ก และผู ก พั น กั บ ท้ อ งถิ่ น ของตน ให้รู้จักบ�ำรุงรักษาสภาพแวดล้อม เพื่อ สร้างสรรค์ความเจริญให้แก่ทอ้ งถิน่ ตลอดจนส่ง เสริมศิลปวัฒนธรรมไทย 9. เพื่อปลูกฝังให้มีความภูมิใจในความ เป็นไทย มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระ มหากษัตริย์ ให้มีความเลื่อมใสในการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุข ร่วมกันธ�ำรงรักษาความปลอดภัย และความมั่นคงของประเทศชาติ 10. ส่ ง เสริ ม ความเข้ า ใจอั น ดี ข อง มนุษยชาติในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
หากเราพิจารณาจุดหมายของแผนการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2520 จุดหมายของหลักสูตร ประถมศึกษา 2521 และหลักสูตรมัธยมศึกษา ตอนต้น พ.ศ. 2521 ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว จะเห็น ว่า ได้ให้ความส�ำคัญในเรื่องการแก้ปัญหาโดย สันติวิธี เรื่องความเข้าใจระหว่างมนุษยชาติใน โลก เพื่อให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ลักษณะส�ำคัญของบุคคลที่ต้องการเน้น ต้องการให้เกิดขึ้นก็ล้วนแต่ให้ความส�ำคัญแก่ ชีวิตที่สงบสุข ตลอดจนคุณธรรมและลักษณะ ของบุคคลที่จะส่งเสริมให้ชีวิตที่สงบสุข คือ ชีวิต ที่มีสันติภาพทั้งสิ้น คุ ณ ธรรมที่ จ ะต้ อ งปลู ก ฝั ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด สันติภาพในใจของมนุษย์นั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า มีคุณธรรมต่อไปนี้เป็นอาทิ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
25
1. ความเห็นอกเห็นใจและเข้าใจเพื่อน มนุษย์ร่วมโลก ถือว่ามนุษย์ทุกชาติเชื้อเผ่าพันธุ์ นั้ น ล้ ว นแต่ เ ป็ น เพื่ อ นเกิ ด แก่ เ จ็ บ ตายด้ ว ยกั น ทั้งนั้น 2. ความเสียสละ นั่นคือความสามารถ ที่จะเสียประโยชน์ส่วนตนให้แก่ส่วนรวม ให้แก่ เพื่อนมนุษย์ร่วมโลกได้เมื่อถึงคราวจ�ำเป็น 3. ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นที่ทราบ ดีอยู่แล้วว่า มนุษย์นั้นเกิดมาไม่เท่าเทียมกันใน หลายๆ ด้าน ผู้มั่งมีอุดมสมบูรณ์ก็ต้องเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่แก่ผู้ยากจนขาดแคลน ความขัดแย้งก็จะ ลดน้อยลง จะเหลือแต่ความเข้าใจและเห็นอก เห็นใจกัน 4. ความเมตตากรุณา เมตตาหมายถึง ความรักใคร่ ปรารถนาที่จะให้ผู้อื่นมีความสุข กรุณาคือ ความสงสาร เมื่อเห็นผู้อื่นตกทุกข์ได้ ยาก อยากช่วยให้เขาพ้นทุกข์ 5. อิทธิบาท 4 เป็นคุณธรรมที่จะท�ำให้ ประสบความส� ำ เร็ จ ในการด� ำ เนิ น ชี วิ ต การ ประกอบอาชีพด้วยความสุจริต ไม่เอารัดเอา เปรียบใคร ด�ำเนินการทุกอย่างให้สำ� เร็จไปได้วย ความรัก ความใฝ่ใจ ความอดทน 6. ขันติธรรม ได้แก่ความอดกลัน้ อดทน รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา 7. ความรูจ้ กั เป็นทัง้ ผูใ้ ห้และผูร้ บั ลักษณะ เช่นนีจ้ ะท�ำให้เป็นคนไม่เอารัดเอาเปรียบกัน การ เอารัดเอาเปรียบกันย่อมให้เกิดปัญหาอันจะเกิด ความรุนแรงตามมา ต้องหลีกเลี่ยงภาวะที่จะก่อ ให้เกิดความรุนแรงต่อกัน 8. ยึ ด มั่ น ในกติ ก าสั ง คม ในสั ง คม 26
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ประเทศก็ย่อมมีกติกา มีระเบียบกฎหมายที่ สมาชิกหรือพลเมืองในประเทศจะต้องประพฤติ ปฏฺบัติ หากทุกคนปฏิบัติตามกติกาสังคมที่วาง เอาไว้ ชี วิ ต ในสั ง คมก็ จ ะราบรื่ น มี ค วามสงบ สุข มีสันติภาพในระหว่างประเทศก็มีองค์การ สหประชาชาติ ที่ ว างกติ ก าไว้ ใ ห้ ป ระเทศสมา ชิกปฏฺบัติ หรือที่เรียกว่า กฎบัตรสหประชาชาติ ซึง่ กฎบัตรสหประชาชาตินนั้ มีแนวปฏิบตั สิ ำ� หรับ ประเทศสมาชิก เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ หากประเทศสมาชิ ก ทุ ก ประเทศ ปฏิบตั ติ ามกฎบัตรสหประชาชาติอย่างเคร่งครัด สงครามหรือความรุนแรงทัง้ หลายย่อมไม่เกิดขึน้ สันติภาพที่ชาวโลกปัจจุบันใฝ่ฝันย่อมจะเกิดขึ้น อย่างแน่นอน ท่ า นผู ้ ฟ ั ง ที่ เ คารพ หากเราจะลอง อ่านดูปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนของ สหประชาชาติ แ ล้ ว เราจะเห็ น ว่ า ปรั ช ญาที่ ประกอบกันเข้าเป็นปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิ มนุ ษ ยชนนั้ น ล้ ว นแต่ เ กี่ ย วข้ อ งเกี่ ย วพั น กั บ คุณธรรมที่ได้กล่าวมาแล้ว องค์ ก ารสหประชาชาติ ไ ด้ ป ระกาศ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เมื่อ พ.ศ. 2491 เพื่อเป็นพื้นฐานในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลในชาติต่างๆ และระหว่างชาติ อารัมภบทของปฏิญ ญาสากลว่าด้วย สิทธิมนุษยชน กล่าวว่าการยอมรับนับถือเกียรติ และศักดิศ์ รีอนั มีแต่กำ� เนิดของมนุษย์ และความ เท่าเทียมกันในสิทธิตามกฎหมายของเผ่าพันธุ์ มนุษย์ เป็นรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรม
สากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนว่า เป็นมาตรฐาน ร่วมกันของสัมฤทธิ์ผลของพลเมือง และบรรดา ประเทศทั้งหมด เพื่อให้บุคคลทุกคน องค์การ ทางสังคมทุกองค์การได้ระลึกและจดจ�ำปฏิญญา นี้ไว้เสมอและจะใช้การสอนและการศึกษาเพื่อ ส่งเสริมความเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และ ด้วยการปฏิบตั กิ ารสม�ำ่ เสมอทัง้ ในระดับชาติและ นานาชาติ เพื่อให้เกิดความเคารพในปฏิญญานี้ เอลีนอร์ โรสเวลต์แสดงปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ในปี ค.ศ. 1949
และสันติภาพในโลก การไม่เคารพสิทธิมนุษย ชนอั น ก่ อ ให้ เ กิ ด การกระท� ำ อั น ป่ า เถื่ อ น ซึ่ ง ท�ำลายมโนธรรมของมนุษย์ การกระท�ำในโลก ที่จะให้มนุษย์นี้มีเสรีภาพในการพูด การเชื่อถือ ให้มนุษย์ปราศจากความกลัว ถือว่าเป็นยอด ปรารถนาของมนุษย์สิทธิมนุษยชนจะต้องได้รับ การคุ้มครองด้วยกฎหมาย และมีความส�ำคัญยิ่ง ในอันที่จะสร้างความสัมพันธ์ฉันท์มิตรระหว่าง ชาติต่างๆ พลเมืองของสหประชาชาติย่อมได้รับ การรับรองในสิทธิมนุษยชนพื้นฐานในธรรมนูญ ขององค์การสหประชาชาติวา่ มนุษย์นนั้ มีเกียรติ และศักดิ์ศรีเท่าเทียมกันทั้งชายและหญิง และ ได้มุ่งมั่นที่จะส่งเสริมให้เกิดความเจริญก้าวหน้า ทางสังคม และมาตรฐานการด�ำรงชีวิตที่ดีขึ้น มีเสรีภาพมากขึ้น รัฐสมาชิกทุกรัฐรับรองว่าจะ ปฏิบัติการด้วยการร่วมมือกับสหประชาชาติ ใน อันทีจ่ ะส่งเสริมให้เกิดการยอมรับนับถือปฏิญญา สากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน และรักษาไว้ซึ่งสิทธิ มนุษยชนและเสรีภาพพืน้ ฐานทัง้ หลาย ด้วยเหตุ นี้สมัชชาสหประชาชาติ จึงประกาศปฏิญญา
ในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน จ�ำนวน 30 ข้อนั้น มีอยู่เป็นจ�ำนวนหลายข้อที่ เกี่ยวข้องกับคุณธรรมต่างๆ ที่กล่าวมาแล้ว เช่น ข้อ 1 มนุษย์เกิดมาพร้อมเสรีภาพ มี ความเท่าเทียมกันในศักดิ์ศรีและสิทธิ์ บุคคล ทุกคนมีเหตุผลและมโนธรรม จึงควรปฏิบัติต่อ กันฉันท์พี่น้อง ข้อ 2 ทุกคนย่อมมีสิทธิและเสรีภาพ ตามที่ ป ระกาศไว้ ใ นปฏิ ญ ญานี้ โดยไม่ มี ก าร แบ่งแยกประเภท เช่น เชื้อชาติ ผิว เพศ ภาษา เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
27
ศาสนา การเมือง ต้องไม่แบ่งแยกด้วยสถานะ หรือประการอื่นใด ข้อ 3 ทุกคนมีสิทธิในการด�ำรงชีวิต มี อิสรภาพและความมั่นคง ข้อ 4 ไม่มีใครที่จะถูกกักขังบังคับให้ เป็นทาส ระบบทาสและการค้าทาสในทุกรูปแบบ จะต้องถูกห้ามมิให้มี ยังมีอีก 26 ข้อ ซึ่งแต่ละข้อนั้นแสดง ความเชือ่ หรือคุณธรรมใดคุณธรรมหนึง่ อยูเ่ บือ้ ง หลังทั้งนั้น หากทุกประเทศปฏิบัติตามปฏิญญา สากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ แล้ว ประเทศแต่ละประเทศก็จะมีแต่ความสงบ สุขและสันติภาพ และผลของความสงบสุขใน แต่ละประเทศก็จะส่งผลต่อสังคมโลกหรือชุมชน โลกโดยส่วนรวม โลกจะสงบสุข มีความเจริญ ก้าวหน้า และมีสันติภาพ ข้อหนึ่งของปฏิญญา สากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนั้น ตรงกับคุณธรรม และความเชื่อของพุ์ธศาสนา ที่ว่าบรรดาสัตว์ ทั้ ง หลายในโลกนี้ ล ้ ว นแต่ เ ป็ น เพื่ อ นร่ ว มเกิ ด แก่เจ็บ ตายด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียน ซึ่งกันและกัน มนุษย์นั้นไม่ว่าเชื้อชาติใด ถือ เป็นเพื่อนมนุษย์ร่วมโลก ไม่ควรเบียดเบียนกัน หากใจมนุษย์คิดได้เช่นนี้ การเอารัดเอาเปรียบ กันก็ไม่เกิดขึ้น ความสงบสุขก็เกิดได้ สันติภาพ ก็ตามมา คุ ณ ธรรมที่ ก ล่ า วถึ ง นั้ น เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของคุณธรรมอันจะน�ำไปสู่การสร้างสันติภาพ ในโลก คุณธรรมตามหลักค�ำสอนของพระพุทธ ศาสนานั้นมีอีกเป็นอันมาก ที่จะช่วยเสริมสร้าง ให้เกิดสันติภาพขึ้นในโลก ศาสนาอื่นก็เช่นกัน 28
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ทุกศาสนามุ่งสร้างคุณธรรมความดีในจิตใจของ ศาสนิกชน มุ่งให้มนุษย์อยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข และเป็นประโยชน์ต่อสังคม ศาสนิกชนทุกคน ควรจะได้พิจารณาศึกษาคุณธรรมเหล่านั้นให้ เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และน�ำไปปฏิบัติ ด้วยความเชื่อในชีวิตประจ�ำวันของตน สังคม มนุ ษ ย์ จ ะมี แ ต่ ค วามสงบสุ ข และมี สั น ติ ภ าพ ความรุนแรงในทุกรูปแบบจะลดน้อยถอยไป ขอ ให้เพื่อนมนุษย์ เพื่อนร่วมโลก ได้ร่วมกันหลีกให้ พ้นความรุนแรง ให้ร่วมกันใช้ปัญญาแก้ปัญหา ความขัดแย้งทั้งหลาย ใช้ความอดกลั้น อดทน ใช้ความเมตตา ความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและ กัน ขจัดความรุนแรงออกไปให้ได้ จงแก้ปัญหา ด้วยสันติวิธีอย่างมีระบบ ด้วยเหตุด้วยผล ใช้ คุณธรรมค�ำสอนในศาสนาให้เกิดประโยชน์ต่อ การแก้ปัญหาข้อขัดแย้งทั้งหลาย หากปรากฎ การณ์เช่นนี้เกิดขึ้นทั่วโลก ความหวาดระเวง ซึ่งกันและกันก็จะไม่มี การสะสมอาวุธก็จะไม่ เกิดขึ้น ทุกประเทศในโลกจะได้มีเวลาส�ำหรับ การทุ่มเทเพื่อการพัฒนาประเทศ เพื่อยกระดับ มาตรฐานความเป็นอยู่ของพลเมืองให้ดีขึ้น และ อยากจะกล่าวไว้ในท้ายทีส่ ดุ นีว้ า่ คุณธรรมค�ำ้ จุน โลก ผดุงสันติสขุ และก่อให้เกิดสันติภาพถาวรแก่ โลกมนุษย์ ท่านผู้ฟังที่เคารพ บทความชุด การ ศึกษาเพื่อสันติภาพ เรื่อง ลักษณะของบุคคลที่ เกื้อต่อสันติภาพ ที่เสนอโดยสมาคมการศึกษา แห่งประเทศไทย ก็ขอยุติด้วยเวลาเพียงเท่านี้ สวัสดี.
การปฏิรูปการศึกษาไทย “นวัตกรรมของนักการศึกษาไทย” โดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ
โลกปั จ จุ บั น ต้ อ งการนั ก คิ ด แบบใหม่ ให้หลุดพ้นจากห่วงโซ่การคิดแบบเดิมๆ จึงจะ ช่วยพัฒนาประเทศได้ ในวงการศึกษาก็เช่นกัน จ�ำเป็นต้องสร้างคนรุ่นใหม่ให้เก่งเฉพาะทาง มี อาชีพตามความถนัดและเต็มศักยภาพของแต่ละ คน เพือ่ สนองต่อความต้องการของประเทศและ ของโลก ผูเ้ ขียนเป็นนักการศึกษาหลังจากจบชัน้ มัธยมศึกษาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2503 แล้ว หลังจากนัน้ ก็เข้าศึกษาสายครูมาโดยตลอดจนจบปริญญา เอก ประสบการณ์เคยสอนระดับประถม มัธยม และอุดมศึกษา (คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ) ในฐานะนักการศึกษาไทยจึง ขอเสนอแนวคิดใหม่เพื่อปฏิรูปการศึกษาไทย และขอเสนอเป็นล�ำดับดังนี้
การปฏิรูปการศึกษาต้องปรับเปลี่ยนทั้งระบบ มิใช่เปลี่ยนบางจุดเท่านั้น เช่น เปลี่ยนแปลง เนื้ อ หาการสอน มี ก ารเพิ่ ม เติ ม เนื้ อ หา การ ปรับปรุงเนื้อหาจาก ม.2 ไปไว้ ม.3 จาก ม.3 เอาไปไว้ ม.1 เป็นต้น การท�ำเช่นนี้เรียกว่า ปรับปรุงไม่ใช่การปฏิรูป การปฏิรูปต้องท�ำทุก ระบบตั้งแต่ระบบการบริหารงาน ระบบการ เรียนการสอน ระบบเงินเดือน ระบบการเข้า รับราชการครู เป็นต้น เพราะทุกส่วนต้องท�ำงาน ให้สอดคล้องกันเป็นอย่างดี ในบทความนี้จะ ขอกล่าวถึงระบบการเรียนการสอนเท่านั้น
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
29
แผนการศึกษา ระดับอนุบาลศึกษา ให้เรียน 2 ปีเหมือน เดิม เพื่อเตรียมความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและจิตใจของเด็กให้พร้อมที่จะ เข้าเรียนในระดับประถมศึกษาต่อไป ระดับประถมศึกษา ให้เรียน 6 ปีเหมือน เดิม ให้มีความรู้พื้นฐานทุกวิชาดั่งเช่นที่สอน อยู่ในปัจจุบัน และควรเน้นเรื่องคุณธรรม ศีล ธรรมให้เข้มข้นมากขึ้นเพื่อสร้างคนดี ตลอดจน เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยในการเรียนการสอนให้ มีทักษะสูงขึ้น (การเล่นเกมควรลดลง) ให้เน้น เรื่องการใช้เหตุผล การคิดสร้างสรรค์ ความมี น�้ำใจเป็นนักกีฬาและการเสียสละเพื่อส่วนรวม ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา เด็ ก วั ย รุ ่ น จะเริ่ ม สนใจอาชี พ ในอนาคต โดยครู แ นะแนวต้ อ ง ให้การแนะแนวเกี่ยวกับอาชีพต่างๆ ซึ่งจะมี หนังสืออาชีพต่างๆเป็นคู่มือแก่นักเรียนอย่าง
30
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ชัดเจน เช่น ถ้าเด็กชอบกีฬาก็ให้เลือกอาชีพ การกีฬาและแยกรายละเอียดของประเภทกีฬา ต่อไป ชอบศิลปะก็ให้เลือกศิลปะและแยกราย ละเอียดของประเภทศิลปะ ชอบกฎหมายก็ให้ เลือกสายกฎหมาย ชอบแพทย์ก็ให้เลือกสาย แพทย์ ชอบครูกใ็ ห้เลือกสายครู ชอบการเกษตรก็ เลือกสายเกษตร ชอบธุรกิจก็เลือกธุรกิจ เป็นต้น ในระดับนี้ครูแนะแนวต้องมีบทบาทส�ำคัญร่วม มือกับนักเรียนและผูป้ กครองเพือ่ ให้ได้อาชีพตาม ทีต่ นฝันเอาไว้หรือมีความชอบ ส่วนกระบวนการ เรียนการสอนจะด�ำเนินการ ตามรายละเอียด ดังต่อไปนี้คือ
ตารางการเรียน ม. 1-6 ช่วงเช้า (วิชาสามัญ) 3 คาบ (คาบละ 1 ชั่วโมง) คาบที่
1
2
3
พัก 1 ชม.
ช่วงบ่าย (วิชาอาชีพตามความถนัด และชอบ) 3 คาบ 4
5
6
จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ ได้กำ� หนดตารางไว้มที งั้ หมด 6 คาบ เช้า 3 คาบ 8:30-11:30 น. และบ่าย 3 คาบ เริ่ม 12:30-15:30 น. ช่วงเช้าเป็นวิชาสามัญบังคับ ทัว่ ไป ช่วงบ่ายเป็นวิชาอาชีพตามความถนัดและ ความชอบ โดยก�ำหนดให้เรียน 5 วัน จันทร์ถึง วันศุกร์
วิชาสามัญบังคับเรียน ช่วงเช้า 3 คาบ (8:30-11:30 น.) มีวิชาต่างๆ คือ 1. ภาษาไทย 2. ภาษาอังกฤษ 3. ภาษาต่างประเทศอื่นๆ 4. ศิลปะ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
31
5. การพลศึกษาและสุขศึกษา 6. คณิตศาสตร์ 7. วิทยาศาสตร์ 8. สังคมศึกษา ภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ 9. ศีลธรรม 10. เทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน 11. ประเพณี วัฒนธรรม 12. อื่นๆ โดยจัดลงในตารางแต่ละวันให้เหมาะสม ช่วงบ่าย 3 คาบ (12.30-15.30 น.) ให้ เด็กเข้าเรียนตามความชอบและถนัด ตามที่เด็ก ได้ตัดสินใจไว้ (ผู้ปกครองและครูแนะแนวมีส่วน ร่วมพิจารณากับเด็ก) ให้เรียนทัง้ ภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติโดยครูสายอาชีพนั้นๆ จะเป็นผู้ก�ำหนด ทั้ ง ทฤษฎี แ ละปฏิ บั ติ ใ นห้ อ งแลป หรื อ สนาม กีฬา (อาชีพทางการกีฬา) ซึง่ จะลงการเรียนและ กิจกรรมไว้ในตารางเรียน จึงเห็นได้ว่าเด็กจะได้ ลงมือปฏิบัติจริงท�ำให้การเรียนสนุกไม่เครียด
32
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
และมีความสุขรู้สึกว่าเรียนง่าย ผู้เรียนจะได้รับ ทักษะในอาชีพนั้นๆ มาเป็นล�ำดับจากพื้นฐาน จากง่ายไปสู่ยาก ตั้งแต่ชั้น ม. 1-6 ผู้เขียนขอยก ตัวอย่างประกอบดังนี้ สมมุติว่าเด็กชอบอาชีพ เป็นนักกีฬาวอลเลย์บอล คณะครูฝา่ ยพลศึกษาก็ ต้องประชุมวางแผนการเรียนการสอนร่วมกันว่า ในคาบที่ 4 จะให้เรียนทฤษฎีอะไรบ้างส่วนคาบที่ 5 และ 6 ให้ลงสนามเพือ่ ฝึกทักษะต่างๆ เป็นการ ฝึกซ้อมให้เชีย่ วชาญท�ำเช่นนีต้ งั้ แต่ ม. 1-6 มีการ แข่งขันดูความสามารถและความก้าวหน้า ก็จะ ได้เด็กเก่งเฉพาะทางตามความชอบของเด็ก สิง่ ที่ เกิดขึน้ เช่นเด็กบางคนเลือกอาชีพแล้วปรากฏว่า ไม่ชอบ เลือกผิด ก็สามารถเปลีย่ นวิชาชีพใหม่ได้ ก็ให้ปรึกษากับผู้ปกครองและครูแนะแนวร่วม กับเด็กเพื่อให้เข้าสายอาชีพใหม่ ตั้งแต่ชั้น ม.2 เป็นต้นไป หรือจะเปลี่ยนอาชีพใหม่ในชั้น ม.3 ก็ได้ เป็นการให้โอกาสกับเด็ก หลังจาก ม. 4-6 ก็จะได้ทักษะการเล่นตรงสายที่ตนชอบ เมื่อจบ
ม.6 เด็กก็จะเชีย่ วชาญสามารถประกอบอาชีพได้ เป็นอย่างดี และสามารถต่อในระดับอุดมศึกษา ได้ตามทีร่ กั และชอบ หรือจะออกประกอบอาชีพ ก็ได้ ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา เป็ น การศึ ก ษาใน ระดับมหาวิทยาลัยซึ่งจะมีคณะต่างๆที่เป็นอยู่ ในปัจจุบัน สามารถรับนักเรียนที่มีความถนัด และเชี่ยวชาญจากมัธยมศึกษามาเข้าศึกษาต่อ การคัดเลือกก็เป็นหน้าทีข่ องมหาวิทยาลัยแต่ละ แห่งด�ำเนินการต่อไป เพื่อผลิตเด็กให้มีความรู้ ความสามารถ มีทกั ษะสูงเต็มศักยภาพของแต่ละ คน ประเทศชาติก็จะได้พลเมืองที่มีคุณภาพเพื่อ พัฒนาประเทศต่อไป ผู้เขียนขอให้แนวคิดโครงสร้างไว้ตาม ที่เสนอมา ส่วนรายละเอียดมีมากกว่านี้เพราะ ต้องท�ำงานเกีย่ วข้องกับหลายภาคส่วน แต่คงมีผู้ โต้แย้งหลายประเด็นเช่นจะท�ำได้หรือ? จะเอา ครูเชี่ยวชาญมาจากไหน มีห้องปฏิบัติการเพียง
พอหรือไม่ งบประมาณไม่มี การจัดการจราจร จะแก้อย่างไร เป็นต้น ผู้เขียนขอเสนอความเห็น ไว้บ้าง เช่น 1. จะเอาผู้เชี่ยวชาญมาจากไหน ตาม ปกติโรงเรียนแต่ละแห่งจะมีครูที่เชี่ยวชาญตาม วิชาเอกที่ได้ศึกษามาอยู่แล้ว อาจจัดอบรมครู เพิ่มเติมให้เชี่ยวชาญมากขึ้น หรือถ้าขาด 2-3 คนก็อาจรับครูเพิ่มก็ย่อมท�ำได้เพราะแต่ละปีก็ มีครูเกษียณออกไปเช่นกัน 2. มีห้องปฏิบัติการไม่พอ ในปัจจุบัน โรงเรียนต่างๆแต่ละแห่งจะมีห้องปฏิบัติการอยู่ ก็สามารถน�ำมารวมกันไว้ในโรงเรียนเดียวเมื่อ อยู่เขตเดียวกัน เช่นห้องแลปวิทยาศาสตร์ ห้อง ศิลปะ ห้องพลศึกษาและอืน่ ๆ ทีก่ ล่าวเช่นนี้ เช่น ในกรุงเทพมหานคร สมมติว่าในเขตจตุจักรมี โรงเรียนมัธยมอยู่ 5 โรง และสมมติว่ามีอาชีพ จัดจ�ำแนกแล้วมี 150 อาชีพ นั่นหมายความว่า แต่ละโรงจะมีความเชีย่ วชาญอาชีพอยู่ 30 อาชีพ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
33
(150 / 5 = 30) โดยก�ำหนดให้ โรงเรียนที่ 1 เชี่ยวชาญอาชีพที่ 1-30 โรงเรียนที่ 2 เชี่ยวชาญอาชีพที่ 31-60 โรงเรียนที่ 3 เชีย่ วชาญอาชีพที่ 61 ถึง 90 โรงเรียนที่ 4 เชี่ยวชาญอาชีพที่ 91-120 และ โรงเรียนที่ 5 เชี่ยวชาญอาชีพที่ 121 ถึง 150 อาชีพที่ต้องใช้พื้นที่มากก็ให้ใช้โรงเรียน ที่มีพื้นที่มาก เช่นอาชีพการกีฬาต้องใช้สนาม มากก็ให้โรงเรียนที่มีความพร้อมเป็นอาชีพการ กีฬาเป็นต้น จากที่กล่าวมานี้แต่ละโรงเรียนก็จะ มีความเชี่ยวชาญไม่ซ�้ำกันเปรียบเสมือนมี 30 คณะ จะเห็นว่าสามารถแก้ปัญหาที่ผู้ปกครอง มักจะส่งลูกหลานไปเข้าโรงเรียนดังๆ ได้เพราะ ทุกโรงจะมีความเชี่ยวชาญต่างกัน จึงท�ำให้เด็ก กระจายตามความถนัดของตนเอง การแข่งขัน การเข้าโรงเรียนดังๆ จึงหมดไป 3. งบประมาณไม่มี เพราะต้องใช้ห้อง ปฏิบตั กิ ารจ�ำนวนมาก ส�ำหรับประเด็นนีด้ จู ะเป็น ปัญ หาแต่ เ มื่ อพิ จ ารณาจากข้อเท็จจริง แล้ว ก็ สามารถด�ำเนินการได้ เพียงเอาเครือ่ งมือในอาชีพ เดียวกันไปไว้ในโรงเรียนเดียวกัน เพราะแต่ละ โรงเรียนจะไม่มอี าชีพซ�ำ้ กันอยูแ่ ล้ว อาจเพิม่ เติม งบประมาณเล็กน้อย ก็สามารถด�ำเนินการได้ 4. การจราจรติดขัด เพราะเด็กจะเดิน ทางไปโรงเรียนทีห่ า่ งไกลจากโรงเรียนทีต่ นเลือก
34
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
อาชีพไว้ ในเรื่องนี้ น่าจะแก้ปัญหาได้ เพราะ เรามีผู้เชี่ยวชาญทั้งต�ำรวจจราจร ฝ่ายประกอบ การขนส่งมวลชน รถไฟลอยฟ้าและใต้ดนิ ตัง้ เป็น คณะกรรมการร่วมกันเพื่อแก้ปัญหา และควร พิจารณาค่าตั๋วเป็นรายเดือนในราคาถูก ส�ำหรับ นักเรียน ก็น่าจะแก้ปัญหาได้ นอกจากปัญหาต่างๆ ดังกล่าวแล้วก็น่า จะมีปญ ั หาอืน่ ๆ อีก ซึง่ ควรตัง้ เป็นคณะกรรมการ ที่เชี่ยวชาญเป็นชุดๆ ก็สามารถด�ำเนินการได้ ผลดีที่เกิดจากการปฏิรูปการศึกษาครั้งนี้ ที่เห็น ชัดเจนคือเด็กไม่ต้องแย่งกันเข้าโรงเรียนดังๆ และเด็กเดินทางข้ามเขตไกลๆ ดังเหตุการณ์ ในปัจจุบัน ซึ่งสร้างความเหนื่อยล้าให้กับเด็ก มากเหตุการณ์เช่นนี้ก็จะหมดไปและผู้ปกครอง ก็คงพึงพอใจในระบบการศึกษาใหม่ ส่วนครูก็ ไม่จ�ำเป็นต้องพยายามไปบรรจุในโรงเรียนดังๆ เพราะโรงเรียนแต่ละแห่งก็จะสอนไม่ซ�้ำกันใน สายอาชีพ กลับเป็นสิ่งที่ดีที่ครูแต่ละโรงเรียนก็ พยายามให้โรงเรียนของตนเองมีชื่อเสียงในสาย วิชาชีพที่รับผิดชอบอย่างดีต่อไป ผูเ้ ขียนยินดีทจี่ ะเข้าไปชีแ้ จงรายละเอียด หรือร่วมอภิปรายกับกระทรวศึกษาธิการ หรือ หน่วยงานอืน่ ทีส่ นใจแนวคิดใหม่นี้ ถ้าเริม่ ต้นวันนี้ แล้ววันหน้าก็จะดียิ่งขึ้น เพราะมีการปรับปรุง จากผูเ้ ชีย่ วชาญทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องอย่างต่อเนือ่ ง ตลอดไป
Pedagogical Innovations: Lessons Learned from École 42 นวัตกรรมการสอน: บทเรียนจาก École 42
โดย : ผศ.ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการเทคโนโลยีขั้นสูง มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
มหาวิ ท ยาลั ย เป็ น สถาบั น การศึ ก ษา ที่ต้องเผชิญกับภาวะการแข่งขันทางวิชาการ ท่ามกลางจ�ำนวนสถาบันการศึกษาทั้งในและ นอกประเทศ เมื่อความต้องการจากภาคธุรกิจ ที่ ต ้ อ งการให้ ผ ลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ เ ป็ น ผู ้ น� ำ ยุ ค ใหม่ มี ทัศนคติแบบผู้ประกอบการ มีความรู้ทางการ เงิ น และมี ส มรรถนะดิ จิ ทั ล มหาวิ ท ยาลั ย จึ ง ต้องปรับระบบการเรียนการสอนด้วยการใช้ นวัตกรรมการสอน เพือ่ ให้ผเู้ รียนได้พฒ ั นาทักษะ ทีต่ อ้ งการ มีแนวความคิดใหม่ และมีความรูท้ ที่ นั สมัยซึ่งแนวทางหนึ่งคือการจัดให้มี Informal Education หรือการศึกษาตามอัธยาศัยมาก ขึ้น เพราะสิ่งส�ำคัญในยุคที่โลกเต็มไปด้วยข้อมูล มหาศาลเช่นนี้ ตัวชี้วัดความส�ำเร็จไม่ใช่ปริมาณ ความรู้หรือชื่อใบปริญญาที่ผู้เรียนได้มา แต่เป็น ทักษะความสามารถของนักเรียน นักศึกษาที่จะ ก่อเกิดการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงตนเอง และสังคม (Learning to transform oneself
and society) หรือเสาหลักที่ 5 ทางการศึกษา ตามที่ อ งค์ ก ารการศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ วั ฒ นธรรมแห่ ง สหประชาชาติ หรื อ ยู เ นสโก (UNESCO) ได้ระบุไว้ในการพัฒนาการศึกษา อย่างยั่งยืน (Óladóttir, 2014) ดังนั้นจึงเป็น ความท้าทายที่สถาบันการศึกษาจะพัฒนา ปรับ และเปลี่ยน วิธีการสอนที่เหมาะสมกับยุคสมัย อย่างแท้จริง ดังนั้นการเปลี่ยน หรือ Change จึง เป็นภาระกิจหลักตามนโยบาย และจุดเน้นที่ กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนดให้ระดับอาชีวศึกษา จัดการศึกษาระบบทวิภาคี ที่มุ่งเน้นให้พัฒนา ผู้เรียนให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญในอาชีพ เฉพาะด้ า น เรี ย นรู ้ จ ากสถานการณ์ จ ริ ง และ สถานการณ์จ�ำลอง และเรียนรู้จากกิจกรรม ที่หลากหลาย (บัลลังก์ โรหิตเสถียร, 2018) “ทวิภาคี” แปลว่า “สองฝ่าย” ซึ่งหมายถึง สถานประกอบการและสถานศึกษา เยาวชน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
35
ที่ เ ข้ า ร่ ว มฝึ ก อาชี พ ในโครงการอาชี ว ศึ ก ษา ระบบทวิภาคีนั้นจะมี 2 สถานภาพในบุคคล เดี ย วกั น คื อ เป็ น นั ก เรี ย นหรื อ นั ก ศึ ก ษาใน โรงเรียน และในขณะเดียวกันก็เป็นพนักงาน ฝึกอาชีพของสถานประกอบการด้วย จึงเป็นจุด เปลี่ยนของสถานศึกษาจาก Outcome-based Education ไปสู ่ Competency-Based Education (CBE) หรือการศึกษาแบบฐาน สมรรถนะ เพราะเป็นกระบวนการศึกษาที่มุ่ง เน้ น การพั ฒ นาคุ ณ สมบั ติ ข องบุ ค คลในระยะ ยาว ซึ่งมักจะเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นต่องานในอนาคต วัตถุประสงค์ของ CBE คือ ต้องการให้บุคคล รู้จักเรียนรู้ที่จะพัฒนาตนเอง หรือเกิด SelfLearning ได้ในที่สุด กล่าวคือ บุคคลจะเรียน รู้ที่จะแสวงหาความรู้และพัฒนาตนเองตลอด เวลาจนก่อให้เกิดพฤติกรรมในการท�ำงานที่พึง ประสงค์หรือเกิดผลงาน (Performance) ตาม ที่องค์การคาดหวัง (นายิกา เดิดขุนทด, 2018)
Competency หรือสมรรถนะ ประกอบ ไปด้ ว ย ความรู ้ ความสามารถและทั ก ษะ (Knowledge, Abilities, and Skills) ชอง ผู ้ เ รี ย น (Blackboard, 2019) สุ ร ชาติ ณ หนองคาย (2011) อธิบายไว้วา่ Com เป็น Prefix น�ำหน้าค�ำใดแปลว่ามีมากกว่าหนึง่ หรือ รวมเข้า ด้วยกัน รากศัพท์ของ Competency ได้พัฒนา มาจาก Com + Pete (Potent) เพราะในภาษา อังกฤษค�ำว่า Competency มาจากคุณลักษณะ ของพระเจ้าที่สร้างมนุษย์จากดินและเป่า Spirit ของพระเจ้าลงไปในดิน Humus + Spirit = Human ดังนั้นมนุษย์จึงมีคุณลักษณะ 3 Omni คือ Potent (แรง) Presence (การปรับตัว) และ Science (ความรู)้ รวมทัง้ สามเข้าด้วยกัน (Com) เป็น Competency
Competency-Based Education
36
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
Competency-based Education Source: (Sturgis, 2017)
สเตอร์จิส (Sturgis, 2017) ได้อธิบาย Competency-Based Education ในรูปจ�ำลอง ของต้นไม้ไว้ว่า ในทางศึกษาศาสตร์ รากของ CBE คือส่วนที่สร้างเป็นวัฒนธรรมและค่านิยม ที่ต้องเกิดขึ้น ได้แก่ ต้ อ งเป็ น สิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ ผู ้ เ รี ย นWhat is good for learners ความโปร่งใส-Transparency ใช้-Active Learning ก า ร ท� ำ ใ ห ้ ถู ก ต ้ อ ง ม า ก ขึ้ น Empowering มุง ่ สร้างให้การเรียนรูเ้ ป็นวัฒนธรรมRobust Culture of Learning
ส ร ้ า ง ค ว า ม ส� ำ นึ ก ใ น ห น ้ า ที่ Embedded Accountability และ คล่องแคล่ว-Agile ส่วนกิ่งคือกระบวนการของ CBE ที่มี องค์ประกอบ 5 ประการ ได้แก่ พั ฒ นาและปรั บ ทั ก ษะและนิ สั ย Development and application of skills and disposition จั ด ให้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ ที่ ถูกต้องชัดเจน-Explicit and transparent learning objectives empowers student ใช้การสาธิตเพื่อสร้างความช�ำนาญ ขั้ น สู ง -Advance upon demonstrated mastery ประเมินผลตามวัฏจักรของการเรียน รู้-Align assessments are rooted in the cycle of learning จั ด ให้ มี ก ารสนั บ สนุ น ที่ ห ลากหลาย เหมาะสมกับเวลา-Timely and differentiated support ใบไม้ เ ป็ น กลยุ ท ธ์ แ ละวิ ธี ป ฏิ บั ติ ที่ แตกต่ า งกั น ไปของแต่ ล ะสถานศึ ก ษา เช่ น Expedition-การเตรียมพร้อม Tempo rateท�ำอย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอ Voice-คือ รับฟัง ความต้ อ งการของนั ก ศึ ก ษา Choice-การมี ทางเลือก Learning plan-วางแผนการเรียน ใช้ Online learning และ Habits of work ท�ำงานจนเป็นนิสัย
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
37
“École 42” และ “University 42”
Picture credit: Mitrofanoff (2017)
สถาบันการศึกษาที่ใช้ CBE ซึ่งขอยกมา เป็นตัวอย่างคือ École 42 ค�ำว่า École เป็น ภาษาฝรั่งเศส หมายถึง โรงเรียน อาจเป็นระดับ ประถมหรือมัธยมหรือสถาบันการศึกษาเฉพาะ ทางก็ได้ École 42 หรือ โรงเรียนที่ชื่อว่า “42” เป็นสถาบันการศึกษาเอกชน ที่เป็น Informal education that occurs inside formal education environment หรือเป็นการศึกษา ตามอัธยาศัยที่จัดขึ้นในสภาพแวดล้อมของการ ศึกษาในระบบ “42” นับเป็นสถาบันการศึกษานอกกรอบ 38
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ทีเ่ ปิดสอนการ Coding computer application แบบไร้ครู และให้เปล่า ก่อตั้งโดยมหาเศรษฐี ชาวฝรั่งเศส เจ้าของกิจการด้านโทรคมนาคม ซาเวียร์ นีล (Xavier Niel) และ นิโคลัส ซาร์ดแิ รค (Nicolas Sardirac) ผู้เป็นนักการศึกษา และ เพื่อนอีก 2 คน จุดก�ำเนิดของ 42 มาจากความ คิดของนีลที่คิดว่าระบบการศึกษาของฝรั่งเศส นั้นช�ำรุด เขาจึงจ�ำเป็นต้องจัดการซ่อมส่วนหนึ่ง ของระบบการศึกษาเพือ่ ให้ตอบโจทย์ของตนเอง คือ แก้ปัญหาการขาดแคลนนักเขียนโปรแกรม มืออาชีพ
“ชือ่ ” โรงเรียน 42 ได้แรงบันดาลใจจาก หนังสือ the Hitchhiker’s Guide to the Galaxy หรือฉบับภาษาไทยว่า คูม่ อื ท่องกาแล็คซี่ ฉบับนักโบก แต่งโดย ดักลัส อดัมส์ (Douglas Adams,1979) เป็นนิยายไซไฟสุดแสนจะตลก 42 เป็นค�ำตอบที่ Deep Thought ซึ่งเป็นชื่อ ของซูเปอร์คอมพิวเตอร์ใช้เวลาคิดอยู่ 7.5 ล้านปี ว่า “อะไรคือค�ำตอบสุดท้ายของค�ำถามเกีย่ วกับ ชีวิต จักรวาลและทุกๆ สิ่ง” ในปี ค.ศ. 2013 นีล (คนที่ 2 จากซ้ายที่ สวมเสื้อเชิ้ตสีขาวและสูทสีด�ำ) เริ่มลงทุน 42 ใน กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ด้วยการบริจาคเงิน 70 ล้านยูโร เขาคิดไว้ว่าเงินก่อตั้งเหล่านี้ควรจะ สามารถให้โรงเรียนอยูไ่ ด้อย่างน้อย 10 ปี หลังจาก นั้นศิษย์เก่าทั้งหลายก็ควรจะสนับสนุนโรงเรียน ให้อยู่ต่อไปได้ หนึ่งปีผ่านไป เมื่อ 42 ประสบ ความส�ำเร็จดีมากจึงเกิดไอเดียของ “University
42” ที่ Silicon Valley ใกล้ Stanford University ในรั ฐ แคลิ ฟ อร์ เ นี ย ประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นแหล่งผลิตเทคโนโลยี IT ที่ใหญ่ที่สุดของโลก ซึ่งได้รับการต้อนรับดีมาก โดยเฉพาะจากภาคอุ ต สาหกรรมที่ ข าด โปรแกรมเมอร์ รุ น แรง ซึ่งเขาบริจ าคเงินก่อ ตั้งอีก 100 ล้านดอลล่าร์ ในปี 2014 ปัจจุบัน โครงการแนว 42 เกิดขึ้นใน Romania, South Africa, Ukraine, Bulgaria, the Netherlands, Tunisia และก�ำลังคิดจะเปิดกันในอีกหลาย ประเทศ นวัตกรรมการเรียนการสอนของ 42 สามารถอธิบายขยายความว่าสิ่งใดที่ “ไม่” และ สิ่งใดที่ “ใช่” (42.us.org, 2019; Anderson, 2017; Tweney, 2014; Walt, 2019) ซึ่ง จะอธิบายส่วนที่ไม่มี ก่อนจะอธิบายส่วนที่มี ดัง ต่อไปนี้
Picture credit: Escamilla (2017)
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
39
No-Fee ไม่เก็บค่าเล่าเรียน ซึ่งเป็น ประเด็นที่ทาง 42 เน้นมาก กว่าครึ่งหนึ่งของ ข้อมูลที่ปรากฎบนสื่อทุกชนิด 42 จะให้ข้อมูล เกี่ยวกับค่าเล่าเรียน ที่เน้นว่าเป็นการให้เปล่า แบบไม่มีข้อผูกพัน ตราบใดที่ผู้เรียนมี 2M+1S นั้นคือ Merit, Motivation and Skill การมี Merit คือ มีนิสัยที่จะสร้างคุณค่าให้กับตนเอง และงานที่ท�ำอย่างมีคุณธรรม รวมไปถึงการ สร้างความดี ต้องมี Motivation คือมีแรงจูงใจ ในท�ำงาน เป็นคนที่มีแรงผลักดันให้ผลงานของ ตนเองดีขึ้นตลอดเวลา และมี Skill คือมีทักษะ ในการท�ำงาน No-Class or grade or degree ไม่มชี นั้ เรียน ไม่มเี กรด หรือไม่มปี ริญญา เพราะ 42 ใช้ Project-based learning ที่มุ่งเน้นให้ ผู้เรียนปล่อยของหรือ Creativity ออกมาตาม แบบของ Gamification ซึ่งนักเรียนต้องท�ำงาน เป็นทีม เมื่อใดที่ Project ส�ำเร็จก็จะเท่ากับผ่าน 40
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ด่านขึ้นไป 1 ขั้น โดยที่มีขั้นทั้งหมดที่ก�ำหนดไว้ ในขณะนี้คือ 21 ขั้น เป้าหมายของ 42 คือ to be brilliant problem’s solvers not just coders No-Professor ไม่มีครู เพราะ 42 เชื่อว่าความรู้ด้านการ Coding สามารถเข้าถึง ได้ฟรีทางอินเทอร์เน็ต บวกกับการเรียนตาม ลักษณะของ peer-to-peer คือนักเรียนจะเรียน รู้ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น และให้คะแนนกันเอง ครูจงึ ไม่มคี วามจ�ำเป็น 42 ให้นกั เรียนสอนกันเอง ซึง่ เป็นแนวคิดแบบ Uberfication Education ที่ ตัดส่วนของครูออกจากระบบการศึกษา (Patty, 2019) 42 จัดให้ชว่ งแรกเริม่ ด้วยการเรียนทักษะ การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นเหมือนๆ กัน มีทั้ง งานเดี่ ย วและงานกลุ ่ ม และจะต้ อ งน� ำ เสนอ โปรเจคเพื่ อ ขอเลื่ อ นขั้ น เมื่ อ เลื่ อ นขั้ น มาได้ สักพัก นักเรียนจะสามารถเลือกท�ำโปรเจคตาม ความสนใจของตนเองได้ เช่น ถ้าสนใจงานด้าน
กราฟิ ก ดี ไ ซน์ หรื อ อยากเรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ การ จัดการฐานข้อมูล ก็สามารถเลือกท�ำโปรเจคใน ด้านนั้นๆ ได้ และในบางขั้น ก็จะให้นักเรียนไป ฝึกงานกับบริษัทข้างนอก เมื่อท�ำโปรเจคส�ำเร็จ ก็มีแต้มให้สะสม หากเก็บแต้มได้มากพอ ก็จะ สามารถขอเลื่อนขั้นไปได้เรื่อยๆ จนกระทั่งจบ การศึกษา No-Time barrier ไม่มีอุปสรรค ด้านเวลา สามารถอธิบายเป็นมิติที่ต่างกันไป เช่น 1) มิติของระยะเวลาที่ไม่ขึ้นกับปฏิทิน 2) การเรียนขึ้นอยู่กับความพร้อมของนักเรียนแต่ ละคน 42 ประกาศว่าหลักสูตรสามารถเพิม่ หรือ ลดได้ตามความต้องการ เพราะได้ออกแบบให้ น่าจะเรียนจบได้ภายใน 3 - 5 ปี หรือจบเมื่อ มีทักษะที่จ�ำเป็นทั้งหมดที่จะสามารถท�ำงานใน บริษัทด้าน Digital ได้ แต่เน้นที่จะต้องมีทักษะ การท�ำงานเป็นทีม Yes-Free accommodation มี สถานที+่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์+หอพัก+อาหาร ฟรี แม้จะไม่มีการเก็บค่าเล่าเรียน แต่ที่ส�ำคัญ คื อ ผู ้ เ รี ย นต้ อ งเข้ า โรงเรี ย นอย่ า งสม�่ ำ เสมอ โรงเรียนเปิดตลอด 24 ชั่วโมง มีคอมพิวเตอร์ +อินเทอร์เน็ตคุณภาพดี มีห้องเรียน มีพื้นที่ ท�ำโปรเจคหรือท�ำกิจกรรมอื่นๆ ร่วมกันได้อย่าง เต็มที่ Yes-Admission process มี กระบวนการคัดเลือกเข้าศึกษา ซึ่งน่าสนใจ และนับว่ามีความเข้มข้นมาก จนน่าจะสรุปได้ ว่า 42 ไม่ใช่โรงเรียนส�ำหรับทุกคน โดย 42 จะ ไม่พิจารณาจากวุฒิการศึกษา หรือค่า Grade
Point Average (GPA) หรือความสามารถใน การเขียนโปรแกรม ผู้สมัครไม่จ�ำเป็นจะต้องมี ความรู้ด้านการ Coding มาก่อน ขอให้มีอายุ ระหว่าง 18-30 ปี ในปี 2013 ซึ่งเป็นปีแรกของ การด�ำเนินการ มีผู้สมัครกว่า 70,000 คน โดย เริ่มจากขั้นที่ 1) ลงทะเบียนที่เว็บไซต์ของ 42 ซึ่งมีผู้ผ่านการคัดเลือกเพียง 20,000 คน ต่อมา ขั้นที่ 2) ท�ำการทดสอบออนไลน์เกี่ยวกับความ รู้ด้านการใช้ความคิดเชิงตรรกะ ซึ่งมีผู้ผ่านเพียง 4,000 คนเพื่อไปต่อใน ขั้นที่ 3) ได้รับบัตรเชิญ ให้ไปโรงเรียนเพื่อทดสอบในขั้นต่อไปที่เรียกว่า La Piscine (แปลว่า “สระว่ายน�้ำ”) ในขั้นนี้ ผู้สมัครจะต้องท�ำโปรเจคและเขียนโปรแกรม แบบเข้มข้นทุกวัน ประมาณ 100 ชัว่ โมง/สัปดาห์ 24/7 เป็นเวลา 1 เดือน โรงเรียนจะคัดนักเรียน จาก พรสวรรค์และแรงจูงใจ (Talent and motivation) หรือเฉพาะ Best of the best แล้วในที่สุดก็เลือกเพียง 890 คน ซึ่งคิดเป็น เพี ย งร้ อ ยละ 0.1 หรื อ สู ้ เ ข้ า มาเป็ น หนึ่ ง ใน พั น คนนั่ น เอง ที่ พ ร้ อ มที่ จ ะเรี ย นรู ้ ก ารเป็ น โปรแกรมเมอร์ ที่ได้เข้ามาเรียนใน 42 ผู้ที่ผ่าน การทดสอบในขั้ น นี้ จ ะมี ค วามรู ้ เ ที ย บเท่ า กั บ การศึกษาระยะเวลา 2 ปีในหลักสูตรวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยในฝรั่งเศส Yes-Internships มี ก ารฝึ ก งาน เพราะเน้นการฝึกงานถึง 2 ครั้ง และส่งเสริม ให้ท�ำงาน Part-time ระหว่างเรียน เพื่อให้ มี ป ระสบการณ์ ท� ำ งานด้ า นนวั ต กรรมและ เทคโนโลยีอย่างมืออาชีพ นอกจากนี้ประเด็นที่ เป็นค�ำถามยอดนิยม คือ ผลงานของนักเรียน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
41
แต่ละ Project นั้นเป็นของใคร ค�ำตอบคือ ทรัพย์สินทางปัญญาดังกล่าว จะเป็นของทีม นักเรียนผู้สร้างโครงการ ไม่ใช่ของโรงเรียน 42 จากผลการด� ำ เนินจากปี ค.ศ. 2013 จนถึง ปัจจุบนั พบว่าประมาณร้อยละ 40 ของนักเรียน ทีเ่ ข้าเรียนนัน้ ยังไม่จบชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย นอกจากนี้ ใ นปั จ จุ บั น 42 ยั ง ไม่ เ ปิ ด สอนแบ บอีเลิร์นนิง เพราะทางโรงเรียนมีความเชื่อว่า รูปแบบการเรียนที่จัดขึ้นที่ 42 นั้นผู้เรียนจะ เรียนได้ดีกว่าหากมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนอื่นๆ โดยตั้ ง ชื่ อ การเรี ย นแบบเดี ย วกั บ ระบบการ ท�ำงานของคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายคือ Peerto-peer learning เพราะ Peer-to-Peer เป็น ระบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องบนระบบ มีฐานะเท่าเทียมกัน ซึ่งนักเรียนจะใช้ Github ในการท�ำงานร่วมกัน ส่วนอัตราของผู้ลาออกไป แม้จะผ่านการคัดเลือกอย่างเข้มข้นมีประมาณ ร้อยละ 5-15 (Anderson, 2017) ความส�ำเร็จของ 42 นั้นมีองค์ประกอบ ที่ส�ำคัญ 3 ส่วนคือ คนเก่ง เงินหนา และการ บริหารดี เพราะนีล มหาเศรษฐีผู้ก่อตั้งนั้นเป็น คนที่ประสบความส�ำเร็จในชีวิต ด้วยเรียนการ Coding ด้วยตนเองตั้งแต่ยังเป็นวัยรุ่น เขาเขียน โปรแกรมการสื่อสารแบบลับขึ้นมา ซึ่งต่อมา โปรแกรมดังกล่าวสามารถขายได้เงินมากพอที่ เขาจะตั้งบริษัท และเขาก็มีแนวคิดและวิธีการ ลงทุนทีไ่ ม่เหมือนใคร จนเลือ่ นขัน้ เป็นมหาเศรษฐี ของประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้เขายังเลือกที่ จะท� ำ งานกั บ นั ก การศึ ก ษาที่ มี ป ระสบการณ์ บริ ห ารด้ า นโรงเรี ย นและหลั ก สู ต รไอที ม า 42
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
กว่า 20 ปี กรณีของ 42 นับเป็นนวัตกรรมการ สอนที่ถูกสร้างขึ้นตามหลักการของ CBE โดย เริ่มต้นที่ค่านิยมหรือรากฐานของสถาบัน ที่จะ สอนแต่วิชาความรู้ที่มีคุณค่าต่อผู้เรียน บริหาร งานอย่างโปร่งใสและคล่องแคล่ว เน้นการใช้ Active Learning ส่งเสริมให้เกิดการท�ำงานที่ ถู ก ต้ อ งมากขึ้ น มุ ่ ง สร้ า งให้ ก ารเรี ย นรู ้ เ ป็ น วัฒนธรรม สร้างความส�ำนึกในหน้าที่เป็นส�ำคัญ 42 ได้ใช้กระบวนการของ CBE ตาม องค์ประกอบ 5 ประการ ได้แก่ มีการพัฒนา และปรับทักษะและนิสัยของผู้เรียน จัดให้มี วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ถูกต้องชัดเจน ใช้การ สาธิตเพือ่ สร้างความช�ำนาญขัน้ สูง มีการประเมิน ผลตามวัฎจักรของการเรียนรู้ และจัดให้มีการ สนับสนุนที่หลากหลายเหมาะสมกับเวลา ส่วนกลยุทธ์การเรียนการสอนของ 42 เลือกมาได้แก่ การเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียน พร้อมที่จะเรียน ส่งเสริมให้การเรียนสามารถ ท� ำ ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งสม�่ ำ เสมอ มี รั บ ฟั ง ความ ต้องการของนักศึกษา มีทางเลือกให้กับผู้เรียน มีการวางแผนการเรียน รวมไปถึงให้รู้จักรักที่ จะท�ำงานจนเป็นนิสัย แต่อย่างไรก็ดี 42 ยังไม่ เลือกที่จะใช้ Online learning เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน อย่ า งไรก็ ดี ก ารอภิ ป รายถึ ง โรงเรี ย น นอกกรอบแบบ 42 นั้นมีด้านบวกก็ย่อมจะมี ด้านลบ ข้อมูลจาก Hacker News ซึ่งมีผู้คน แสดงความคิดเห็นมากกว่า 150 คน ได้เริ่มต้น จากเนื้อหาการสัมภาษณ์ผู้ที่จบการศึกษาจาก
Biathlon กีฬาลูกผสมระหว่างสกีและการยิงปืน Picture Credit: Manzoni (2017)
42 จ�ำนวนหนึ่งที่ระบุว่า 42 ไม่ได้สอนให้ “คิด” ว่าก�ำลังท�ำอะไร แต่จะให้ไปเริ่มที่ Keyboard และเขี ย น Code ออกมาให้ ม ากที่ สุ ด เท่ า ที่ จะท� ำ ได้ ซึ่ ง คล้ า ยกั บ การเล่ น ไบเอทลอน (Biathlon-กี ฬ าลู ก ผสมระหว่ า งสกี แ ละการ ยิงปืน ซึ่งในที่นี้หมายถึงการท�ำงานที่ยาก ซับ ซ้อน ใหม่ และท้าทาย) แบบ “ไม่ต้องเล็งก่อน ยิง” หรือ “ไม่ต้องคิดก่อนโค้ด” การแสดง
ความคิดเห็นยังเสริมอีกว่า 42 ควรจะสอนให้ผู้ เรียนเข้าใจถึงข้อมูลเชิงลึกที่จ�ำเป็นในการเขียน โปรแกรมอย่างยั่งยืน และนั่นท�ำให้ “ครู” คือ กลไกส�ำคัญที่ขาดไม่ได้ เพราะนั่นเป็นทักษะที่ หาได้ยากในบริษทั ส่วนใหญ่ เพราะการ Coding ต้องการสมรรถนะแบบ “นักพัฒนา” ทีม่ ปี รัชญา ลึกซึ้งด้านการเขียนโปรแกรมไม่ใช่แค่คนเขียน Code ได้
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
43
บรรณานุกรม 42.us.org. (2019). 42 Silicon Valley: disrupting software engineering education. Retrieved 28 April 2019, from https://www.42.us.org/ Anderson, J. (2017, September 4). École 42, a free, teacher-less university founded by French billionaire Xavier Niel is schooling thousands of future-proof programmers — Quartz. Retrieved 28 April 2019, from Quartz website: https:// qz.com/1054412/a-french-billionaires-free-teacher-less-university-is-designingthousands-of-future-proof-employees/ Blackboard. (2019). Competency-Based Education. Retrieved 28 April 2019, from Blackboard website: https://www.blackboard.com/competency-basededucation/index.html Escamilla, J. (2017). École 42, la escuela sin profesores, sin libros y totalmente gratuita — Observatorio de Innovación Educativa. Retrieved 28 April 2019, from observatorio.tec.mx website: https://observatorio.tec.mx/edu-bitsblog/2017/3/16/cole-42-la-escuela-sin-profesores-sin-libros-y-totalmentegratuita Manzoni, C. (2017). EBU - Audience Figures at a Record High for 2017 Biathlon World Championships. Retrieved 28 April 2019, from https://www.ebu.ch/ news/2017/02/audience-figures-at-a-record-high-for-2017-biathlon-worldchampionships Mitrofanoff, K. (2017). Ecole 42, l’ovni pédagogique de Xavier Niel et meilleure école de code au monde - Challenges. Retrieved 28 April 2019, from Challenges. fr website: https://www.challenges.fr/emploi/formation/ecole-42-l-ovnipedagogique-de-xavier-niel-et-meilleure-ecole-de-code-au-monde_448274 Óladóttir, H. (2014). UNESCO Education for Sustainable Development 2005-2014 Google Scholar. Retrieved 28 April 2019, from https://scholar.google.com/ scholar?oi=gsb95&q=UNESCO%20Education%20for%20Sustainable%20 Development%202005-2014&lookup=0&hl=en 44
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
Patty, 2019. (2019). The ‘Uberfication’ of education: warning about commercial operators. Retrieved 29 April 2019, from https://www.smh.com.au/business/ workplace/the-uberfication-of-education-warning-about-commercialoperators-20181025-p50btw.html Sturgis, C. (2017, September 21). Competency-Based Education in the K-12 Space. Retrieved 28 April 2019, from Competency Works website: https://www. competencyworks.org/higher-education-2/competency-based-education-inthe-k-12-space/ Tweney, D. (2014, June 13). This French tech school has no teachers, no books, no tuition - and it could change everything. Retrieved 21 April 2019, from VentureBeat website: https://venturebeat.com/2014/06/13/this-french-techschool-has-no-teachers-no-books-no-tuition-and-it-could-change-everything/ Walt, V. (2019). Free French Programming School ‘42’ Still Solving for the Skills Gap. Retrieved 28 April 2019, from Fortune.com website: http://fortune. com/2019/03/16/42-computer-programming-school-skills-gap/ นายิกา เดิดขุนทด. (2018). การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร. Retrieved 28 April 2019, from https://www.gotoknow.org/posts/51696 บัลลังก์ โรหิตเสถียร. (2018, November 29). นโยบายและจุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ. Retrieved 28 April 2019, from Ministry of Education, Thailand website: https://www. moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=53369&Key=news2 สุรชาติ ณ หนองคาย. (2011). การใช้ค�ำ 2 ค�ำในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม. Retrieved from สมาคมหลั ก สู ต รและการสอนแห่ ง ประเทศไทย website: http://www. curriculumandinstruction.org/index.php?lay=boardshow&ac=webboard_ show&No=1378021
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
45
เทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต: แนวโน้ม การประยุกต์ใช้และความท้าทาย (Educational Technology in the Future: Trends, Application, and Challenge)
โดย : ศาสตรเมธี รศ.ดร.ประหยัด จิระวรพงศ์ เทคโนโลยีการศึกษา
บทคัดย่อ การเปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งสิ้ น เชิ ง ของ เทคโนโลยีการศึกษาในปัจจุบันจะต้องเกิดขึ้น เพราะได้รบั อิทธิพลจากเทคโนโลยีทลี่ ำ�้ สมัยและ แนวโน้มของ digital disruption ซึ่งเป็นการ เปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล และรู ป แบบของธุ ร กิ จ สมั ย ใหม่ ที่ เ กิ ด ขึ้ น และ ส่งผลกระทบต่อสินค้าและบริการที่มีอยู่เดิม ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีตา่ ง ๆ เป็นตัวเร่งรัด การเปลี่ยนแปลงที่เร็วขึ้นกว่าการเปลี่ยนแปลง ที่โลกเคยผ่านมา ในขณะที่เทคโนโลยีเปลี่ยน โลกทั้งหลายได้เข้ามาแทนที่เทคโนโลยีต่าง ๆ ที่มีอยู่เดิมนั้น เทคโนโลยีเหล่านี้ก็ได้สร้างความ สั่นสะเทือนโลกและกระตุ้นให้ประชาชนทุกคน บนโลกได้สร้างสรรค์การด�ำเนินชีวิตในรูปแบบ 46
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ใหม่ ตัวอย่างของเทคโนโลยีเปลี่ยนโลกและ deep technology ยอดนิยม เช่น ปัญญา ประดิ ษ ฐ์ , เทคโนโลยี ค วามเป็ น จริ ง เสมื อ น, Blockchain Technology, Big Data and Data Analytics, Internet of Things (IoTs), Cloud Technology และ Quantum Computing โดยทีเ่ ทคโนโลยีเหล่านีก้ ำ� ลังน�ำไปสูเ่ ส้นทางของ โลกในวันพรุ่งนี้ นอกจากนี้ เทคโนโลยี 5G เป็น โครงสร้างพื้นฐานที่ส�ำคัญที่สุดของเทคโนโลยี ดิจิทัลทั้งหมดซึ่งเปรียบเสมือนเป็นแพลตฟอร์ม ของเทคโนโลยีขั้นสูงที่จะน�ำมาใช้จริงในปี ค.ศ. 2020 ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีความ เป็ น จริ ง เสมื อ นจะเป็ น เทคโนโลยี ส� ำ คั ญ ที่ ใ ช้
เป็ น หลั ก ในการพั ฒ นาเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา ส�ำหรับผู้เรียนซึ่งเป็นกลุ่มคนรุ่นใหม่ในอนาคต โดยสรุปแล้วความท้าทายของเทคโนโลยีที่เกิด ขึ้นใหม่นี้จะส่งผลกระทบอย่างมีนัยส�ำคัญต่อ วงการศึกษาอย่างสูงมากในระยะเวลาอันใกล้นี้ ค�ำส�ำคัญ: เทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยี เปลีย่ นโลก ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีความ เป็นจริงเสมือน Abstract Revolution of current educational technologies will appear by influence of modern technologies and trends of digital disruption. The digital disruption is the change that occurs when new digital technologies and business models affect the value proposition of existing goods and services. Technological advances are now accelerating faster than ever before. According to disruptive technologies displace established technologies, they shake up the world and stimulate all people to create the new-way of life. For example, top of the disruptive technology and deep technology are included Artificial Intelligence (AI), Blockchain Technology, Virtual Reality (VR) and Augmented Reality (AR), Big Data and Data Analytics, Internet of Things (IoTs), Cloud
Technology, and Quantum Computing. They are leading the way for the world of tomorrow. Furthermore, 5G technology is also the most important infrastructure of all digital technologies as well as platform of these advanced technologies in 2020. The AI and VR & AR are mainly essential technologies to develop new education technology for new-generation learners in the future. In conclusion, challenge of emerging technologies that will have a highly significant impact on education will be appeared in the near term. Keywords: Educational Technology, Disruptive Technology, Artificial Intelligence, Virtual Reality, and Augmented Reality บทน�ำ ปัจจุบันเป็นยุคที่เทคโนโลยีดิจิทัลมีการ พัฒนาอย่างรวดเร็วแบบก้าวกระโดดท�ำให้เกิด การหยุดชะงักทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครองและด้านอื่น ๆ ส่งผลให้เกิดการ ตื่นตัวและเกิดกระแสของ Digital Disruption หรือ Disruptive Challenge กระจายออกไป ทั่วทุกภูมิภาคของโลก ความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เช่น อินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wireless Internet หรือ Mobile Internet/ Smartphone) ยาน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
47
พาหนะไร้คนขับ (Autonomous Vehicles) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality/Augmented Reality/Mixed Reality) รวมถึงเทคโนโลยีพันธุกรรมขั้นสูง (Advanced Genomics) มาถึงจุดที่ส่งผลกระทบต่อการ ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน การประกอบธุรกิจรวม ถึงสภาพเศรษฐกิจของโลกมีการเปลีย่ นแปลงไป อย่างมาก จนท�ำให้ผนู้ ำ� และผูบ้ ริหารทุกระดับทัง้ ภาครัฐและเอกชนเกิดการตืน่ ตัว ตระหนักรูแ้ ละ เตรียมพร้อมเพื่อตอบสนองต่อผลกระทบในมิติ ต่าง ๆ ที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นตามอย่างต่อเนื่องทั้ง ทางตรงและทางอ้อม อาจกล่าวได้ว่าในขณะนี้ เทคโนโลยีดิจิทัลมีอิทธิพลและเป็นเทคโนโลยีที่ ทรงพลังอย่างมากในการเปลี่ยนแปลงโลก
ประเภทที่มีอิทธิพลและสามารถเปลี่ยนแปลง โลก ได้แก่ (เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ, 2559) 1. อินเทอร์เน็ตไร้สาย 2. เทคโนโลยี อั ต โนมั ติ ใ นด้ า นการ วิเคราะห์ 3. Internet of Things (IoTs) 4. Cloud technology 5. หุ่นยนต์ขั้นสูง 6. ยานพาหนะไร้คนขับหรือกึง่ ไร้คนขับ 7. Next-Generation Genomics 8. อุปกรณ์เก็บสะสมพลังงาน 9. การพิมพ์สามมิติ 10. Advanced Materials 11. การส�ำรวจและขุดเจาะน�้ำมัน 12. พลังงานทดแทน
เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก โดยทั่วไป เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (Disruptive Technologies) จะหมายถึงเทคโนโลยี ที่ มี ค วามก้ า วหน้ า และมี ค วามสามารถหรื อ อิทธิพลท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยน รู ป แบบที่ ชั ด เจนและแตกต่ า งจากเดิ ม อย่ า ง สิน้ เชิงทัง้ ในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวัน การศึกษา การประกอบอาชีพ การด�ำเนินการทางธุรกิจ และการท�ำธุรกรรมทางการเงินของประชาชน ส่วนใหญ่ทั่วโลก รวมถึงสภาพเศรษฐกิจโดยรวม ของโลกอีกด้วย (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทน ราษฎร, 2562) จากรายงานของ McKinsey Global Institute ค.ศ. 2013 พบว่ามีเทคโนโลยี 12
1. อิ น เทอร์ เ น็ ต ไร้ ส าย (Mobile Internet) เป็นเครือ่ งมือทีใ่ ช้เทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ต เชือ่ มโยงทัว่ โลกผ่านอุปกรณ์ดจิ ทิ ลั เช่น Laptop หรือโทรศัพท์มือถือ (Smartphone) โดยอาศัย โปรแกรมหรือแอพพลิเคชั่น (Application) เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวกในการท� ำ กิ จ กรรม ต่าง ๆ เช่น การติดต่อสื่อสาร การส่งข่าวสาร การแบ่งปันข้อมูล การทักทายทางอินเทอร์เน็ต การท�ำธุรกรรมการเงินออนไลน์ (หรือ Mobile Banking) 2. เทคโนโลยี อั ต โนมั ติ ใ นด้ า นการ วิเคราะห์ (Automation of Knowledge Work)
48
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เป็นเทคโนโลยีที่บริษัท IBM ประดิษฐ์ ขึ้นโดยตั้งชื่อเครื่องมือนี้ว่า “Watson” และ สร้างซอฟต์แวร์ที่ “ฉลาด” หรือ “อัจฉริยะ” สามารถคิดวิเคราะห์สิ่งต่าง ๆ ได้จากข้อมูลน�ำ เข้าหรือการส่งข้อมูลเข้าในระบบ มีการพัฒนา และน�ำมาทดลองใช้ในการวินจิ ฉัยโรคจากข้อมูล และอาการป่วย การร่างค�ำฟ้องและให้คำ� แนะน�ำ ทางกฎหมาย (เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ, 2559) 3. Internet of Things (IoTs) เป็นเทคโนโลยีที่อุปกรณ์หรือสิ่งต่าง ๆ ถูกเชื่อมโยงกับอินเทอร์เน็ต ท�ำให้ผู้ใช้สามารถ สั่งการควบคุม ใช้งานอุปกรณ์หรือวัสดุต่าง ๆ (เช่น ตู้เย็น เครื่องซักผ้า หลอดไฟ โทรทัศน์) ผ่านเครือข่ายทางอินเทอร์เน็ต (รูปที่ 1) โดยฝัง อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ (Sensor) ขนาดเล็ก จนถึงเล็กทีส่ ดุ เพือ่ ส่งข้อมูล สือ่ สารและสามารถ สัง่ การอุปกรณ์หรือวัสดุเหล่านัน้ ให้ทำ� งานได้ เช่น
การควบคุมอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ประตู ยาน พาหนะ ผ่านโทรศัพท์มือถือหรือ Smartphone 4. Cloud Technology เป็นเทคโนโลยีเสมือนคอมพิวเตอร์ที่มี ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ซึ่งมีความสามารถ รองรับการใช้งาน การประมวลผล การจัดเก็บ ข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนการทดสอบระบบหรือ ติดตั้งฐานข้อมูลได้อย่างมหาศาล โดยที่สามารถ ใช้งานได้ด้วยการเชื่อมต่อกับระบบ Cloud Computing ผ่านอินเทอร์เน็ต 5. หุ ่ น ยนต์ ขั้ น สู ง (Advanced Robotics) เป็นเทคโนโลยีการใช้หุ่นยนต์ที่ความ สามารถในการรับรู้ ความฉลาด ความคล่องตัว ในการท� ำ งานตามเป้ า หมายได้ อั ต โนมั ติ ต าม โปรแกรม/ชุดค�ำสั่งที่ตั้งไว้ หรือท�ำงานตามการ ควบคุม/สั่งการโดยมนุษย์ เช่น หุ่นยนต์ผ่าตัด
รูปที่ 1 แสดงตัวอย่างเทคโนโลยี Internet of Things (IoTs) (ดัดแปลงจาก https://www.bankinfosecurity.com/gao-assesses-iot-cybersecurity-other-risks-a-9926)
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
49
หุ ่ น ยนต์ ใ ช้ ง านในโรงงานอุ ต สาหกรรมหรื อ โรงไฟฟ้าปรมาณู 6. ยานพาหนะไร้ ค นขั บ และกึ่ ง ไร้ ค นขั บ (Autonomous and Nearautonomous Vehicles) เป็นเทคโนโลยีที่สร้างและพัฒนายาน พาหนะให้สามารถน�ำทางและขับเคลื่อนได้เอง โดยไม่ต้องอาศัยมนุษย์ เช่น อากาศยานไร้คน ขับหรือโดรน (Drone) หรือ ยูเอวี (Unmanned Aerial Vehicles หรือ UAVs) รถยนต์ไร้คนขับ (Self-driving Car หรือ Autonomous Car) 7. Next-generation genomics เป็นเทคโนโลยีทางชีวภาพที่น�ำมาใช้ ในการปรับปรุง แก้ไขทางพันธุกรรมหรือยีน (Gene) ของสิง่ มีชวี ติ เพือ่ ใช้รกั ษาโรคหรือความ ผิดปกติในมนุษย์ สัตว์ พืช ตลอดจนพัฒนาสาย พันธุ์ของสัตว์และ/หรือพืชให้เกิดประโยชน์มาก ที่สุด 8. อุ ป ก ร ณ ์ เ ก็ บ ส ะ ส ม พ ลั ง ง า น (Energy Storage) เป็นเทคโนโลยีการพัฒนาอุปกรณ์เก็บ สะสมพลั ง งานหรื อ ไฟฟ้ า เช่ น การพั ฒ นา แบตเตอรี่ ลิเทียม-ไอออน ที่มีประสิทธิภาพสูง การสร้างเซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cells) หรือ อุปกรณ์ที่ผลิตพลังงานไฟฟ้าผ่านกระบวนการ ทางเคมีไฟฟ้า (Electrochemical Process) ส�ำหรับใช้ในการท�ำงานของเครื่องยนต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะส�ำหรับการขับเคลื่อนยานพาหนะ เพื่อน�ำไปใช้ในรถยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle หรือ EV Car) และรถยนต์ไฮบริด (Hybrid Car) 50
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
9. การพิมพ์สามมิติ (3D Printing) เป็นเทคโนโลยีการสร้างโมเดลดิจิทัล โดยใช้ไฟล์ 3D (หรือไฟล์โมเดล 3 มิติ ที่มี นามสกุล STL) ให้กลายเป็นวัตถุจริงด้วยการ เพิ่มวัสดุขึ้นทีละชั้นหรือที่เรียกว่า “Additive Manufacturing (AM)” ท�ำให้ต้นทุนการผลิต สินค้าลดต�่ำลง สามารถน�ำมาใช้ในด้านการผลิต วัสดุต่าง ๆ ได้ 10. Advanced Materials เป็นเทคโนโลยีการการผลิตวัสดุขึ้นมา ใหม่ที่มีคุณลักษณะที่เหนือกว่าของเดิม เช่น ความสามารถในการท� ำ ความสะอาดตั ว เอง การกลั บ สู ่ ส ภาพเดิ ม ได้ ง ่ า ย มี ค วามแข็ ง แรง ทนทานและมีน�้ำหนักเบาเป็นพิเศษ 11. การส� ำ รวจและขุ ด เจาะน�้ ำ มั น (Advanced Oil and Gas Exploration and Recovery) เป็นเทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นาความก้าวหน้าใน การบุกเบิกขุดค้นหาน�ำ้ มันและก๊าซธรรมชาติให้ ได้ปริมาณและคุณภาพเพิ่มมากขึ้น 12. พลังงานทดแทน (Renewable Energy) เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการผลิต ไฟฟ้ า โดยใช้ พ ลั ง งานทดแทนหรื อ พลั ง งาน หมุนเวียนเป็นแหล่งพลังงานที่ได้จากธรรมชาติ รอบตัว เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงาน ลม พลังน�้ำ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พลังงาน ทดแทนเหล่านีย้ งั เป็นพลังงานทีส่ ะอาด ไม่กอ่ ให้ เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและช่วยลดภาวะโลก ร้อน
นอกจากนี้ McKinsey Global Institute ได้ประเมินสถานการณ์โดยอาศัยการวิเคราะห์ เชิงลึกพบว่า การใช้เทคโนโลยีทั้ง 12 ประเภทนี้ จะท�ำให้เกิดผลกระทบ (Impact) ทางเศรษฐกิจ อย่างมหาศาลในอนาคต (ช่วงปี ค.ศ.2025) โดยที่ ผู ้ ผ ลิ ต หรื อ ผู ้ ป ระกอบการทางธุ ร กิ จ จะ สามารถน�ำเทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้สร้างมูลค่า ได้มากมาย ความหลากหลายและส่งผลดีต่อ ผู้บริโภคอย่างมาก เป็นผลมาจากผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ จะมีการพัฒนาคุณภาพให้ดียิ่งขึ้น สินค้า ต่าง ๆ จะมีต้นทุนการผลิตและราคาขายที่ต�่ำ ลง รวมถึงพื้นที่ บริเวณและสถานที่ต่าง ๆ จะมี สภาพแวดล้อมที่สะอาด ปลอดภัยและส่งผลดี ต่อสุขภาพของประชาชนมากยิ่งขึ้น (ส�ำนักงาน เลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร, 2562; เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ, 2559) Deep Technology in 2018 อย่างไรก็ตาม ในปี ค.ศ. 2018 ยังเกิด กระแส Deep Tech หรือ Deep Technology ที่จะเปลี่ยนแปลงโลกเพิ่มขึ้นมาอีก เช่น ปัญญา ประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) เทคโนโลยี ความเป็ น จริ ง เสมื อ น (Virtual Reality/ Augmented Reality/Mixed Reality), Blockchain Technology, Big Data and Data Analytics, Quantum Computing (Digital ventures, 2018) ส� ำ หรั บ บทความนี้ จ ะอธิ บ ายเฉพาะ ประเด็ น ของปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ แ ละเทคโนโลยี ความเป็นจริงเสมือนซึ่งเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
การศึกษาในอนาคตเท่านั้น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) เป็ น เทคโนโลยี ที่ ท� ำ ให้ ค อมพิ ว เตอร์ มี ค วามสามารถคล้ า ยมนุ ษ ย์ ห รื อ เลี ย นแบบ พฤติกรรมมนุษย์ โดยเฉพาะความสามารถใน การคิดได้ด้วยตนเองหรือมีภูมิปัญญา (รูปที่ 2) ประกอบด้วยระบบปฏิบัติการส�ำคัญ 4 ประการ ได้แก่ ระบบที่คิดเหมือนมนุษย์ (Systems that think like humans) ระบบที่กระท�ำเหมือน มนุษย์ (Systems that act like humans) ระบบทีค่ ดิ อย่างมีเหตุผล (Systems that think rationally) และระบบที่กระท�ำอย่างมีเหตุผล (Systems that act rationally) (ปัญญา ประดิษฐ์, 2562; Artificial intelligence, 2019) เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality/Augmented Reality/Mixed Reality) โดยส่วนใหญ่แล้วเทคโนโลยีความเป็น จริงเสมือนจะสอดคล้องกับ Virtual Reality (VR) เป็นหลัก อย่างไรก็ตามความเป็นจริงเสมือน ยังมีความเกี่ยวข้องกับ Augmented Reality (AR) และ Mixed Reality (MR) ซึ่งสามารถ รวมอยู่ในเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนอีก ด้วย (ABI Research, 2017; Qualcomm Technologies Inc, 2017) Virtual Reality (VR) เป็ น เทคโนโลยี ที่ ถู ก สร้ า งขึ้ น เพื่ อ จ� ำ ลองสภาพแวดล้ อ มต่ า ง ๆ ทั้ ง จากสภาพ แวดล้อมจริงและจินตนาการหรือความเป็นจริง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
51
รูปที่ 2 แสดงตัวอย่างเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) (ดัดแปลงจาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/698776)
เสมือนทีส่ ร้างขึน้ มาด้วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ผ่ านจอภาพ (Monitor) จอกระจก (Glass Screen) จอภาพสวมศีรษะหรือจอแสดงผลแบบ สวมศีรษะ (Head-Mounted Display หรือ HMD) แว่นตาอัจฉริยะ (Smart Glasses) เช่น Google Glass เทคโนโลยี VR ไม่ได้จำ� ลองเพียงภาพ และเสียงเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงการจ�ำลองการรับรู้ ทางประสาทสัมผัสอืน่ ๆ ผ่านการสวมใส่อปุ กรณ์ เช่น ถุงมือ เมาส์ เพื่อการรับรู้ถึงแรงป้อนกลับ จากการสัมผัสสิง่ ต่าง ๆ ในโลกเสมือนจริงทีส่ ร้าง ขึน้ เมือ่ สัมผัสวัตถุจะต้องรับรูถ้ งึ ความแข็ง ขนาด รูปทรง ผิวสัมผัส อุณหภูมิ ในการใช้เทคโนโลยี VR ผู้ใช้จะต้อง มีความรู้สึกที่ตัดขาดออกจากโลกจริงแต่ยังคง รู้สึกถึงความมีอยู่ของจิตใจหรือสภาพทางจิตใจ (Psychological Presence) ของตนเอง โดยที่ ความจดจ่อทางร่างกาย (Physical Immersion) 52
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
อยู ่ ใ นระดั บ ระบบสั ม ผั ส เต็ ม รู ป แบบ (Fully Immersive System) ท� ำ ให้ ผู ้ ใ ช้ ส ามารถ ตัดขาดจากโลกจริงอย่างสมบูรณ์แบบโดยสภาพ แวดล้อมเสมือนจริง กล่าวคือผู้ใช้จะรู้สึกเหมือน อยู่ในโลกจริงทั้งที่อยู่ในโลกที่ถูกสร้างขึ้นหรือ ความเป็นจริงเสมือน Augmented Reality (AR) เป็นเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน เช่นเดียวกับเทคโนโลยี VR แต่มีความแตกต่าง จาก VR ตรงที่ผู้ใช้สามารถรับรู้และสัมผัสได้ ถึงความเสมือนจริงซึ่งอาจจะเป็นการรับรู้ด้วย การมองหรือการได้ยิน โดยที่ยังไม่ถึงขั้นตัดขาด ออกจากโลกจริง เพราะมีระดับความจดจ่อทาง ร่างกายที่ยังคงรับรู้และสัมผัสถึงโลกจริง อาจ เรียกว่า “เทคโนโลยีความจริงเสริม” ได้ เช่น เกมจับโปเกม่อนหรือ Pokémon GO Mixed Reality (MR) เป็นเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน
รูปที่ 3 แสดงตัวอย่างเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน VR, AR และ MR (ดัดแปลงจาก http://www.vroncloud.com/blog/comparing-augmentedreality-mixed-reality-virtual-reality/)
ทีผ่ สมผสานระหว่างการใช้ VR และ AR ตามความ เหมาะสมของเนือ้ หา เหตุการณ์ สถานการณ์ของ สิง่ ทีต่ อ้ งการน�ำเสนอหรือให้ความบันเทิงแก่ผใู้ ช้ โดยสรุปแล้ว เทคโนโลยีความเป็นจริง เสมือนสามารถแบ่งประเภทตามวิธีการติดต่อ กับผู้ใช้งาน ออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ (รูปที่ 3) 1. Desktop VR or Window on World Systems (WoW) เป็นการใช้จอภาพ (Monitor) หรือจอ คอมพิวเตอร์ทั่วไปในการแสดงภาพเสมือนจริง 2. Video Mapping เป็นการน�ำวีดิทัศน์มาเป็นอุปกรณ์ น�ำเข้าข้อมูลและใช้เทคนิคคอมพิวเตอร์ในการ แสดงผลกราฟิกแบบ WoW สามารถท�ำได้ทั้ง แบบสองมิติและสามมิติ ผู้ใช้สามารถมองเห็น ตั ว เองและการเปลี่ ย นแปลงของตนเองจาก จอภาพได้
3. Immersive Systems เป็นเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน ส�ำหรับส่วนบุคคล โดยใช้จอแสดงผลแบบสวม ศีรษะ ในการแสดงภาพและเสียงของโลกที่ถูก สร้างขึ้นหรือความเป็นจริงเสมือน 4. Telepresence เป็นระบบเสมือนจริงที่มีการติดตั้ง อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณระยะไกลไว้ที่อุปกรณ์ หนึ่งซึ่งอาจจะเป็นหุ่นยนต์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อนื่ เพือ่ ให้เชือ่ มต่อการใช้งานเข้ากับผูใ้ ช้ 5. Augmented/Mixed Reality Systems การรวมกันของ Telepresence กับ VR Systems โดยใช้ Telepresence เป็นตัวน�ำ เข้าข้อมูลและ VR Systems ในการแสดงผลเป็น ภาพเสมือนจริงให้กับผู้ใช้ได้เห็น เช่น การแสดง ภาพเสมือนจริงของไดโนเสาร์ให้นกั ท่องเทีย่ วชม เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
53
โครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีดิจิทัล โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ของเทคโนโลยีดิจิทัลจะต้องอาศัยเทคโนโลยี การสื่ อ สารไร้ ส ายและการเชื่ อ มต่ อ สั ญ ญาณ อินเทอร์เน็ตที่มีศักยภาพและคุณสมบัติที่ส�ำคัญ หลายประการ เช่น มีประสิทธิภาพสูงในการ เชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต มีการประมวล ผลและส่ ง ข้ อ มู ล หรื อ ค� ำ สั่ ง การท� ำ งานให้ แ ก่ อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องด้วยความเร็วสูง ครอบคลุมพื้นที่ใช้สอย รวมถึงมีความปลอดภัย ในการเข้าถึงและการใช้งาน เทคโนโลยี 5G (5th Generation of Cellular Mobile Communications) เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายรุ่นที่ 5 ของการสือ่ สารด้วยโทรศัพท์มอื ถือ (5th Generation of Cellular Mobile Communications)
และยังเป็นโครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยี ดิจิทัลที่ส�ำคัญทั้งในปัจจุบันและอนาคต เทคโนโลยี 5G มีข้อก�ำหนดและเตรียม การประกาศใช้ในช่วงปี ค.ศ. 2020 ท�ำให้เกิด การเตรียมความพร้อมของค่ายโทรศัพท์มือถือ แต่ละเครือข่ายทั่วโลกในการพัฒนาตนเองให้ รองรับเทคโนโลยี 5G โดยมีคุณสมบัติส�ำคัญ ดังนี้ (ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ, 2561; 5G, 2019) (รูปที่ 4) - ความเร็ ว สู ง สุ ด ในการรั บ และการ ส่งข้อมูล 10-20 Gbps - Latency ระยะเวลาการเชื่อมต่อ ไปยังปลายทางน้อยกว่า 0.001 วินาที - รองรั บ การใช้ ง านเครื อ ข่ า ยใน ปริมาณที่มากกว่า 4G ถึง 10 เท่า
รูปที่ 4 แสดงตัวอย่างคุณสมบัติส�ำคัญของเทคโนโลยี 5G (ดัดแปลงจาก https://www.researchgate.net/figure/Requirements-of-5G-7_fig2_324941597)
54
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
- ช่วงคลื่นความถี่เพิ่มขึ้น 30 GHz - มี ค วามเสถี ย รใช้ ง านได้ ร ้ อ ยละ 99.9999 (เกือบร้อยละ 100) - ครอบคลุมพื้นที่ร้อยละ 100 - มี Bandwidth เพิ่มขึ้น 1,000 เท่า ในแต่ละพื้นที่ - รองรับการเชือ่ มต่อจากอุปกรณ์เพิม่ ขึ้น 100 เท่า ในแต่ละพื้นที่ - ใช้พลังงานในการเชื่อมต่อน้อยลง ร้อยละ 90 - อุปกรณ์ IoTs พลังงานต�่ำเมื่อเชื่อม ต่อแบตเตอรี่จะมีอายุการใช้งานได้ถึง 10 ปี สรุปได้ว่า เทคโนโลยี 5G สามารถน�ำ มาใช้ ง านบนศั ก ยภาพหรื อ คุ ณ สมบั ติ ส� ำ คั ญ 3 ประการ ได้แก่ 1. Enhanced Mobile Broadband (eMBB) เป็นคุณสมบัติเกี่ยวกับความเร็วใน การเชื่อมต่อแบบไร้สายเพื่อเพิ่มศักยภาพของ การรั บ และการส่ ง ข้ อ มู ล โดยท� ำ งานร่ ว มกั บ Cloud Technology นิยมใช้ส�ำหรับกิจกรรม ออนไลน์ที่ใช้ Bandwidth จ�ำนวนมาก เช่น การชมวีดิทัศน์ที่มีความละเอียดหรือความคม ชัดสูง (High-Definition หรือ HD) การเล่น เกมออนไลน์ การใช้งานเทคโนโลยี VR/AR การ ศึกษาผ่าน Broadband การพัฒนาศักยภาพ ธุ ร กิ จ ออนไลน์ รวมถึ ง ระบบเมื อ งอั จ ฉริ ย ะ (Smart City)
2. Ultra-Reliable and Low Latency Communications (uRLLC) เป็ น คุ ณ สมบั ติ ที่ พั ฒ นาเพื่ อ แก้ ไ ข ปัญหาความล่าช้าในการรับและการส่งข้อมูล โดยเทคโนโลยี 5G สามารถรับและส่งข้อมูลด้วย ความหน่วงในระดับที่ต�่ำมาก (ต�่ำกว่า 4G ถึง 10 เท่า) ท�ำให้การส่งข้อมูลเป็นแบบ Real-Time มากขึน้ เหมาะส�ำหรับงานทีต่ อ้ งใช้ความแม่นย�ำ สูงหรือความผิดพลาดเกือบเป็นศูนย์ เช่น ระบบ ควบคุมรถยนต์ไร้คนขับ ระบบไฟฟ้าอัจฉริยะ หุน่ ยนต์ช่วยผ่าตัด (Robotic Assisted Surgery/ Robotic Surgery) 3. Massive Machine Type Communications (mMTC) เป็ น คุ ณ สมบั ติ ที่ ส ามารถรองรั บ การเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้จ�ำนวนมาก (200,0001,000,000 เครื่องต่อตารางกิโลเมตร) พร้อม กันโดยใช้พลังงานต�่ำ (ลดปริมาณการใช้พลังงาน ส�ำหรับการเชื่อมต่อมากกว่า 4G ถึง 1,000 เท่า) เพื่อตอบสนองต่อความสามารถในการใช้ อุปกรณ์และเทคโนโลยี IoTs นอกจากเทคโนโลยี 5G ที่ถูกน�ำมาใช้ เป็นโครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีดิจิทัล ใน ปัจจุบันยังมีการพัฒนาเทคโนโลยี LiFi (LiFi technology) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีการสื่อสารไร้ สายแบบใช้แสง อาจเป็นเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก ของระบบเครื อ ข่ า ยไร้ ส ายในอนาคตอั น ใกล้ เพราะอาจจะมาแทนที่ WiFi (หรือ Wi-Fi) ที่ยัง มีข้อจ�ำกัดในเรื่องของความเร็วในการรับและ การส่งข้อมูล เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
55
เทคโนโลยี LiFi เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายแบบ ใช้ แ สงสว่ า งในการรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล แทนที่ ก ารใช้ คลื่นวิทยุหรือ WiFi และยังเป็นเทคโนโลยีที่ แตกแขนงมาจากเทคโนโลยี optical wireless communications (หรือ OWC technology) ค�ำว่า LiFi (หรือ Li-Fi) ย่อมาจากค�ำ ว่า Light Fidelity ซึ่งสามารถโอนย้ายข้อมูล ผ่ า นแสงสว่ า งและหลอดไฟ LED (LightEmitting Diode) และโดยการรับและการส่ง ข้อมูลผ่านการเปลี่ยนแปลงค่าความสว่าง (หรือ Amplitude) ของแสงที่ ม องเห็ น ได้ ด ้ ว ยตา (Visible Light) ในช่วงความถี่ 400 และ 800 THz มีความเร็วในการรับและการส่งข้อมูล 1 GB ต่อวินาที (1 Gbps) และยังพบว่า LiFi สามารถ ท�ำความเร็วสูงสุดได้ถึง 10.5 Gbps ด้วยการ ส่งข้อมูลผ่านแสงที่มองเห็นได้ด้วยตา 3 สี ได้แก่ สีแดง สีเขียวและสีน�้ำเงิน
อย่างไรก็ตาม สัญญาณ LiFi ไม่สามารถ ส่งข้ามผ่านก�ำแพง ประตูหรือสิ่งกีดขวางได้ ซึ่ง ท�ำให้ระบบการท�ำงานผ่านเทคโนโลยี LiFi มี ความปลอดภัยมากขึ้น แต่ก็เป็นข้อจ�ำกัดในการ เชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ตที่ไม่สามารถผ่าน ก�ำแพง ประตูหรือสิง่ กีดขวางได้ (Haas H, 2018; Li-Fi, 2019) อาจสรุ ป ได้ ว ่ า เทคโนโลยี LiFi มี ประโยชน์อย่างมากในการแก้ไขข้อจ�ำกัดของ ความเร็วในการรับและการส่งข้อมูลคลื่นวิทยุ หรือ WiFi แต่เทคโนโลยี LiFi ยังคงมีข้อจ�ำกัด ส�ำคัญคือไม่สามารถรับส่งข้อมูลหรือเชื่อมต่อ สัญญาณอินเทอร์เน็ตผ่านก�ำแพง ประตูหรือสิ่ง กีดขวางได้ ในปัจจุบันยังคงมีการศึกษา พัฒนา และทดสอบการท�ำงานของเทคโนโลยี LiFi ใน ประเทศต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องรวมถึงเกิดการ พัฒนาและถูกน�ำไปใช้จริงในบางประเทศแล้ว (รูปที่ 5)
รูปที่ 5 แสดงตัวอย่างการใช้เทคโนโลยี LiFi (ดัดแปลงจาก https://www.techtalkthai.com/li-fi-is-100-times-faster-than-wi-fi/)
56
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
แนวโน้มของเทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต จากสถานการณ์ โ ลกในปั จ จุ บั น และ อิทธิพลของเทคโนโลยีเปลี่ยนโลกส่งผลให้แนว โน้มของการศึกษาในอนาคตจะต้องเปลีย่ นแปลง ไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง ดังนั้นการจัดการศึกษา ในอนาคตจะต้องมีความทันสมัยและก้าวทัน พัฒนาการของเทคโนโลยีต่าง ๆ รวมถึงการ ตอบสนองต่อความต้องการและสามารถแก้ไข ปัญหาให้กับผู้เรียนในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน การประกอบอาชีพในอนาคตและการอยูร่ ว่ มกัน ในสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วได้เป็น อย่างดี การพัฒนาเทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็น ปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อความ ส� ำ เร็ จ ของการจั ด การศึ ก ษาในอนาคตควร เป็นการพัฒนาอย่างรวดเร็วและก้าวกระโดด โดยใช้ ห ลั ก การ “การพั ฒ นาเทคโนโลยี บ น เทคโนโลยี” และ “การพัฒนานวัตกรรมบน นวัตกรรมหรือเทคโนโลยี” ดังนั้นการพัฒนาเทคโนโลยีการศึกษา ในอนาคตจะต้องอาศัยการบูรณาการเทคโนโลยี เปลีย่ นโลกและ Deep Technology โดยเฉพาะ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีความเป็นจริง เสมื อ นบนโครงสร้ า งพื้ น ฐานของเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ซึ่ ง เปรี ย บเสมื อ นเป็ น แพลตฟอร์ ม (platform) ที่ใช้ในการต่อยอดของการพัฒนา ไปในทิศทางเดียวกันกับสถานการณ์โลกได้อย่าง เหมาะสม ผู้บริหาร ผู้สอน บุคลากรสายสนับสนุน การศึกษา นักพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ทางการศึกษา รวมถึงสถาบันและองค์กรที่มี ส่วนเกี่ยวข้องควรสนับสนุน ส่งเสริมการพัฒนา เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมทางการศึ ก ษาบน รากฐานของเทคโนโลยีเปลี่ยนโลกและ Deep Technology แบบเป็ น ชั้ น ต่ อ ยอดกั น ขึ้ น ไป (layer on layer หรือ layer on top the layer) โดยที่ไม่จ�ำเป็นต้องเริ่มต้นใหม่หรือเริ่มพัฒนา จากสิ่งที่ไม่มี การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต จากแนวโน้ม สถานการณ์โลก รวมถึง อิทธิพลของเทคโนโลยีเปลี่ยนโลกและ Deep Technology จะเห็นได้ว่าปัญญาประดิษฐ์และ เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนเป็นเทคโนโลยี ที่ควรน�ำมาประยุกต์ใช้และพัฒนาเทคโนโลยี และนวั ต กรรมทางการศึ ก ษาในอนาคตร่ ว ม กับเทคโนโลยีอื่น ๆ ตามปรัชญา เนื้อหาและ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ของแต่ละหลักสูตรหรือ สาขาวิชา ด้วยลักษณะพิเศษของเทคโนโลยี เหล่านี้จะช่วยสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ทั้ง สนุก ท้าทาย ตื่นเต้น เร้าใจและช่วยแก้ปัญหา ที่ ซั บ ซ้ อ นในการเรี ย น รวมถึ ง มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ทางสังคม จึงท�ำให้ผู้เรียนอยากเรียน อยากรู้ อยากท�ำ อยากเป็นจากการเรียนการสอนรูป แบบใหม่ อ ย่ า งมี ค วามหวั ง และมี ค วามสุ ข มี ความสามารถ (Competencies) และทักษะ (Hard /Soft Skills) เพิ่มขึ้น มีค่านิยมดี ยิ่งไป กว่านั้นยังสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้มหาศาล และโปรแกรมการศึกษามากมายที่เลือกได้ตาม ต้องการอย่างง่ายทีม่ ปี ระสิทธิภาพส�ำหรับทุกคน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
57
ทุกสถานที่ ทุกเวลาด้วยเครือ่ งมืออัจฉริยะในมือ อย่างใจจดใจจ่อน่าอัศจรรย์ การประยุ ก ต์ ใ ช้ ป ั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ ทางการศึกษาในอนาคต เทคโนโลยี AI สามารถน�ำมาประยุกต์ ใช้ในฐานะหุ่นยนต์ (Robot) ทางการศึกษาได้ 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. หุน่ ยนต์ทที่ ำ� หน้าทีส่ อนแทนผูส้ อน เป็นเทคโนโลยีการพัฒนา AI และ หุ่นยนต์ที่ออกแบบมาเพื่อท�ำหน้าที่บางอย่าง แทนครูผู้สอนโดยใช้แอพพลิเคชั่นควบคุมหรือ สั่งการให้ท�ำงานต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมายโดย อัตโนมัติ เช่น การตรวจผลงานและการบ้าน การประเมิ น ความก้ า วหน้ า ของผู ้ เ รี ย น การ วิเคราะห์ปัญหาผู้เรียน การปรับปรุงและพัฒนา หลักสูตร รวมถึงความสามารถในการวิเคราะห์ และออกแบบโปรแกรมการสอน ชุดการสอนหรือ สื่อการสอนให้เหมาะสมกับรูปแบบการเรียนรู้ (Learning Style) ที่หลากหลายของผู้เรียนเป็น รายบุคคลได้ 2. หุ่นยนต์ช่วยสอนหรือครูหุ่นยนต์ (Robot Teacher) เป็นเทคโนโลยีการพัฒนา AI และหุน่ ยนต์ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยสอน ช่วยสาธิตหรือ ฝึกหัดการปฏิบตั กิ จิ กรรมบางอย่างแทนครูผสู้ อน โดยที่ครูผู้สอนยังคงเป็นผู้ควบคุมหรือสั่งการ หุ่นยนต์ AI ให้ท�ำงานต่าง ๆ ผ่านแอพพลิเคชั่น หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�ำหรับการศึกษา ทางไกล (Distance Learning) สถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่มีความเสี่ยง การขาดแคลนครู 58
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ผู้สอนหรือผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาเฉพาะ เช่น การทดลองเกี่ยวกับสารกัมมันตรังสี วัตถุระเบิด สารพิษหรือมลพิษ การรักษาหรือการผ่าตัดที่ ต้องอาศัยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา อย่างไรก็ตาม การทดลองใช้เทคโนโลยี AI ส�ำหรับการจัดการศึกษาในปัจจุบันมีทั้งข้อดี และข้อจ�ำกัดบางประการ เช่น การใช้หุ่นยนต์ ในการเรียนการสอนให้ผลดีในบางหัวข้อ เช่น ตัวเลขทางคณิตศาสตร์ ความหมายของค�ำศัพท์ และวลีต่าง ๆ แต่มีข้อจ�ำกัดที่ส�ำคัญคือการรู้ จ�ำเสียงพูด (Speech Recognition) และการ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Social Interaction) กั บ ผู ้ เ รี ย นที่ ยั ง ไม่ เ ป็ น ไปตามธรรมชาติ ข อง มนุษย์ ท�ำให้หุ่นยนต์ AI ยังไม่สามารถท�ำหน้าที่ หรือกลายเป็นครูจริง ๆ ได้ (จิตตากร, 2554; Artificial intelligence, 2019) (รูปที่ 6) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็น จริงเสมือนทางการศึกษาในอนาคต เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน VR, AR และ MR สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ในการศึกษา ได้หลากหลายด้วยการจ�ำลองสถานการณ์หรือ เหตุการณ์เสมือนจริงในรูปแบบ 3 มิติ ได้ตาม จินตนาการหรือวัตถุประสงค์การเรียนรูไ้ ด้หลาย ช่วงเวลาทั้งในอดีต ปัจจุบันและอนาคตผ่าน เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน เช่น การศึกษา ประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรมในอดีตของชนชาติ ต่าง ๆ การทัศนศึกษาเสมือนจริง (เช่น สวนสัตว์ สถานที่ส�ำคัญ สถานที่ท่องเที่ยว อวกาศ) การ ฝึกปฏิบัติงานในสถานการณ์ที่เป็นอันตรายหรือ เสี่ยงภัย การฝึกอบรมการกู้ภัยหรือช่วยชีวิต
รูปที่ 6 แสดงตัวอย่างการใช้หุ่นยนต์ AI ในการเรียนการสอน (ดัดแปลงจาก http://oknation.nationtv.tv/blog/NVC/2011/01/05/entry-1/comment)
(Rescue Training) การสอนการออกแบบทาง สถาปัตยกรรม การสอนกิจกรรมเข้าจังหวะหรือ การเต้นลีลาศ การสอนทักษะทางกีฬาหรือการ เล่นกีฬา (เช่น การสอนว่ายน�้ำและเตรียมความ พร้อมผ่านเทคโนโลยี VR/AR ก่อนการฝึกปฏิบตั ิ ในสระว่ายน�้ำจริง) อย่างไรก็ตาม การเลือกใช้เทคโนโลยี ความเป็นจริงเสมือน VR, AR และ MR ส�ำหรับ การจัดการศึกษาหรือการเรียนการสอนจะต้อง ค�ำนึงถึงความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์การ เรียนรู้ เนื้อหา ระดับและความรู้พื้นฐานของ ผู้เรียน สถานที่เรียน สื่อการสอน รวมถึงวัสดุ และอุปกรณ์การสอนอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับบท เรียนในแต่ละหัวข้ออีกด้วย
ความท้ า ทายของเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษาใน อนาคต ถึงแม้ว่าในปัจจุบันจะมีการพัฒนาการ ของเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ล�้ำสมัยเกิดขึ้นมากมาย และรวดเร็ว ก่อให้เกิดทางเลือกที่หลากหลาย และมี จ� ำ นวนมากเพี ย งพอในการน� ำ มาใช้ ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะทางการ ศึกษา แต่ความท้าทายของเทคโนโลยีการศึกษา ในอนาคตยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องและท้าทาย มากขึ้นกว่าเดิม การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอย่างก้าว กระโดดในยุ ค Digital Disruption ความ ก้าวหน้าของเทคโนโลยีดิจิทัล การเกิดขึ้นของ เทคโนโลยีเปลี่ยนโลกและ Deep Technology ล้วนส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักเพื่อที่จะศึกษา เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
59
เฝ้าดู สังเกตการณ์และพยายามที่จะพยากรณ์ อนาคตพร้อมกับเตรียมความพร้อมส�ำหรับการ เปลี่ยนแปลงดังกล่าว แต่ในความเป็นจริงแล้ว ยังไม่มีใครสามารถพยากรณ์เหตุการณ์ส�ำคัญใน อนาคตได้อย่างถูกต้องและแม่นย�ำอย่างแท้จริง เพราะองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้น ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรวดเร็ว อีกทั้ง ยังนอกเหนือไปจากองค์ความรู้และเทคโนโลยี เดิมทีน่ กั วิชาการและคนส่วนใหญ่มคี วามคุน้ เคย ตั ว อย่ า งของปรากฏการณ์ ห รื อ เหตุ ก ารณ์ ส�ำคัญที่ท้าทายคนทั่วโลกและยังไม่รู้ว่าจะปรับ ตั ว และเปลี่ ย นแปลงอย่ า งไรให้ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์หรือเหตุการณ์นั้น เช่น การเกิด เทคโนโลยี FinTech (Financial Technology), Blockchain Technology และคริปโตเคอเรนซี่ (Cryptocurrency) โดยเฉพาะการเกิดสกุลเงิน ดิจิทัลบิทคอยน์ (Bitcoin) ที่ส่งผลกระทบต่อ ธุรกิจ การลงทุน การเงินและการธนาคารทัว่ โลก ซึ่งในปัจจุบันยังคงอยู่ในระยะที่มีการพยายาม ปรับตัว ท�ำความเข้าใจ เพิม่ การสือ่ สารและสร้าง เสถี ย รภาพทางการเงิ น ทั้ ง ระดั บ ภู มิ ภ าคและ นานาชาติ รวมถึงความมั่นคงทางเศรษฐกิจทั่ว โลก แต่เมือ่ มีขา่ วจาก Facebook ซึง่ เป็นเว็บไซต์ ที่ให้บริการเครือค่ายสังคมออนไลน์ที่สามารถ ปฏิวัติระบบสังคมในปัจจุบันและเป็นที่นิยมไป ทั่วโลก ได้ร่วมกับกลุ่มพันธมิตรประกาศการ ริเริ่มก่อตั้งสถาบันการเงินและจัดสร้างสกุลเงิน ดิจิทัล Libra รวมถึงจะเริ่มใช้งานจริงในปี ค.ศ. 2020 ท�ำให้เกิดความตระหนก ตื่นรู้ รวมถึงเกิด ความวิตกกังวลว่าเหตุการณ์นี้จะเป็นการปฏิวัติ 60
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ระบบการเงินโลกอย่างแท้จริง ปรากฏการณ์นี้ ไม่เพียงแต่เป็นความท้าทายของประชากรโลก แต่ยังท้าทายต่อผู้น�ำ ผู้มีอิทธิพลและผู้มีอ�ำนาจ ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกอีกด้วย ดังนั้นความท้าทายของเทคโนโลยีการ ศึกษาของประเทศไทยในอนาคตจึงเป็นความ ท้าทายของคนไทยทุกคน ได้แก่ ผู้เรียน ครู ผู้สอน บุคลากรสายสนับสนุนการศึกษา นัก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา ผู ้ บ ริ ห ารการศึ ก ษาและผู ้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา สถาบันและองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนที่มีส่วนในการก�ำหนดนโยบาย กฎระเบียบและกฎหมาย รวมถึงเป็นผูร้ บั ผลงาน หรือผู้จ้างงานในอนาคต ว่าจะเตรียมตัว เตรียม ความพร้อมและปรับตัวอย่างไรให้อยู่รอดในยุค เทคโนโลยีใหม่ได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพ ชีวิตที่ดี บทสรุป โลกในยุ ค เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ที่ ล�้ ำ สมั ย ท� ำ ให้ เ กิ ด เทคโนโลยี เ ปลี่ ย นโลกและ Deep Technology ขึ้นอย่างมากมายและรวดเร็ว เทคโนโลยีเหล่านี้มีอิทธิพลที่ทรงพลังอย่างมาก ในการเปลี่ ย นแปลงโลก นอกจากนี้ ยั ง ส่ ง ผล ให้เกิดการตื่นตัวและเกิดกระแสของ Digital Disruption กระจายออกไปทั่วทุกภูมิภาคของ โลก โครงสร้างพื้นฐานของเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ส�ำคัญจะต้องอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารไร้ สายและการเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ตที่มี
ศักยภาพและคุณสมบัติที่ส�ำคัญหลายประการ เช่น เทคโนโลยี 5G เทคโนโลยี LiFi เทคโนโลยี ป ั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ แ ละ เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนเป็นเทคโนโลยี เปลีย่ นโลกและ Deep Technology ทีค่ วรน�ำมา ประยุกต์ใช้และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ทางการศึกษาในอนาคตร่วมกับเทคโนโลยีอนื่ ๆ ตามปรัชญา เนื้อหาและวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ของแต่ละหลักสูตรหรือสาขาวิชา อย่างไรก็ตาม การเลือกและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้
ส�ำหรับจัดการศึกษาหรือการเรียนการสอนจะ ต้องค�ำนึงถึงความเหมาะสมตามวัตถุประสงค์ การเรียนรู้ เนื้อหา ระดับและความต้องการของ ผู้เรียน รวมถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ที่สอดคล้อง กับบทเรียนในแต่ละหัวข้อ ความท้าทายของเทคโนโลยีการศึกษา ของประเทศไทยในอนาคตเป็นความท้าทายของ คนไทยทุกคนรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการ เตรียมตัว เตรียมความพร้อมและการปรับตัวใน การด�ำเนินชีวิตในโลกยุคใหม่นี้
เอกสารอ้างอิง ความเป็นจริงเสมือน. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2562, จากวิกิพีเดีย. https://th.wikipedia.org/ wiki/ความเป็นจริงเสมือน จิตตากร. (2554, มกราคม 5). ครูหุ่นยนต์ สอนเด็กญี่ปุ่นเช็กชื่อเด็กได้-โมโหก็เป็น. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก http://oknation.nationtv.tv/blog/NVC/2011/01/05/entry-1/comment เชียงใหม่นิวส์. (2561, เมษายน 21). จีนเปิดตัวธนาคารหุ่นยนต์ ใช้เทคโนโลยี AI ให้บริการลูกค้า. สืบค้นจาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/698776 ปัญญาประดิษฐ์. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2562, จากวิกิพีเดีย. https://th.wikipedia.org/wiki/ ปัญญาประดิษฐ์ เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ. (2559). เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก. สืบค้นจาก https://www.it24hrs. com/2016/ disruptive-technologies-technology/ ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2561). 5G: คลืน่ และเทคโนโลยี. สืบค้นจาก http://www.nbtc.go.th/getattachment/ Services/quarter2560/ปี-2561/33173/เอกสารแนบ.pdf.aspx
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
61
ส�ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ส�ำนักวิชาการ. (2562). Disruptive Technology การด�ำรงชีวิตจะเปลี่ยนไป. สืบค้นจาก https://library2.parliament.go.th/ejournal/ content_af/2562/feb2562-4.pdf 5G. 27 June 2019, Wikipedia. Retrieved from https://en.wikipedia.org/wiki/5G ABI Research (2017). Augmented and Virtual Reality: the First Wave of 5G Killer Apps. Retrieved from https://www.qualcomm.com/media/documents/files/ augmented-and-virtual-reality-the-first-wave-of-5G-killer-apps.pdf Artificial intelligence. 29 June 2019, Wikipedia. Retrieved from https://en.wikipedia. org/ wiki/Artificial_intelligence Digital ventures. (2018). Understanding 6 Deep Technology: Accelerating knowledgebased economy, disrupting the future. [Blog post]. Retrieved from http://www. dv.co.th/blog-en/6-deep-technology-definition-ureka/ Haas, H. (2018). LiFi is a paradigm-shifting 5G technology. Reviews in Physics, 3, 2631. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.revip.2017.10.001 Li-Fi. 28 June 2019, Wikipedia. Retrieved from https://en.wikipedia.org/wiki/Li-Fi McGee, MK. (2017). GAO Assesses IoT Vulnerabilities. Retrieved from https://www. bankinfosecurity.com/gao-assesses-iot-cybersecurity-other-risks-a-9926 Moosa, H. (2016). Comparing augmented reality, mixed reality and virtual reality. [Blog post]. Retrieved from http://www.vroncloud.com/blog/comparing-augmentedreality-mixed-reality-virtual-reality/ Qualcomm Technologies Inc. (2017). VR and AR pushing connectivity limits. Retrieved from https://www.qualcomm.com/media/documents/files/vr-and-ar-pushingconnectivity-limits.pdf Researchgate. (2018). Requirements of 5G. Retrieved from https://www.researchgate. net/figure/ Requirements-of-5G-7_fig2_324941597 Techtalkthai. (2015). ผลการใช้งานจริงชี้ Li-Fi เร็วกว่า Wi-Fi ในปัจจุบันถึง 100 เท่า. สืบค้นจาก https://www.techtalkthai.com/li-fi-is-100-times-faster-than-wi-fi/
62
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
มวยไทย มรดกชาติที่เราควรภาคภูมิใจ โดย : ศาสตรเมธี ดร.ศักดิ์ชาย ทัพสุวรรณ
เมื่ อ กล่ า วถึ ง ศิ ล ปะมวยไทย คนไทย จ�ำนวนมากก็จะคิดไปถึงมวยไทยที่แข่งขันกับที่ เวทีราชด�ำเนิน ลุมพินี อ้อมน้อย ช่อง 7 สี และ สถานีโทรทัศน์ทวั่ ๆไป โดยเฉพาะวันเสาร์ อาทิตย์ จะมีการแข่งขันกันมากขึ้นดูๆ แล้วก็ไม่เห็นมี อะไรแปลกไปกว่าเดิม จะมีแปลกไปบ้างเล็กน้อย ก็ตรงทีม่ นี กั กีฬามวยไทยชาวต่างประเทศมาร่วม แข่งขันมากขึ้น และที่เคยชกกัน 5 ยก บางครั้งก็ ลดลงมาเหลือ 3 ยก แต่ถ้าคิดไปให้ลึกซึ้งจะพบว่า สิ่งที่ว่า แปลกไปบ้างเล็กน้อยนั้น โดยข้อเท็จจริงแล้ว จะพบว่ามวยไทยของเราแปลกไปมากกว่าเดิม มากทีเดียว โดยเฉพาะเรื่องของความนิยมชม ชอบ ทั้งนี้เพราะปัจจุบันศิลปะมวยไทยก� ำลัง เป็นที่นิยมชมชื่นของคนทั่วโลกอย่างมากเมื่อ เปรียบเทียบกับเมื่อ 15 - 20 ปีก่อน และก�ำลัง ได้รบั ความนิยมมากขึน้ เรือ่ ยๆ ถ้าจะเปรียบเทียบ ศิลปะมวยไทยกับกีฬาชนิดอื่นในกลุ่ม ศิลปะ การต่อสู้ป้องกันตัว (Martial Arts) ด้วยกันแล้ว จะพบว่าศิลปะมวยไทยได้รับความนิยม จาก
ประชาคมโลกอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง รวม ทั้งยังได้รับการยอมรับจากองค์กรกีฬาระดับ สูงของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะกรรมการ โอลิ ม ปิ ก สากล (International Olympic Committee: IOC) ได้ให้การรับรองมวยไทย เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2559 ว่าเป็นกีฬาสากล ในขบวนการโอลิมปิก นอกจากนี้ UNESCO และ UN (Women)ยังให้การยอมรับศิลปะมวยไทย และได้น�ำมวยไทยไปใช้เพื่อประโยชน์ในการ พัฒนาเยาวชนและสังคมอีกด้วย เมื่อศิลปะมวยไทยได้เป็นที่ยอมรับจาก สังคมโลกเช่นนี้ เราก็ต้องกลับมาดูกันว่าศิลปะ มวยไทย ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ของชาติ และเป็นมรดกของคนไทยทุกคน มี ความโดดเด่นอะไรอย่างไร ซึ่งเรา ท่านทั้งหลาย ควรจะได้รับทราบ และเกิดความภาคภูมิใจใน สิ่งที่บรรพบุรุษของเราได้คิดสร้างสรรค์ขึ้น และ คงไว้เป็นมรดกตกทอดสืบมาของคนไทยจนถึง ยุคปัจจุบัน เรื่องแรกที่จะขอกล่าวถึงก็คือความ ส�ำคัญของศิลปะมวยไทย เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
63
ความส�ำคัญของศิลปะมวยไทย มวยไทย เป็นเจ้าแห่งศาสตร์การต่อสู้ ป้องกันตัว ที่สะอาด บริสุทธิ์ และมหัศจรรย์ เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมที่ตกทอด จากบรรพบุรุษมาสู่ลูกหลานไทย มวยไทย เป็ น มรดกภู มิ ป ั ญ ญาทาง วั ฒ นธรรมของไทย ที่ ไ ด้ รั บ การประกาศขึ้ น ทะเบียนเป็นสมบัตขิ องชาติ โดยกระทรวงวัฒนธรรม เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2554 มวยไทย มีความผูกพันกับวิถีชีวิตไทย มาตั้งแต่ยุค อาณาจักรสุวรรณภูมิ ต่อเนื่องมาสู่ ยุคกรุงสุโขทัย คนในยุคนีม้ กี ารเรียนการสอนและ มีสำ� นักศิลปะศาสตร์ เรียกว่า “ส�ำนักสมอคอน” เปิ ด ฝึ ก สอนศิ ล ปะมวยไทยมาก่อ นการจัด ตั้ง อาณาจักรสุโขทัย มวยไทย เป็นศิลปะศาสตร์ ส�ำหรับพระ มหากษัตริย์ ในสมัยก่อนพระมหากษัตริยจ์ ะต้อง เป็นนักรบ มีความกล้าหาญ องอาจ สมรรถภาพ ร่างกายแข็งแรงอดทนอย่างดีเยี่ยม มีหน้าที่ มากมายในฐานะผู้น�ำของประเทศ และต้อง เป็นชายชาตรี ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องศึกษาศิลปะ ศาสตร์หลากหลายอันเป็นศาสตร์ของพระมหา กษัตริย์ ซึ่งประกอบไปด้วยศาสตร์ 18 ประการ และหนึ่งในศาสตร์ 18 ประการนั้น มีอยู่ศาสตร์ หนึ่งมีชื่อว่า “มายา” ซึ่งหมายถึงศาสตร์ที่เกี่ยว กั บ ต� ำ ราพิ ชั ย สงครามที่ มี ศิ ล ปะมวยไทยและ กระบี่กระบองเป็นหลักส�ำคัญ มวยไทย เป็นศิลปะศาสตร์การต่อสู้ ป้องกันตัวของราชองครักษ์ที่ท�ำหน้าที่ถวาย อารักขาแด่พระมหากษัตริย์ ราชองครักษ์เหล่านี้ 64
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
จะสังกัดอยู่ในกรมที่มีชื่อเรียกว่า “กรมทนาย เลือก” ซึ่งทุกคนที่สังกัดอยู่ในกรมทนายเลือกนี้ ล้วนเป็นนักมวยฝีมอื ดีเด่นทีพ่ ระมหากษัตริยท์ รง เลือกด้วยพระองค์เอง มวยไทย เป็นศิลปะการต่อสูท้ ใี่ ช้ปอ้ งกัน ราชอาณาจักร รักษาเอกราชของชาติ มวยไทย เป็ น กิ จ กรรมการแข่ ง ขั น ระหว่างประเทศทีร่ ฐั บาลไทยให้ความส�ำคัญเป็น พิเศษ โดยคณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบการจัด ตั้งสภามวยไทยโลก ในการประชุมเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2538 ซึ่งด�ำเนินการโดยการกีฬา แห่งประเทศไทย ให้ท�ำหน้าที่อนุรักษ์ ส่งเสริม ศิลปะมวยไทยทั่วโลก มวยไทย เป็นเกมส์กฬี าทีม่ กี ติกาชัดเจน มีความโดดเด่น ทั้งในด้านศิลปะการต่อสู้และ ประเพณีการแข่งขันทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ ทีห่ ามีกฬี า อื่นเสมอเหมือน มวยไทย ได้รับการรับรองเข้าสู่ขบวน การของเกมส์นานาชาติ โดยสมัชชาสหพันธ์กฬี า นานาชาติ ที่มีชื่อว่า GAISF หรือ SportAccord เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2549 เช่นเดียวกับกีฬา ชั้นน�ำอื่นๆ มวยไทย เป็นกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุน การศึกษาวิชาการระดับสูง โดยเฉพาะพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงพระมหา กรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้จัดตั้ง “ทุนนักมวย” ใน มูลนิธิอนันทมหิดล เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2504 มวยไทย เป็นกีฬาชนิดเดียวในโลกที่มี อนุสรณ์วนั ส�ำคัญของตัวเอง เรียกว่า “วันมวยไทย”
(Muaythai Day) ซึ่งรัฐบาลไทย โดยมติคณะ รัฐมนตรี ในการประชุมเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2554 ให้ประกาศสถาปนาวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ตรงกับวันขึน้ ครองราชย์ของสมเด็จพระพุทธเจ้า เสือ “พระมหากษัตริย์นักมวย” เป็น “วัน มวยไทย” ปัจจุบัน “วันมวยไทย” ได้เป็นที่ ยอมรับของประชาคมมวยไทยทั่วโลก มวยไทย เป็นหนึ่งใน 16 ชนิดกีฬาการ ต่อสู้ ที่ได้รับการบรรจุเข้าแข่งขันในกีฬา Sport Accord World Combat Games ซึ่งเป็นการ แข่งขันระดับนานาชาติ และเป็นกีฬาที่มีในการ แข่งขันกีฬา World Games มวยไทย เป็ น ค� ำ ตอบระดั บ ต้ น ๆ ที่ ท�ำให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักและดึงดูดชาวต่าง ประเทศได้มากที่สุด ในการประมวลความคิด เห็นของนักท่องเที่ยวทั่วโลก ที่ ก ล่ า วมานี้ เ ป็ น ความส� ำ คั ญ ของ มวยไทยทีค่ นไทยทุกคนหรือส่วนใหญ่ควรทราบ นอกจากความส�ำคัญแล้ว ศิลปะมวยไทยยังมี สิ่งส�ำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่สมควรจะได้น�ำมากล่าวถึง ก็คอื เสน่หข์ องมวยไทย (Charms of Muaythai) ได้มีการสอบถามชาวต่างประเทศจ�ำนวนมาก ทัง้ ชาย - หญิง เด็กและเยาวชน ว่าเพราะอะไรจึง ชอบมวยไทย ท�ำไมจึงเลิกเล่นกีฬาต่อสู้ป้องกัน ตัวอื่นๆ หันมาฝึกมาเรียน มาซ้อมมวยไทย พวก เขาจะตอบคล้ายๆกันว่า เพราะมวยไทยมีเสน่ห์ ดึงดูดใจ และเมื่อน�ำไปปฏิบัติแล้ว เกิดผลจริง ตามที่คิด เสน่ห์ของมวยไทยนั้นมีหลายประการ แต่จะน�ำมากล่าวในทีน่ ี้ เฉพาะส่วนทีช่ าวต่างชาติ นิยมชมชอบมากเท่านั้นคือ
1. เครื่องแต่งกาย เครือ่ งแต่งกายมวยไทย ไม่วา่ จะเป็น เครื่องแต่งกาย มวยไทยโบราณ (มวยคาดเชือก) หรือมวยไทยปัจจุบัน จะมีเอกลักษณ์โดดเด่น อยู่ที่ มงคล ประเจียด ตะกรุด ลวดลายไทยที่ บริเวณกางเกง ซึ่งสร้างสีสรรค์ ความศักดิ์สิทธิ์ และความเชื่อมั่นให้แก่ผู้สวมใส่อย่างมาก 2. การร่ายร�ำไหว้ครู ไม่มีกีฬาชนิดใดในโลกที่ก่อนจะมี การต่อสู้จะมีการร่ายร�ำไหว้ครู และการร่ายร�ำ ไหว้ครู แต่ละท่าก็มีความหมายเฉพาะ นักมวย บางคนสามารถท�ำการไหว้ครู ได้สวยงามมาก และท่าของการร่ายร�ำไหว้ครูแต่ละท่า ก็มีความ หมายและมีที่มาเฉพาะ 3. ดนตรี ปี่ กลอง ในการแข่งขันมวยไทย เรือ่ งของดนตรี ปี่ กลอง มวยไทยเป็นส่วนประกอบที่ส�ำคัญยิ่ง และขาดเสียมิได้ ดนตรีปี่ กลองนั้นจะประกอบ ด้วย เครือ่ งดนตรีสี่ (4) ชิน้ คือ 1.ปีชะวา 2.กลอง แขกตัวผู้ 1 ตัว 3.กลองแขกตัวเมีย 1 ตัว และ 4.ฉิ่ง ในการแข่งขันมวยไทยจะเอาเครื่องดนตรี อืน่ ๆ มาเล่นแทนก็ไม่ได้ ส�ำหรับเพลงทีใ่ ช้บรรเลง ก็จะต้องเป็นเพลงเฉพาะเท่านั้น คือ - เพลงสะระหม่า ใช้ในตอนท�ำการ ไหว้ครู - เพลงแขกเจ้าเซ็น ใช้ในตอนแข่งขัน ต่อสู้ในทุกยก - เพลงเชิดชั้นเดียว ใช้ในตอนใกล้ สิ้นสุดการแข่งขัน (อาจเป็นเวลา 1 นาที ของยก สุดท้าย) เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
65
4. การให้ ค วามเคารพและความมี น�้ำใจนักกีฬา ศิลปะมวยไทยเป็นกีฬาชนิดเดียวทีม่ ี การแสดงความเคารพต่อตัวคูต่ อ่ สู้ หรือผูม้ อี าวุโส กว่าอย่างชัดเจน จะเห็นได้บ่อยครั้งว่ามีนักมวย ต่างอายุชกกัน เมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน นักมวยที่ มีอาวุโสน้อยกว่าจะก้มลงกราบหรือไม่ก็เข้าไป ไหว้ขอโทษนักมวยผูอ้ าวุโสกว่า ส่วนความมีนำ�้ ใจ นักกีฬานั้น เห็นได้ชัดจากการจับมือกัน กอดกัน อภัยให้กันหลังการชกสิ้นสุดลง โดยไม่มีอาการ เกลียด โกรธแค้นแต่อย่างใด 5. วัฒนธรรมการไหว้ ถึ ง แม้ วั ฒ นธรรมการไหว้ จ ะมี ใ น หลายๆประเทศแต่ยังไม่เทียบเท่าประเทศไทย
66
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ศิ ล ปะมวยไทยเป็ น เครื่ อ งมื อ ในการส่ ง เสริ ม วัฒนธรรมการไหว้ที่ดีที่สุด ที่ประชาคมมวยไทย ทั่วโลกยอมรับและกระท�ำด้วยความเต็มใจและ ออกมาจากใจ โดยสรุ ป แล้ ว ศิ ล ปะมวยไทยซึ่ ง เป็ น มรดกภูมปิ ญ ั ญาทางวัฒนธรรมของชาติและเป็น มรดกของคนไทยทุกคนที่ประชาคมโลกนิยม ชืน่ ชอบและให้การยอมรับ ดังนัน้ จึงสมควรอย่าง ยิ่งที่เราควรจะภาคภูมิใจ ในมรดกชาติของเรา และช่วยกันส่งเสริมอนุรักษ์ศิลปะมวยไทยของ เราให้คงอยู่ตลอดไปชั่วกาลนาน
พลังปัญญาที่มาสารสนเทศท้องถิ่น โดย : ศาสตรเมธี ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ฉวีลักษณ์ บุณยะกาญจน อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิทยบริการ ศาสตราจารย์ ระดับ 11 ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ศาสตราจารย์ กิตติเมธี ศาสตราจารย์เกียรติคุณ
พระราชด�ำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชวโรกาส ให้คณะกรรมการบริหารศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร (องค์การมหาชน) เข้าเฝ้าทูลละอองพระบาท ณ อาคารชัยพัฒนา สวนจิตรลดา วันศุกร์ที่ 3 สิงหาคม 2544 เวลา 16.05-17.25 น. พระ ราชด�ำริที่น่าจะน�ำมาเป็นข้อเตือนใจที่เกี่ยวข้อง กับสารสนเทศท้องถิน่ คือ เรือ่ งการเผยแพร่ขอ้ มูล จะเป็นในรูปของการผลิตสื่อหรือเผยแพร่ทาง อินเทอร์เน็ต ก็ตามเป็นเรือ่ งท�ำง่าย สิง่ ทีย่ ากมาก ก็คือ การศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลในประเทศไทย โดยเฉพาะข้อมูล ความรู้ ภูมิปัญญา ในท้องถิ่นเป็นเรื่องส�ำคัญ ให้รีบเก็บไว้ เพราะข้อมูลเหล่านี้สูญไปได้ง่าย มากและตลอดเวลา เนื่องจากคนในท้องถิ่นไม่ ค่อยให้ความส�ำคัญของการเก็บประวัติความ เป็นมาและความรู้ต่าง ๆ เป็นลายลักษณ์อักษร แบบในต่างประเทศ ได้แต่เล่าต่อ ๆ กันมา และ
ในปัจจุบันคนมีการย้ายถิ่นมาก ท�ำให้ขาดการ สืบทอดความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกบท้องถิน่ นัน้ ๆ เท่าทีผ่ า่ นมาทรงให้กรมการศึกษานอกโรงเรียน จัดท�ำโครงการห้องสมุดเฉลิมราชกุมารี ให้มี มุมหนึ่งแสดงถึงข้อมูลเกี่ยวกับท้องถิ่น ปัจจุบันการตื่นตัวในเรื่องสารสนเทศ ท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีมากขึ้น ภูมิปัญญา เป็ น ความหมายที่ ก ว้ า งมาก และจากค� ำ ว่ า ภูมิปัญญานี้เอง ท�ำให้เกิดผลมาถึงสารสนเทศ ที่จะน�ำไปสู่ความรู้หรือการรับรู้ของภูมิปัญญา นั้น ความตื่นตัวในเรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นน�ำไป สู่สารสนเทศท้องถิ่นนี้เกิดแรงกระตุ้นจากหลาย ฝ่ายพระราชบัญญัติที่ระบุไว้ในเรื่องภูมิปัญญา โดยเน้นแนวทางการจัดการศึกษา ต้องให้ความ รู้ในด้านภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์การ ใช้ภูมิปัญญาไทยไว้ด้วย ซึ่งแน่ชัดสารสนเทศ ต้องเป็นตัวเชื่อมโยงที่มีบทบาท วัฒนธรรมท้อง ถิ่นมีการเอาใจใส่ทั้งในรูปการปฏิบัติการและ การเผยแพร่ แต่ในด้านกลับทางคือสารสนเทศ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
67
ที่เกี่ยวข้องกลับมีน้อย สารสนเทศท้องถิ่นส่วน หนึ่งมาจากภูมิปัญญา ภูมิปัญญามีกระบวนการ ทีเ่ กิดจากการสืบทอด ถ่ายทอดองค์ความรูท้ มี่ อี ยู่ เดิมในชุมชนท้องถิ่นต่าง ๆ แล้วพัฒนาเลือกสรร ปรับปรุงองค์ความรู้เหล่านั้นจนเกิดทักษะ และ ความช�ำนาญทีส่ ามารถแก้ปญ ั หาและพัฒนาชีวติ ได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย แล้วเกิดภูมิปัญญา (องค์ความรูใ้ หม่) ทีเ่ หมาะสมและสืบทอดพัฒนา ต่อไปอย่างไม่สิ้นสุด ภูมิปัญญาเหล่านี้จะถูก บันทึกไว้ในหลาย ๆ รูปแบบ รวมทั้งบันทึกไว้
ในเอกสารด้วย ซึ่งบางครั้งภูมิปัญญาที่บันทึกไว้ จะสมบูรณ์แบบโดยตัวเอง แต่บางครั้งก็ต้องน�ำ มากลั่นกรองแล้วจัดไว้อย่างเป็นระบบและเป็น ระเบียน เรียกว่า สารสนเทศ เดิ ม มรดกภู มิ ป ั ญ ญาไทยจะอยู ่ ใ นรู ป เอกสารเป็นส่วนใหญ่ เอกสารตัวเขียน ศิลา จารึก ฯลฯ ซึ่งถ้าจะนับแล้วจะเห็นว่าสิ่งนี้เป็น สารสนเทศของท้องถิ่น ซึ่งเป็นความงามของ สารสนเทศทีบ่ ริสทุ ธิ์ จึงนับได้วา่ เป็นดอกไม้แห่ง ความงามของสารสนเทศท้องถิ่น
ภาพที่ 1 ดอกไม้แห่งความงามของสารสนเทศท้องถิ่น -ทรัพยากรบุคคล
นาผลวิจยั มาใช้ อย่างถูกต้อง และสวยงาม
สื่อต่าง ๆ ที่นา ไปสู่การเรี ยนรู ้ สารสนเทศ ท้องถิ่น บุคคลที่เข้าใจ และนาองค์ความรู ้ มาพัฒนา
การจัดอย่างมี ระบบใช้ เทคโนโลยีช่วย
68
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ผูร้ ู ้ การแสวงหา จุดร่ วม สารสนเทศ ท้องถิ่น สารสนเทศ ที่เป็ น องค์ความรู ้
ผูส้ นับสนุนให้เกิดแหล่ง สารสนเทศท้องถิ่น
สื่อใน ทุกรู ปแบบ
สารสนเทศจาก ประสบการณ์
สารสนเทศจากการ สะสมสื บทอด (ภูมิปัญญาท้องถิ่น)
สารสนเทศจาก เอกสารต่าง ๆ ที่ บันทึกไว้
-จารี ต ประเพณี
-ใบลาน ศิลาจารึ ก
- การศึกษา ค้นคว้า วิจยั บุคลากร ที่เข้าใจในการ ดาเนินงาน
- หน่วยงานรัฐ - ทรัพยากรต่าง ๆ ฯลฯ
บทบาทหนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ของสารสนเทศ ท้องถิ่นที่มีความจ�ำเป็นอย่างมากและจะให้เกิด บรรลุผลตามสภาพของสังคมโลก และโลกยุค สมัยใหม่คือ การบริหารสารสนเทศท้องถิ่น การบริหารสารสนเทศท้องถิ่นแนวใหม่ แนวทางการบริหารสารสนเทศท้องถิ่น ให้เป็นกระบวนการบริหารแบบใหม่ที่เน้นการ พัฒนากระบวนงาน (business process) ควบคู่ กับการพัฒนาการเรียนรู้ (learning process) โดยทุกกระบวนงานจะต้องสัมพันธ์กัน ความ คิดสร้างสรรค์ (creative thinking) ที่เป็นผล มาจากการขยายผล และการประสานความ รอบรู้รวมกันไปถึงการฉลาดคิดและสร้างสรรค์ (corporate creativity) ในที่สุดเพื่อเป็นการ เสริมสร้างศักยภาพแก่กันและกันให้เป็นสังคม แห่งภูมิปัญญา (knowledge society) ซึ่งเป็น พื้นฐานส�ำคัญยิ่งของสารสนเทศท้องถิ่น ปั ญ หาส� ำ คั ญ ในกระบวนการบริ ห าร สารสนเทศท้องถิ่น เช่น 1) การเริม่ ต้นพัฒนาสารสนเทศท้องถิน่ (creating local information) เนื่องจากขาด ข้อมูลทีจ่ ะสะท้อนสถานภาพดัง้ เดิมทีเ่ ป็นจริง ใน ปัจจุบันท�ำให้ไม่มีโอกาสได้ทราบว่าสารสนเทศ ที่มีอยู่แล้วในชุมชนนั้น ๆ คืออะไร รวมถึงความ ต้องการในสารสนเทศท้องถิ่นใหม่ ๆ ที่เหมาะ สม ตลอดจนแหล่งของวิทยาการและสารสนเทศ ท้องถิ่นทั้งปวง 2) การจั ด เก็ บ สารสนเทศท้ อ งถิ่ น (capturing local information) อย่างเป็น
ระบบและครบถ้วนสมบูรณ์ อีกทัง้ ยังควรจะต้อง ท�ำให้งา่ ยและสะดวกต่อการน�ำกลับมาใช้ในเวลา ที่ต้องการ 3) การเชื่อมต่อและการกระจายสารสนเทศท้องถิน่ (linking and distributing local Information) ให้เกิดประโยชน์อย่างทั่วถึง 4) การให้ความร่วมมือสนับสนุนในท้อง ถิ่น ที่จะมอบสารสนเทศกับหน่วยงานบุคลากร หรือสถาบันด้วยความไว้วางใจและถูกต้อง ผู้รับ สารสนเทศท้องถิ่นจะต้องเน้นในเรื่องที่มีความ ถูกต้อง แม่นย�ำ และลักษณะการให้ข้อมูลที่ คล้ายคลึงกันเป็นตัวตั้งสารสนเทศท้องถิ่น
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
69
13 กาลเวลากับพลานุภาพที่แปรเปลี่ยนของสารสนเทศท้องถิ่น
กาลเวลากับพลานุภาพที่แปรเปลี่ยนของสาร-สนเทศท้องถิ่น จากภูมิปัญญาท้องถิ่น
สารสนเทศท้องถิ่น
จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ก้าวไปสู ่ ก้าวไปสู่
สารสนเทศท้องถิ่น
การไหลเวียนสารสนเทศท้องถิ่น
การไหลเวียนสารสนเทศท้องถิ่น
สารสนเทศท้องถิ่นส่วนบุคคล
สารสนเทศท้องถิ่นส่วนบุคคล
สารสนเทศท้องถิ่นองค์รวม
สารสนเทศท้องถิ่นองค์รวม
สารสนเทศท้องถิ่นองค์รวม
สารสนเทศท้องถิ่นองค์รวม
องถิ่นของไทย สารสนเทศท้ สารสนเทศท้ องถิ่นของไทย
สารสนเทศท้ ่นของไทย สารสนเทศท้ องถิอ่นงถิของไทย
สารสนเทศท้ สารสนเทศท้ องถิ่นสากล องถิ่นสากล
C.K. ยนไว้ ว่า วฐานรากของมนุ ษย์โลกในทุ กยุคทุกกยุสมัคทุยจะมาจากฐานรากของ C.K.pahalad pahaladเขีเขี ยนไว้ ่า ฐานรากของมนุ ษย์โลกในทุ กสมัยจะมาจากฐานรากของ ปิรปิามิรามิ ดซึด่งก็ซึค่งือก็ภูคมือิปภูัญมญาอั นเป็นนทีเป็ ่มาของสารสนเทศท้ องถิ่นนั่นอเอง ิปัญญาอั นที่มาของสารสนเทศท้ งถิ่นนั่นเอง globally competitive at the top of turmoil
สภาพสังคมโลก
building the new economy
ตัวเชื่อม ภูมิปัญญารากฐาน ของสารสนเทศท้องถิ่น
t
the wisdom of the bottom of pyramid
จากที่กล่าวข้างต้น สรุปเพียงคร่าวๆ ได้ชี้ให้เห็นถึง พลังการจัดการความรู้ภูมิปัญญา างต้านง สรุ จะเห็นว่าซึภู่มง ิปเป็ัญนญาต่ ง ๆ ที่เป็นพื้นฐานของ ด การกั บ จะเห็นว่จากที าภูม่กิปล่ัญาวข้ญาต่ ๆ ปทีเพี่เป็ยงคร่ นพืา้นวๆฐานของ ที่ มาาและแนวทางในการจั สารสนเทศส่ วนหนึ ่ง สารสนเทศท้ องถิ่นมิอใช่งถิ มีแ่นต่มิเฉพาะภู ิปัญญาเท่านั้นอซึงถิ ่งจะมี วัฒนธรรม สารสนเทศส่ วนหนึ ่ง สารสนเทศท้ ใช่มี มสารสนเทศท้ ่นไว้ทั้ง10 ประการดังนี้ ประเพณี การเมื ง ญาเท่ เศรษฐกิ สารสนเทศท้ องถิ่นเป็นส่้ ปวนใหญ่ แต่เฉพาะภู มิปอัญ านัจ้นซึสภาพสั ่งจะมีทงคม ั้งวัฒฯลฯ นธรรมล้วนแล้ วแต่เป็น1) พลั ง ปั ญ ญาของผู ฏิ บั ติ (tactic แต่ส่วนใหญ่ภูมิปัญญาเป็นสารสนเทศที่ทรงคุณค่า เราจึงเน้นหนักไปในเรื่องนี้ ประเพณี การเมือง เศรษฐกิจ สภาพสังคม ฯลฯ knowledge) ที่มีในสมองคน ล้วนแล้วแต่เป็นสารสนเทศท้องถิน่ เป็นส่วนใหญ่ 2) พลังทุนปัญญาในชุมชน อยู่ในความ แต่ ส่ วนใหญ่ภู มิปัญญาเป็นสารสนเทศที่ทรง สัมพันธ์ระหว่างคนอยู่ในภูมิปัญญา วัฒนธรรม คุณค่า เราจึงเน้นหนักไปในเรื่องนี้ ประเพณี การปฏิบัติสืบเนื่องกันมาเป็นสาร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วจิ ารณ์ พานิช สนเทศท้องถิ่นที่มีค่าของชุมชน 70
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
3) พลังความส�ำเร็จ บันทึกของชุมชนที่ เป็นลายลักษณ์อักษร (knowledge assets) 4) พลังของเรื่องเล่า (story telling) การซักถาม ความอยากรู้อยากเห็น 5) พลังการเล่าเรื่อง (cyberspace) หรือ blog เป็นการจดบันทึกของ web 6) พลังของการจดบันทึก จดบันทึกจาก ประสบการณ์ในการปฏิบัติ 7) พลังทวีคณ ู (synergy) ประกอบด้วย ความรู้ภายในภายนอก ความรู้ชัดแจ้ง ความรู้ ฝังลึก ความรูเ้ ชิงวัฒนธรรมเชิงความเชือ่ ความรู้ เชิงวิทยาศาสตร์ หรือเชิงวิทยาการ ความรู้เชิง ปัญญาท้องถิ่น เชิงปัญญาสากล 8) พลั ง ของการสกั ด ความรู ้ จ ากการ ปฏิบัติ แล้วน�ำสิ่งที่ดีไปปฏิบัติต่อกัน 9) พลังของการจัดการสารสนเทศท้อง ถิ่น และการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ 10) พลั ง ของการรวมตั ว กั น ในการ จัดการสารสนเทศท้องถิ่น สู่ศตวรรษใหม่จะด�ำเนินการอย่างไรกับสารสนเทศท้องถิ่น สารสนเทศท้องถิ่นได้สูญหายไปเพราะ ไม่ ไ ด้ รั บ ความสนใจจั ด เก็ บ ไว้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง อุปสรรคต่าง ๆ ในการสูญหายเช่น การเปลี่ยน แปลงจากข้อเท็จจริงโดยน�ำสารสนเทศที่ควร จะเน้นมาประยุกต์ตามความต้องการของคน รุ่นใหม่ การด�ำเนินการพื้นฐานในการบริหาร สารสนเทศท้องถิ่นในยุคสมัยใหม่อย่างแท้จริง ต้องมีองค์ประกอบดังนี้
1. การมี วิ สั ย ทั ศ น์ ร ่ ว มกั น (shared vision) ในการเก็บรวบรวมสารสนเทศท้องถิ่น และมีจุดมุ่งหมายที่ชัดแจ้งร่วมกัน 2. จริยธรรมธุรกิจ (business ethic) ต้ อ งรู ้ ว ่ า สารสนเทศท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง มี พื้ น ฐานมา จากภูมิปัญญานั้นต้องมุ่งคุณค่ามากกว่าเน้น ประโยชน์ในเชิงธุรกิจเป็นส�ำคัญ 3. ค่ า นิ ย มและทั ศ นคติ (value & attitude) ต้องมีค่านิยมและทัศนคติที่มั่นคง ในเรื่องราวของสารสนเทศท้องถิ่นนั้น ๆ ที่เก็บ มาและพร้อมที่ผดุงรักษาไว้ เห็นคุณค่าและมี ทัศนคติที่ดีต่อสารสนเทศท้องถิ่นนั้น 4. การมุ่งองค์ความรู้ (knowledge) ที่ จะเก็บสะสมไว้ให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา 5. การวินัย การร่วมเรียนรู้ (learning discipline) มีวนิ ยั ในการจัดเก็บ สร้างสรรค์ การ เผยแพร่สารสนเทศท้องถิน่ นัน้ ในรูปของการแบ่ง ปันทรัพยากร (sharing resources) การบริหารสารสนเทศท้องถิ่นไปสู่การพัฒนา การบริหารสารสนเทศท้องถิ่นไปสู่การ พัฒนา 1. ความเป็นผู้น�ำ ความเข้าใจในสารสนเทศท้องถิ่นอย่างถ่องแท้ พร้อมที่จะด�ำเนิน การอย่างถูกต้องและเป็นระบบอย่างมัน่ คงถาวร 2. การบริ ห ารด้ ว ยพลั ง ความคิ ด สร้างสรรค์ 3. การบริหารเชิงระบบและท�ำงานเป็น ทีม ซึง่ เป็นทีม่ าของการร่วมมือ และพูนความรูใ้ ห้ ทุกหมู่เหล่าเข้าถึงสารสนเทศในทุกท้องถิ่นได้ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
71
แผนภูมิการบริหารสารสนเทศท้องถิ่นไปสู่การพัฒนา วิสัยทัศน์
1
มีความเป็น ผู้นา 3
5
มีจริยธรรม ในเชิงธุรกิจ ซื่อสัตย์ต่อ ข้อมูล
องค์ความรู้ ที่ได้รับ
การบริหาร เชิงระบบ การบริหาร สารสนเทศท้องถิ่น (local formation management) มีพลัง ความคิด สร้างสรรค์
จากแผนภูมจิ ะเห็นได้วา่ ในกรอบในของ แผนภูมปิ ระกอบด้วยการบริหารสารสนเทศท้อง ถิ่นไปสู่การพัฒนานั้น หลักใหญ่ที่อยู่ในกรอบใน ประกอบด้วย 1. ต้องมีความเป็นผู้น�ำ 2. มีการบริหารเชิงระบบ 3. มีความคิดสร้างสรรค์ 4. มี ทั ก ษะความสามารถในการเก็ บ สารสนเทศท้องถิ่น 72
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
การทางาน ร่วมกัน
มีทักษะความ สามารถในการเก็บ สารสนเทศท้องถิ่น
ปลูกฝัง ค่านิยม ทัศนคติ ในชุมชน
มีวินัย ความซื่อสัตย์ ต่อสารสนเทศ เรียนรู้ร่วมกัน
2
4
5. มีการท�ำงานร่วมกันเป็นอย่างดี ซึ่งจากกรอบในจะต้องล้อมรอบด้วย กรอบนอกซึ่งเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญของการ บริหารสารสนเทศท้องถิ่นไปสู่การพัฒนาคือ 1. ต้องมีวิสัยทัศน์ 2. ต้องมีความสามารถในการปลูกฝังค่า นิยม ทัศนคติในชุมชน 3. ต้ อ งมี วิ นั ย ความซื่ อ สั ต ย์ ต ่ อ สารสนเทศท้องถิ่น
4. ต้องมีความสามารถในการให้เกิด องค์ความรู้ที่ได้รับเกิดขึ้นในท้องถิ่น 5. มีจริยธรรมในเชิงธุรกิจ และจากแผนภูมิจะเห็นว่าไม่ว่าจะเป็น กรอบในหรือกรอบนอกที่ล้อมรอบ จะมีการ เชื่ อ มโยงติ ด ต่ อ กั น ไปมา แสดงให้ เ ห็ น ความ สัมพันธ์ที่มีความส�ำคัญซึ่งกันและกันอย่างเห็น ได้ชัดในแต่ละข้อจะกล่าวโดยย่อดังนี้คือ มีความเป็นผู้น�ำ ผู้บริหารต้องรู้จักวางแผนก�ำหนดขอบ เขตของงาน สร้างภาพพจน์ของท้องถิ่น มีบุคลิก ทีด่ ี มีความกระตือรือร้น รอบรู้ เข้าใจชุมชน รูจ้ กั จิตวิทยาชุมชน มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีเข้าใจการ เปลี่ยนแปลงของสังคม มีความคิดริเริ่มรวดเร็ว รับผิดชอบ มุ่งหวังผลผลิตที่จะเกิดขึ้นกับสังคม ทั้งในด้านคุณธรรม จริยธรรม เศรษฐกิจ พัฒนา ตนเองเพื่ อ การเรี ย นรู ้ อ ยู ่ เ สมอสิ่ ง ส� ำ คั ญ ก็ คื อ ต้องเข้าใจคุณค่าของสารสนเทศท้องถิน่ ทีจ่ ะต้อง ก่อให้เกิด บ�ำรุงรักษา พัฒนา เผยแพร่ สู่ท้องถิ่น สูป่ ระเทศ และสูส่ ากล เพือ่ การพัฒนาและศึกษา ค้นคว้าต่อไป มีการบริหารเชิงระบบ ในการก�ำหนดนโยบายวางแผนเพื่อใช้ ในการบริหารสารสนเทศท้องถิน่ สูก่ ารพัฒนานัน้ ต้องคิดอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ท้องถิน่ กระบวนการหรือขัน้ ตอนปฏิบตั วิ เิ คราะห์ ผลลัพธ์/ผลผลิต สารสนเทศท้องถิ่น และจะ ต้องมีการพัฒนาโดยต่อเนื่องเพราะสถานการณ์ และสิ่งแวดล้อมในชุมชนจะมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา ดังนั้นปัจจัยน�ำเข้าต่าง ๆ จะต้องมี
ระบบต่อไป 1. ปัจจัยน�ำเข้า (input) คือ คน วัสดุ อุปกรณ์ เงินและข้อมูลข่าวสาร 1.1 คน ที่จะมาบริหารสารสนเทศ ท้องถิ่นต้องเป็นคนที่มีความรู้ความเข้าใจชุมชน สิ่งที่ส�ำคัญคือเข้าใจในเรื่องสารสนเทศท้องถิ่น มีทักษะ ค่านิยมและทัศนคติที่ดี มีพฤติกรรม ที่ดีด้วย 1.2 วั ส ดุ อุ ป กรณ์ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ต่าง ๆ ต้องมีให้พร้อมในการทีจ่ ะบริหารจัดการและ ด�ำเนินการ ตลอดจนเทคโนโลยีที่จะน�ำมาใช้ 1.3 เงิ น ต้ อ งมี เ งิ น พอเพี ย งที่ จ ะ ด�ำเนินการ 1.4 สารสนเทศท้องถิ่น สิงนี้ส�ำคัญ มาก โดยจะต้องมีสารสนเทศที่น่าเชื่อถือได้ ทัน สมัย ครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องแม่นย�ำ และทัน เวลาการใช้งาน 2. กระบวนการ (process) ซึง่ ประกอบ ด้วย 2.1 กระบวนการด�ำเนินงานตาม จุดมุง่ หมายทีต่ อ้ งการ ตรงตามเป้าประสงค์ ดูจดุ อ่อนจุดแข็งของการด�ำเนินการ 2.2 การจัดการ ได้แก่ การวางโครง สร้ า งในการท� ำ งานไม่ ยุ ่ ง ยากซั บ ซ้ อ นมี ก าร กระจายอ�ำนาจให้เข้าใจในชุมชน 3. ผลลั พ ธ์ (output) ที่ ไ ด้ รั บ ต้ อ ง ค�ำนึงถึงสารสนเทศท้องถิน่ ทีไ่ ด้รบั ต้องมีคณ ุ ภาพ ประหยัดคุ้มค่าแก่การลงทุน ชุมชนทั้งพอใจ ถูกต้องเที่ยงธรรม เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
73
ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารสารสนเทศท้องถิ่นต้องมีความคิดสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งส�ำคัญ ของการบริหารสารสนเทศท้องถิ่นที่ผู้บริหารควรมี พึงจ�ำไว้ว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นพรสวรรค์ที่ พัฒนาได้ ขอยกค�ำกลอนของไพจิตร สดจกการ จาก website (http://board.dserver.org/p/ plearn/000000.html). 8/13/2008 ที่เกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ไว้ดังนี้
การบริหารคิดอย่างสร้างสรรค์ สร้างแนวทางแปลกใหญ่ให้มากมาย คือสมดุลของการคิดแบบเปิดปิด เปิดนั้นหรือคือการคิดอเนกนัย หลักการคิดอเนกนัยหกข้อนั้น เปิดใจรับความคิดให้กว้างไกล สองมุ่งที่ปริมาณการคิดก่อน สามยอมรับทุกความคิดที่ประดัง
หลักส�ำคัญต้องคิดให้หลากหลาย แต่สุดท้ายต้องเลือกคิดตัดสินใจ เปิดก่อนปิดปิดหลังเปิดเป็นไฉน ปิดปั้นโชว์เอกนัยไม่โลเล หนึ่งไม่กั้นจินตนาการที่หลั่งไหล อย่ารีบด่วนตัดสินใจใส่พลัง ถอนเรื่องของคุณภาพไว้ภายหลัง ไม่อีนังว่าตลกรกหูตา
สี่ พยายามยึดพรมแดนแห่งความคิด จงสังเกตสิ่งรอบตัวอย่างไตร่ตรอง ห้า คิดหนักแล้วสุดสุดจึงหยุดคิด บ่มความคิดไว้ในกระบวนธรรม
อย่าดับจิตมุ่งหลับทับสมอง หรือทดลองสิ่งดีที่ไม่เคยท�ำ (สิ่งที่ไตร่ตรองแล้วว่าดี) ปลอบจิตว่างผ่อนคลายหายซ�้ำ อาจผุดน�ำความคิดใหม่ให้ส�ำแดง
หก ฝึกคิดต่อเติมเสริมแต่ง เชื่อมโยงความคิดเขาเรา คิดอเนกนัยก็มีหลักหกข้อครบ วางแผนตัดสินใจให้แยบยล สามไม่ด่วนตัดสินใจเร็วไปนัก สีก่ ล่าวเสียงวิเคราะห์เจาะประเด็น ห้ามองหาส่วนดีและแง่บวก ต้องค่อยค่อยพินิจพิจารณา หกยึดจุดหมายไว้เป็นหลัก ของเหตุการณ์เฉพาะอันยวนใจ
ดัดแปลงต่อยอดทอดเถา หลอมเข้าเป็นหนึ่งซึ่งติดกาว หนึ่งคิดอย่างมีระบบมีเหตุผล สองคิดจนแจ่มกระจ่างอย่างชัดเจน หลักนี้ใช้ได้ดีทุกที่เห็น ไม่หลีกเร้นเงื่อนง�ำที่ส�ำคัญ อย่ารีบลวกตัดทิ้งสิ่งมีค่า หาจุดแข็งพลังเด่นอย่างเย็นใจ ไม่ยึกยักตามพลังที่ผลักใส จนเบนไปจากจุดมุ่งหมายเดิม
74
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
จากกรอบค�ำกล่าวข้างบนก็อธิบายความ คิดสร้างสรรค์ในการบริหารสารสนเทศท้องถิน่ ไว้ ในตัวเองอย่างกระจ่างชัด มี ทั ก ษะความสามารถในการเก็ บ สารสนเทศท้องถิ่น การบริหารหรือผู้บริหารต้องรู้จักค้นหา องค์ความรู้จากผู้รู้ของท้องถิ่นเพื่อค้นหาองค์ ความรู้จากผู้รู้นั้นอาจจะท�ำได้ 2 วิธีคือ 1. การจัดการเสวนากลุ่ม โดยเชิดผู้รู้ ในชุมชนมาเสวนาและแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อ จะได้องค์ความรู้ในระดับลึก และบันทึกไว้เป็น สารสนเทศท้องถิ่น 2. การใช้เก็บข้อมูลจากบุคคลในท้อง ถิ่นจากการสัมภาษณ์พูดคุย และบันทึกไว้เป็น สารสนเทศ แต่ต้องมีการตรวจสอบจากหลาย ๆ คนในชุมชน เพือ่ บันทึกไว้เป็นสารสนเทศท้องถิน่ ที่ถูกต้องและเป็นหลักฐานต่อไป 3. ต้องรูถ้ งึ แนวทางการเก็บสารสนเทศ ท้ อ งถิ่ น นั้ น จะได้ ม าโดยการผลิ ต ร่ ว มกั น การ รวบรวม การซื้อหาและการจัดเก็บ การท�ำงานร่วมกัน ต้องรู้จักสร้างกิจกรรมให้ชุมชนมีการ ท�ำงานร่วมกันในลักษณะพื้นฐานอันเป็นที่มา ของสารสนเทศท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นพื้นฐานจาก วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญา และสิง่ ต่าง ๆ อันเป็นทีม่ าของสารสนเทศท้องถิน่ เช่น การเริ่มต้นพูดคุย สอบถาม ถกเถียงเสวนา หาข้อตกลงร่วมกัน การสร้างสรรค์สารสนเทศ ท้องถิ่นร่วมกันโดยผู้บริหารหรือนักบริหารต้อง มีกลยุทธ์ในการด�ำเนินการ
เมื่อมี 5 ประการดังกล่าวแล้วข้างต้น สิ่งที่จะเป็นกรอบล้อมรอบภายนอกจะประกอบ ไปด้วย 1. วิ สั ย ทั ศ น์ ผู ้ ที่ จ ะท� ำ การบริ ห าร สารสนเทศท้องถิ่นไปสู่การพัฒนานั้นจะต้อง เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ การเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ หมายถึง การมองภาพอนาคตของผู ้ น� ำ และสมาชิ ก ใน ชุมชนและก� ำหนดจุดหมายปลายทางที่เชื่อม โยงกับภารกิจ ค่านิยมและความเชื่อในสิ่งที่จะ เกิดขึ้นของสารสนเทศท้องถิ่นเข้าด้วยกัน และ การแปลความหมายวิสัยทัศน์ของชุมชนสู่เป้า หมายหลักของทีมงานในการด�ำเนินงานจัดการ สารสนเทศท้องถิ่นคือ 1.1 การสร้างความมีส่วนร่วม แรง จูงใจและการน�ำทีม 1.2 การพั ฒ นาแผนปฏิ บั ติ ก าร พร้อมเป้าหมายที่ชัดเจน 1.3 เป็ น ผู ้ น� ำ ที่ มี วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ท รง ประสิทธิภาพ 2. ปลู ก ฝั ง ค่ า นิ ย มทั ศ นคติ ใ นชุ ม ชน สร้างความภูมิใจในท้องถิ่นในชุมชนของตนเอง ให้ทุกคนเก็บรักษาสิ่งที่มีคุณค่าในท้องถิ่นไว้ใน รูปสารสนเทศที่ถูกต้องเพื่อที่จะได้เป็นมรดก ตกทอดถึงลูกหลายและเผยแพร่ความมีคุณค่า ของท้องถิ่นในรูปสารสนเทศให้ชุมชนในท้องถิ่น มีทัศนคติที่ดีต่อท้องถิ่นของตนและขยายเผย แพร่ต่อไปสู่ระดับชาติและระดับสากล 3. มีวินัยความซื่อสัตย์ต่อสารสนเทศ ท้องถิ่น และมีการเรียนรู้ร่วมกัน หมายถึงต้อง มีการบันทึก การให้ปากค�ำหรือ การเก็บรักษา เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
75
สารสนเทศท้องถิน่ อย่างมีหลักการ มีวนิ ยั ซือ่ สัตย์ ต่ อ ข้ อ มู ล ไม่ มี เ สริ ม แต่ ง หรื อ แปลเปลี่ ย นไป ตามความคิดเห็น ต้องบันทึกและเก็บรวบรวม ไว้อย่างถูกต้องต่อสารสนเทศท้องถิ่นของตน อย่างแท้จริง ไม่แอบอ้างหรือปรุงแต่งขึ้นมา ไม่ ว ่ า จะเป็ น สารสนเทศท้ อ งถิ่ น ที่ เ กิ ด จาก วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ภูมิปัญญา ฯลฯ ก็ตาม 4. องค์ความรู้ที่ได้รับจากสารสนเทศ ท้องถิ่นไม่ว่าจะเกิดขึ้นจากการ รวบรวม การ ผลิตการจัดเก็บที่ออกมาเป็นองค์ความรู้และ กลายมาเป็นสารสนเทศท้องถิ่น ต้องถือว่าเป็น องค์ความรูข้ องชุมชน การบริหารไปสูก่ ารพัฒนา ต้องพยายามให้ได้มอี งค์ความรูข้ องชุมชนให้มาก เพื่อเป็นสมบัติที่เป็นคลังความรู้ของชุมชนนั้น ๆ เช่ น สารสนเทศท้ อ งถิ่ น เกี่ ย วกั บ การทอผ้ า
76
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
แพรวา ขั้นตอนการทอผ้า องค์ความรู้ที่ได้จาก การทอผ้า สมุนไพรที่เกิดเป็นต�ำรายา การเผย แพร่เรื่องเหล่านี้ จะต้องออกมาในรูปลายลักษร ที่เป็นสารสนเทศที่ถือว่าเป็นองค์ความรู้ที่ได้รับ ของท้องถิ่นและเป็นหลักการศึกษาสืบทอดต่อ ไป ดังนี้เป็นต้น 5. มีจริยธรรมในเชิงธุรกิจ ซื่อสัตย์ต่อ ข้อมูล สารสนเทศท้องถิ่นที่น�ำออกเผยแพร่ไม่ ว่าจะเป็นรูปเอกสารหรือในรูปของวัตถุที่เกิด ขึ้นจากสารสนเทศท้องถิ่นต้องมีความถูกต้อง และรักษาคุณภาพอย่างคงเส้นคงวา ตลอดจน การด�ำเนินการในเชิงธุรกิจก็ตอ้ งให้มมี าตรฐานที่ มั่นคง และควรมีการบันทึกเป็นสารสนเทศท้อง ถิ่นไว้เป็นลายลักษณ์อักษรให้ชุมชนได้ทราบทั่ว กันด้วย
การบริหารสารสนเทศท้องถิ่นสู่การเป็นองค์กรอัจฉริยะ ค�ำว่า อัจฉริยะ คือ การมีความรู้และความสามารถมากกว่าปกติ ซึ่งการบริหารแบบนี้ ต้อง เป็นนักคิด นักวิเคราะห์ นักสืบค้น นักปฏิบัติ ซึ่งปัจจัยหลักของการบริหารแบบนี้คือพลังความคิด สร้างสรรค์ (corporate creativity) ดังแผนภูมิ
สารสนเทศเดิม จากชุมชน จากคนรุ่นเก่า
เกิดทางเลือก สารสนเทศท้องถิ่น ที่ถูกต้องแม่นย�ำ
จะได้ รั บ สารสนเทศท้อ งถิ่นที่ถูก ต้องแม่นย�ำ น�ำมาใช้เป็นประโยชน์ ต่อการศึกษา การเมือง เศรษฐกิจ สังคมอย่างยั่งยืนเป็นระบบในการ ศึกษาค้นคว้า
เกิดความรู้ใหม่ จากเอกสารข้อคิด ข้อเขียน
สารสนเทศใหม่ ที่ได้รับเข้ามาจาก คนรุ่นใหม่
เกิดการผสมผสานแนวคิด เรียนรู้ แยกแยะ และกลั่นกรอง สิ่งที่ถูกต้อง โดยใช้การวิเคราะห์ สังเคราะห์
เกิดรูปแบบ แนวคิด แยกแยะ สิ่งถูกสิ่งผิดจาก สารสนเทศท้องถิ่น ที่ได้รับ
พลังความคิด สร้างสรรค์
ประสานความคิดสู่การร่วมกันท�ำงาน เป็นทีม แบ่งปันสารสนเทศท้องถิ่นกันและกัน
น�ำไปสู่สารสนเทศท้องถิ่นที่เป็น องค์กรอัจฉริยะ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
77
สรุป สารสนเทศท้ อ งถิ่ น เป็ น ภู มิ พ ลั ง แห่ ง ปัญญา (knowledge power) สร้างขีดความ สามารถในการแข่งขัน ความเจริญ และความ ก้าวหน้าอย่างมั่นคง สารสนเทศท้องถิ่นส�ำหรับ การเรียนรู้การเรียนรู้และรักษาไว้ซึ่งขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ฯลฯ ของชาติ ประเทศใหม่ เช่น สิงคโปร พยายามสร้าง ฐานพลังปัญญาด้วยการฝึกอบรม การเรียนรูเ้ พือ่ คิดค้น (creativity) และนวตกรรมให้เกิดผลิตผล (innovation) ชิ้นใหม่และยึดถือเป็นของตนเอง
78
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เพื่อจะน�ำไปให้สังคมโลกรู้ว่านี่คือพลังปัญญาภูมิปัญญา และเก็บไว้ในรูปสารสนเทศท้องถิ่น ของตนเอง ประเทศไทยมีพลังปัญญา-สารสนเทศ ท้องถิ่นให้ได้เก็บรวบรวม จึงจ�ำเป็นต้องปกป้อง รักษา คนไทยจะต้องสนใจสารสนเทศท้องถิ่น อย่างหลงเรือ่ งภูมปิ ญ ั ญาแล้วลืมเรือ่ งสารสนเทศ ท้องถิ่นที่ต้องเก็บไว้เป็นมรดกตกทอด แสดง ความเป็นเจ้าของเป็นพืน้ ฐานของสังคม การเมือง และเศรษฐกิจของประเทศไทย
คุณค่าของเพลงและดนตรี ในมิติปัจจยาภิรมย์ โดย : ศาสตรเมธี ดร.ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล วันที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๒
ดนตรี เ ป็ น ศาสตร์ แ ละศิ ล ป์ ที่ อ ยู ่ ใ น ขอบข่ายมรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ ความเป็ น ศาสตร์ เ พราะดนตรี มี ส ารั ต ถะใน เรื่องราวของคุณลักษณะท�ำนองเพลงที่สื่อนัย ของนิยาม ความสัมพันธ์กับวิถีชนที่สืบทอดต่อ เนื่อง มีพัฒนาการเชิงประวัติตามยุคสมัย การ ขับเคลื่อนของดนตรีเกิดมีขึ้นในเชิงนามลักษณ์ และรูปลักษณ์อย่างไม่มีขีดจ�ำกัดของขอบเขต จินตนาการซึ่งเกิดมีอยู่ในแต่ละกลุ่มวัฒนธรรม มีทฤษฎีดนตรีทเี่ ป็นข้อสรุปอันบ่งบอกเนือ้ ความ ส�ำคัญ แสดงความเป็นเหตุเป็นผล มีข้อมูลใน ปรากฏการณ์ซึ่งสามารถทวนสอบได้ตามหลัก ทางวิชาการ มีเครือ่ งดนตรีบรรเลงหรือการเปล่ง เสียงขับร้องให้เห็นทักษะวิศิษฏ์อันเป็นเครื่อง แสดงผลเชิงประจักษ์ ส่วนความเป็นศิลป์นั้น เป็นส่วนของคุณค่าที่โน้มน้าวให้บุคคลผู้สัมผัส เกิ ด จิ ต ตาภิ ร มย์ ผ ลิ พ ลิ้ ว ไปตามท� ำ นองและ จังหวะ ผู้บรรเลง ผู้ขับร้อง และผู้สัมผัสรับรู้
ด้วยรสของดนตรีศิลป์เกิดมิติทางอารมณ์ อิ่มใจ ด้วยความหมายของความพริ้งเสนาะ โดยความ ดังกล่าวได้เกิดขึ้นในมุมความต่างของทุกหน่วย สังคมและวัฒนธรรม แม้มีความต่างแต่ก็ยังคง ความเหมือนในหลักการของศิลปวิทยานัน้ ร่วมกัน คุณค่าของดนตรีศลิ ป์นบั เป็นมหัจฉริยะ อันน่าอัศจรรย์ซึ่งมนุษย์ได้เรียงร้อยหน่วยเสียง ของความดังเบาด้วยคุณานุภาพความยิ่งใหญ่ ในสิ่งที่ดีงามนี้สามารถซึมซับรับรู้ได้ด้วยโสต ประสาท มีจนิ ตนาการตามภูมฐิ านแห่งวัฒนธรรม เป็ น แนวเพลงที่ ค งไว้ ใ นอั ต ลั ก ษณ์ ข องแหล่ ง ก�ำเนิด ขานบอกให้ทราบว่าส�ำเนียงเพลงนี้เป็น ของเสียงในวัฒนธรรมใด เช่น อาหรับ จีน ญี่ปุ่น อินเดีย พม่า มอญ ชวา ไทย การปรุงแต่งรส ส�ำเนียงนีส้ อดคล้องกับปรัชญาทีว่ า่ ด้วย “คุณค่า” และเชื่ อ มสั ม พั น ธ์ กั บ สุ น ทรี ย ศาสตร์ บอกรู ้ ด้วยคุณค่าที่ไม่สามารถจับต้องได้ แต่ดื่มด�่ำ ได้ ด ้ ว ยความพริ้ ง เสนาะ ดนตรี จึ ง เป็ น เช่ น ที่ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
79
อรรถาธิบายมา “เสียง” กับโสตประสาทผสาน กับประสบการณ์จึงรับรู้ด้วยการฟัง ข้อความ ดังกล่าวนี้จึงดูง่ายแต่มีความซับซ้อน หลักการ ของดนตรีที่มนุษย์น�ำมาบูรณาการในวิถีชนมี ๓ อย่างคือ การแห่งพิธีกรรมตามความเชื่อ เข้าสู่ การแห่งความบริบูรณ์ของปัจยาศัยที่เป็นเหตุ อันเป็นปัจจัยด้วยหนทางน้อมน�ำไปสู่การแห่ง อภิรมยาการ โอบไว้ด้วยอาการของความรื่นเริง ยินดี ผนวกเข้าเป็นปัจจยาภิรมย์ของจิตซับซ้อน ในสัมผัสนั้น การแห่งพิธีกรรมตามความเชื่อ เป็น พื้นฐานโครงสร้างวัฒนธรรมในแต่ละกลุ่มสังคม วิถีชนของแต่ละถิ่นต่างมีความเชื่อด้วยศรัทธา เชื่อด้วยความเชื่อ เชื่อด้วยความไว้วางใจว่าเกิด หรือไม่เกิดในปรากฏการณ์ ความเป็นไปเช่นทีค่ ดิ หรือตามที่บรรพชนได้ปรุงแต่ง กิจกรรมแนว พิธีกรรมนี้เมื่อมีความศรัทธาในความเชื่อนั้น แล้ ว จึ ง เกิ ด การเชื่ อ มต่ อ ความสั ม พั น ธ์ ข อง องค์ ป ระกอบให้ ส อดคล้ อ งกั น มี สั ญ ญะเป็ น เครื่องหมายรู้ มีรูปเคารพ มีนิยามต่อสิ่งสมมุติ หรือหมายรูว้ า่ ฟ้าดิน เทพนิมติ สถิต ลานกว้างของ พื้นที่จึงเป็นที่สถิตแห่งอรูปของผู้มีอ�ำนาจเหนือ ธรรมชาติ พิธกี รรมก�ำหนดให้มเี ครือ่ งเซ่น เครือ่ ง บ�ำบวง ดอกไม้ ธูปเทียน เครื่องหอม มีผู้เป็นเจ้า พิ ธี ที่ ป ระกอบขึ้ น มุ ่ ง หมายเพื่ อ ขั บ เคลื่ อ น กระบวนการ การเปล่งเสียงของเจ้าพิธีมีหลาก หลายด้วยค�ำพูดเพื่อสื่อสาร บริกรรมเวทมนตร์ คาถา การสอดแทรกท�ำนองซึ่งเป็นหนทางของ เพลงและดนตรี คือมีเพลงขับบันลือท�ำนองด้วย เครื่องดนตรี เปล่งส�ำเนียงแห่งความไพเราะที่ 80
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ก่อให้เกิดความพึงพอใจของผู้มีอ�ำนาจเหนือ ธรรมชาติ ผู้เป็นเจ้าพิธีกระท�ำขึ้นด้วยสมมุติ ของจินตนารมย์ สื่อเสียงติดต่อทางจิตวิญาณ ต่อผู้มีอ�ำนาจเหนือธรรมชาติ การขับร้องด้วย ถ้อยความ การขับร้องด้วยการตบจังหวะ การ ขับร้องที่ใช้เครื่องกระทบให้เป็นจังหวะ การ ขับร้องด้วยเครื่องดนตรีที่มีกล่องเสียงหรือโล่ง เสียงตรึงขึงด้วยแผ่นหนังสัตว์ เรียกชื่อว่ากลอง หรือชื่อในความหมายนี้ มี ปี่ ขลุ่ย เครื่องเป่าที่ ประกอบขึ้นจากไม้ไผ่ ไม้แก่นขุดกลึงให้เป็นรูป ทรงต่าง ๆ ไปจนถึงเครื่องที่ท�ำด้วยโลหะอย่าง ฆ้อง ระฆัง กังสดาล จนถึงสุดยอดด้วยเครือ่ งส�ำริด อย่างมโหระทึก จึงปรากฏเป็นเบือ้ งต้นของดนตรี พิธีกรรม ในปัจจุบันแม้วิถีโลก วิ่งล่วงหน้าด้วย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ดนตรีพิธีกรรม ที่เป็นองค์ประกอบหนึ่งของพิธีก็ยังคงด�ำเนิน บทบาทหน้าที่ต่อไป เพียงรูปแบบและวิธีน�ำ เสนอนั้นมีการปรับปรนไปบ้างตามบริบทของ สังคมและวัฒนธรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง การแห่งความบริบูรณ์ของปัจจยาศัย เป็นดนตรีตามนัยความบริบูรณ์ของปัจจยาศัย มีฐานเหตุปจั จัยด้วยหนทางน้อมน�ำไปสูก่ ารแห่ง อภิรมยาการ สังคีตศิลป์ได้พพิ ฒ ั ในทีซ่ งึ่ เจริญแล้ว ด้วยองค์ปจั จัยจากสัญญะตามการแห่งความเชือ่ รูปลักษณ์กา้ วไปสูม่ ติ ขิ องความงาม ความไพเราะ สัมผัสรู้ได้ชัดเจนมากขึ้นและมากขึ้นตามกาล เวลา ปัจจยาศัยคือสถานพ�ำนักของเหตุอันเป็น ทางให้เกิดผล เหตุเดิมเป็นนิยามของนามธรรม สานต่ อ ด้ ว ยครุ ่ น คิ ด ของการประดั บ ประดา การสมมุติย่อมไปตามความรู้สึกนึกคิดว่าเป็น
เช่นนั้น เพลงขับมีการเรียงร้อยกรองค�ำวิจิตร ด้วยบทร้องและผสมเสียงของการเอื้อนท�ำนอง เครื่องดนตรีแต่ละชิ้นแต่ละชนิดขยับไปประสม เข้าเป็นวงบรรเลงทีค่ ลอเคล้ารังสรรค์กลวิธอี ย่าง แยบยล มีการก�ำหนดระเบียบพิธีตามขั้นตอน การเชื้อเชิญผู้มีอ�ำนาจเหนือธรรมชาติให้บังเกิด ความพึงพอใจ เพื่อหวังการประสิทธิ์ประสาท สรรพนิมิตมงคลดั่งอธิษฐาน “สพฺพ ชยฺย มํคลํ อธิษฺฐามิ” เสริมบ�ำเรอร�ำร่ายด้วยนาฏยลีลา อันงามวิจิตร นาฏยพิธีกรรมเกิดเป็นปัจจยะ หนึ่ง น�ำเสนอด้วยล�ำดับหรือการร้องขอให้ผู้มี อ�ำนาจเหนือธรรมชาติให้บันดาลตามปรารถนา ของตน ด้วยค�ำมั่นในสิ่งตอบแทนที่ก�ำหนดเป็น “บน” “บนบาน” สังคีตศิลป์ทเี่ สนอด้วยการร้องร�ำ ท�ำเพลง การผูกแต่งตามเรื่องราวของท้องเรื่อง การแสดงตามต�ำนาน วรรณคดี ในรูปลักษณ์ บทละคร ดนตรีทที่ ำ� หน้าทีใ่ นมิตวิ ฒ ั น์นคี้ อื ดนตรี ประกอบการแสดงพิธีกรรม ปรากฏในความ เหมือนและแตกต่างไปตามวิถสี งั คมและวัฒนธรรม การแห่งอภิรมยาการ เป็นพลวัตของ การแห่งพิธีกรรมตามความเชื่อ และการแห่ง ความบริ บู ร ณ์ ข องปั จ จยาศั ย ดนตรี พ ลวั ต แยกออกจากหลั ก การตามสาธยายไปแล้ ว ๒ หลั ก การ จากนั้ น จึ ง ก้ า วสู ่ ห ลั ก การที่ ๓ ของการแห่ ง อภิ ร มยาการ ดุ ริ ย รมยาการมี การรังสรรค์ด้วยการเปล่งเสียงผสมร้อยถ้อย ความบริสุทธิ์จากมารดาที่ส่งผ่านไปยังชีวิตที่ ก�ำเนิดใหม่ การฟูมฟักรักษาของผู้ที่นิยามด้วย ค�ำว่า “แม่” เป็นศักยผลของความสามารถ ให้บังเกิดผลต่อบุตรน้อยด้วยเพลงขับ ให้เติบ
กล้าโอบอุ่น รู้สึกปลอดภัยในโลกใหม่ของชีวิต ทุกสังคมและวัฒนธรรมในโลกมีเพลงขับตาม นิยามดังกล่าวมีชื่อเรียกหลากหลาย เช่น เพลง กล่อมลูก เพลงร้องเรือ เพลงชาน้อง เพลงอื่อ เพลงอื่อทาหรืออื่อจา เรื่องเล่าผ่านเพลงขับเป็น สรรพสาระที่ผสมผสานเข้าเป็นดุริยรมยาการ ธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม คติเตือนใจ นิทานท้องถิน่ ภาพสะท้อนทางสังคม ประวัติศาสตร์ การเมือง การปกครอง ความหวังใหม่ในมโนที่สร้างขึ้น อภิรมยาการนี้ได้พัฒนาขึ้นบนบริบท ทางสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละชุมชน แต่ละ เผ่าพันธุ์ เป็นการร้องเล่น เต้นร�ำ สนุกสนาน จากวัยเด็กจนเติบใหญ่ ก้าวไปสู่ลักษณะของ เพลงพื้นบ้าน มีบทบาทในการสื่อเรื่องราวของ ชีวิตที่ห่างออกจากอ้อมไออุ่นของแม่อย่างเพลง กล่อมลูก สิ่งที่เพลงพื้นบ้านเข้าสู่การแสดงออก เป็ น การเปิ ด มิ ติ ข องความสดใส เจิ ด จ้ า ด้ ว ย ปฏิภาณกวีและการด้นร้องด้วยปัญญาที่เกิด ปัจจุบันและต่อเนื่อง เนื้อร้องผันแปรไปตาม สาระของนักเพลงและใช้ทำ� นองหนึง่ ๆ เป็นฐาน รองตามลักษณะหลายเนื้อท�ำนองเดียว มีการ ตบมือผสานจังหวะเข้ากับการขับร้อง มีการน�ำ เครื่องจังหวะมาร่วมตี เคาะ เขย่า กาลต่อมาจึง มีการน�ำเครื่องดนตรีที่ด�ำเนินท�ำนองมาคลอ เคล้าเติมเต็มความสมบูรณ์ในบทเพลงแห่งชีวิต เพลงพื้ น บ้ า นตามสารั ต ถาธิ บ าย แล้ ว นั้ น นั ก เพลงผู ้ รั ง สรรค์ ต ่ า งมี เ สรี ใ นการ แสดงออก นั บ เป็ น หนึ่ ง ในความส� ำ คั ญ ที่ เ ริ่ ม บูรณาการปัจจัยรายรอบเข้ามาเป็นส่วนของ งานสร้ า งเพลงและดนตรี ใ ห้ เ กิ ด คุ ณ ค่ า ขึ้ น เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
81
การน�ำเครื่องดนตรีที่สร้างแนวท�ำนองที่หลาก หลายเป็ น ทิ ศ ทางของอภิร มย์ มิติปัจจัยของ ท� ำ นองเพลง เครื่ อ งบรรเลงซึ่ ง เป็ น มู ล ฐาน การสร้างระเบียบเสียงให้เกิดรสของจิตรื่นเริง กระสวนจังหวะ ความสม�่ำเสมอของจังหวะที่ ก�ำกับ เนื้อร้องที่เรียงร้อยด้วยค�ำกลอนวิจิตร ผูกเป็นเรื่องราวตามบทด�ำเนินตามท้องเรื่อง เป็นบทของการแสดงที่สร้างความบันเทิง ความ สุ ข ใจ บางวิ ถี น� ำ เสนอด้ ว ยการบรรเลงเคล้ า คลอท�ำนองเพลงขับก็สามารถน�ำไปสู่การแห่ง อภิ ร มยาการ ทั้ ง ปวงคื อ คุ ณ ค่ า ในมิ ติ ป ั จ จยา ภิรมย์ของสุนทรียศิลป์ซึ่งมีผลต่อมนุษยชาติ ในปั จ จุ บั น และอนาคตที่ ก ้ า วไปของ กระบวนพั ฒ นาการทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี การเกิดนวัตกรรมล�ำ้ สมัยของปัญญา ประดิ ษ ฐ์ ได้ ขั บ เคลื่ อ นองคาพยพของวิ ถี ช น ความเป็ น อยู ่ ข องช่ ว งชั้ น กาลเวลาของชี วิ ต (Generation) มีความแตกต่างและต่างแตกเติม ด้วยความสะดวกสบาย รวดเร็วอย่างก้าวกระโดด สรรพสิ่งแล้วล้วนด้วยผลิตกรรมเพื่อสนองความ ประสงค์ของผู้เสพศิลป์ จึงเข้าลักษณะการเกิน ในส่วนเหมือนและส่วนต่าง กายภาพสัมผัสและ จิตภาพสัมผัสของเจนเก่า (Gen) กับเจนใหม่ เกิด การเหลือ่ มต่อกัน นวัตกรสร้างเครือ่ งเสริมการรับ รูข้ องเพลงและดนตรี ด้วยเครือ่ งมือสือ่ วิธรี บั สาร ทุกอย่างที่ท�ำให้เกิด เกิดก่อนเก่า เก่าแล้วแล้ว ก็เพิ่มพูนด้วยความซับซ้อนของกลไกการสร้าง เสียงเครื่องดนตรี นักนวัตรังสรรค์สร้างผลงาน เพลงของตน การบันทึกเสียงด้วยเครื่องเสียงชั้น เยี่ยม การรับรู้คุณค่า ความไพเราะของบทเพลง 82
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ด้วยเครื่องรับฟังที่ล�้ำสมัย ทั้งภาพเคลื่อนไหวใน มุมการน�ำเสนอของศิลปิน เป็นความสะท้อนของ จิตมนุษย์กับเทคโนโลยีของโลก ๔.๐ และโลก ๕.๐ ต่อไป และต่อ ๆ ไป สารัตถาธิบาย จากบทความนี้ได้ทอด ถ่ายเนื้อความจากปรากฏการณ์เพลงและดนตรี ในอดีตมาสู่ปัจจุบันและก้าวอย่างก้าวกระโดด ไปยังอนาคต ได้ซ้อนภาพให้เห็นว่าเพลงและ ดนตรี มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างจิ ต ภาพของมนุ ษ ย์ มนุษย์รับสุนทรียรสในศิลป์ของดนตรีจากยุค ของความเชื่อ จากพิธีกรรมที่เชื่อมโยงไว้ด้วย ความเชื่ อ ความศรั ท ธาต่ อ ผู ้ มี อ� ำ นาจเหนื อ ธรรมชาติ ศิลป์ของดนตรีได้สร้างความเชื่อมั่น แก่จิตใจมนุษย์ ดังการแห่งพิธีกรรมตามความ เชือ่ อีกมุมหนึง่ เป็นมิตขิ องการแห่งความบริบรู ณ์ ของปั จ ยาศั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ด้ ว ยความอิ่ ม สุ ข ของ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งแม่ ห รื อ ผู ้ โ อบความรั ก อบอุ่นของผู้เลี้ยงด้วยฐานรับของเพลงกล่อมลูก พัฒนาไปสู่เพลงร้องของนักเพลงผู้สร้างสรรค์ และหนทางน้อมน�ำไปสู่การแห่งอภิรมยาการ ซึ่งเป็นปัจจยาภิรมย์ของจิตซับซ้อนของมนุษย์ แม้วา่ การก้าวล�ำ้ ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ เ กิ ด ขึ้ น ตลอดเวลาแต่ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี ข องผลิ ต ผลใหม่ ก็ ท� ำ หน้ า ที่ เ สริ ม ความเร็วแรงให้แก่มนุษย์ได้เข้าถึงอรรถสาระ สุนทรียศิลป์ได้ ทั้งนี้สัจธรรมของมนุษย์ก็ยังคง เป็นมนุษย์ที่ตื่นรู้ไว้ด้วยคุณค่า (Value) ของ สุนทรียศิลป์ จนบรรลุด้วยอภิรมยาการความ สุขเหมือนดังอดีตแต่ต่างไว้ด้วยวิธีการรับรู้จาก เครื่องมือสมัยใหม่ของปัญญาประดิษฐ์
หน้าต่างงานวิจัย โดย...ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ
......................................................................................................
ปัจจุบันงานวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ มีอยู่จ�ำนวนมาก และไม่ได้น�ำไปใช้ให้เป็น ประโยชน์เท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเนื่องจากผู้ใช้ไม่ทราบผลงานวิจัยที่มีอยู่ ฉะนั้นคอลัมน์นี้จึงรวบรวมผลการวิจัย ด้านเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสื่อสาร มาให้ท่านได้น�ำไปใช้ประโยชน์ต่อไป ซึ่งในฉบับนี้ขอเสนอผลงาน วิจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. โปรแกรมประยุกต์บนเว็บส�ำหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในมหาวิทยาลัย : ภูมิพัฒน์ โทอินทร์, ผศ.ดร.สมภพ ทองปลิว, ผศ.ดร.ประกาศิต ช่างสุพรรณ 2. การพัฒนาระบบการสอนจุลภาคอิงเทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ สาร เพือ่ พัฒนาทักษะการสอน ส�ำหรับ นักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา : ลัลน์ลลิต สืบประดิษฐ์, ทิพย์เกสร บุญอ�ำไพ, ไพโรจน์ เบาใจ 3. การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความยึดมั่นผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงาน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ : ยุทธนา พันธ์มี, ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์, ประหยัด จิระวรพงศ์ 4. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน รายวิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 : ภานุพงศ์ พลซื่อ, และธนดล ภูสีฤทธิ์ 5. การพัฒนาระบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสติ นักศึกษาระดับอุดมศึกษา : โสมณุดา สัมมานุช, ธนดล ภูสฤี ทธิ,์ สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ 6. การพัฒนาระบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการ แก้ปญ ั หาและทักษะการเชือ่ มโยงคณิตศาสตร์สชู่ วี ติ จริงระดับประถมศึกษา : สุชญ ั ญา เยือ้ งกลาง, ธนดล ภูสฤี ทธิ,์ สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ 7. การใช้บล็อกเพื่อการจัดการความรู้ ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัย ศรีปทุม : กรกฎ ผกาแก้ว, รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ สมพงษ์ 8. การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วิธีการน�ำเสนอแบบนิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ ส�ำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ : พงศกร สุวรรณะ, สุขมิตร กอมณี, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง 9. การพัฒนาหนังสือดิจิทัลวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับน�้ำและอากาศ เพื่อส่งเสริม ความสามารถการคิดวิเคราะห์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 : เพ็ญประภา สีมา, ณรงค์ สมพงษ์ 10. การพัฒนาสือ่ การ์ตนู แอนิเมชันโดยใช้นทิ านเพือ่ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สําหรับนักเรียนชัน้ อนุบาล ปีที่ 3 : ศรัญญา เจริญผล, รศ.ดร.ณรงค์ สมพงษ์ 11. การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรือ่ ง เครือ่ งจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงาน ขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม : ขนิษฐา ผาลทอง, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง, สุขมิตร กอมณี 12. การพัฒนาชุดการสอน เรื่องการแต่งกลอนสุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : ภัทร์ศยาพรรณ เกตุสิงห์, ภูเบศ เลื่อมใส, ดวงพร ธรรมะ 13. การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ : สิรวีณ์ ด�ำรงค์ ธนัทโรจน์, ภูเบศ เลื่อมใส, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
83
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ ส�ำหรับการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ในมหาวิทยาลัย ภูมิพัฒน์ โทอินทร์, ผศ.ดร.สมภพ ทองปลิว, ผศ.ดร.ประกาศิต ช่างสุพรรณ สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมเพื่อธุรกิจอุตสาหกรรม ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์และสังคม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตวงศ์สว่าง กรุงเทพมหานคร 10800
บทคัดย่อ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ ส� ำ หรั บ แบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของ บุคลากรในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บส�ำหรับแบบ ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากรและ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของการใช้โปรแกรม ประยุ ก ต์ บ นเว็ บ ส� ำ หรั บ แบบประเมิ น ผลการ ปฏิบัติงานของบุคลากร ประชากรและกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ใ ช้ ใ น การศึ ก ษาในงานวิ จั ย ครั้ ง นี้ ไ ด้ แ ก่ พนั ก งาน มหาวิทยาลัยสายวิชาการ วิทยาลัยเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้มาโดยวิธีการ สุ่มแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ โปรแกรมประยุกต์บนเว็บส�ำหรับแบบ ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากรใน มหาวิทยาลัย และแบบประเมินความพึงพอใจ 84
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ที่มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด�ำเนินขั้นตอน การเก็บรวบรวมข้อมูล ด้วยวิธดี งั นี้ ศึกษาวิธกี าร เขียนแบบประเมินของบุคคลากรสายวิชาการ ศึ ก ษาโปแกรมที่ เ ขี ย นแบบฟอร์ ม ต่ า งๆ เพื่ อ เลือกให้เหมาะสมกับแบบประเมินของบุคลากร สายวิชาการและทดลองการใช้งานโปรแกรม เพื่ อ ประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพ พร้ อ มทั้ ง ให้ ผู ้ เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมทดลองใช้เพื่อที่จะน�ำ ข้อเสนอแนะมาปรับปรุง แก้ไขโปรแกรม ขัน้ ตอน การพัฒนาเครื่องมือหลังจากปรับปรุงโปรแกรม ตามที่ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมเสนอแนะ ก็ให้ ทดลองใช้งานกับบุคลากรเพื่อความถูกต้องด้าน เนื้อ เมื่อปรับปรุงโปรแกรมประยุกต์บนเว็ปแล้ว ก็ น� ำ ไปทดลองกั บ กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งเพื่ อ ที่ จ ะน� ำ ผลการทดลองมาสรุปในขั้นต่อไป
ค�ำส�ำคัญ : โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ, การ the program. To evaluate performance ประเมินผล Also, let the program experts try to get feedback on how to improve the Abstract software development process, after Web-based application deve- the program is updated, as suggested by lopment for staff performance evaluation the program experts. To be used to work form in King Mongkut’s University of with personnel for meat accuracy. When Technology North Bangkok. This time updating the application on the web, it there is a purpose. to develop web-based was experimented with the samples to applications for employee performance, bring the results to the next step. appraisals and to study the satisfaction of using web-based applications for staff Keywords : E-learning, Achievement, performance evaluation. Laplace Transformation The population and sample used in the study included: Academic บทน�ำ Staff Industrial Technology College King ความเป็นมาของการประเมินผลการ Mongkut’s University of Technology ปฏิบัติงานปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า North Bangkok. To be acquired by a การมีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ specific random method. The instruments ที่ดีเป็นส่วนหนึ่งของ ความส�ำเร็จในการด�ำเนิน used in this research were web-based งานขององค์การ เพราะเมื่อระบบได้ถูกจัดวาง applications for evaluation form of อย่ า งดี แ ล้ ว ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น จะดี ต ามไปด้ ว ย แต่ university personnel. And the satisfaction ปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่าแม้จะมีระบบที่ดี แต่หาก rating. It is a 5-level scale. คนไม่ ส ามารถท� ำ งานตามระบบนั้ น ได้ อ ย่ า ง This research The researcher เต็มที่ ก็จะไม่สามารถสร้างประสิทธิภาพของ conducted the data collection process. การบริ ห ารจั ด การหรื อ ผลงานได้ อ ย่ า งสู ง สุ ด Here’s How to: study the method of จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ า วจึ ง เป็ น ที่ ม าของการวั ด writing evaluation form of academic ประสิทธิภาพของผลงาน ของแต่ละบุคคลให้ staff. Study the form of the program เห็นเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ด้วยการบริหารผล to select appropriate to the evaluation การปฏิบตั งิ านซึง่ เป็นเครือ่ งมือทางการบริหารที่ of the academic staff and try to use ผู้บังคับบัญชาและบุคลากร หรือพนักงานมีส่วน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
85
รวมในการก�ำหนดเป้าหมายทั้งในระดับบุคคล และองค์การซึง่ เป็นตัวชีว้ ดั ว่าบุคลากรในองค์การ นั้นมีความเชี่ยวชาญหรือช�ำนาญงานในด้านใด ใครสามารถผลิตผลงานให้มีคุณภาพในระดับ ดีเด่นบุคลากรแต่ละคนควรได้รับการพัฒนา ในด้ า นใดอย่ า งไร หรือผลงานของบุคคลคน นั้ น จะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ องค์ ก ารหรื อ หน่ ว ย งานอย่างไร ซึ่งผลที่ได้จากการด�ำเนินการตาม แนวทางนี้ จ ะช่ ว ยเพิ่ ม ศั ก ยภาพของบุ ค ลากร ทั้ ง ในระดั บ บุ ค คลที ม งานและองค์ ก ารซึ่ ง จะ ช่ ว ยน� ำ พาให้ ภ ารกิ จ ขององค์ ก ารบรรลุ ต าม เป้าหมายที่ได้ก�ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ (อนุชา ศิริบวรเดช, 2555) จากผลการศึกษา การพัฒนาโปรแกรม ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อใช้เฉพาะ ในหน่วยงานนั้นๆ มีข้อดีกว่าการการใช้งาน โปรแกรมด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มีอยู่ใน ปัจจุบนั สรุปว่าโปรแกรมต่างๆ ทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั มีขอ้ ดีคอื สามารถใช้ในการบริหารจัดการเกีย่ วกับ ข้ อ มู ล บุ ค ลากรภายในหน่ ว ยงานได้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพแต่ ยั ง พบข้ อ เสี ย คื อ ในบาง โปรแกรมไม่มฟี งั ก์ชนั่ การใช้งานด้านการประเมิน ผลการปฏิบัติงานบุคลากร เนื่องจากโปรแกรม ทั่วๆไปนั้นอาจไม่สามารถออกแบบให้มีความ เหมาะสมกับลักษณะงานของหน่วยงานที่น�ำ ไปใช้ ท�ำให้ผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมินอาจ ไม่ตรงตามความต้องการซึ่งในการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรในแต่ละหน่วยงาน จะมีความแตกต่างกัน ออกไปตามประเภทของ ธุรกิจของหน่วยงานนัน้ ๆ ดังนัน้ การพัฒนาระบบ 86
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ประเมิ น ผลการ ปฏิ บั ติ ง านขึ้ น เพื่ อ ใช้ เ ฉพาะ ในหน่ ว ยงานของตน จะท� ำ ให้ ผ ลลั พ ธ์ ที่ ไ ด้ มี ประโยชน์ต่อการน�ำไปใช้ ในการบริหารบุคคล มากยิ่งขึ้น อีกทั้งการพัฒนาระบบงานขึ้นเอง เพื่อใช้ภายในองค์กรนั้นยัง สามารถออกแบบ ให้มีความเหมาะสมกับการเชื่อมโยงข้อมูลกับ ระบบต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อน�ำข้อมูลเหล่านั้น มาใช้ ป ระโยชน์ ใ นการบริ ห ารงานได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพมากกว่า เมื่อเทียบกับโปรแกรม ส�ำเร็จรูปซึ่งอาจจะไม่ได้ถูกออกแบบให้มีการ เชื่อมโยงข้อมูลกับระบบต่างๆภายในหน่วยงาน ได้ ท� ำ ให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานลดน้ อ ยลง (ณัฐวร เจ้าสกุล, 2551) ในปั จ จุ บั น มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือก�ำหนดให้บคุ ลากร สายวิชาการ กรอกแบบสรุปการประเมินผล การปฏิบตั งิ านของบุคลากรในรูปแบบฟอร์มของ เอกสาร แบ่งเป็น 2 รอบ โดยรอบที่ 1 เริ่มวันที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 31 มีนาคม และรอบที่ 2 เริ่ม วันที่ 1 เมษายน ถึงวันที่ 30 กันยายน ของทุกปี จากการส�ำรวจจากบุคลากรสายวิชาการของ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์และสังคม อย่าง ไม่เป็นทางการของผู้วิจัยพบว่าบุคลากรสาย วิชาการ ยังขาดความเข้าใจในวิธกี ารกรอกข้อมูล รายละเอียดต่าง ๆ ในแบบฟอร์มโดยเฉพาะ ในองค์ประกอบที่ 1 ในส่วนของการคิดภาระ งานสอน ที่บุคลากรสายวิชาการส่วนใหญ่ขาด ความเข้าใจในการกรอก รวมถึงการคิดภาระ งานสอนที่มีทั้งวิชาที่สอนทฤษฎี และวิชาที่สอน ปฏิบัติ ที่มีการค�ำนวณภาระงานที่แตกต่างกัน
และค่อนข้างยุ่งยากในการค�ำนวณหาภาระงาน สอนจาก section ที่มีจ�ำนวนนักศึกษามากกว่า ที่ภาระงานก�ำหนด อีกทั้งยังไม่แน่ใจว่าควรน�ำ section ไหนมาคิดเป็นภาระงานสอน ส่งผลให้ เกิดการค�ำนวณทีผ่ ดิ พลาด และบุคลากรต้องเสีย เวลาในการแก้ไข ซึ่งจะส่งผลเสียให้ท�ำให้เกิด ความล่าช้าในการส่งแบบประเมินเพือ่ ให้ทนั ตาม ก�ำหนดระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยก�ำหนด อีกทั้ง บุคลากรยังอาจจะเสียโอกาสในการประเมินจาก การที่กรอกข้อมูลที่ผิดพลาด จากปั ญ หาที่ ก ล่ า วมาทั้ ง หมดข้ า งต้ น จึงเป็นแรงจูงใจให้ผู้วิจัยมีแนวคิดที่จะน�ำระบบ โปรแกรมประยุกต์บนเว็บและเข้ามามีส่วนช่วย ในออกแบบโปรแกรมเฉพาะงานส�ำหรับกระบวนการ ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ที่ จ ะช่ ว ยให้ ก าร ด�ำเนินการมีความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องแม่นย�ำ และมีความเชือ่ ถือได้มากขึน้ กว่าเดิม และเพือ่ ให้ บุคลากรเกิดความเข้าใจที่ง่าย เพื่อลดความผิด พลาดในการกรอกแบบประเมิน เพือ่ ให้เกิดความ รวดเร็วในการส่งแบบประเมินให้ทนั ตามก�ำหนด ระยะเวลาและยังสามารถคิดภาระงานสอนเบือ้ งต้น ได้ด้วยตนเอง อีกทั้งยังก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ผู้ปฏิบัติงานที่ใช้งานโปรแกรมในการท�ำงานได้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยคาดหวั ง ว่ า การใช้ โปรแกรมประยุกต์บนเว็บส�ำหรับแบบประเมิน ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร จะมีประโยชน์ แก่บคุ ลากรสายวิชาการของวิทยาลัยเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม และยั ง สามารถรั ก ษาสิ ท ธิ ประโยชน์ต่อผลตอบแทนที่ควรจะได้รับจาก การปฏิบตั งิ านของบุคลากรร่วมถึง ท�ำให้ผใู้ ช้งาน
เกิดความพึงพอใจหลังการใช้โปรแกรมประยุกต์ บนเว็บส�ำหรับแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ของบุคลากรอีกด้วย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ พั ฒ นาโปรแกรมประยุ ก ต์ บ น เว็บส�ำหรับแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของการใช้ โปรแกรมประยุกต์บนเว็บส�ำหรับแบบประเมิน ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ขอบเขตงานวิจัย 1. ด้ า นประชากร ประชากรที่ใ ช้ใ น การศึ ก ษา เป็ น พนั ก งานมหาวิ ท ยาลั ย สาย วิชาการของวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนือ จ�ำนวน 226 ท่าน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ วิทยาลัย เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ จ�ำนวน 30 คน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 1. ตัวแปรต้น - โปรแกรมประยุกต์บนเว็บส�ำหรับ แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร 2. ตัวแปรตาม - ประสิ ท ธิ ภ าพของโปรแกรม ประยุกต์บนเว็บ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
87
- ความพึงพอใจจากการใช้โปรแกรม โปรแกรมการพั ฒ นาเว็ บ แอพพลิ เ คชั่ น ด้ ว ย ประยุ ก ต์ บ นเว็ บ ส� ำ หรั บ แบบประเมิ น ผลการ โปรแกรมไมโครซอฟท์ วิชวลสตูดิโอ รวมถึงงาน ปฏิบัติงานของบุคลากรในมหาวิทยาลัย วิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. ก� ำ หนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ขอบเขตของเนื้อหา เค้าโครงรูปแบบขอแบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นเครื่องมือ ฟอร์มบนเว็บแอพพลิเคชั่นด้วย การสร้างระบบ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วย ขั้นตอนให้เหมาะสมตรงกับแบบประเมินและ - โปรแกรมประยุกต์บนเว็บส�ำหรับ เนื้อหา การสร้างวิธีประมวลผลข้อมูล แบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากร 3. ก�ำหนดเค้าโครงเว็บแอพพลิเคชั่น ในมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ด้วยภาษาซีชาร์ป โดยการใช้รูปแบบของแบบ พระนครเหนือ ฟอร์มในการกรอกข้อมูลบนเว็บแอพพลิเคชั่น - แบบทดสอบวัดประสิทธิภาพของ ให้มีลักษณะใกล้เคียงกับแบบประเมินผลการ โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ ปฏิบัติงาน (สายวิชาการ) ที่อยู่ให้รูปแบบของ - แบบสอบถามความพึ ง พอใจ เอกสาร และก�ำหนดสูตรการค�ำนวณภาระงาน จากการใช้โปรแกรมประยุกต์บนเว็บส� ำหรับ ที่ ใ ช้ ใ นโปรแกรมเพื่ อ ประมวลผลข้ อ มู ล เป็ น แบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากร จ�ำนวนภาระงาน รวมถึงวิธีการการกรอกแบบ ในมหาวิทยาลัย ประเมินการปฏิบัติงานสายวิชาการ อย่างไร - คูม่ อื การใช้งานโปรแกรมประยุกต์ ให้ถูกต้อง เพื่อความรวดเร็วและให้ทันก�ำหนด บนเว็บส�ำหรับแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ระยะเวลาในการส่งแบบประเมิน ของบุ ค ลากร(สายวิ ช าการ)ในมหาวิ ท ยาลั ย 4. ปรึกษาอาจารย์ทปี่ รึกษาเกีย่ วกับเค้า เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โครงของแบบฟอร์มในการกรอกข้อมูลบนเว็บ แอพพลิเคชัน่ และสูตรการค�ำนวณภาระงานทีใ่ ช้ วิธีการด�ำเนินการวิจัย ในโปรแกรม เพือ่ น�ำมาปรับปรุงและแก้ไข จนได้ ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ พนั ก งานมหา- เค้าโครงแบบฟอร์มบนเว็บแอพพลิเคชั่น วิทยาลัยสายวิชาการ วิทยาลัยเทคโนโลยีอตุ สาห- 5. ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาเกี่ยวกับ กรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เค้ า โครงของแบบฟอร์ ม ในการกรอกข้ อ มู ล พระนครเหนือ จ�ำนวน 30 คน โดยมีขั้นตอนใน บนเว็บแอพพลิเคชั่นและสูตรการค�ำนวณภาระ การออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ดังนี้ งานที่ใช้ในโปรแกรม เพื่อน�ำมาปรับปรุงและ 1. ศึกษา ค้นคว้า เอกสารความรู้เรื่อง แก้ไข จนได้เค้าโครงแบบฟอร์มบนเว็บแอพการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของบุ ค ลากร พลิเคชั่น 88
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
6. น� ำ โปรแกรมประยุ ก ต์ บ นเว็ บ น� ำ เสนอต่อผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเนือ้ หา และผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านโปรแกรม ตรวจพิจารณาทัง้ เนือ้ หา ขัน้ ตอน และประสิ ท ธิ ภ าพของการประมวลผลซึ่ ง มี ผูเ้ ชีย่ วชาญ โดยใช้แบบประเมินความสอดคล้อง (IOC) 7. น�ำผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญ มาค�ำนวณหาระดับคุณภาพของเครื่องมือซึ่ง ผู ้ วิ จั ย ได้ ใ ช้ เ กณฑ์ ต รวจสอบคุ ณ ภาพของ เครื่องมือ ด้วยการหาค่าความเที่ยงตรงของ แบบสอบถาม (IOC : Index of item objective congruenc) 8. ปรับปรุงโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ ตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะน�ำ น�ำเสนออาจารย์ที่ ปรึ ก ษาตรวจสอบและแก้ ไ ขจนได้ โ ปรแกรม ออนไลน์ ส� ำ หรั บ แบบประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ งานของบุคลกร(สายวิชาการ)ในมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ ที่ สมบูรณ์ พร้อมน�ำไปทดลอง วิธีการทดลอง 1. เริ่ ม ท� ำ การทดลองกั บ กลุ ่ ม พั ฒ นา เครื่องมือ ผู้วิจัยได้ท�ำความเข้าใจกับกลุ่มพัฒนา เครื่องมือ เกี่ยวกับขั้นตอนการใช้งานโปรแกรม ประยุกต์บนเว็บส�ำหรับแบบประเมินการปฏิบัติ งานสายวิชาการ 2. เริม่ ท�ำการทดลองการใช้งานโปรแกร กับกลุ่มพัฒนาเครื่องมือ เพื่อประเมินความพึง พอใจและข้อเสนอแนะในการแก้ไขโปรแกรม 3. น�ำข้อมูลและข้อเสนอแนะที่ได้จาก
กลุม่ พัฒนาเครือ่ งมือ มาปรับปรุงแก้ไขโปรแกรม 4. ก่ อ นเริ่ ม ท� ำ การทดลองกั บ กลุ ่ ม ตัวอย่างงานวิจัย ผู้วิจัยได้ท�ำความเข้าใจกับ กลุ่มตัวอย่างงานวิจัย เกี่ยวกับขั้นตอนการใช้ งานโปรแกรมประยุ ก ต์ บ นเว็ บ ส� ำ หรั บ แบบ ประเมินการปฏิบัติงานสายวิชาการ 5. ท�ำการทดสอบการใช้งานโปรแกรม ประยุกต์บนเว็บส�ำหรับแบบประเมินการปฏิบัติ งานสายวิชาการ กับกลุ่มตัวอย่างงานวิจัยด้วย แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง หลังจากการใช้งาน แล้วเก็บรวบรวมเพื่อตรวจ และให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้พร้อมทั้งเก็บ ข้อมูลไว้ 6. น�ำคะแนนที่ได้ไปวิเคราะห์ทางสถิติ เพื่อสรุปผลการทดลองต่อไป วิธีการใช้แบบประเมินผลการปฎิบัติ งานของบุคลากรสายวิชาการ 1. ให้บุคลากรเข้าไปยัง https://www.evaluation-kmutnb. com/
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
89
2. ให้ใส่ชื่อกับรหัสผ่าน เมื่อกรอกเสร็จ 5. ส่วนงานวิจัยให้กรอกชื่อและหน้าที่ จะเข้าหน้าแรกของแบบกรอกภาระงาน ระบบจะค�ำนวณภาระงานและเมื่อกรอกข้อมูล ครบก็สามารถปริ้นมาตรวจสอบได้
3. เมื่อกรอกแบบประเมินแต่ละหน้า เสร็จให้กด save และ กด next เพื่อไปในหน้า ถัดไป ผลการทดลอง ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของ โปรแกรมประยุกต์บนเว็บส�ำหรับการประเมิน ผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในมหาวิทยาลัย 1. แบบประเมินที่ใช้ในการประเมิน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วยแบบประเมิน ส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมและแบบ ประเมินส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ซึ่ง 4. ในส่วนของการค�ำนวณให้กรอกรหัส ผลที่ได้จากการประเมินเป็นการหาค่าความ วิชา ตอนเรียน และจ�ำนวนนักศึกษาโปรแกรมจะ เทีย่ งตรงแบบ IOC (Index of item objective ค�ำนวณภาระงานให้ congruence)
90
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ตารางที่ 1 ผลประเมินคุณภาพจากผูเ้ ชีย่ วชาญ ตารางที่ 2 ผลประเมินคุณภาพจากผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านเนื้อหา ด้านโปรแกรม หัวข้อประเมิน 1. โปรแกรมประยุกต์บนเว็บมีระบบ ป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิด 2. โปรแกรมประยุกต์บนเว็บทีส่ ร้าง มีความครอบคลุมกับการใช้งาน จริง 3. ความเร็วในการท�ำงานของโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ 4. การใช้คำ� สัง่ ต่างๆ ส่วนของฟังชัน่ ต่างๆ มีความสะดวก 5. ความเหมาะสมในการใช้ขนาด หน้าจอที่เหมาะสมพอดี 6 โปรแกรมประยุกต์บนเว็บมีความ ถูกต้องในการจัดเก็บข้อมูลน�ำเข้า 7. โปรแกรมประยุกต์บนเว็บมีความ ถูกต้องในการลบข้อมูล 8. โปรแกรมประยุกต์บนเว็บมีความ สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้ใช้งาน 9. ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของโปรแกรม ประยุกต์บนเว็บ
ผลคะแนน 0.66 1 1 1 0.33 0.33 1 1 1
หัวข้อประเมิน
ผลคะแนน
1. ข้อความในโปรแกรมประยุกต์บน เว็บถูกต้องตามหลักภาษาไทย 2. มีการจัดหมวดหมูใ่ ห้งา่ ยต่อขัน้ ตอน การประเมินผลการปฏิบัติงาน 3. การจัดรูปแบบในโปรแกรมประยุกต์บนเว็บง่ายต่อการอ่านและ การใช้งาน 4. หน้าโฮมเพจมีความสวยงาม มี ความทันสมัย น่าสนใจ 5. สีสันในการออกแบบโปรแกรม ประยุกต์บนเว็บมีความเหมาะสม 6. สีพื้นหลังกับสีตัวอักษรมีความ เหมาะสมต่อการอ่าน 7. ขนาดตัวอักษร และรูปแบบตัว อักษร มีความสวยงามและอ่าน ได้ง่าย 8. มีความเร็วในการแสดงผลข้อมูล ต่างๆ 9. ความถูกต้องของตัวอักษรและ การค�ำนวณผลข้อมูล
1 1 1 0 0 1 1 0 1
ผลการประเมินคุณภาพจากผูเ้ ชีย่ วชาญด้านโปรแกรม พบว่ามีหวั ข้อทีต่ อ้ งการปรับปรุงแก้ไข เพิม่ เติมคือ หน้าโฮมเพจให้มคี วามสวยงาม ให้มคี วามทันสมัย น่าสนใจ, เพิม่ เติมสีสนั ในการออกแบบ โปรแกรมประยุกต์บนเว็บมีความเหมาะสมขีน้ , เพิม่ เติมให้มคี วามเร็วในการแสดงผลข้อมูลต่างๆ และ ส่วนของด้านเนื้อหา โปรแกรมประยุกต์บนเว็บมีระบบป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิด, ความเหมาะ สมในการใช้ขนาดหน้าจอที่เหมาะสมพอดี, โปรแกรมประยุกต์บนเว็บมีความถูกต้องในการจัดเก็บ ข้อมูลน�ำเข้า นอกจากนี้ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรม และด้านเนื้อหา ได้ให้ค�ำแนะน�ำในการปรับปรุง ข้อ เสนอแนะดังนี้ 1. ควรจะมีการปรับปรุงเรื่อง style ความสวยงาม 2. การตั้งค่าหน้าจอแสดงผลของเว็บไซต์ควรปรับปรุงให้เหมาะสม เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
91
3. ควรเพิม่ ความสวยงามใน terfaceIn และควรเพิ่มลูกเล่นเพิ่มเติม 4. มีการแจ้งเตือน (POPUP) เมื่อมี การกรอกข้อมูลผิดพลาด และผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นเนื้ อ หาได้ ใ ห้ ค� ำ แนะน�ำในการปรับปรุง ข้อเสนอแนะดังนี้ 1. โหลดข้อมูลยังไม่เร็วเท่าที่ควร 2. การเข้าระบบควรง่ายและสะดวก เนื่องจาก อาจารย์ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเข้าใจ เทคโนโลยีเท่าที่ควร
3. ใส่ สี สั น หน้ า เข้ า ให้ ดู ดึ ง ดู ด ความ สนใจให้อาจารย์ อยากเข้าไปกรอกข้อมูลแทน การเขียน ภายหลั ง จากผู ้ เ ชี่ ย วชาญประเมิ น คุณภาพของโปรแกรมประยุกต์บนเว็บส�ำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรใน มหาวิทยาลัยผูว้ จิ ยั ได้ปรับปรุงโปรแกรมประยุกต์ บนเว็บตามข้อเสนอแนะจนได้โปรแกรมประยุกต์ บนเว็บที่สมบูรณ์พร้อม เพื่อที่จะสามรถน�ำไป ทดลองต่อไปได้
บรรณานุกรม ณัฐวร เจ้าสกุล. (2551). การพัฒนาระบบต้นแบบส�ำหรับประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากร ผ่านเว็บกรณีศึกษา บริษัทไทยรุ่งยูเนี่ยนคาร์ จ�ำกัด (มหาชน) วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศโครงการร่วมระหว่างคณะบริหารธุรกิจและส�ำนักการศึกษา ระบบสารสนเทศสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ผุสดี รุมาคม. (2551). การประเมินการปฏิบัติงาน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ธนาเพรส. พนิตา งามประเสริฐ. (2553). การบริหารทรัพยากรมนุษย์/งานบุคคล. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ประสิทธภัณฑแอนพริ้นติ่ง. อลงกรณ์ มีสุทธา และสมิต สชัฌุกร. (2554). การประเมินผลการปฏิบัติงาน (พิมพ์ครั้งที่ 18) กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์ ส.ส.ท. อนุชา ศิริบวรเดช. (2555).การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานในสังกัดการประปาส่วน ภูมิภาค เขต 9.วิทยานิพนธ์ รัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เชียงใหม่. เรื่องพื้นฐานการพัฒนาโปรแกรมแบบวิชวล. สืบค้นเมื่อ 05 มกราคม 2561, จากhttp://www.ict. up.ac.th/itichai/cidtec/assets/uploaded/documents/2cf7a9f409d0f8746271 dc30bc7119 92
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
การพัฒนาระบบการสอนจุลภาค อิงเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร เพื่อพัฒนาทักษะการสอน ส�ำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา DEVELOPMENT OF AN INFORMATION AND COMMUNICATION TECHNOLOGY-BASED MICROTEACHING SYSTEM FOR ENHANCING TEACHING SKILLS OF TEACHERS STUDENT IN YALA RAJABHAT UNIVERSITY ลัลน์ลลิต สืบประดิษฐ์, ทิพย์เกสร บุญอ�ำไพ, ไพโรจน์ เบาใจ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการสอนจุลภาค อิงเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร เพื่อพัฒนา ทักษะการสอนส�ำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา มีวัตถุประสงค์เฉพาะ ดังนี้ 1) ศึกษาองค์ประกอบของระบบการสอนจุลภาคฯ 2) ทดสอบประสิทธิภาพของชุดพัฒนาทักษะตาม ระบบการสอนจุลภาคฯ 3) ศึกษาความก้าวหน้า ของผลจากการพั ฒ นาทั ก ษะการสอนจาก การเรียนด้วยระบบการสอนจุลภาคฯ 4) ศึกษา ความคิดเห็นของนักศึกษาครูที่มีต่อการเรียน ด้วยระบบการสอนจุลภาคฯ 5) ประเมินและ รับรองระบบการสอนจุลภาคฯ จากผูท้ รงคุณวุฒิ กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ได้แก่ 1) ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านเทคโนโลยีการศึกษาและด้านหลักสูตรและ
การสอน จ�ำนวน 10 คน 2) นักศึกษาครู หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ�ำนวน 28 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบหลาย ขั้นตอน 3) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมินและ รับรองระบบการสอนจุลภาคฯ เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ได้แก่ 1) ระบบการสอนจุลภาค อิงเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารเพื่อพัฒนา ทักษะการสอน ส�ำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา 2) แบบทดสอบความรู้ก่อนและ หลังเรียน 3) แบบประเมินการใช้ทกั ษะการสอน โดยอาจารย์ นิ เ ทศ ผู ้ ฝ ึ ก ทั ก ษะการสอนและ เพื่อนร่วมชั้น 4) แบบสอบถามความคิดเห็น ของนักศึกษาครูที่มีต่อระบบการสอนจุลภาคฯ 5) แบบประเมิ น และรั บ รองระบบการสอน จุลภาคฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
93
ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยง เบนมาตรฐาน ค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) และ t-test (Dependent samples) ผลการวิจัย พบว่า 1) ระบบการสอนจุลภาคอิงเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่ อ สารเพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการ สอน ส�ำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.1) การวิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ ห รื อ บริ บ ท 1.2) องค์ประกอบด้านปัจจัยน�ำเข้าที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาทักษะการสอน 1.3) การเสนอ ช่องทางสนับสนุนอาจารย์ 1.4) การเสนอช่อง ทางสนั บ สนุ น ผู ้ เ รี ย น 1.5) กระบวนการจั ด กิจกรรมการสอนจุลภาคฯ 1.6) การประเมินผล 1.7) ผลลัพธ์ 1.8) การตรวจสอบและปรับปรุง ระบบ 2) ผลการทดสอบประสิทธิภาพของชุด พัฒนาทักษะตามระบบการสอนจุลภาคฯ พบว่า ค่า E1/E2 ของชุดพัฒนาทักษะน�ำเข้าสู่บทเรียน ทักษะการใช้คำ� ถามและทักษะการสรุปบทเรียน มีคา่ ประสิทธิภาพเป็นไปตามล�ำดับ ดังนี้ 79.88/ 81.25, 79.06/80.00 และ 80.89/81.87 ซึง่ เป็น ไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 80/80 3) นักศึกษาครูมี ความก้าวหน้าในการใช้ทกั ษะการสอน ประกอบ ด้วย ทักษะการน�ำเข้าสู่บทเรียน ทักษะการใช้ ค�ำถามและทักษะการสรุปบทเรียน อย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) นักศึกษาครูมี ความคิดเห็นต่อการเรียนด้วยระบบการสอนจุล ภาคฯ อยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด และ 5) ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินและรับรองระบบการสอน จุลภาคฯ อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด 94
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ค�ำส�ำคัญ: ระบบการสอน การสอนจุลภาคอิง เทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ สาร ทักษะการสอน Abstract This study is a research and development research. The main purposes were to develop a microteaching system based on information and communication technology, and to develop teaching skills for teacher student of Yala Rajabhat University. The specific objectives were; 1) to study the components of the micro-teaching system, 2) to validate the efficiency of the teaching skills packages on microteaching system, 3) to study the results of the developmental of teaching skills from learning with the microteaching system, 4) to study the opinions of students towards learning with the microteaching system, and 5) to assess and certify the microteaching system by the educational experts. The samples included: 1) 10 experts in educational technology and instructional design and 2) 28 teacher students from the Bachelor of Education Program in Yala Rajabhat University which was obtained by multi-stage random sampling. The instruments were 1) microteaching
system based on information and communication technology to develop teaching skills for teacher students of Yala Rajabhat University, 2) knowledge test before and after study,3) assessment of the use of teaching skills by supervisors, instructors and classmates 4) questionnaire of students’ opinions on the microteaching system, and 5) assessment and verification forms for educational experts. The statistics used in data analysis were Efficiency (E1/ E2), mean, percentage, standard deviation and t-test (dependent samples). Major Findings; 1) The microteaching system based on information and communication technology to develop teaching skills for teacher students of Yala Rajabhat University consists of 8 components: 1) Situation or context analysis, 2) Input components related to the development of teaching skills, 3) Providing support channels for teachers, 4) Providing support channels for learners, 5) The process of organizing micro-teaching activities, 6) Evaluation, 7) Results, and 8) Validation and confirmation. 2) The efficiency validation of the teaching skills packages on micro-teaching system was found that value of E1/ E2 of set induction
skills, questioning skills and closure skills were as follow: 79.88/ 81.25, 79.06/ 80.00, and 80.89/ 81.87 respectively which met the criteria of 80/80. 3) The teacher students have progress in using teaching skills, introduction skills, questioning skills and summarizing skills with statistical significance at .01 levels. 4) The teacher students have opinions on learning by using the microteaching system at the highest level. 5) The experts assessed and approved the microteaching system at the highest appropriate level. Keywords: Instructional System, Information and Communication, Technology-Based Microteaching, Teaching Skills. บทน�ำ การก้าวสูส่ งั คมเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ในสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21 ส่งผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงในทุกมิตขิ องสังคม มนุษย์ ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง รวมทัง้ การศึกษา อันเนือ่ งมาจากการปฏิวตั สิ ารสนเทศ (Information revolution) การด�ำเนิน กิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งการเผยแพร่ ถ่ า ยโอนส่ ง ผ่ า น แบ่ ง ปั น ข้ อ มู ล ข่ า วสารและ ความรู้ของมนุษย์จึงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและ ไร้ ขี ด จ� ำ กั ด โลกจึ ง อยู ่ ใ นสภาวะไร้ พ รมแดน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
95
(Globalization) ก�ำลังเผชิญความเปลีย่ นแปลง และการแข่งขันที่รุนแรง ยากเกินกว่าจะหลีก เลี่ยงได้ ประเทศต่าง ๆ จึงปรับเปลี่ยนทิศทางใน การพัฒนา โดยมุ่งเน้นการพัฒนา “คน” ซึ่งเป็น ปัจจัยส�ำคัญในการพัฒนาประเทศให้มีต้นทุน ทางปัญญา ความสามารถ มีศักยภาพในการ แข่งขันในทุกระดับ การพัฒนา “คน” ให้เป็นทรัพยากรที่มี คุณภาพ จึงเป็นสิ่งส�ำคัญ เนื่องจาก “คน” เป็น ปลายทางที่จะได้รับผลกระทบจากการพัฒนา ในรูปแบบต่าง ๆ โดยตรง และเป็นกลไกส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศไปสู่เป้า ประสงค์ที่ต้องการ พัฒนาคุณภาพคนในทุกมิติ อย่างสมดุลทั้ง ร่างกาย จิตใจ ความรู้ ความ สามารถ และทักษะ จึงส่งผลให้เกิดการปรับ เปลี่ยนกระบวนทัศน์ในปฏิรูปการศึกษา ที่เน้น คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา โดยมีเป้าหมาย เพือ่ วางรากฐานของชีวติ และการประกอบอาชีพ อย่างมั่นคง เป็นกลไกในการพัฒนาประเทศ ได้อย่างยั่งยืน การจัดการศึกษาที่สอดคล้อง กับสภาพการณ์เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 จึงเป็นการจัดการศึกษาเพื่อเตรียม “ผู้เรียน” ให้ เ ป็ น พลเมื อ งไทย พลเมื อ งอาเซี ย น และ พลเมืองโลกทีม่ ีคณ ุ ภาพ (พิมพันธ์ เตชคุปต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข, 2557) โดยจัดการศึกษาและ การประกอบอาชีพในอนาคต “ครู” จึงเป็นผู้ ที่มีบทบาทส�ำคัญในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว เนื่องจาก “ครู” เป็นปัจจัยชี้ขาดคุณภาพการ ศึกษา เป็นทั้งด่านหน้าและเป็นกลไกส�ำคัญใน การปฏิรูปการศึกษา เนื่องจากสังคมให้ความ 96
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ส� ำ คั ญ และความคาดหวั ง ที่ จ ะเห็ น ครู แ สดง บทบาทในการสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิดขึ้น (ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2554;ไพสิฐ พรหมรักษา, 2554) ด้วยการให้ผู้เรียนได้รับการสอนที่ดีที่สุด ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่มีคุณภาพสูง ครูจึงต้องมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในหลักวิชา ในการสอน ทั้งเนื้อหา หลักจิตวิทยาการศึกษา การเลื อ กใช้ วิ ธี ส อน การวั ด และประเมิ น ผล ตลอดจนทักษะการสอนซึ่งมีความส�ำคัญในการ สอนเช่นเดียวกัน (ณรงค์ กาญจนะ, 2553) ทักษะการสอน คือ ความสามารถของครู ในการสอนอย่างได้ผล เป็นองค์ประกอบส�ำคัญที่ แสดงให้เห็นถึงสมรรถภาพของครู (Teacher’s competencies) ครู ที่ มี ทั ก ษะการสอนจะ สามารถสอนได้อย่างช�ำนาญ คล่องแคล่ว ลื่น ไหล กระฉับกระเฉง ไม่เคอะเขิน สามารถจัด ประสบการณ์ ใ ห้ นั ก เรี ย นอย่ า งกระจ่ า งแจ้ ง ชัดเจน ท�ำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่ายได้ สอนเป็น ล�ำดับขัน้ ตอนจนเสร็จสิน้ กระบวนการ สอดคล้อง กับผลการเรียนรูท้ คี่ าดหวังและส่งเสริมการเรียน รู้ให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (อาภรณ์ ใจเที่ยง, 2553) การสอน จึงเป็นกระบวนการ ที่เกิดจากพฤติกรรมที่ซับซ้อน ประกอบด้วย หลายทักษะในการสอนแต่ละครั้ง ได้แก่ ทักษะ การน�ำเข้าสู่บทเรียน ทักษะการใช้กิริยาวาจา ท่าทางในการสอน ทักษะการเล่าเรื่อง ทักษะ การอธิบาย ทักษะการใช้ค�ำถาม และทักษะการ สรุปบทเรียน เป็นต้น ดังนั้น การที่ครูจะเกิด ทักษะการสอนและสามารถสอนได้ดีนั้น จะต้อง มีประสบการณ์จากการฝึกฝนการใช้ทักษะการ
สอนแต่ละอย่างจนคล่องแคล่ว ช�ำนาญ และ ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองอย่างต่อ เนื่องก่อนสอนได้ (อินทิรา บุณยาทร, 2542) การสอนจุลภาค หรือ Microteaching เป็น กระบวนการที่ใช้ในการฝึกทักษะการสอนเป็น ครัง้ แรกเมือ่ ปี ค.ศ. 1963 โดย Allen W. Dwight และคณะ ที่มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ประเทศ สหรัฐอเมริกา เป็นการฝึกหัด พัฒนาทักษะหรือ ประสบการณ์ในการสอนเบื้องต้น โดยจ�ำลอง สภาพการสอนจริงเพื่อลดความว้าวุ่น หรือวิตก กังวลของนักศึกษาครู ด้วยการฝึกทักษะการสอน เฉพาะอย่างในสถานการณ์ยน่ ย่อ 3 ประการ คือ 1) ย่นย่อเนื้อหาเพียงมโนทัศน์เดียว 2) ย่นย่อ ชัน้ เรียนเหลือเพียงจ�ำนวน 5-10 คน และ 3) ย่นย่อ ระยะเวลาในการสอนเพียง 10-15 นาที สอนตาม ขัน้ ตอนการสอนจุลภาค ประกอบด้วย วางแผน, สอน, รับค�ำติชม, วางแผนใหม่, สอนใหม่, และรับ ค�ำติชมใหม่ ท�ำการบันทึกเสียงหรือบันทึกภาพ วีดทิ ศั น์ในขณะก�ำลังด�ำเนินการสอนจุลภาค และ น�ำเทปบันทึกเสียง หรือเทปบันทึกวีดิทัศน์นั้น มาเปิดซ�ำ ้ เพือ่ วิเคราะห์และประเมินผลอย่างรอบ ด้าน จากการได้รับค�ำวิจารณ์ ข้อติชมหลังการ สอนจากมุมมองของอาจารย์นิเทศก์และผู้เรียน และเปิดโอกาสให้มีการฝึกซ�้ำ หากไม่ผ่านการ ประเมินหรือผลการประเมินไม่เป็นที่น่าพอใจ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2523 อ้างถึงใน บุญเกื้อ ควรหาเวช, 2530) ซึ่งช่วยให้นักศึกษาครูที่ไม่มี ประสบการณ์ในการสอน สามารถเชือ่ มโยงเนือ้ หา ไปสูก่ ารสอน พร้อมเผชิญความท้าทายในการสอน อย่างมั่นใจ (Ghanaguru, Nair & Yong, 2013)
จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อสารในปัจจุบัน ส่งผลให้มี การน� ำ เทคโนโลยี ส ารสนเทศและสื่ อ สารมา ใช้ใ นการจัดการศึกษาเพิ่มมากขึ้น การสอน จุ ล ภาคแบบดั้ ง เดิ ม จึ ง ไม่ ส ามารถตอบสนอง ความต้องการของการเรียนการสอนสมัยใหม่ เนื่ อ งจากข้ อ จ� ำ กั ด ทั้ ง ด้ า นเทคโนโลยี ใ นการ บันทึกภาพในระบบแอนาล็อค (Analog) จึงมี ความยุ่งยาก เนื่องจากต้องใช้อุปกรณ์และพื้นที่ จัดเก็บจ�ำนวนมาก ใช้ระยะเวลาในการพิจารณา วีดีทัศน์บันทึกการสอน อีกทั้งการประเมินและ การให้ผลย้อนกลับจ�ำกัดเฉพาะอาจารย์นิเทศ และเพื่ อ นร่ ว มชั้ น จ� ำ กั ด อยู ่ ใ นกลุ ่ ม เดี ย วกั น เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในห้องปฏิบัติ การสอนจุลภาคเท่านั้น (Zhang, Zhao, Shao & Bian, 2009) ขณะที่เทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อสารสามารถลดข้อจ�ำกัดดังกล่าว ด้วย การสร้างสภาพแวดล้อมการสอนจุลภาคในรูป แบบดิจิทัล (Digital) เพื่อเข้าถึงกิจกรรมการ สอนจุ ล ภาค การเผยแพร่ แ ละจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล บนพื้นที่ขนาดใหญ่บนระบบเครือข่าย การใช้ อุปกรณ์ที่หลากหลายในการผลิต บันทึกภาพ จัดเก็บ และเผยแพร่วีดิทัศน์แบบจ�ำลองการ สอนและวีดิทัศน์บันทึกการสอน เครื่องมือการ ประเมิน การให้ผลย้อนกลับ เครื่องมือช่วยใน การอภิปราย วิจารณ์สะท้อนผลการฝึก และ เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการติ ด ต่ อ สื่ อ สารระหว่ า ง อาจารย์นิเทศก์กับผู้ฝึกและระหว่างผู้ฝึกด้วย กัน (Yuan, Zhang & Wang, 2013) ส่งผลให้ สามารถลดข้อจ�ำกัดของการสอนจุลภาคแบบ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
97
ดั้งเดิม กระจายความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอน และผู้เรียน ให้อิสระ และมีความยืดหยุ่นทั้งใน เรือ่ งของเวลา สถานทีแ่ ละการร่วมกิจกรรม เพิม่ ความเป็นกลางในการประเมิน สามารถอภิปราย แสดงความคิดเห็นแบบมีปฏิสมั พันธ์ได้หลายรูป แบบ อีกทั้ง เป็นระบบเปิดที่มีข้อมูลสารสนเทศ จ�ำนวนมาก สามารถเชื่อมโยงและสืบค้นเครื่อง มื อ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งและสามารถใช้ ป ระโยชน์ จ าก แหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการฝึกทักษะ การสอนของนักศึกษาครู พัฒนาความสามารถ ในการเรียนรูแ้ ละการปฏิบตั อิ ย่างสร้างสรรค์ของ ผูเ้ รียนได้ (Zhang, Zhao, Shao & Bian, 2009) ภารกิจส�ำคัญของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ในฐานะสถาบันฝ่ายผลิต คือ การมุ่งเน้นการสร้างบัณฑิตครูที่มีความรัก ความภาคภูมใิ จในวิชาชีพ มีเจตคติและบุคลิกภาพ ที่เหมาะสม เป็นแบบอย่างที่ดี มีทักษะการสอน สามารถบูรณาการทักษะการสอนให้สอดคล้อง กับความเชี่ยวชาญและน�ำศาสตร์มาบูรณาการ ในการจั ด การเรี ย นรู ้ อ ย่ า งเหมาะสม โดย นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ได้ รับการบ่มเพาะจากการจัดการศึกษาทั้งในภาค ทฤษฎีและปฏิบัติตามโครงสร้างหลักสูตร ใน 3 หมวดรายวิชา คือ 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2) หมวดวิชาเฉพาะด้าน และ 3) หมวดวิชาเลือกเสรี รวมถึงการเรียนในรายวิชากลุ่มวิชาชีพครู ก่อน เข้าสู่กระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมส�ำหรับขั้นการ ฝึ ก การฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ ครู และขั้ น การฝึ ก ปฏิบัติวิชาชีพครูในสถานศึกษาซึ่งเป็นการเรียน 98
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
รู้จากการปฏิบัติงานในหน้าที่ครูในสถานการณ์ จริง จนเกิดความเข้าใจ พัฒนาความคล่องตัว ในการปฏิบัติงาน และสร้างคุณลักษณะความ เป็นครู อันจะเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ ครู ใ นอนาคต โดยพบข้ อ เสนอแนะเพื่ อ การ พัฒนาและเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษา ครู ก ่ อ นฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ของคณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ในประเด็น ที่ส�ำคัญ คือ ควรเตรียมความพร้อมด้วยการ จัดประสบการณ์อย่างเข้มข้นให้แก่นักศึกษา ครูในด้านการสอน ก่อนการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ โดยเปิดโอกาสให้ทดลองสอนมากขึ้น เช่น การทดลองสอนโดยใช้วีดิทัศน์บันทึกการ สอน ให้นักศึกษาดูการสอนของตนเอง หรือให้ อาจารย์และเพื่อนช่วยเสนอแนะ เพื่อให้รู้ข้อดี ข้อบกพร่องที่ควรแก้ไขปรับปรุง โดยควรได้ เรียนรูท้ งั้ ในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั คิ วบคูก่ นั (จันจลี ถนอมลิขิตวงค์ และฟารีดา สามะอาลี, 2555) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาสภาพปัจจุบัน และความต้องการในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการสอนให้ แ ก่ นักศึกษาครู จากอาจารย์ผู้สอน จ�ำนวน 5 ท่าน ในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2558 พบ ว่า อาจารย์ผู้สอนเห็นความส�ำคัญและมีความ ต้ อ งการในการพั ฒ นาทั ก ษะการสอนให้ แ ก่ นักศึกษาครู แม้ปัจจุบันจะเน้นการจัดการเรียน การสอนที่ผู้เรียนเป็นส�ำคัญ แต่ครูจ�ำเป็นต้อง ใช้ทักษะการสอนในการน�ำเข้าสู่บทเรียน เข้า สู่กิจกรรม การถามเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนคิด ค้ น คว้ า วางแผนกิ จ กรรมการเรี ย น รวมทั้ ง
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ โดยควรเป็นกระบวนการ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาครูฝึกปฏิบัติเป็นราย บุคคล ในสถานการณ์ใกล้เคียงสถานการณ์จริง เพื่อเพิ่มความช�ำนาญ ความเชี่ยวชาญ และ เป็นการเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาครู ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ผลการศึ ก ษาสภาพปั จ จุ บั น และความต้องการพัฒนาทักษะการสอนของ นักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ในภาค การศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2558 พบว่า นักศึกษา ครูเห็นความส�ำคัญและมีความต้องการทั้งใน เรื่องของเวลาและโอกาสในการพัฒนาทักษะ การสอนด้วยการฝึกปฏิบัติเป็นรายบุคคล เพื่อ เพิ่มประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ และความ ช� ำ นาญในการใช้ ทั ก ษะการสอนก่ อ นการฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา จากการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น ผู้วิจัยได้ เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการพัฒนาทักษะการ สอนให้แก่นกั ศึกษาครูดว้ ยการพัฒนาระบบการ สอนจุลภาคอิงเทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ สาร เพื่อพัฒนาทักษะการสอน ส�ำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา เพื่อเป็นกระบวน การที่เปิดโอกาสในการฝึกทักษะการสอนเป็น รายบุคคล เพื่อลดข้อจ�ำกัดของการสอนจุลภาค แบบดั้งเดิมรวมทั้งข้อจ�ำกัดของการจัดกิจกรรม การเรี ย นชั้ น เรี ย นปกติ ด้ ว ยการประยุ ก ต์ ใ ช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ สารในกระบวนการ สอนจุลภาค เพื่อการพัฒนาทักษะการสอนของ นักศึกษาครูให้สูงขึ้นและพร้อมสู่การเป็นครูมือ อาชีพ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อ พั ฒ นาระบบการสอนจุ ล ภาค อิงเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร เพื่อพัฒนา ทักษะการสอนส�ำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา 2. เพือ่ ทดสอบประสิทธิภาพของระบบ การสอนจุลภาคฯ ตามเกณฑ์ E1/E2 โดยใช้ เกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 3. เพื่ อ ศึ ก ษาความก้ า วหน้ า ของการ พัฒนาทักษะการสอนจากการเรียนด้วยระบบ การสอนจุลภาคฯ 4. เพือ่ ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษา ที่มีต่อระบบการสอนจุลภาคฯ 5. เพื่อประเมินและรับรองระบบการ สอนจุลภาคฯ จากผู้ทรงคุณวุฒิ วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจัยเรื่องนี้ เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and development) โดยน�ำแนวคิด การวิ จั ย และพั ฒ นานวั ต กรรมทางการศึ ก ษา 7 ขั้นตอน ของชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2556) มา ประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินการวิจัย ดังนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 ศึกษาองค์ความรูเ้ กีย่ วกับ ต้นแบบชิ้นงาน ศึกษาเอกสาร งานวิจัย องค์ ความรู้เกี่ยวกับหลักการของระบบและการจัด ระบบและระบบการเรียนการสอน กระบวนการ พัฒนานักศึกษาวิชาชีพครู หลักการของทักษะ การสอน กระบวนการสอนจุลภาคแบบดั้งเดิม การประยุกต์และการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่อสารมาใช้ในการสอนจุลภาค วิเคราะห์ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
99
สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางในการเขียน กรอบแนวคิดในการพัฒนาระบบการสอนจุล ภาคฯ ขั้ น ตอนที่ 2 ศึ ก ษาความต้ อ งการ ต้นแบบชิ้นงาน ศึกษาสภาพปัจจุบัน ความ ต้องการ ความคิดเห็น ข้อมูลที่จ�ำเป็นส�ำหรับ การก�ำหนดกรอบแนวคิดต้นแบบระบบการสอน จุลภาคฯ ด้านปัจจัยน�ำเข้าและศึกษาข้อมูลด้าน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ข้อมูลที่จ�ำเป็นส�ำหรับการก�ำหนดกระบวนการ ของระบบการสอนจุลภาคฯ จากอาจารย์ผู้สอน จ� ำ นวน 5 คน และศึ ก ษาข้ อ มู ล ด้ า นระดั บ ความรู้ความสามารถในการใช้ทักษะการสอน ประสบการณ์ในการเรียนและพฤติกรรมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร จากนักศึกษา ครู หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ�ำนวน 40 คน ขั้ น ตอนที่ 3 พั ฒ นากรอบแนวคิ ด ต้นแบบชิ้นงาน เพื่อสร้าง (ร่าง) กรอบแนวคิด ต้นแบบระบบการสอนจุลภาคฯ โดยอิงระบบ CIPOF Model ของชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2556) ซึ่งประกอบไปด้วย การวิเคราะห์สถานการณ์ การก�ำหนดองค์ประกอบด้านปัจจัยน�ำเข้า การ ก� ำ หนดองค์ ป ระกอบด้ า นกระบวนการ การ ก� ำ หนดองค์ ป ระกอบด้ า นผลลั พ ธ์ และองค์ ประกอบด้านผลย้อนกลับ ขั้นตอนที่ 4 สอบถามความคิดเห็น ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ น� ำ เสนอ (ร่ า ง) กรอบแนวคิ ด ต้นแบบระบบการสอนจุลภาคฯ ต่อผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 10 คน (ด้านเทคโนโลยีการศึกษาและ 100
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ด้านหลักสูตรและการสอน) เพื่อตรวจสอบและ ประเมินความถูกต้อง โดยใช้การประชุมกลุม่ ย่อย (Focus group) ขั้นตอนที่ 5 พัฒนา (ร่าง) ต้นแบบชิ้น งาน น�ำ (ร่าง) ต้นแบบระบบการสอนจุลภาคฯ มาด�ำเนินการสร้างต้นแบบระบบการสอนให้มี ความสมบูรณ์ ขัน้ ตอนที่ 6 ทดสอบประสิทธิภาพและ รับรองต้นแบบชิ้นงาน 1. ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของชุ ด พัฒนาทักษะตามระบบการสอนจุลภาคฯ แบบ เดี่ยวกับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จ�ำนวน 3 คน 2. ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของชุ ด พัฒนาทักษะตามระบบการสอนจุลภาคฯ แบบ กลุ่มเล็ก กับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา จ�ำนวน 5 คน 3. ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของชุ ด พัฒนาทักษะตามระบบการสอนจุลภาคฯ แบบ ภาคสนาม กับเล็ก กับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา จ�ำนวน 20 คน 4. รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรุป ผลการทดสอบประสิทธิภาพของชุดพัฒนาทักษะ ที่พัฒนาขึ้นตามระบบการสอนจุลภาคฯ 5. น�ำเสนอข้อมูลจากการทดสอบ ประสิทธิภาพของชุดพัฒนาทักษะตามระบบการ สอนจุลภาคฯ ต่อผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 5 คน ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิสาขาเทคโนโลยีการศึกษา และด้านหลักสูตรและการสอน ประเมินเพื่อ รับรองระบบการสอนจุลภาคฯ
ขัน้ ตอนที่ 7 ปรับปรุงและเขียนรายงาน การวิจยั ปรับปรุง แก้ไขระบบการสอนจุลภาคฯ ให้มคี วามสมบูรณ์พร้อมใช้งาน เขียนรายงานเพือ่ ตอบค�ำถามการวิจัยที่ได้ตั้งไว้ เผยแพร่และน�ำ เสนอระบบการสอนจุลภาคฯ ต่อไป
ของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 3.5 แบบประเมิ น แผนการสอน จุลภาค 3.6 แบบสอบถามความคิดเห็นของ นักศึกษาครูที่มีต่อระบบการสอนจุลภาคฯ 3.7 แบบประเมินและรับรองระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การสอนจุลภาคฯ 1. เครื่องมือวิจัยที่เป็นต้นแบบชิ้นงาน 4. สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ได้แก่ ระบบการสอนจุลภาคอิงเทคโนโลยีสาร- ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบน สนเทศและสื่อสารเพื่อพัฒนาทักษะการสอน มาตรฐาน ค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) และ t-test ส�ำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (Dependent samples) 2. เครื่ อ งมื อ วิ จั ย ที่ ใ ช้ ป ระเมิ น สภาพ ปัจจุบันและส�ำรวจความต้องการ ได้แก่ ผลการวิจัย 2.1 แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ 1. ระบบการสอนจุลภาคฯ ประกอบ เชิงลึกอาจารย์ผู้สอน เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ด้วย 8 องค์ประกอบ ดังนี้ ความต้ อ งการและความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การ 1.1 องค์ประกอบที่ 1 การวิเคราะห์ พัฒนาระบบการสอนจุลภาคฯ บริบท ประกอบด้วย 1) กระบวนการพัฒนา 2.2 แบบสอบถามนักศึกษา หลัก นักศึกษาวิชาชีพครู หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สูตรครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ชั้นปีที่ 4 เพื่อศึกษา (5 ปี) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สภาพปัจจุบัน ระดับความรู้ ระดับการใช้ทักษะ ยะลา 2) หลักการและเหตุผลของระบบ 3) การสอน ความต้องการระบบการสอนจุลภาคฯ วัตถุประสงค์ของระบบ 4) ผู้ใช้ระบบ 5) ความ 3. เครื่องมือวิจัยที่ใช้ในการประเมิน พร้อมของระบบเครือข่ายและเทคโนโลยีสารผลกระทบ ได้แก่ สนเทศและสือ่ สาร และ 6) ทักษะการใช้อปุ กรณ์ 3.1 แบบประเมินต้นแบบระบบการ และเครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร สอนจุลภาคฯ ของผู้ใช้ระบบ 3.2 แบบทดสอบวัดความรูก้ อ่ นและ 1.2 องค์ประกอบที่ 2 องค์ประกอบ หลังเรียน ด้านปัจจัยน�ำเข้า ประกอบด้วย 1) หลักสูตร 3.3 ชุดพัฒนาทักษะตามระบบการ ครุศาสตรบัณฑิต (5 ปี) 2) วัตถุประสงค์ของ สอนจุลภาคฯ การฝึกทักษะการสอน 3) ทักษะการสอน 4) 3.4 แบบประเมินทักษะการสอน กิจกรรมและกระบวนการสอนจุลภาค 5) การ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
101
ก�ำหนดบทบาท แนวปฏิบัติส�ำหรับบุคลากรที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่อาจารย์นิเทศก์ ผู้เรียน เพื่อน ร่วมชั้น และ 6) การประเมินและเกณฑ์ในการ ประเมิน 1.3 องค์ประกอบที่ 3 การเสนอช่อง ทางสนับสนุนอาจารย์ ประกอบด้วย 1) ระบบ บริหารจัดการการสอนจุลภาคฯ 2) เอกสาร ประกอบการฝึกทักษะการสอน 3) ช่องทาง Upload และ Download รับส่งไฟล์สำ� หรับการ ฝึกทักษะการสอน และ 4) ช่องทางการติดต่อ สื่อสาร ระหว่างอาจารย์นิเทศก์กับผู้เรียนแบบ เผชิญหน้าและไม่เผชิญหน้า 1.4 องค์ประกอบที่ 4 การเสนอ ช่องทางสนับสนุนผูเ้ รียน ประกอบด้วย 1) ระบบ บริหารจัดการการสอนจุลภาคฯ 2) เอกสาร ประกอบการฝึกทักษะการสอน 3) ช่องทาง Upload และ Download รับส่งไฟล์สำ� หรับการ ฝึกทักษะการสอน และ 4) ช่องทางการติดต่อ สื่อสารระหว่างผู้เรียนกับอาจารย์นิเทศก์ และ ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียนแบบเผชิญหน้าและ ไม่เผชิญหน้า 1.5 องค์ประกอบที่ 5 กระบวนการ จัดกิจกรรมการสอนจุลภาคฯ ประกอบด้วย 1) ขั้นเตรียมความพร้อม 2) ขั้นเตรียมการปฏิบัติ การสอนจุลภาค และ 3) ขั้นการปฏิบัติการสอน จุลภาค 1.6 องค์ประกอบที่ 6 การประเมิน ผล ประกอบด้วย 1) การประเมินความก้าวหน้า การใช้ทกั ษะการสอน 2) การทดสอบความรูห้ ลัง เรียน และ 3) การสอบถามความคิดเห็น 102
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
1.7 องค์ ป ระกอบที่ 7 ผลลั พ ธ์ ประกอบด้วย 1) ทักษะการสอนของนักศึกษา ครู และ 2) ความคิดเห็นของนักศึกษาครู 1.8 องค์ประกอบที่ 8 การตรวจ สอบและปรับปรุงระบบ ประกอบด้วย 1) ผล คะแนนแบบวัดความรู้เกี่ยวกับทักษะการสอน 2) ผลคะแนนประเมินทักษะการสอน 3) ผล คะแนนจากการร่วมกิจกรรม 4) ผลการประเมิน ความก้าวหน้าการใช้ทักษะการสอน และ 5) ผล การสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาครูที่มี ต่อระบบการสอนจุลภาคฯ โดยสามารถแสดง แบบจ�ำลองของระบบการสอนจุลภาคฯ ดังภาพ ที่ 1
ภาพที่ 1 แสดงแบบจ� ำ ลองระบบการสอนจุ ล ภาคอิ ง เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสาร เพื่อพัฒนาทักษะการ สอน ส�ำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
2. ผลการศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของ ชุ ด พั ฒ นาทั ก ษะการสอนตามระบบการสอน จุลภาคฯ ผู้วิจัย ได้ก�ำหนดเกณฑ์ E1/E2 ไว้ที่ 80/80 พบว่า ผลการทดสอบประสิทธิภาพของ ชุดพัฒนาทักษะทั้ง 3 ชุด กับกลุ่มตัวอย่างแบบ ภาคสนาม พบว่าค่า E1/E2 ของชุดพัฒนาทักษะ น�ำเข้าสูบ่ ทเรียน ทักษะการใช้คำ� ถาม และทักษะ
2. ผลการศึกษาประสิทธิภาพของชุดพัฒนาทักษะการสอนตามระบบการสอนจุลภาคฯ ผูว้ ิจยั ได้กาํ หนดเกณฑ์ E1/E2 ไว้ที่ 80/80 พบว่า ผลการทดสอบประสิทธิภาพของชุดพัฒนาทักษะทั้ง 3 ชุด กับ กลุ่มตัวอย่างแบบภาคสนาม พบว่าค่า E1/E2 ของชุดพัฒนาทักษะนําเข้าสู่ บทเรี ยน ทักษะการใช้คาํ ถาม การสรุ ปบทเรียน มีค่าประสิทธิภาพเป็นไปตาม ค่าเฉลีย่ ของคะแนนวัดความรูก้ อ่ นและหลังเรียน และทักษะการสรุ ปบทเรี ยน มีค่าประสิ ทธิภาพเป็ นไปตามลําดับ ดังนี้ 79.88/81.25, 79.06/80.00 และ ล�ำดับ ดังนี้ 79.88/81.25, 79.06/80.00 และ โดยการทดสอบค่า t-test แบบ Dependent 80.89/81.87 ซึ่ งเป็ นไปตามเกณฑ์ที่ก าํ หนด 80/80 ทั้ง 3 ชุด (ค่าประสิ ทธิ ภาพที่ยอมรับได้อ ยู่ระหว่าง พบว่านักศึกษาครูมีความก้าวหน้า 80.89/81.87 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด samples 77.50-82.50) 80/80 ทั้ง 3 ชุด (ค่าประสิทธิภาพที่ยอมรับได้ ในการใช้ทักษะการสอน หลังเรียนสูงกว่าก่อน 3. ผลการศึกษาความก้าวหน้าการใช้ทกั ษะการสอนของนักศึกษาครู ผ่านการเรี ยนด้วยระบบ เรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิตที่ระดับ .01 ทั้ง อยู่ระหว่าง 77.50-82.50) การสอนจุลภาคฯ ผูว้ ิจยั เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนวัดความรู ้ก่อนและหลังเรี ยนโดยการทดสอบ 3. ผลการศึกษาความก้าวหน้าการใช้ 3 ทักษะ โดยสามารถแสดงให้เห็นผลการเปรียบ ค่า t-test แบบ Dependent samples พบว่า นักศึกษาครู มีความก้าวหน้าในการใช้ทกั ษะการสอน หลัง ทักษะการสอนของนักศึกษาครู ผ่านการเรียน เทียบรายทักษะ ดังตารางที่ 1 เรี ยนสู งกว่าก่ อนเรี ยนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิตที่ระดับ .01 ทั้ง 3 ทักษะ โดยสามารถแสดงให้เห็ นผล ด้วยระบบการสอนจุลภาคฯ ผูว้ จิ ยั เปรียบเทียบ การเปรี ยบเทียบรายทักษะ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1่ 1แสดงผลการศึ แสดงผลการศึกกษาความก้ ทกั ทษะการสอนของนั กศึกกษาครู ผา่ นการเรี ยน ยน ตารางที ษาความก้าวหน้ าวหน้าในการใช้ าในการใช้ ักษะการสอนของนั ศึกษาครู ผ่านการเรี ด้วยระบบการสอนจุ ลภาคฯ (N=20) ด้วยระบบการสอนจุ ลภาคฯ (N=20) ผลการทดสอบ ทักษะการนําเขาสูบทเรียน ทักษะการใชคําถาม ทักษะการสรุปบทเรียน
กอน � 𝒙𝒙 58.12 61.87 64.37
SD 11.666 11.088 10.159
หลัง � 𝒙𝒙 81.25 80.00 81.87
SD 10.339 9.424 8.579
t
p
10.180 5.659 8.304
.000** .000** .000**
ผลการศึกษาความคิ ดเห็นของนั ศึกษาครูการปฏิ ที่มีต่อระบบการสอนจุ ลภาคฯ พบว่า( นัก=ศึก4.52) ษาครู 4.4. ผลการศึ ก ษาความคิ ด เห็ นกของ บัติการฝึกทักษะการสอน การเรี ย นด้ว ยระบบการสอนจุ ภาคฯ ในภาพรวมอยู่ใ นระดับ เห็ นลด้ภาคฯ ว ยมากที นักมีศึคกวามคิ ษาครูดทเห็ี่มนีตต่่ออระบบการสอนจุ ลภาคฯ พบ ลและภาพรวมของระบบการสอนจุ ( ่ ส=ุ ด และเมื พิจารณาเป็ าน ยพบว่ กษาครูตามล� มีความเห็ ว่า(𝑥𝑥̅นัก=ศึ4.50) กษาครู มีค่อวามคิ ดเห็นนรายด้ ต่อการเรี นด้วา ยนักศึ4.56) ำดับนต่อการเรี ยนด้วยระบบการสอน จุล ภาคฯ ในระดั บมาก ในภาพรวมอยู ได้แก่ ด้า นการเตรี ยมก่ (𝑥𝑥̅ น=รับ4.40) และด้า นการใช้ ระบบการสอนจุ ลภาคฯ ่ในระดั บ อนฝึ กทักษะการสอน 5. การประเมิ รองระบบการสอน สาร (𝑥𝑥่̅อพิจ= ารณา 4.47) ตามลํ าดับ ส่ วพบว่ นความเห็ ของนั ที่มีตด่อเห็ระบบ เห็เทคโนโลยี นด้วยมากทีส่สารสนเทศและสื ุด ( = 4.50) ่ อและเมื จุลภาคฯ า ผู้ทนรงคุ ณกวุศึฒกิมษาครู ีความคิ นว่า แก่ ด้านการปฏิ ตั ิการฝึ กทักษะการสอน เป็การสอนจุ นรายด้านลภาคฯ พบว่ในระดั านักศึบกมากที ษาครู่สุดมีคได้วามเห็ นต่อ บระบบการสอนจุ ลภาคฯ(𝑥𝑥̅ที=่พ4.52) ัฒนาขึและภาพรวม ้น มีความ ของระบบการสอนจุ ลภาคฯ (𝑥𝑥̅ลภาคฯ = 4.56) ในระดั ตามลําดับบ เหมาะสมของการน�ำไปใช้อยู่ในระดับมากที่สุด การเรี ยนด้วยระบบการสอนจุ นรัยบมก่ รองระบบการสอนจุ มาก ได้แก่5. การประเมิ ด้านการเตรี อนฝึกทักษะการ ล ภาคฯ ( = พบว่ 4.59)า ผูท้ รงคุ ณวุฒิมีความคิดเห็ น ว่า ระบบ การสอนจุ ภาคฯ ทีและด้ ่พฒั นาขึานการใช้ าไปใช้อยูใ่ นระดับมากที่สุด (𝑥𝑥̅ = 4.59) ้ น มีความเหมาะสมของการนํ สอน ( = ล4.40) เทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อสาร ( = 4.47) ตามล�ำดับ อภิปรายผลการวิจัย ส่ ว นความเห็ น ของนั ก ศึ ก ษาครู ที่ มี ต ่ อ ระบบ การด� ำ เนิ น การวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาระบบ การสอนจุลภาคฯ ในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้าน การสอนจุลภาคฯ ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
103
พั ฒ นาและประเมิ น รั บ รองระบบจากผู ้ ท รง คุ ณ วุ ฒิ โดยสามารถอภิ ป รายผลการวิ จั ย ใน ประเด็นหลัก ดังนี้ 1. ระบบการสอนจุ ล ภาคฯ ที่ ผู ้ วิ จั ย พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ การ ก�ำหนดองค์ประกอบดังกล่าวในข้างต้น เป็นการ พัฒนาระบบการสอนจุลภาคฯ ตามหลักการ และทฤษฎีวิธีระบบ (Systems approach) โดยอ้างอิงแบบจ�ำลองระบบ CIPOF Model ของชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2556) ซึ่งประกอบ ด้ ว ย การวิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ ห รื อ บริ บ ท (C-Context) ปัจจัยน�ำเข้า (I-Input) กระบวนการ (P-Process) ผลลัพธ์ (O-Output) และผลย้อน กลับ (F-Feedback) เพื่อควบคุมและปรับปรุง ร่วมกับกระบวนการวิจยั และพัฒนา (Research and development) ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 การวิเคราะห์บริบท องค์ประกอบที่ 2 การ วิเคราะห์และก�ำหนดปัจจัยน�ำเข้า องค์ประกอบ ที่ 3 การเสนอช่องทางสนับสนุนอาจารย์นิเทศ องค์ประกอบที่ 4 การเสนอช่องทางสนับสนุน ผู ้ เ รี ย น องค์ ป ระกอบที่ 5 กระบวนการจั ด กิจกรรมการสอนจุลภาคฯ องค์ประกอบที่ 6 การประเมินผล องค์ประกอบที่ 7 ผลลัพธ์ องค์ ประกอบที่ 8 การตรวจสอบและปรับปรุงระบบ โดยระบบการสอนจุลภาคฯ ที่พัฒนาขึ้น ใช้ หลักการของการสอนจุลภาคเป็นหลัก ซึ่งผู้วิจัย ได้ท�ำการศึกษาหลักการและขั้นตอนการสอน จุลภาคแบบดั้งเดิมของ Allen (1963) Lang (1995) พึงใจ สินธวานนท์ (2516) Thomas (2013) เสริมศรี ลักษณะศิริ (2540) ทิศนา 104
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
แขมมณี (2555) และขัน้ ตอนการสอนจุลภาคอิง เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารของ Zhang, Zhao, Shao and Bian (2009) Matt, Michael, Robyn และ Mingming (2011) และ Yu-Chih (2014) ศึ ก ษาองค์ ป ระกอบของการจั ด การ เรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ สื่อสาร น�ำมาวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ประกอบ และขั้นตอนของการสอนจุลภาคฯ ที่เหมาะสม รวมทั้งออกแบบภายใต้ทฤษฎีการสร้างความ รู้ด้วยตนเอง (Constructivism) ดังที่ สุรางค์ โค้วตระกูล (2554) สุมาลี ชัยเจริญ (2559) และ ทิศนา แขมมณี (2555) กล่าวว่า การสร้าง ความรู ้ ข องผู ้ เ รี ย นเกิ ด จากกระบวนการและ ประสบการณ์ที่ผู้เรียนปฏิบัติหรือลงมือกระท�ำ ด้วยตนเอง ในสถานการณ์จริงหรือในสิง่ แวดล้อม จริ ง โดยผู ้ เ รี ย นจะต้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบใน การเรียนรู้ของตนเองร่วมกับการมีปฏิสัมพันธ์ กับสังคม ประกอบด้วย เพื่อนร่วมชั้น ผู้สอน ผ่านการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะ สม โดยการอธิ บ ายแนวทางการเรี ย นรู ้ ห รื อ สิ่งที่ต้องเรียนรู้ เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์และ สามารถเชื่อมโยงสิ่งที่จะต้องเรียนรู้ใหม่และ เป็นการเรียนรู้ที่มีความหมาย การสอนจุลภาค (Microteaching) จึงเป็นขั้นตอนการฝึกทักษะ การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ โดยเป็นการ เปิดโอกาสให้นักศึกษาครูผู้ฝึกทักษะการสอน ได้ รั บ ประสบการณ์ ต รงจากการปฏิ บั ติ ด ้ ว ย ตนเอง มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ อาจารย์ นิ เ ทศและ เพื่ อ นร่ ว มชั้ น เรี ย น มี โ อกาสในการประเมิ น และปรับปรุงการใช้ทักษะการสอนของตนเอง
และฝึ ก ซ�้ ำ เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ งใน การใช้ทักษะการสอน ซึ่งเป็นกระบวนการที่มุ่ง หวังให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดในการพัฒนาทักษะ การสอนให้แก่นักศึกษาครู 2. ผลการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของ ชุดพัฒนาทักษะตามระบบการสอนจุลภาคฯ ทั้ง 3 ชุด ได้แก่ ทักษะการน�ำเข้าสู่บทเรียน ทั ก ษะการใช้ ค� ำ ถามและทั ก ษะการสรุ ป บท เรียน พบว่า ค่า E1/E2 เท่ากับ 79.88/81.25, 79.06/80.00 และ 80.89/81.87 ซึ่งเป็นไป ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 80/80 เป็นผลมาจากการ พัฒนาระบบการสอนจุลภาคฯ อย่างต่อเนือ่ งจาก การทดลองทัง้ 3 ครัง้ ทีม่ กี ารตรวจสอบปรับปรุง ข้อบกพร่องต่าง ๆ และปรับปรุงรูปแบบกิจกรรม ทัง้ แบบเผชิญหน้าและแบบไม่เผชิญหน้า เพือ่ ให้ ประสิทธิภาพด้านกระบวนการและด้านผลลัพธ์ เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด มีการติดตามและ ให้ข้อเสนอแนะในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ อย่าง ใกล้ชิดทั้งแบบประสานเวลา (Synchronous) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous) 3. ผลการศึกษาความก้าวหน้าในการ ใช้ ทั ก ษะการสอนของนั ก ศึ ก ษาครู พบว่ า นักศึกษาครูมีความก้าวหน้าในการใช้ทักษะการ สอนทั้ง 3 ทักษะ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เนื่องจาก การพัฒนาระบบการสอนจุลภาคฯ ได้พฒ ั นาและ ด�ำเนินการอย่างเป็นระบบ ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นการเตรียมความพร้อม โดยการจัดปฐมนิเทศเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ ขั้นตอนและกิจกรรมของการเรียนด้วยระบบ
การสอนจุ ล ภาคฯ ให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาครู และ อาจารย์นิเทศ ประกอบด้วย การปรับพื้นฐาน การฝึกใช้งานเว็บไซต์ระบบการสอนจุลภาคฯ (Google site) ห้ อ งเรี ย นการสอนจุ ล ภาค (Google classroom) และการใช้และติดตั้ง Mobile application ของ Google classroom, Google drive, G-mail ในโทรศัพท์มือถือ (Smart phone) เพื่อความสะดวก และเพิ่ม ช่องทางในการติดตามและเข้าร่วมกิจกรรมของ ระบบการสอนจุลภาคฯ ได้ทุกเมื่อ ช่องทางและ วิธีการ Download และ Upload ไฟล์รูปแบบ ต่าง ๆ ที่ใช้ในกิจกรรมการเรียน บทบาทของ นักศึกษาครูในฐานะของผู้ฝึก ในฐานะผู้วิจารณ์ และประเมิ น การสอน บทบาทของอาจารย์ นิเทศ อุปกรณ์และข้อก�ำหนดของการบันทึก และเผยแพร่วิดีทัศน์บันทึกการสอน ช่องทาง และหลั ก การวิ จ ารณ์ ก ารสอน หลั ก การและ วิธีการประเมินการสอนของตนเองและเพื่อน ร่วมชั้น รวมทั้งข้อปฏิบัติและข้อตกลงต่าง ๆ ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ ขั้ น ตอนการสอนจุ ล ภาคที่ มี การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ สาร ของ Zhang, Zhao, Shao and Bian (2009) และ Matt, Michael, Robyn and Mingming (2011) ขั้นตอนที่ 2 ขั้นการเตรียมก่อนสอน จุลภาค เป็นขั้นตอนที่นักศึกษาครูทบทวนความ รู้เกี่ยวกับหลักการ เทคนิค วิธีการใช้ทักษะการ สอนที่จะฝึกด้วยตนเองจากการร่วมกิจกรรม ตามชุดพัฒนาทักษะฯ ผ่านเว็บไซต์ระบบการ สอนจุลภาคฯ (Google site) และชั้นเรียน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
105
การสอนจุลภาค (Google classroom) และ น�ำความรู้ที่นั้นมาใช้ในการสังเกตวีดิทัศน์แบบ จ�ำลองการสอน เพื่อวิเคราะห์สิ่งที่ควรและไม่ ควรปฏิบัติ และเป็นแนวทางในการปฏิบัติการ สอนจุลภาค แสดงความคิดเห็นร่วมกันกับเพือ่ น ร่วมชัน้ เรียนและกับอาจารย์นเิ ทศ เขียนแผนการ สอนจุ ล ภาคที่ เ ลื อ กและก� ำ หนดสถานการณ์ การสอนด้วยตนเอง ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ยืดหยุ่น ทั้ ง การใช้ เ วลาการเรี ย นรู ้ การมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ การทบทวนไตร่ตรอง ตรวจสอบความรู้ ช่วย ให้ เ ห็ น ความส� ำ คั ญ และสามารถสร้ า งความ หมายในการเรียนรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถ น� ำ ความรู ้ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นขั้ น ตอนอื่ น ๆ ที่ เกี่ยวข้องได้ ซึ่งสอดคล้องกับขั้นตอนของการ สอนจุลภาคแบบดัง้ เดิมของ Allen (1963) Lang (1995) พึงใจ สินธวานนท์ (2516) Thomas (2013) เสริ ม ศรี ลั ก ษณะศิ ริ (2540) และ ทิศนา แขมมณี (2555) และขั้นตอนการสอน จุ ล ภาคอิ ง เทคโนโลยี ส ารสนเทศและสื่ อ สาร ของ Guirong, Guolin and Fenglian (2009) และ Matt, Michael, Robyn and Mingming (2011) และ Yu-Chih (2014) และสอดคล้อง กับการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) ตาม ทฤษฎี Constructivism และทฤษฎีการเรียนรู้ อย่างมีความหมายของ Ausubel (สุรางค์ โค้ว ตระกูล, 2554 และสุมาลี ชัยเจริญ, 2559) และ องค์ประกอบด้านการมีปฏิสัมพันธ์ ทรัพยากร สนับสนุนของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ สือ่ สารในการเรียนการสอนของ รัฐกรณ์ คิดการ (2551) ณัฐพล รําไพ (2554) และ Jonassen 106
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
(1993 อ้างถึงใน สุมาลี ชัยเจริญ, 2559) ขั้ น ตอนที่ 3 ขั้ น การปฏิ บั ติ ก ารสอน จุล ภาค เป็นขั้นตอนเชื่อมโยงความรู้ใ นภาค ทฤษฎีมาสูก่ ารปฏิบตั กิ ารใช้ทกั ษะการสอนนัน้ ๆ ตามแผนการสอนจุลภาคทีผ่ า่ นการประเมินและ ปรับปรุงแก้ไขตามค�ำแนะน�ำของอาจารย์นิเทศ บั น ทึ ก วิ ดี ทั ศ น์ ป ฏิ บั ติ ก ารสอนตามเงื่ อ นไข ที่ ก� ำ หนดและเผยแพร่ ใ นห้ อ งเรี ย นการสอน จุลภาค (Google classroom) เพื่อรับการ วิจารณ์และประเมินการสอน ซึ่งเป็นขั้นตอน ส�ำคัญที่ช่วยให้นักศึกษาครูพัฒนาการใช้ทักษะ การสอน เนื่องจากเป็นการให้ข้อมูลเชิงคุณภาพ อย่างรอบด้านทั้งสิ่งที่ปฏิบัติได้ดีและบกพร่อง ของการใช้ทกั ษะการสอนนัน้ ๆ (Edward, 2001 และ Maria, 2009) แม้การวิจารณ์การสอน ของระบบการสอนจุลภาคฯ ไม่สามารถท�ำการ วิจารณ์การสอนแบบทันทีทันใดได้ทั้งหมด แต่ จากการสั ง เกตการร่ ว มกิ จ กรรม พบว่ า ทั้ ง อาจารย์นิเทศและเพื่อนร่วมชั้นดูวิดีทัศน์บันทึก การสอน ร่วมวิจารณ์และประเมินการสอนได้ อย่างครบถ้วน ซึง่ เป็นการแก้ไขข้อจ�ำกัดของการ สอนจุลภาคแบบดั้งเดิม (Zhang, Zhao, Shao & Bian, 2009) อีกทัง้ การเผยแพร่วดิ ที ศั น์บนั ทึก การสอนในระบบออนไลน์ ยังช่วยลดข้อจ�ำกัด ในการเข้าถึง เป็นแหล่งข้อมูลส�ำคัญส�ำหรับ ผู้วิจารณ์การสอน ซึ่งสามารถใช้ระยะเวลาใน การการสังเกต วิเคราะห์ วิจารณ์และประเมิน การสอนได้อย่างรอบคอบ สอดคล้องกับผล การวิจัยของ Tülüce, Hande and Çeçen (2018)
ในส่ ว นการประเมิ น การปฏิ บั ติ ก าร สอนผู้วิจัยได้ออกแบบให้อยู่ในรูปแบบของการ ประเมินออนไลน์ ประกอบด้วยแบบประเมิน 3 ประเภท คือ แบบประเมินโดยอาจารย์นิเทศ เพือ่ ตัดสินผลการฝึก แบบประเมินโดยเพือ่ นร่วม ชั้นเรียนและแบบประเมินตนเองเพื่อเป็นข้อมูล ย้อนกลับ ซึ่งเป็นการประเมินที่ครอบคลุม ลด ความวิตกกังวลและการเผชิญหน้า รับรายงาน ผลเป็นรายบุคคล โดยแสดงผลการตัดสินการ ฝึก ข้อเสนอแนะจากการฝึกครั้งแรกและการ ฝึกซ�้ำ เพื่อให้เห็นความก้าวหน้าในการใช้ทักษะ การสอนของตนเอง จึงช่วยให้นักศึกษาครูมี แนวทางในการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง และ สามารถพัฒนาความก้าวหน้าในการใช้ทักษะ การสอนได้ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำงานวิจัยไปใช้ 1. ก่อนน�ำระบบการสอนจุลภาคฯ ไป ใช้ ควรมีการเตรียมความพร้อมทั้งในด้านเครื่อง มือ โครงสร้างพื้นฐาน เตรียมความพร้อมให้กับ นักศึกษาครูและอาจารย์นิเทศเกี่ยวกับการใช้ งาน และการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนผ่าน ระบบออนไลน์ 2. การเรียนด้วยระบบการสอนจุลภาคฯ เป็นกิจกรรมการเรียนที่ผู้เรียนมีบทบาทส�ำคัญ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบ เครือข่าย ผูส้ อนจึงมีบทบาทในการเป็นผูอ้ �ำนวย ความสะดวก กระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมกิจกรรม
ต่าง ๆ อย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งก�ำหนดกรอบ วัตถุประสงค์การเรียนรูแ้ ละระยะเวลาในการท�ำ กิจกรรมให้ชัดเจน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบรรลุ เป้าหมายในการฝึกทักษะการสอนได้ 3. การวิจารณ์การสอนเป็นกระบวน การส�ำคัญ จึงควรเป็นการวิจารณ์ที่มุ่งเน้นเพื่อ การพัฒนา ชี้แนะสิ่งที่ปฏิบัติได้ดีและแนวทาง ในการปรั บ ปรุ ง เพื่ อ เป็ น การเสริ ม แรงและ เป็นการให้กำ� ลังใจแก่นกั ศึกษาครู ดังนัน้ อาจารย์ นิเทศจึงควรให้ค�ำแนะน�ำ ก�ำกับและติดตามทั้ง นักศึกษาครูผู้ฝึกทักษะการสอนและเพื่อนร่วม ชัน้ เรียน ให้เห็นความส�ำคัญและสามารถวิจารณ์ การสอนได้อย่างเหมาะสม 4. การพั ฒ นาทั ก ษะการสอนต้ อ ง ใช้ ร ะยะเวลาและการฝึ ก ฝนอย่ า งสม�่ ำ เสมอ นักศึกษาครูจึงควรได้รับโอกาสในการฝึกทักษะ นั้น ๆ ซ�้ำ เพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง เพิ่ม ความมั่ น ใจ ความช� ำ นาญ และเชี่ ย วชาญ และนักศึกษาครูจะต้องเป็นผู้ที่มีวินัย มีความ กระตื อ รื อ ร้ น มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในการร่ ว ม กิจกรรมอย่างสม�่ำเสมอ รวมทั้งมีทักษะในการ คิดวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงการใช้ทักษะการสอน ของตนเอง และการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ตาม ระบบการสอนจุลภาคฯ ข้อเสนอแนะเพือ่ การวิจยั ในครัง้ ต่อไป 1. ควรมี ก ารพั ฒ นาระบบการสอน จุลภาคฯ ส�ำหรับการสอนเฉพาะสาขาวิชาเอก 2. ควรมีการพัฒนาระบบการนิเทศอิง เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารควบคู่กัน เพื่อ เป็นการสร้างเสริมประสบการณ์ของอาจารย์ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
107
ผูท้ �ำหน้าทีน่ เิ ทศการสอนให้แก่นกั ศึกษาครู เป็น ไปในทิศทางเดียวกัน 3. ควรมีการพัฒนาระบบหรือเครื่องมือ การประเมินการปฏิบัติการสอนจุลภาค และให้ ผลย้อนกลับในรูปแบบออนไลน์ทงี่ า่ ยและสะดวก รวดเร็วแก่อาจารย์นิเทศก์และนักศึกษาครู
กิตติกรรมประกาศ ขอบกราบขอบพระคุณส�ำนักงานการ อุดมศึกษา (สกอ.) ที่ได้อุดหนุนทุนการศึกษาใน โครงการพัฒนาอาจารย์และบุคคลากรส�ำหรับ สถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนาเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนใต้ ประจ�ำปี 2554
เอกสารอ้างอิง จันจลี ถนอมลิขิตวงค์ และฟารีดา สามะอาลี. (2555). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ยะลา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ณรงค์ กาญจนะ. (2553). เทคนิคและทักษะการสอนเบื้องต้น เล่ม 1. สงขลา: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา. ณัฐพล ร�ำไพ. (2554). การพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้ผ่านเว็บที่เสริมสร้างสมรรถนะของ นักศึกษาครู. ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, คณะ ศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรูเ้ พือ่ การจัดกระบวนการเรียนรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2545). นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพฯ: เจริญวิทย์. พิมพันธ์ เตชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2557). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. พึงใจ สินธวานนท์. (2516). การสอนแบบจุลภาคของวิทยาลัยครูธนบุรี. กรุงเทพฯ: การศาสนา. ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2553). สัตตสิกขาทัศน์ เจ็ดมุมมองการศึกษาใหม่ และการเรียนการสอนนอก กรอบ 7 ประการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต. ไพสิท พรหมรักษา. (2554). เส้นทางสร้างครู. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 9(1), 2-7. 108
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
รัฐกรณ์ คิดการ. (2551). การพัฒนารูปแบบการสอนบนเว็บ โดยใช้กลยุทธ์การจัดการความรูร้ ายวิชา เทคโนโลยีการศึกษา ในระดับอุดมศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิทยา คู่วิรัตน์. (2539). การพัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู โรงเรียนคาทอลิก อัครสังฆมณฑลกรุงเทพมหานคร. ดุษฎีนิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาบริหารการ ศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุมาลี ชัยเจริญ. (2559). การออกแบบการสอน หลักการ ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. ขอนแก่น: สาขา เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สุรางค์ โค้วตระกูล. (2554). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เสริมศรี ลักษณะศิร.ิ (2540). หลักการสอน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏพระนคร. อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2553). หลักการสอน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. อินทิรา บุณยาทร. (2542). หลักการสอน. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฎบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา. Allen, W. D. (1969). Microteaching. Boston: Addison-Wesley Publishing Company Inc. Matt, B., Michael, C., Robyn, M., & Ming, D. (2011). Developing communication competence using an online Video Reflection system: pre-service teachers’ experiences. Asia-Pacific Journal of Teacher Education, 39(4), 311-326. Thomas, J., & Diana, J. R. (2013). Microteaching revisited: Using technology to enhance the professional development of pre-service teacher. The Clearing House, 86, 50-62. Tülüce, H. S., & Çeçen, S. (2018). The use of video in microteaching: Affordances and constraints. ELT Journal: English Language Teaching Journal, 72(1), 73-82. Zhang, G., Zhao, L., Shao, F., & Bian, F. (2009). On the construction of net-based microteaching training mode. Second International Conference on Education Technology and Training, 2, 86-89. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
109
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความยึดมั่น ผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงาน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ THE DEVELOPMENT MODEL OF LEARNING ENGAGEMENT WITH PROJECT-BASED LEARNING TO ENHANEE INNOVATION, TECHNOLOGY AND INFORMATION COMPETENCIES FOR THE UNDER GRADUATE STUDENTS OF EDUCATION FACUITY, RAJABHAT UNIVERSITY ยุทธนา พันธ์ม1ี , ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์2, ประหยัด จิระวรพงศ์3 Yutthana Punmee1,Tipparats Sittiwong2, Brayat Jiravarapong3 1 อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก�ำแพงเพชร 2,3 อาจารย์ประจ�ำสาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ (1) สร้างและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตาม แนวคิ ด ความยึ ด มั่ น ผู ก พั น ร่ ว มกั บ การเรี ย น รู ้ แ บบโครงงานเพื่ อ ส่ ง เสริ ม สมรรถนะด้ า น นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ-์ ทางการเรี ย นก่ อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย นและ สมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต ร ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ (3) ศึกษา ความยึดมั่นผูกพันของนักศึกษาที่มีต่อการเรียน การสอนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน และ (4) ศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนการสอน 110
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ด้วยรูปแบบการเรียนการสอน นักศึกษากลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต จ�ำนวน 30 คน โดยการ เลื อ กแบบเจาะจง จากมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ก�ำแพงเพชร เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั (1) รูปแบบ การเรียนการสอนที่สร้างขึ้น (2) แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (3) แบบวัดความ ยึดมั่นผูกพัน (4) แบบประเมินสมรรถนะ และ (5) แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูล ทางสถิตโิ ดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลีย่ ส่วนเบีย่ ง เบนมาตรฐาน ค่าสถิติที่ทดสอบค่าที (t-test Dependent) ผลการวิจัย พบว่า (1) รูปแบบการเรียน การสอนมี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) หลักการ
แนวคิด (2) วัตถุประสงค์ (3) ขั้นตอนการเรียน การสอน คือ กระตุน้ ดึงดูดความสนใจ กระตุน้ ให้ ระลึกถึงความรู้เดิม แจ้งวัตถุประสงค์การเรียนรู้ น�ำเสนอสิ่งเร้าหรือสาระเนื้อหาใหม่ กระตุ้นให้ แสดงออกถึงความรู้ความสามารถ ให้แนวทาง การเรียนรู้ ประเมินผลการเรียนรู้ และส่งเสริม ความคงทนของความรู้ (4)สภาพแวดล้อมและ แหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ และมีประสิทธิภาพ 82.31/83.79 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) นักศึกษามีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ผลการประเมินตนเองสมรรถนะ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ที่สุด (3) นักศึกษามีความยึดมันผูกพันต่อการ เรียนการสอนโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยในระดับ มากทีส่ ดุ และ(4)นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการ เรียนการสอนโดยรูปแบบการเรียนการที่สร้าง ขึ้น โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ค�ำส�ำคัญ : รูปแบบการเรียนการสอน, ความยึด มั่นผูกพัน,การเรียนรู้แบบโครงงาน, สมรรถนะ Abstract The purposes of this study were (1) to develop the model of learning engagement with project-based learning to enhances innovation competencies technology and information for under graduate (2) to compare students learning
achievement after using the model learning engagement with project-based learning (3) study the engagement t of students to teaching and learning styles (4) to investigate students satisfaction towards model of learning engagement with project-based learning. Sample group 30 students derived by purposive selection. The research instruments were (1) the model of learning engagement with project-based learning (2) an achievement test (3) the learning engagement test, (4) students’ competencies evaluation 5) a quality appraisal form focused on the model of learning engagement with projectbased learning to enhance competencies for experts .an analyze data were percentage, mean, standard deviations and dependent single t-test for testing the research hypothesis. The research finding were as follows : (1) engagement with projectbased learning consist of 4 main components: (1.1) principles concept (1.2) objectives (1.3) instruction 8 step Motivate to attract attention, motivate to Recalling previous knowledge, inform learning objectives, offering new stimuli or content, motivate to Expressing เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
111
knowledge and ability, learning guidelines, evaluate learning and Promote Durability of knowledge and (1.4) environment and resources support and the efficiency of model at 82.31 /83.79 that it reveal criteria 80/80, (2) the students’ achievement score after using learning engagement with Project Based learning were higher than before using it at 0.5 level of statistical significance and self-evaluated their competencies by mean at highest level (3) students engagement of the model learning engagement with projectbased learning was at highest level and (4) students satisfaction of the model learning engagement with project-based learning was at highest level Keywords : Model of Learning, Engagement, Project-Based Learning, Competencies ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา สังคมโลกปัจจุบันเป็นโลกของยุคแห่ง ความรู้และข้อมูลข่าวสาร ผู้ใดมีความรู้และ ข้อมูลมากกว่าย่อมได้เปรียบกว่า ทั้งนี้เนื่องจาก ข้อมูลที่เป็นความรู้ได้เพิ่มขึ้นทุกวัน ไม่มีใคร สามารถสอนหรื อ ถ่ า ยทอดความรู ้ ที่ มี อ ยู ่ ไ ด้ ทั้งหมด มนุษย์จึงควรแสวงหาความรู้อย่างต่อ เนื่องด้วยตนเอง เพื่อไม่ให้กลายเป็นคนล้าหลัง เป็ น คนที่ ทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ ใ นโลกยุ ค ปั จ จุ บั น 112
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
การที่จะเรียนรู้วิธีการเรียนที่ถูกต้อง (Learn how to learn) จึงเป็นเรื่องที่จําเป็นอย่างยิ่ง โลกของการศึกษาได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง มากในศตวรรษที่ 21 เป็นยุคของเศรษฐกิจฐาน ความรู้ (Knowledge - Based - Economy) ที่ ปัจจัยและการผลิตกําลังเปลี่ยนไปเป็นพื้นฐาน แห่งความรู้ทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้ พื้นฐานในยุคดิจิทัล การคิดเชิงนวัตกรรมและ สร้ า งสรรค์ การสื่ อ สารอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล สอดคล้องกับแนวคิดพระราชบัญญัตสิ ภาครูและ บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 49 จึงก�ำหนดให้มมี าตรฐานวิชาชีพ 3 ด้าน ประกอบ ด้วย 1) มาตรฐานความรู้และประสบการณ์ วิชาชีพ 2) มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน 3) มาตรฐาน การปฏิบัติตน มาตรฐานการปฏิบัติงานและ มีมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่ แก้ไขเพิ่ม พ.ศ. 2545 ซึ่งน�ำไปสู่การออก พ.ร.บ. สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 และมีข้อบังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ และ จรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ. 2547 และประกาศ โดยคุ รุ ส ภา โดยสิ่ ง ที่ ส อดคล้ อ งส่ ว นหนึ่ ง ที่ ส�ำคัญคือมาตรฐานด้านความรู้ที่ 8 นวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา โดย มีสาระความรู้ประกอบด้วย 1) แนวคิดทฤษฎี เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษาที่ส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ 2) เทคโนโลยี และสารสนเทศ 3) การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิด จากการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีและสารสนเทศ 4) แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ 5)
การออกแบบ การสร้าง การน�ำไปใช้การประเมิน และการปรับปรุงนวัตกรรม และคุณลักษณะเชิง พฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะความ สามารถเลือกใช้ ออกแบบ สร้าง และปรับปรุง นวัตกรรมเพือ่ ให้ผเู้ รียน เกิดการเรียนรูท้ ดี่ ี ความ สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดี และความสามารถ แสวงหาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อส่งเสริม การเรียนรู้ของผู้เรียน ที่เรียกว่า “สมรรถนะ” เพื่อให้ผู้สอนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์และเป้า หมายการเรียนรู้รวมทั้งต้องฝึกฝนให้มีทักษะ หรือความช�ำนาญสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การพั ฒ นาครู ผู ้ ส อนและบุ ค ลากร ทางการศึกษาให้มีคุณภาพจ�ำเป็นต้องได้รับการ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สม�่ำเสมอ เพื่อให้ เป็นผู้มีวิสัยทัศน์รอบรู้ในเนื้อหาสาระที่จัดการ เรียนการสอน การปฏิบัติงานในหน้าที่และน�ำ สู่การปฏิบัติอย่างสม�่ำเสมอ การจัดการศึกษา ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพต้ อ งอาศั ย ครู มื อ อาชี พ ซึ่ ง มีคุณลักษณะส�ำคัญ 5 ประการ คือ 1) มีจิต วิญญาณความเป็นครู 2) มีทักษะวิชาชีพในการ พัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนเชิงบูรณาการ 3) สามารถพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคนิควิธีการ และกระบวนการจัดการเรียนรูท้ เี่ น้นสือ่ ICT 4) มี ความกระตือรือร้น สามารถใช้หลักเชิงวิทยาใน การดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ 5) สามารถใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ดังนั้น คุณภาพครู จึงเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อคุณภาพการจัดการ ศึกษาที่มีคุณภาพ เมื่อกล่าวถึงค�ำว่าคุณภาพครู นั้นมักกล่าวถึงค�ำว่าครูดีครูเก่ง ครูคุณภาพ ดังที่
Clark, J.C. and Walsh, J. (2007) กล่าวไว้ว่า คุณภาพครูเริ่มต้นที่ต้องมีความรู้พื้นฐาน ได้แก่ 1) ความรู้ในเนื้อหาวิชา 2) ความรู้เกี่ยวกับการ เรียนการสอนทั่วไป 3) ความรู้เรื่องหลักสูตร 4) ความรู้ใ นส่วนของเนื้อหาเกี่ยวกับวิธีการ เรียนการสอน 5) ความรู้เกี่ยวกับผู้เรียนและ คุณลักษณะผู้เรียน 6) ความรู้เกี่ยวกับผลผลิต ของการศึกษา จุดประสงค์และค่านิยม และ 7) ความรู้เกี่ยวกับบริบทของการศึกษา สมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา เป็นอีกหนึง่ สมรรถนะ ที่มีความส�ำคัญ คือ 1) ความสามารถเลือกใช้ ออกแบบ สร้าง และปรับปรุงนวัตกรรมเพื่อให้ผู้ เรียน เกิดการเรียนรูท้ ดี่ ี 2) ความสามารถพัฒนา เทคโนโลยีและสารสนเทศเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ที่ดี 3)ความสามารถแสวงหาแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน จึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่นักศึกษาวิชาชีพครู จะต้องได้รับการส่งเสริมพัฒนาเป็นไปตามข้อ ก�ำหนดของคุรุสภา ทิศนา แขมมณีและคณะ (2533, หน้า 148-149) ได้ เ สนอแนวคิ ด ว่ า ในการพั ฒ นา ทักษะการคิดของผูเ้ รียนสามารถท�ำได้โดย ผูส้ อน ต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม ซึ่งผู้ส อนต้องหาวิธีช ่วยให้ผู้เรียนเกิดการคิด หรือรู้จักคิด เพื่อน�ำไปสู่การแก้ปัญหา โดยเลือก ปัญหาที่มีความเหมาะสมมาใช้ในการฝึก กล่าว คือ เป็นปัญหาที่ท้าทายความสนใจของผู้เรียน มีความเกี่ยวพันกับสิ่งที่เรียนหรือชีวิตประจ�ำวัน ของผูเ้ รียน และเกิดจากความต้องการ สอดคล้อง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
113
กับแนวคิดการพัฒนาผูเ้ รียน Student engagement มาใช้สำ� หรับเป็นตัวประเมินผลการเรียนรู้ ของนักศึกษา หรือการพัฒนานักศึกษา โดยค�ำว่า Engagement มักใช้ในการอธิบายความหลาก หลายของพฤติกรรมและทัศนคติของนักศึกษา ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ เพื่ อ การสร้ า งเสริ ม คุณภาพของการเรียนรู้ในระดับปริญญาตรีให้ สูงขึ้น บางครั้ง Engagement จะใช้เพื่ออธิบาย ลักษณะ พฤติกรรมของนักศึกษาซึง่ กล่าวว่าพวก เขาเข้ามามีส่วนร่วมในมหาวิทยาลัยมากกว่า นักศึกษาคนอื่นๆ การน� ำ เอาแนวคิ ด ของ Student Engagement มาผนวกกับรูปแบบการเรียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐานก็ยิ่งเพิ่มกระบวนการ พั ฒ นาสมรรถนะของผู ้ เ รี ย นโดยรู ป แบบการ เรียนการสอน การเรียนแบบโครงงาน (ProjectBased Learning) คือ การเรียนรู้แบบโครง งานจะเน้นไปที่การลงมือปฏิบัติตามความสนใจ ของผู้เรียน เพื่อค้นพบสิ่งใหม่หรือความรู้ใหม่ ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยข้อค้น พบใหม่นั้นนักเรียนและครูไม่เคยทราบหรือมี ประสบการณ์มาก่อน โดยมีครูหรือผู้เชี่ยวชาญ เป็นที่ปรึกษา นักเรียนที่เรียนด้วยกระบวนการ นี้จะมีแรงจูงใจในการแก้ไขปัญหาสูง เชื่อมโยง ความรู้กับโลกความเป็นจริง นักเรียนจะเป็นผู้ เลือกวิธีการค้นหาค�ำตอบ ก�ำหนดแหล่งข้อมูล จากนั้นจะลงมือปฏิบัติและค้นคว้าด้วยตนเอง นักเรียนจะสามารถบูรณาการความรูแ้ ละทักษะ ในการแก้ปัญหา สรุปข้อค้นพบ และสร้างความ รู้ใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และ 114
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
สามารถน�ำไปใช้ในชีวิตจริงได้ (ปรียา บุญญสิริ, 2553; พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์, พเยาว์ ยินดีสุข และราเชน มีศรี, 2553) การเรียนรูแ้ บบโครงงาน นั้น มีแนวคิดสอดคล้องกับ John Dewey เรื่อง “learning by doing” ซึ่งได้กล่าวว่า “Education is a process of living and not a preparation for future living.” Bender, W. N. (2012) ซึ่งเป็นการเน้นการจัดการเรียนรู้ ที่ ใ ห้ นั ก เรี ย นได้ รั บ ประสบการณ์ ชี วิ ต ขณะที่ เรียน เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะต่างๆ ซึ่ง สอดคล้องกับหลักพัฒนาการคิดของ Bloom ทั้ง 6 ขั้น คือ ความรู้ความจ�ำ (Remembering) ความเข้าใจ (understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analyzing) การ ประเมินค่า (Evaluating) และ การคิดสร้างสรรค์ (Creating) ซึง่ การจัดการเรียนรูแ้ บบใช้โครงงาน เป็นฐาน นั้นจึงเป็นเป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่ถือได้ ว่าเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ การเรียนรูโ้ ดยลงมือท�ำเพือ่ ให้เกิดทักษะ และสอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรียนการ สอนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนแบบโครง งานเป็นฐาน (project based learning) ที่มี ใจจดจ่อมุ่งมั่นแน่วแน่อยู่กับเรื่องนั่นๆ ทั้งรับรู้ กระบวนการทีเ่ กิด และการรับรูผ้ ลทีเ่ กิด น�ำมาใช้ ตอบค�ำถามที่ตนตั้งขึ้นในใจ เกิดเป็นการเรียนรู้ ขึ้น การเรียนรู้โดยโครงงานเป็นฐานแม้จะเกิด การรับรู้ที่ดี แต่ก็อาจเกิดการเรียนรู้ที่ลึกและ เชื่อมโยงก็ได้ อยู่ที่การท�ำให้ผู้เรียนน�ำเอาการ รับรูม้ าท�ำให้เกิดการเรียนรูไ้ ด้อย่างลึกและเชือ่ ม โยงกว้างขวาง ตามระดับพัฒนาการทางสมอง
ของผู ้ เ รี ย นและถ่ า ยทอดออกมาเป็ น ความรู ้ ความช�ำนาญและทักษะเป็นสมรรถนะตามของ การเรียนรู้ ดังนั้นการศึกษาความยึดมั่นผูกพันกับ การเรียนการสอนรูปแบบโครงงานเป็นฐานที่ ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ของ นักศึกษาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพื่อ จะได้นำ� ผลการศึกษาไปเสนอแนะต่อผูเ้ กีย่ วข้อง ทุกฝ่ายได้มีโอกาสในการเตรียมความพร้อมใน การจัดการเรียนรู้ให้กับนักศึกษาวิชาชีพครู ที่ จะออกไปเป็นครูในอนาคตมีความพร้อมต่อการ เปลี่ยนแปลงสังคมแห่งการเรียนรู้เป็นบุคลากร ทางการศึกษาที่มีคุณภาพและเป็นก�ำลังในการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยต่อไป จุดมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่ อ สร้ า งและพั ฒ นารู ป แบบการ เรียนการสอนตามแนวคิดความยึดมั่นผูกพัน ร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริม สมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต ร ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียนและหลังเรียนและสมรรถนะด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ 3. เพื่ อ ศึ ก ษาความยึ ด มั่ น ผู ก พั น ของ นักศึกษาที่มีต่อการการเรียนการสอนด้วยรูป
แบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความยึดมั่น ผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่ง เสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ 4. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียน การสอนด้ ว ยรู ป แบบการเรี ย นการสอนตาม แนวคิดความยึดมัน่ ผูกพันร่วมกับการเรียนรูแ้ บบ โครงงานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย ราชภัฏ วิธีการด�ำเนินการวิจัย ขัน้ ตอนที่ 1 สร้างและหาประสิทธิภาพ รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความ ยึ ด มั่ น ผู ก พั น ร่ ว มกั บ การเรี ย นรู ้ แ บบโครง งานเพื่ อ ส่ ง เสริ ม สมรรถนะด้ า นนวั ต กรรม และเทคโนโลยี ส ารสนเทศทางการศึ ก ษา ของนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต ร ครุ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีรายละเอียดการขัน้ ตอน ด�ำเนินงาน 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1. รวบรวมเอกสาร ต�ำรา บทความ ทั้งแบบออนไลน์ การค้นคว้าเอกสารงานวิจัย ที่เกี่ยวกับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ตามแนวคิดการเรียนการสอนความยึดมัน่ ผูกพัน การเรียนรู้แบบโครงงาน อย่างน้อยอย่างละ 10 แหล่ง เพื่อน�ำมาศึกษาหลักการ แนวคิด และ ทฤษฎีสำ� หรับสร้างและหาประสิทธิภาพรูปแบบ การเรียนการสอน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
115
2. น�ำหลักการ แนวคิด ทฤษฎี จาก การศึกษามาเรียบเรียงล�ำดับความสอดคล้อง สาระส�ำคัญที่ตรงกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัย แนวทางการพัฒนางานวิจัย โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ (Analysis) บริบทที่เกี่ยวข้อง หลัง จากนั้นน�ำข้อมูลที่ได้มาออกแบบ (Design) ยก ร่างรูปแบบการเรียนการสอน และเครือ่ งมือวิจยั ประกอบด้วย ร่างรูปแบบการเรียนการสอนฯ ร่างคู่มือรูปแบบการเรียนการสอนฯ ร่างแผน จัดการเรียนรู้ มคอ.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน จ�ำนวน 30 ข้อ แบบวัดความยึดมัน่ ผูกพัน 3 องค์ประกอบ แบบประเมินสมรรถนะฯ 5 ด้าน แบบสัมภาษณ์พิจารณาความเหมาะสม ของรูปแบบ สื่อประกอบการเรียนการสอนและ บทเรียนออนไลน์ 3. สั ม ภาษณ์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญและผู ้ ท รง คุณวุฒิด้านการศึกษา ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่างๆดังนี้ 1) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านหลักสูตร และเนื้อหาวิชา 2) ผู้เชี่ยวชาญด้านวัดประเมิน ผล 3) ผู้เชี่ยวชาญทางด้านจิตวิทยาการศึกษา 4)ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ทางการศึกษา 5) ผู้เชี่ยวชาญด้านสมรรถนะ เป็นผูท้ มี่ ปี ระสบการณ์ในการถ่ายอดความรูแ้ ละ ประสบการณ์ซึ่งเกิดจากการรวมความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ ทัศนคติ และแรงจูงใจ ประสบ ความส�ำเร็จในการปฏิบตั งิ านตามบทบาทหน้าที่ อย่างโดดเด่น เป็นที่ยอมรับในด้านการศึกษา มี ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 10 ปี และมีคุณวุฒิ การศึกษาระดับปริญญาเอก โดยการน�ำเครื่อง มืองานวิจัยไปน�ำเสนอและสัมภาษณ์พิจารณา 116
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนการสอน และเครื่องมือวิจัยต่างๆ โดยการแสดงตัวอย่าง และน�ำเสนอแต่ละเครื่องมือ เพื่อให้ท่านได้เห็น ถึ ง ตั ว เครื่ อ งมื อ และแนวคิ ด ในการออกแบบ พัฒนา (Development) และจดบันทึกการให้ สัมภาษณ์เพื่อน�ำมาปรับปรุงต่อไป 4. ทดลองใช้และหาประสิทธิภาพของ รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความยึด มั่นผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อ ส่งเสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา นักศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็น นักศึกษาสังกัดคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏก�ำแพงเพชร ชั้นปีที่ 3 จ�ำนวน 1 หมู่ เรียน จ�ำนวน 22 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ตามขั้นการน�ำไป ใช้ (Implementation) ได้มาโดยการคัดเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling) ส�ำหรับ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชานวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา โดยมี กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม รูปแบบทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มีกระบวนการวัดผลประเมิน ผลการเรียนรู้ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลัง เรียน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน) โดยใช้สถิติ t-test แบบ Dependent sample ค่า t ที่ค�ำนวณได้คือ 26.80 กับค่าวิกฤตของ t ในตาราง เท่ากับ 1.72 ค่า t ที่ค�ำนวณได้มี ค่ามากกว่าค่าวิกฤตของ t ในตาราง แสดงว่า คะแนนการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนการ ทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่
ระดับ .05 (รัตนะ บัวสนธ์, 2551, หน้า 141) ขั้นการประเมินผล (Evaluation) และประเมิน ประสิทธิภาพสือ่ นวัตกรรม E1/E2 เกณฑ์ 80/80 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์,2533 หน้า 138-139) ขัน้ ตอนที่ 2 ทดลองใช้รปู แบบการเรียน การสอนตามแนวคิดความยึดมัน่ ผูกพันร่วมกับ การเรียนรูแ้ บบโครงงานเพือ่ ส่งเสริมสมรรถนะ ด้ า นนวั ต กรรมและเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ทางการศึกษา มีรายละเอียดการขัน้ ตอนด�ำเนิน งาน 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1. เตรียมความพร้อมก่อนการทดลอง ใช้รูปแบบการเรียนการสอน จัดประชุมเพื่อ บริหารตารางเรียนตารางสอนจ�ำนวนหมู่เรียน นักศึกษาทีล่ งทะเบียนเรียนในรายวิชานวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา และ ความพร้อมห้องปฏิบัติการ ของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก�ำแพงเพชร ประจ�ำภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 และเตรียมการ จัดการเรียนการสอนตามรูปแบบที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย เอกสารประกอบการสอน รายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา แผนจัดการเรียนรู้ มคอ.3 แหล่งเรียน รู้บนเครือข่ายโดยก�ำหนด บทเรียนออนไลน์ e-learning ที่อยู่ http://innovation.kpru. ac.th และ http://lms.kpru.ac.th พร้อมสื่อ บรรยายตามเนื้อหาสาระ จัดตั้งแฟนเพจเครือ ข่า ยสั งคมออนไลน์เ พื่อใช้ในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ รายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ที่อยู่คือ https://web. facebook.com/innovation.kpru.ac.th/ และ
เครื่องมือส่งงาน https://classroom.google. com แบบบันทึกข้อมูลระหว่างเรียน ประกอบ ด้วย แบบบันทึกผลการเรียนรายบุคคล แบบ ประเมินสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา แบบวัดความยึดมั่น ผูกพันในการเรียน และแบบประเมินความพึง พอใจ 2. ทดลองใช้ รู ป แบบการเรี ย นการ สอนตามแนวคิดความยึดมั่นผูกพันร่วมกับการ เรี ย นรู ้ แ บบโครงงานเพื่ อ ส่ ง เสริ ม สมรรถนะ ด้ า นนวั ต กรรมและเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ทางการศึกษา กับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ชั้นปีที่ 4 จ�ำนวน 1 หมู่ เรียน จ�ำนวน 30 คน นักศึกษากลุ่มทดลอง ได้ มาโดยการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และการทดลองใช้และประเมินรูป แบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความยึดมั่น ผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่ง เสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา ของนักศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ โดย ใช้ แ บบแผนการวิ จั ย แบบกลุ ่ ม เดี ย วทดสอบ ก่อนและหลังทดลอง (One Group Pretest Posttest Design) แบบแผนการทดลอง (รัตนะ บัวสนธ์, 2551, หน้า 65) 3. วิเคราะห์ผลการทดลองใช้รูปแบบ การเรียนการสอน ดังต่อไปนี้ 1)ทดสอบความ แตกต่ า งของคะแนนแบบทดสอบก่ อ นเรี ย น และหลังเรียนโดยการประเมินสมรรถนะความ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
117
ก้ า วหน้ า ของ สมรรถนะด้ า นสมรรถนะด้ า น นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางของ นักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต โดยใช้สถิติ t-test แบบ Dependent sample (บุญชม ศรีสะอาด, 2545, 112) 2) ค่า t ที่ค�ำนวณได้คือ 21.03 กับค่าวิกฤตของ t ในตาราง เท่ากับ 1.69 ค่า t ที่ค�ำนวณได้มีค่ามากกว่าค่าวิกฤตของ t ใน ตาราง แสดงว่าคะแนนการทดสอบหลังเรียน สูงกว่าคะแนนการทดสอบก่อนเรียน อย่างมี นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 วัดความยึดมั่น ผู ก พั น ในการเรี ย นของนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รครุ ศาสตรบัณฑิต จ�ำนวน 30 คน โดยการประเมิน ตนเองจากแบบวั ด ความยึ ด มั่ น ผู ก พั น ในการ เรียนแบบออนไลน์ ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ และ ประเมินสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทาง โดยการประเมินพฤติกรรมของ นักศึกษา จากการเรียนการสอนที่ผ่านการใช้รูป แบบการเรียนการสอนตามแนวคิดยึดมั่นผูกพัน ร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงาน ลักษณะเป็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแนวคิดของลิเคริท์ (ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ, 2538, 184) ขั้ น ตอนที่ 3 ศึ ก ษาผลการใช้ รู ป แบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความยึด มั่ น ผู ก พั น ร่ ว มกั บ การเรี ย นรู ้ แ บบโครงงาน เพื่ อ ส่ ง เสริ ม สมรรถนะด้ า นนวั ต กรรมและ เทคโนโลยี ส ารสนเทศทางการศึ ก ษาของ นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รครุ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต มหาวิทยาลัยราชภัฏ คือ ส�ำรวจความพึงพอใจของ 118
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
นักศึกษาที่เรียนรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปี ที่ 4 จ�ำนวน 30 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) มีรายละเอียด การขั้นตอนด�ำเนินงาน 3 ขั้นตอน 1. การสร้ า งแบบสอบถามความพึ ง พอใจเกี่ยวกับการความคิดเห็นความพึงพอใจ ต่อการเรียนการสอน โดยศึกษาเอกสาร ต�ำรา ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบประเมินความพึง พอใจ เลือกชนิดและรูปแบบค�ำถาม แบ่งแบบ สอบถามออกเป็น 3 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 สภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึง พอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอน 1 และตอนที่ 3 ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ หลังจากนัน้ น�ำ แบบสอบถามฉบับร่างเสนอต่ออาจารย์ทปี่ รึกษา และผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของแบบสอบถามความพึง พอใจซึง่ มีลกั ษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแนวคิดของ ลิเคริท์ (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538, 183-184) 2. กระบวนการเก็ บ ผลการประเมิ น ความพึงพอใจการด�ำเนินการหลังการทดลอง โดยท� ำ การแบบประเมิ น หลั ง เรี ย นรายวิ ช า นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึ ก ษา ของนั ก ศึ ก ษาครุ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต ด้ ว ย กิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียน การสอนตามแนวคิดยึดมั่นผูกพันร่วมกับการ เรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้าน
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ ของภาคเรียนที่ 2 ปีการ ศึกษา 2560 เป็นระยะเวลา 16 สัปดาห์ โดย ท�ำการเก็บคะแนนระหว่างเรียน หลังจากจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา ด้วยรูปแบบการเรียนการสอน แล้วท�ำการทดสอบด้วยแบบทดสอบหลังเรียน ชุดเดียวกับที่ใช้ในการทดสอบก่อนเรียน โดย การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลีย่ ระหว่างก่อนและหลังทดลองใช้รปู แบบการเรียน การสอน โดยใช้สถิติทดสอบทีแบบไม่อิสระ การประเมิ น ผลงานการพั ฒ นาสื่ อ นวัตกรรมจากการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียน การสอน และน�ำเสนอต่อสาธารณะ ซึ่งผลงาน เว็บไซต์ได้มีการน�ำเสนอสู่สาธารณชน โดยใช้ เครื่องแม่ข่าย (Web Server) ของมหาวิทยาลัย http://innovation.kpru.ac.th อีกทั้งมีการ ประเมินผลความยึดมั่นผูกพันในการเรียน ใน รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน หลังเรียนกระบวนการประเมินสมรรถนะด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึ ก ษาในรายวิ ช านวั ต กรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา โดยใช้รูปแบบการ เรียนการสอนฯ หลังเรียน สุ ด ท้ า ยผู ้ ส อนอภิ ป รายสรุ ป ผลการ เรียนรู้จากจุดประสงค์รายวิชาฯ และให้ผู้เรียน ได้ประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียน
การสอนของรายวิชา และน�ำผลการประเมินไป วิเคราะห์ผล 3. น�ำแบบสอบถามความพึงพอใจต่อ การเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียนการสอน ตามแนวคิดยึดมั่นผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบ โครงงานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของ นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รครุ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต คณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ แบ่งออกเป็น 6 ด้าน จ�ำนวน 30 ข้อ ประกอบด้วย ด้านผู้สอน ด้านเนือ้ หา ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ด้าน สิง่ สนับสนุนการเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมิน ผลการเรียน และด้านผู้เรียน โดยประเมินความ พึงพอใจหลังเรียนและน�ำมาวิเคราะห์ มีลกั ษณะ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามแนวคิดของลิเคริ์ท (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538, 183-184) การวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจต่อ รูปแบบการเรียนการสอน ของนักศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต ที่มีต่อการเรียนการสอนด้วย รูปแบบการเรียนการสอนฯ โดยน�ำข้อมูลมา ค�ำนวณหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนความเหมาะสม และความเป็ น ไปได้ แล้วน�ำผลมาแปลความหมาย โดยภาพ รวมมีสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึ ก ษา อยู ่ ใ นระดั บ มาก ( = 4.49, S.D. =0.57) เมื่อพิจารณาแต่ละ รายการ พบว่ารายการที่มีคะแนนค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ( = 4.52, S.D. = 0.60) รองลงมาคือ ด้านผู้เรียน อยู่ใน เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
119
ระดับมากที่สุด ( = 4.51, S.D. =0.60) รองลง มาคือด้านแหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ ( = 4.49, S.D. =0.48) รองลงมาคือ ด้านเนื้อหา อยู่ใน ระดับมาก ( = 4.48, S.D. =0.58) และรายการ ที่มีคะแนนค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านผู้สอน ( = 4.45, S.D. =0.55) เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจ ของของนักศึกษา ใช้เกณฑ์ค่าเฉลี่ยไม่ต�่ำกว่า 3.50 คะแนน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานไม่ เกิน 1.00 ถือว่ามีความพึงพอใจ ถ้าไม่เป็นไป ตามเกณฑ์ดังกล่าวจะต้องน�ำไปจัดท�ำไปสู่การ พัฒนาการเรียนการสอนต่อไป (รัตนะ บัวสนธ์, 2552, 48) สรุปผลการวิจัย 1. ผลการสร้างและพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอน จากการพิจารณาความเหมาะสม โดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ด้านองค์ประกอบของรูป แบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความยึดมั่น ผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่ง เสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึ ก ษา จากผู ้ เ ชี่ ย วชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.63, S.D.=0.48) ซึ่งประกอบไปด้วย หลัก การแนวคิด วัตถุประสงค์ ขั้นตอนการเรียนการ สอน และสภาพแวดล้อมสิง่ สนับสนุนการเรียนรู้ ความเหมาะสมด้านกิจกรรมการเรียนการสอน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.62, S.D.=0.57) ด้านการน�ำรูปแบบการเรียนการ สอนไปใช้ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 120
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
4.00, S.D.=0.52) ประสิ ท ธิ ภ าพของรู ป แบบการเรี ย น การสอน โดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน ของ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 ประจ�ำภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 พบ ว่า คะแนนการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนน การทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และมีผลการทดสอบประสิทธิภาพ รูปแบบการเรียนการสอน E1/E2 พบว่า ผลการ ทดลองประสิทธิภาพรูปแบบการเรียนการสอน 82.31/83.79 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 2. ผลการเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นก่ อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย น และ สมรรถนะด้ า นนวั ต กรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่า คะแนนการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนการ ทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และมีผลคะแนนร้อยละความก้าวหน้า ของนักศึกษาทุกคน โดยมี ผ ลการประเมิ น สมรรถนะด้ า น นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา ของนักศึกษาทีเ่ รียนในรายวิชานวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ด้วย รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความยึด มั่นผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อ ส่งเสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ โดย
นั ก ศึ ก ษาประเมิ น หลั ง จากจั ด กิ จ กรรมการ เรียนการสอนเสร็จเรียบร้อย พบว่า นักศึกษา มี ส มรรถนะด้ า นนวั ต กรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา แบ่งเป็น 5 ด้าน คือ 1) ด้านความสนใจและศึกษาหาความรู้และ เทคโนโลยีใหม่ๆ 2) ด้านการน� ำความรู้และ เทคโนโลยีใหม่ๆ มาปรับปรุง การเรียนรู้ตนเอง 3) ด้านการน�ำความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ มา ปรับปรุง แก้ไข การเรียนรู้ตนเอง 4) ด้านการน�ำ ความรูแ้ ละเทคโนโลยีใหม่ๆ มาพัฒนาการเรียนรู้ ตนเอง และ 5)ด้านการน�ำความรูแ้ ละเทคโนโลยี ใหม่ๆ มาใช้ และถ่ายทอดให้ผอู้ นื่ ได้ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.52, S.D.=0.54) 3. ผลการประเมินความยึดมั่นผูกพัน ในการเรี ย นของนั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นในรายวิ ช า นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึ ก ษา ด้ ว ยรู ป แบบการเรี ย นการสอนตาม แนวคิ ด ความยึ ด มั่ น ผู ก พั น ร่ ว มกั บ การเรี ย น รู ้ แ บบโครงงานเพื่ อ ส่ ง เสริ ม สมรรถนะด้ า น นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ พบว่า นักศึกษามีความ ยึดมันผูกพันในการเรียน ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้าน แรงจูงใจในการเรียน ด้านพฤติกรรมในการเรียน และด้านเจตคติต่อการเรียน โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับมากที่สุด ( = 4.51, S.D.=0.59) 4. ผลการศึ ก ษาความพึ ง พอใจต่ อ การเรี ย นการสอนด้ ว ยรู ป แบบการเรี ย นการ สอนตามแนวคิดความยึดมั่นผูกพันร่วมกับการ เรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้าน
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่า นักศึกษามีความ พึงพอใจต่อการเรียนการสอน โดยภาพรวมอยู่ ในระดับมาก ( = 4.49, S.D.=0.57) อภิปรายผลการวิจัย 1. ผลจากการพัฒนารูปแบบการเรียน การสอนตามแนวคิดความยึดมั่นผูกพันร่วมกับ การเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รครุ ศ าสตร บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชื่อว่าเป็นรูปแบบ การเรี ย นการสอนที่ มี ก ระบวนการออกแบบ และพัฒนาตามหลักการและแนวคิดอย่างเป็น ระบบและขั้นตอน ของกระบวนการพัฒนาระบบการเรียนการสอน ทีเ่ กิดจากการวิเคราะห์ และสั ง เคราะห์ ห ลั ก การ แนวคิ ด ทฤษฎี การออกแบบรู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ มี กระบวนการตรวจสอบ และน�ำไปทดลองใช้เพือ่ หาประสิทธิภาพ และประเมินผลการใช้รูปแบบ การเรียนการสอน มีนกั ศึกษาหลักสูตรครุศาสตร บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ กลุ่มทดลอง พบ ว่า นักศึกษามีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา รหัสวิชา 1032201 โดยใช้รูป แบบการเรียนการสอนตามแนวคิดความยึดมั่น ผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่ง เสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตร เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
121
ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ มีผล คะแนนผลสั ม ฤทธิ์ ห ลั ง เรี ย นสู ง กว่ า คะแนน ก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคล้องกับศศิธร รณะบุตร (2558) ของการ ศึกษาและพัฒนาความมุ่งมั่นในการเรียนของ นักเรียนระดับปริญญาตรีสาขาการศึกษาปฐมวัย มีองค์ประกอบของรูปแบบฝึกอบรมแบบ 4A ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ขั้นการ สร้างบรรยากาศ (Atmosphere) ขั้นการเรียน รู้จากการปฏิบัติ (Active Learning) ขั้นการ วิเคราะห์ (Analysis) และขั้นการน�ำไปประยุกต์ (Applications) ซึ่งมีคุณภาพเหมาะสม ผลการ พัฒนาความมุง่ มัน่ ในการเรียนของนักศึกษา พบ ว่า รูปแบบที่พัฒนาขึ้นสามารถพัฒนาความมุ่ง มั่นในการเรียนของนักศึกษาโดยมีคะแนนหลัง ทดลองสูงกว่าก่อนทดลองคะแนนนักศึกษาใน กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 อีกทั้งยังสอดคล้องกับ องค์ประกอบของ การการประสบความส�ำเร็จในการท�ำงานของ ครูต้องมี ความรัก ความศรัทธาในวิชาชีพ ความ ทุ่มเท กระตือรือร้นในการท�ำงาน และการได้รับ การสนับสนุนทางสังคมที่เกี่ยวข้องจะเป็นแรง ผลักดันให้ครูค้นหาสิ่งใหม่ๆ และรูปแบบใหม่ใน การพัฒนาวิชาชีพและสร้างความมัน่ ใจในตัวเอง (Sharp et al., 2003) นอกจากจะได้ความรู้ ได้ พัฒนาระดับความเข้าใจและได้พบความท้าทาย ใหม่ ๆ แล้ว ครูยงั ได้พฒ ั นาคุณภาพของการเรียน รูแ้ ละการสอนในขณะเดียวกัน (Handscomb & Macbeath, 2003) เกิดทักษะการเรียนรูท้ เี่ รียน กว่า Life-Long Learning 122
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิด ความยึ ด มั่ น ผู ก พั น ร่ ว มกั บ การเรี ย นรู ้ แ บบ โครงงานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาของ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย ราชภัฎ ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบ 4 ส่วน ดังนี้ 1. หลักการและแนวคิดของรูปแบบการ เรียนการสอน 2. วัตถุประสงค์ของรูปแบบการเรียน การสอน 3. ขั้นตอนการเรียนการสอน 4. สภาพแวดล้อมและแหล่งสนับสนุน การเรียนรู้ โดยมีรายละเอียดขัน้ ตอนการสอน 4 ขัน้ ตอนหลัก และมีขั้นตอนย่อย 8 ขั้นตอน ด�ำเนิน การเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา มคอ.3 ของมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ มาตรฐานที่ 8 ซึ่งสามารถอธิบายขั้นตอนการ ด�ำเนินการเรียนการสอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ความรัก Love คือ เสริมสร้าง ความรัก ความศรัทธา เห็นคุณค่าและตระหนัก ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการพั ฒ นาตนเองในด้ า น นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา มีความพร้อมส�ำหรับการเป็นครูในอนาคต โดยผูส้ อนมีการเตรียมความพร้อมในการพัฒนา ผู้เรียนด้วยใจรัก ประกอบด้วย 1)การกระตุ้น ดึงดูดความสนใจความสามารถผู้เรียน เป็นการ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถรับสิ่งเร้า มีความพร้อม
เรียนรูด้ ว้ ยความรัก และตัง้ ใจ 2) กระตุน้ ให้ระลึก ถึงความรู้เดิม ความถนัด เป็นการช่วยให้ผู้เรียน ดึงข้อมูลเดิม เชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ ขั้นที่ 2 ความพึงพอใจ Like คือ ส่งเสริม ความรูด้ า้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการ ความถนัด และความชอบและร่วมกันก�ำหนด จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ ร ่ ว มกั น และสร้ า งแรง จูงใจผู้เรียนมีเป้าหมายในการเรียน เพื่อให้เกิด ความมุ่งมัน ตั้งใจ ทุ่มเท ประกอบด้วย 1) แจ้ง วัตถุประสงค์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนทราบ เป็นการ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการรับรู้และคาดหวัง 2) น�ำ เสนอสิ่งเร้าหรือสาระเนื้อหาใหม่ เป็นการช่วย ให้ผเู้ รียนเห็นความส�ำคัญของสิง่ เร้าอย่างชัดเจน สอดคล้องกับ กับทฤษฎีของ (Ames. 1992) ที่ ระบุว่าบุคคลจะรับเอาเป้าหมายของชั้นเรียนไป เป็นเป้าหมายของตนเองซึ่ง ขั้นที่ 3 การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะ Learning skills คือ พัฒนาทักษะการออกแบบ และพั ฒ นาสื่ อ นวั ต กรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา ตามแนวคิดการเรียน รูแ้ บบโครงงาน 6 ขัน้ คือ การเตรียมความพร้อม การก�ำหนดและเลือกหัวข้อ การเขียนเค้าโครง งาน การปฏิบัติโครงงาน การน�ำเสนอผลงาน และการประเมินผลโดยผู้สอน ประกอบด้วย 1) กระตุ้นให้ผู้เรียนได้แสดงออกถึงความรู้ความ สามารถ ตอบสนองต่อสิง่ เร้าและสาระการเรียนรู้ ด้วยความรูส้ กึ อยากท�ำ 2) ให้แนวทางการเรียนรู้ หรือจัดระบบข้อมูล เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถท�ำความเข้าใจ เร็วและ
ง่ายขึ้น อ�ำนวยความสะดวกให้ผู้เรียน ซึ่งเป็นสาระความรู้และทักษะในการ พัฒนาสือ่ นวัตกรรมเทคโนโลยีสารนเทศทางการ ศึกษา และหาคุณภาพพร้อมน�ำเสนอผลงาน ขั้นที่ 4 การเรียนรู้ตลอดชีวิต LifeLong Learning คือ วัดผลประเมินผลด้าน เจตคติ คือความยึดมั่นผูกพันในการเรียน ด้าน ความรู้คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ ด้านทักษะความรู้ความสามารถด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา จาก กระบวนการเรี ย นการสอนเพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก าร พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง 1) ประเมินผลการ แสดงออกของผู้เรียนด้านความรู้สึก ความรู้ ความสามารถ ในการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่ ตั้งไว้ 2) ส่งเสริมความคงทนของความรู้ โดยให้ ผู้เรียนได้ฝึกฝนพัฒนาทักษะเห็นผลส�ำเร็จของ การพัฒนา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ อย่างลึกซึ้ง 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการ ทางการเรี ย นสมรรถนะด้ า นนวั ต กรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาก่อนเรียน และหลังเรียน ของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร บั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ของนั ก ศึ ก ษา หลั ก สู ต ร ครุ ศ าสตรบั ณ ฑิ ต จากการศึ ก ษา รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา รหัสวิชา 1032201 โดยใช้รปู แบบ การเรี ย นการสอนตามแนวคิ ด ความยึ ด มั่ น ผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่ง เสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตร เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
123
ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ พบว่า นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต โดยภาพรวม อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ ( = 4.52, S.D. =0.54) เมือ่ พิจารณาแต่ละรายการทีม่ คี า่ เฉลีย่ สูงสุด คือ ด้าน ความสนใจและศึกษาหาความรู้และเทคโนโลยี ใหม่ๆ มีคะแนนค่าเฉลีย่ รองลงมา คือ ด้านการน�ำ ความรูแ้ ละเทคโนโลยีใหม่ๆ มาพัฒนาการเรียนรู้ ตนเอง รองลงมา คือ ด้านการน�ำความรู้และ เทคโนโลยีใหม่ๆ มาปรับปรุง การเรียนรู้ รองลง มา คือ ด้านการน�ำความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ มาปรับปรุง แก้ไขการเรียนรูต้ นเอง และรายการ ที่มีคะแนนค่าเฉลี่ยต�่ำสุด คือ ด้านการน�ำความรู้ และเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ และถ่ายทอดให้ผอู้ นื่ ได้ ซึ่งถ้าพิจารณาแล้วสมรรถนะด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยี ส ารสนเทศทางการศึ ก ษาที่ มี คะแนนค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ คือ ด้านความสนใจ และศึกษาหาความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ จะ สอดคล้องกับความยึดมันผูกพันในการเรียนคือ ด้านเจตคติ ซึ่งส่งผลการเรียนรู้และสอดคล้อง กับทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์ (Maslow, Abraham. 1970.) ซึ่ ง สามารถยื น ยั น ได้ ว ่ า ความยึดมั่นในการเรียนส่งผลต่อการเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และผล สัมฤทธิท์ างการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนมา เปรียบเทียบ พบว่า ผู้เรียนทุกคนมีพัฒนาการ เรียนรูด้ ว้ ยกระบวนการเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็น ฐาน สอดคล้องกับ (ก�ำพล วิลยาลัย 2560) การ สอนแบบโครงงานคอมพิวเตอร์ เป็นกิจกรรมการ เรียนรู้ที่จะช่วยให้นักเรียนเกิดสมรรถนะส�ำคัญ 5 สมรรถนะตามหลักสูตรแกนกลาง คือ ความ 124
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
สามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิตและความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี 3. ผลการศึ ก ษาความยึ ด มั่ น ผู ก พั น ในการเรียนของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร บัณฑิต จากการศึกษารายวิชานวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา รหัสวิชา 1032201 โดยใช้ รูปแบบการเรียนการสอน ตามแนวคิ ด ความยึ ด มั่ น ผู ก พั น ร่ ว มกั บ การ เรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ ผลการทดสอบความยึดมัน่ ผูกพันในการเรียนของนักศึกษากลุม่ ทดลอง พบ ว่า นักศึกษามีความยึดมันผูกพันกับการเรียนทัง้ สามด้าน โดยภาพรวม ( = 4.51, S.D.=0.59) อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ เมือ่ พิจารณาแต่ละรายการ อยู่ในระดับมากที่สุด ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านเจตคติ ต่อการเรียนมี ที่แสดงออกถึงความสามารถใน การรับรู้ตอบสนอง รัก ศรัทธา เห็นคุณค่า และ มีลักษณะนิสัยส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ( = 4.52, S.D.=0.59) อยู่ในระดับมากที่สุด และด้าน พฤติกรรมในการเรียนเป็นทักษะในปรับปรุง แก้ไข พัฒนาสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศนวัตกรรม ทางการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยความ กระตือรือร้น และเอาใจใส่มีการปรับตัวในการ พัฒนาการเรียนรู้ของตนเองท�ำให้มีพัฒนาการ ด้านความรู้และทักษะ ( = 4.52, S.D.=0.58)
อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ รองลงมา คือ ด้านแรงจูงใจ ในการเรียน ที่แสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาการ การเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา ด้วยความพยายามและอดทน มีแรงจูงใจ มุง่ มัน่ จากแรงบันดาลใจและเป้าหมายความเป็น ครูรุ่นใหม่ ( = 4.50, S.D.=0.59) อยู่ในระดับ มากที่สุด ทั้งนี้ความยึดมันผูกพันในการเรียน ของนักศึกษามีความสัมพันธ์กันอย่างเห็นได้ชัด คือผลสัมฤทธิท์ างการเรียนจะมีทศิ ทางการเดียว กับความต้องการ ความถนัด และความสนใจ สอดคล้องกับ พรรณี ช. เจนจิต (2538 : 463) ทฤษฏีความต้องการของมาสโลว์ (Maslow) โดย ธรรมชาติแล้วมนุษย์เกิดมาดีและพร้อมที่จะท�ำ สิ่งดี ถ้าความต้องการของมนุษย์ได้รับการตอบ สนองอย่างเพียงพอ และมองเห็นว่ามนุษย์ทกุ คน ล้วนแต่มีความต้องการที่จะสนองความต้องการ ให้กับตนเองทั้งสิ้น ซึ่งความต้องการมนุษย์ มี มากมายหลายอย่ า งด้ ว ยกั น เขาได้ น� ำ ความ ต้องการเหล่านั้นมาจัดเรียงเป็นล�ำดับจากขั้น ต�่ำไปขั้นสูงสุดเป็น 5 ขั้น และเมื่อตนเองมีความ ต้ อ งการสิ่ ง ใดก็ จ ะสามารถท� ำ สิ่ ง นั้ น ได้ ดี ด ้ ว ย ความปรารถนาของตนเอง ส่งผลการแสดงออก ถึงความรู้ความสามารถคือด้านพฤติกรรมใน การเรียน ซึง่ ในทีน่ คี้ อื ความรูค้ วามสามารถด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา ทีผ่ วู้ จิ ยั ต้องการให้เกิดกับนักศึกษาทีเ่ รียน ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น 4. จากผลการใช้รูปแบบการเรียนการ สอนตามแนวคิดความยึดมั่นผูกพันร่วมกับการ
เรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎ ที่จะต้องน�ำแนวทางการ วิ จั ย นี้ ไ ปใช้ ใ นการจั ด การเรี ย นการสอนของ นักศึกษากลุ่มอื่นต่อไป จึงมีความต้องการศึกษา ความพึงพอใจของผูเ้ รียนเพือ่ น�ำผลการประเมิน ไปปรับปรุงการเรียนการสอนครั้งต่อไป และผล การประเมินความพึงพอใจครัง้ นี้ พบว่า โดยภาพ รวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.49, S.D.=0.57) เมื่อพิจารณาแต่ละรายการพบว่ารายการที่มี คะแนนค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านกิจกรรมการ เรียนการสอน ทั้งนี้จากผลการประเมินความพึง พอใจดังกล่าวจึงท�ำให้เห็นว่าผู้เรียนมีความพึง พอใจต่อสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาหลังเรียน ของตนเอง และสอดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารวิ จั ย คื อ ความยึดมันผูกพันในการเรียนส่งผลการต่อการ เรียนรูต้ ามความต้องการและมีความรูแ้ ละทักษะ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษาตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ข้อเสนอแนะ จากงานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบ การเรี ย นการสอนตามแนวคิ ด ความยึ ด มั่ น ผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่ง เสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ ผู้วิจัยมี ข้อเสนอแนะดังนี้ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
125
ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจยั ไปใช้ 1. ผลการวิ จั ย การพั ฒ นารู ป แบบ การเรี ย นการสอนตามแนวคิ ด ความยึ ด มั่ น ผูกพันร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่ง เสริมสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาของนักศึกษาหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีขั้น ตอนการเรียนการสอน 4 ขั้นตอน คือ 1) ความ รัก Love 2) ความพึงพอใจ Like 3) การเรียน รู้เพื่อพัฒนาทักษะ Learning skills และ 4) การเรียนรู้ตลอดชีวิต Life-Long Learning มี ประสิทธิภาพน�ำไปใช้จัดการเรียนการสอนและ ส่งผลคือนักศึกษามีความยึดมันผูกพันกับการ เรียนนักศึกษามีสมรรถนะด้านนวัตกรรมและ เทคโนโลยีและสารสนเทศระดับดีเยี่ยมมากกว่า ร้อยละ 80 ซึ่งสมารถน�ำรูปแบบการเรียนการ สอน และเครื่องมือไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่น ที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน 2. จากการศึ ก ษาเอกสาร ต� ำ รา บทความวิชาการและงานวิจัย และข้อเสนอ แนะผูเ้ ชีย่ วชาญเพือ่ สนับสนุนการวิจยั ปรากฏว่า การจัดการเรียนการสอนรูปแบบ มีแนวทางการ พัฒนาสมรรถนะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษาได้เป็นอย่างดี จาก กระบวนการย่อยและความตั้งใจของผู้สอน แต่ เนื่องจากการน�ำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ไป ขยายผลต่อผูส้ อนท่านอืน่ ๆ ควรได้รบั การพัฒนา และปรับปรุงในขัน้ ตอนย่อยด้วยการระดมสมอง ของผู ้ ส อนในรายวิ ช าเดี ย วกั น เพื่ อ ให้ มี ค วาม เข้าใจตรงกันและสามารถน�ำไปใช้และขยายผล 126
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ต่อไป 3. การน�ำรูปแบบการเรียนการสอนไป ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้สอนควรต้องเตรียม ความพร้อม เพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรูใ้ ห้สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรูร้ ว่ มกัน ระหว่างผูส้ อนและผูเ้ รียน และความมีความพร้อม ด้านเนื้อหา กิจกรรมการพัฒนาสื่อ เครื่องมือ และแหล่ ง เรี ย นรู ้ ตลอดจนเครื่ อ งมื อ ในการ วัดผลทีต่ อ้ งมีการปรับให้เหมาะสมกับบริบทของ แต่กลุ่มเป้าหมาย สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ เครื่องมือและอุปกรณ์ สิง่ ส�ำคัญผูส้ อนต้องมี เจตคติในการสอน แรงจูงใจในการสอน พฤติกรรมการสอน คือ ความยึดมันผูกพัน ศรัทธา มุ่งมั่น ทุ่มเท ที่เกิด จากความรักทีจ่ ะพัฒนานักศึกษาให้มคี วามรูแ้ ละ ทักษะด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา รวมทัง้ เป็นคนทีม่ คี วามรักชืน่ ชอบ ในสิง่ ทีส่ อนโดยไม่รสู้ กึ เป็นภาระในการเตรียมตัว เพราะส่วนหนึ่งที่สอนคือส่วนหนึ่งของชีวิตและ การท�ำงานซึง่ จะท�ำให้ทา่ นรูส้ กึ มีความสุขในการ ท�ำงาน ความสุขจากการได้พัฒนาผู้เรียนทุกคน ได้เริ่มมีทัศนคติที่ดีต่อเทคโนโลยีการศึกษาเป็น อย่างน้อย ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมี ก ารน� ำ องค์ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ องค์ประกอบของความยึดมัน่ ผูกพันในการเรียน ไปพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ความยึดมัน่ ผูกพันเรียนของนักศึกษาหลักสูตรครุ ศาสตรบัณฑิตในสาขาวิชาต่างๆ จากผูเ้ กีย่ วข้อง คื อ ผู ้ ส อนรายวิ ช านวั ต กรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศทางการศึกษา 2. ควรมีการพัฒนาองค์ประกอบและ ตัวบ่งชี้ของความยึดมั่นผูกพันให้สามารถน�ำไป ใช้กบั การพัฒนางานหรือสมรรถนะด้านอืน่ ๆของ ครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อจัดได้มีการ พัฒนากระบวนการท�ำงานที่เพิ่มประสิทธิภาพ ของครูและบุคลากรทางการศึกษาต่อไป 3. ควรมีการศึกษาผลการใช้รูปแบบ การเรี ย นการสอนด้ ว ยรู ป แบบการเรี ย นการ สอนตามแนวคิดความยึดมั่นผูกพันร่วมกับการ เรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการ ศึกษา กับกลุ่มเป้าหมายอื่นๆ เช่น นักศึกษา
สาขาอื่นๆ นักเรียนระดับมัธยมศึกษา เพราะ ผูเ้ รียนในวัยทีแ่ ตกต่างกันจะมีความยึดมันผูกพัน ในการเรียนทีแ่ ตกต่างกันและส่งผลต่อการเรียน รู้อย่างไร 4. ควรน� ำ แนวคิ ด ความยึ ด มั น ผู ก พั น บูรณาการร่วมกับแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และ หรือแนวคิดไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งเป็นยุคเทคโนโลยี Creative และ Innovation เน้นการสร้างให้ คนไทยสามารถคิดเองได้ หลักที่ส�ำคัญของการ พัฒนา คือ พัฒนาความรู้และทักษะจากสิ่งที่ รัก ถนัด สนใจ อันจะเป็นพื้นฐานส�ำคัญของความ ส�ำเร็จของการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
เอกสารอ้างอิง ก�ำพล วิลยาลัย. (2560). การสอนแบบโครงงานคอมพิวเตอร์. โรงเรียนบรมราชินีนาถราชวิทยาลัย : ราชบุรี ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2523). เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย ทิศนา แขมมณีและคณะ (2533). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมเนจ เม้นท์ จ�ำกัด. บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก. ปรียา บุญญสิร,ิ พิมพันธ์ เดชะคุปต์, พเยาว์ ยินดีสขุ , และ ราเชน มีศรี. (2553). การสอนคิดด้วยโครง งาน : การเรียนการ สอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
127
พรรณี ชูทัยเจนจิต. (2538). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : ต้นอ้อ. รัตนะ บัวสนธ์. (2551). การวิจยั และพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. มหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, (2538). การวิจยั และพัฒนาการเรียนรู.้ พิมพ์ครัง้ ที่ 3 กรุงเทพฯ :
ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศศิธร รณะบุตร. (2558). การศึกษาและพัฒนาความมุ่งมั่นในการเรียนของนักเรียนระดับปริญญาตรี สาขาการศึกษาปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาทดสอบและวัดผลการ ศึกษา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. Bender, W. N. (2012). Project-Based Learning : Differentiating Instruction for the 21st. Century. California : CORWIN A SAGE Company. Clark, J.C. and Walsh, J. (2007). Rationing scarce life-sustaining resources on the basis of age. Journal of Advanced Nursing, 35(5), 799-804. Handscomb, G., and MacBeath, J. (2003) The Research-Engaged School. Colchester: Essex County Council, Forum for Learning and Research Enquiry (FLARE) Maslow, Abraham. (1970). Motivation and Personnality. New York : Harper and Row Publishers. Sharp et al. (2003). The New Public Service: Serving not Steering. New York : Sharpe.
128
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน รายวิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 The Development of Blended Learning through Activities by Using Problem-Based Learning in Computer for Mattayomsueksa 1 students
พงศ์ชพลซื ่อ , ธนดล ภูสีฤทธิ์ การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานภานุ รายวิ าคอมพิ วเตอร์ 1 Panupong.P , Thanadol.P2 1 ชั น ้ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ่ ี 1 ภาควิชาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Educational Technology and Communications of Education Mahasarakam Unversity The Development of2 Blended Learning faculty through Activities by Using อาจารย์ที่ปรึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Problem-Based Computer for Mattayomsueksa 1 studentsUnversity Advisors EducationalLearning Technologyinand Communications faculty of Education Mahasarakam นายภานุพงศ์ พลซื่อ1 และธนดล ภูสีฤทธิ์2 Panupong.P1, & Thanadol.P2 1
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจ กรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ ปัญหาเป็นฐานของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) เปรียบเทียบการคิดวิเคราะห์ 4) ศึกษาทักษะทางคอมพิวเตอร์ และ 5) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมั ธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2559 จานวน 23 คน ซึ่งได้มาการสุ่ม แบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแผนการจัดกิจ กรรมการเรียนรู้ แ บบ ผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบการคิดวิเคราะห์ และแบบ วัดทักษะทางคอมพิวเตอร์ แบบประเมินความพึง พอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (paired t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 83.04/81.65 2)ภายหลังการพัฒนา พบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ ปัญหาเป็นฐานมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิ ติ (p-value < 0.001) โดยมีค ะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเรียนเท่ากับ 15.09 คะแนน (95% CI =13.47-16.69) 3) หลั ง การพั ฒ นาพบว่ า นั ก เรี ย นที่ เ รี ย นด้ ว ยกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ แ บบ ผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานมีคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) โดยมีคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลั งเรียนเพิ่มขึ้น มากกว่าก่อนเรียนเท่ากับ 14.16 คะแนน (95% CI=12.44-16.77) 4) ก่อนเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แ บบ ผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน นักเรียนมีทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์เท่ากับ 558 คะแนน ค่าเฉลี่ย 24.26 คิดเป็นร้อยละ 48.52 แต่หลังเรียนนักเรียนมีทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์เท่ากับ 952 คะแนน ค่าเฉลี่ย 41.39 คิดเป็นร้อยละ 82.78 และ 5) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหา เป็นฐานอยู่ในระดับมากที่สุด (𝑥𝑥̅ =4.54,SD.0.08) คาสาคัญ: กิจกรรมการเรียนการสอนแบบผสมผสาน การคิดวิเคราะห์ ทักษะทางคอมพิวเตอร์ 1 ภาควิชาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา 129 Educational Technology and Communications faculty of Education Mahasarakam Unversity 2 อาจารย์ที่ปรึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2
2 Abstract This study aimed: 1) to develop effective learning activities according to criteria 80/80 2) to compare learning achievement 3) to compare analytical thinking 4) study on computer skills, and 5) study on satisfaction with learning by using problem-based learning. The samples used in this study were 23 mathayom suksa 1 students in the second semester of academic year 2556, obtained by random cluster sampling. The research instrument was an activity blended learning through by using problem-based Learning learning plan, achievement test ,analytical thinking test, and computer skills. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and paired t-test. The results showed that: 1) The effectiveness of the problem-based learning activities was 83.04 /81.65. 2) After development, it was found that the students who learned by using problem-based learning activities had higher scores after learning achievement (p-value <0.001), the learning achievement was higher than before learning achievement of 15.09 scores (95% CI = 13.47-16.69). 3) After development, it was found that the students who learned by using problem-based learning activities had the analytical thinking after the study, there was a statistically significant difference (p-value <0.001), after learning more than before class was 14.16 scores (95% CI = 12.44-16.77). 4) Before learning with a blended learning activities using problembased learning, the students had computer skills of 558 points, average 24.26, or 48.52%. After class, the students had computer skills increased to 952 points, average 41.39 or 82.78%, and 5) The students were satisfied with the problem-based learning activities at the highest level ( = 4.54, SD.0.08). Keywords: Blended Learning through Activities, analytical thinking, computer skills
1. บทนา การนากิจกรรมการเรียนการสอนแบบ ผสมผสานระหว่างการเรียนการสอนในห้องร่วมกับ การเรียนการสอนแบบออนไลน์มาประยุกต์ใช้กับการ เรียนการสอนเพื่อเป็นทางเลือกสาหรับผู้เรียนทาให้ เกิดทางเลือกในการศึกษาที่มีความยืดหยุ่น การการ
130
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เรียนรู้แบบผสมผสานเป็นการนาความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีและการมีปฏิสัมพันธ์กับการเรียนผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ตและการมีส่วนร่วมในการเรียนปกติ ซึ่งจะสนับสนุนและเสริมสร้างการเรียนรู้ให้ดียิ่งขึ้น (Thorne. 2003: 18) ทั้งนี้ในปัจจุบันแนวคิดของการ เรียนการสอนแบบผสมผสานกาลังเป็นที่ได้รับความ นิยมเพราะสามารถลดข้อจากัดของการเรียนการสอน
3 โดยเพิ่มระบบ Collaborative learning เข้าไปทาให้ เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูดีขึ้น อันจะ เป็นการกระตุ้นให้เกิดการใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อย่างกว้างขวางและจะเป็นการใช้ประโยชน์จาก เครือข่ายเพื่อการศึกษา (ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, 2551: 142)
3. เพื่อเปรียบเทียบการคิดวิเคราะห์ ก่อน เรียนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
การจัดเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้ ปัญหาเป็นฐานเป็นประยุกต์ใช้ทั้งหลักการของการ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองบนฐานของประสบการณ์ เดิมและใช้ปัญหาที่จะพบได้ในสถานการณ์จริงเป็นสิ่ง กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะเรียนรู้เพื่อ แก้ปัญหา และค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองโดยที่ครู เป็นผู้ชี้แนะ เสนอแนะแนวทาง เตรียมทรัพยากรที่ เหมาะสมไว้ให้ รวมทั้งได้ฝึกทักษะการคิดและ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ตลอดจนรู้จักการทางาน เป็นกลุ่มเพื่อพัฒนาความสามารถในการทางาน ร่วมกันเป็นทีม (วัฒนา รัตนพรหม. 2548 : 33) ซึ่ง ต้องร่วมมือกันอภิปราย ถาม-ตอบกับตัวเองและ เพื่อนๆ ในกลุ่มอย่างจริงจัง ต้องถาม-ตอบโดยใช้การ คิด วิเคราะห์ ใช้เหตุใช้ผลในการพิจารณาข้อมูล ตีความข้อมูล
5. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน หลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดย ใช้ปัญหาเป็นฐาน
2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
4.เพื่อพัฒนาทักษะทางคอมพิวเตอร์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ต่อกิจกรรมการ เรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3. ความสาคัญของการทาวิจัย กิจกรรมการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นจะตอบสนองใน เรื่องของความต้องการที่ครอบคลุมในส่วนของเนื้อหา และการเรียนรู้ โดยการรวมและบูรณาการสื่อและ กิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และได้สื่อที่ตรงความ ต้องการ 4. วิธีดาเนินการวิจัย 4.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 4.1.1. ประชากรประชากรที่ใช้ในการ ครั้งนี้เป็นนักเรียนขยายโอกาสชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนในกลุ่มลุ่มน้าชี อาเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จานวน 4 โรงเรียน ซึ่งประกอบด้วยโรงเรียน หนองหลวงประชาบารุง จานวน 19 คน โรงเรียน บ้ า นสี เ สี ย ด จ านวน 21 คน โรงเรี ย นบ้ า นนาแซง จานวน 16 คน และโรงเรียนบ้านหวาย(หวายวิทยานุ กู ล ) จ านวน 23 คน ที่ เ รี ย นในภาคเรี ย นที่ 2 ปี การศึกษา 2559 รวม 79 คน
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
131
4 4.1.2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างในการ วิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 23 คน ที่ ไ ด้ ม าจากการสุ่ ม แบบกลุ่ ม (Cluster Random Sampling) 4.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน 3) แบบทดสอบการคิดวิเคราะห์ และ4) แบบ วัดทักษะทางคอมพิวเตอร์ 4.3 การดาเนินการวิจัย 4.3.1. ผู้ วิ จั ย ชี้ แ จงขั้ น ตอนและวิ ธี ก าร เรียนรู้ของกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน 4.3.2. ทดสอบก่อนเรียน (pretest) โดย กลุ่มทดลอง ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน และแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิ ด วิเคราะห์ ทักษะทางคอมพิวเตอร์ 4.3.3. ดาเนินการสอน โดยกลุ่มทดลอง ศึกษาและปฏิบัติกิจกรรม จนครบ 4.3.4. ทดสอบหลังเรียน (posttest) โดย กลุ่มทดลอง ทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน และแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิ ด วิเคราะห์ ซึ่งเป็นฉบับเดียวกับการทดสอบก่อนเรียน 4.3.5. ตรวจให้คะแนนและนาผลคะแนน ของแบบทดสอบวั ด ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรีย น และ แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดคิดวิเคราะห์ มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการทางสถิติเพื่อทดสอบ สมมติฐานต่อไป 4.4 การวิเคราะห์ข้อมูล วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล โดยใช้ ค วามถี่ ร้ อ ยละ ค่ า เฉลี่ ย ส่ ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน และสถิติทดสอบที (paired t-test)
5. ผลการวิจัย 5.1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มี ประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 83.04/81.65 2 มากกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ดังตาราง 1 ตาราง 1 ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพผลลัพธ์ (E2) ของกิจกรรมการเรียนรู้ แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนที่ คะแนนทุก คะแนน ก่อนเรียน หลังเรียน แผน 1 2 3 4 5 เต็ม 1150 230 230 230 230 230 1150 1150 รวม 592 178 199 200 182 196 955 939 25.74 7.74 8.65 8.70 7.91 8.52 41.52 40.83 x̅ S.D. 4.33 0.62 0.49 0.47 0.79 0.51 1.04 2.25 ร้อยละ 51.48 77.39 86.52 86.96 79.13 85.22 83.04 81.65 ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (E1/E2) เท่ากับ 83.04/81.65 จากตาราง 1 พบว่า คะแนนผลการเรียนระหว่างเรียนของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ระหว่างเรียน จากการทาใบงาน การสังเกตพฤติกรรมการเรียนและการทดสอบย่อยแต่ละแผนการเรียนรู้ มีค่า
132
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
5 เท่ากับ 955 คะแนน จากคะแนนเต็มรวม 1,150 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.04 และมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียน เท่ากับ 939 คะแนน จากคะแนนเต็มรวม 1,150 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 81.65 แสดงว่าแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 83.04/81.65 5.2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดวิเคราะห์ ทักษะทางคอมพิวเตอร์ต่อกิจกรรม การเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ดังตาราง 2 – 4 ตาราง 2 การเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 95% CI ที่ n S.D. Mean diff. p-value x̅ Lower Upper 1 ก่อนเรียน 23 25.74 4.33 15.09 13.47 16.69 0.001* 2 หลังเรียน 23 40.83 2.25 *p-value < .05 จากตาราง 2 ภายหลังการพัฒนาพบว่านักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ ปัญหาเป็นฐานมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (pvalue < 0.001) โดยมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเรียนเท่ากับ 15.09 คะแนน (95% CI= 13.47-16.69) ตาราง 3 การเปรียบเทียบของความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 95% CI ที่ n S.D. Mean diff. p-value x̅ Lower Upper 1 ก่อนเรียน 23 26.43 5.55 14.16 12.44 16.77 0.001* 2 หลังเรียน 23 41.04 2.12 *p-value < .05 จากตาราง 3 พบว่า ภายหลังการพัฒนาพบว่านักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยใช้ปัญหาเป็นฐานมีคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลัง เรียนเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) โดยมีคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนเพิ่มขึ้นมากกว่า ก่อนเรียนเท่ากับ 14.16 คะแนน (95% CI=12.44-16.77)
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
133
6 ตาราง 4 จานวน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและร้อยละของทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนต่อการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ กลุ่มทดลอง N S.D. ร้อยละ x̅ 1 ก่อนเรียน 23 24.26 5.06 48.52 2 หลังเรียน 23 41.39 2.25 82.78 จากตาราง 4 พบว่า ก่อนเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน นักเรียนมีทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์เท่ากับ 558 คะแนน ค่าเฉลี่ย 24.26 คิดเป็นร้อยละ 48.52 แต่หลัง เรียนนักเรียนมีทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์เท่ากับ 952 คะแนน ค่าเฉลี่ย 41.39 คิดเป็นร้อยละ 82.78 กล่าว ได้ว่านักเรียนมีคะแนนทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นเท่ากับ 394 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 34.26 5.3. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ตาราง 5 ผลประเมินระดับความพึงพอใจต่อการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดับความคิดเห็น ข้อที่ รายการประเมิน S.D. สรุปผล x̅ 1. คาแนะนาในการใช้บทเรียน 1.1 คาแนะนาในการใช้บทเรียนเป็นไปตามลาดับขั้นตอน 4.63 0.49 มากที่สุด 1.2 คาแนะนาในการใช้บทเรียนกับอุปกรณ์ที่หลากหลาย 4.47 0.57 มาก 1.3 คาแนะนาในการแก้ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น 4.53 0.51 มากที่สุด เฉลี่ย 4.54 2. เนื้อหาบทเรียน 2.1 เนื้อหาเหมาะสมกับการเรียน 4.53 0.57 มากที่สุด 2.2 บทสรุปเนื้อหาท้ายบท 4.33 0.71 มาก 2.3 เนื้อหาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.37 0.67 มาก 2.4 ความเพลิดเพลินและน่าสนใจ 4.60 0.62 มากที่สุด 2.5 อ่านและเข้าใจในเนื้อหาได้ง่าย 4.67 0.48 มากที่สุด เฉลี่ย 4.28
134
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
7
ข้อที่
รายการประเมิน
3. การออกแบบการสอน 3.1 กิจกรรมที่ใช้ในบทเรียน 3.2 บทเรียนสนุกสนานเหมือนเรียนกับครู 3.3 บทเรียนช่วยแก้ปัญหาการเรียนไม่ทัน 3.4 บทเรียนช่วยได้ลงมือปฏิบัติจริง 3.5 บทเรียนทาให้นักเรียนศึกษาบทเรียนได้ตลอดเวลา 3.6 มีการปฏิสัมพันธ์กันในการทางาน 3.7 งานที่ได้รับมอบหมายสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่น 3.8 บทเรียนช่วยปัญหาอย่างเป็นระบบ เฉลี่ย 4. การจัดเก็บและแสดงผลข้อมูล 4.1 จัดเก็บข้อมูลได้ง่าย 4.2 มีพื้นที่จัดเก็บข้อมูลส่วนตัว 4.3 แสดงผลการทางานได้อย่างรวดเร็ว 4.4 แสดงผลความคืบหน้าการเข้าเรียนและการส่งงาน เฉลี่ย ค่าเฉลี่ย (x̅)
ระดับความคิดเห็น S.D. สรุปผล x̅
4.70 4.50 4.47 4.67 4.60 4.67 4.70 4.67
0.47 0.51 0.51 0.48 0.50 0.48 0.47 0.48 4.62
มากที่สุด มาก มาก มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด
4.63 4.07 4.20 4.23
0.49 0.74 0.66 0.73 4.28 0.56
มากที่สุด มาก มาก มาก
4.51
มากที่สุด
จากตาราง 5 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้แบบผสมผสานโดย ใช้ปัญหาเป็นฐานโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.51, SD. 0.56) 81.65 แสดงว่าแผนการจัดการเรียนรู้โ ดยใช้ปัญหา อภิปรายผลการวิจัย เป็นฐานมีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.04/81.65 ซึ่งสูง 1. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ แ บบ กว่าเกณฑ์ แสดงว่าประสิทธิภาพของกระบวนการ ผสมผสานโดยใช้ ปั ญ หาเป็ น ฐานของนั ก เรี ย นชั้ น และประสิทธิภาพของผลลัพธ์สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้คือ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80 พบว่า คะแนน 80/80 สอดคล้องกับผลการศึกษาของนพรัตน์ พล ผลการเรียนระหว่างเรียนของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เสน (2557: 455-463) พบว่า บทเรียนแบบผสมผสาน ปัญหาเป็นฐานระหว่างเรียน จากการทาใบงาน การ เรื่องประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา สาหรับนักเรียนชั้น สังเกตพฤติกรรมการเรียนและการทดสอบย่อยแต่ละ มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรี ย นบ้ า นหนองมะสั ง มี ค่ า แผนการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 83.04 และมีคะแนน เท่ากับ 85.78 / 84.22 ซึ่งมีประสิทธิภาพเป็นไปตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียน คิดเป็นร้อยละ เกณฑ์ 80/80 ซึ่งบทเรียนได้ดาเนินการพัฒนาอย่าง
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
135
8 เป็นระบบตามขั้นตอนการพัฒนา ได้มีการศึกษาเก็บ ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญด้านการสอน ในโรงเรียนด้าน เนื้อหา และด้านสื่อเทคโนโลยีการศึกษา จัดสนทนา กลุ่ ม (Focus Group discussion) เพื่ อ หาข้ อ สรุ ป เกี่ยวกับเนื้อหา และผลการวิจัยของแสวง ชุมแวงวาปี (2555) ซึ่ง พบว่า บทเรียนบนเว็บโดยวิธีเรีย นแบบ ผสมผสาน เรื่องการใช้โปรแกรมอ่านหน้าจอสาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.81/81.25 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์75/75 2. ภายหลังการพัฒนา พบว่า นักเรียนที่ เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ ปัญหาเป็นฐานมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญ ทาง สถิ ติ (p-value < 0.001) โดยมี ค ะแนนผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นหลั ง เรี ย นเพิ่ ม ขึ้ น มากกว่ า ก่ อ นเรียน เท่ า กั บ 15.09 คะแนน (95% CI =13.47-16.69) สอดคล้องกับธีระศักดิ์ เกียงขวา (2555: 105-111) ได้ พั ฒ นาผลการเรี ย นด้ ว ยบทเรี ย นบนเว็ บ แบบ ผสมผสาน เรื่องหลักการใช้สื่อการเรียนการสอนที่มี ต่อผลการเรียนของนิสิตระดับปริญ ญาตรีที่ มี ก ารรู้ คอมพิวเตอร์และการนาการเรียนด้วยตนเองต่างกั น ผลการวิ จั ย พบว่ า บทเรี ย นแบบผสมผสานมี ประสิทธิภาพ เท่ ากับ 80.75/80.68 นั่นแสดงว่า เป็ น สื่ อ การสอนที่ มีป ระสิ ทธิ ภ าพ มี ค ะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคะแนนเฉลี่ยด้านการคิด วิเคราะห์โ ดยรวมและเป็นรายด้านเพิ่มขึ้นจากก่อน เรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย นิสิตที่มีระดับการรู้คอมพิวเตอร์สูงและต่าและนิสิตที่ มีระดับการนาการเรียนด้วยตนเองสูงและต่าหลังจาก เรี ย นด้ ว ยบทเรี ย นบนเว็ บ แบบผสมผสาน ดั ง ผลการวิจัยของนพรัตน์ พลเสน (2557: 455-463) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียน
136
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
แบบผสมผสาน เรื่องประวัติศ าสตร์กรุง ศรี อ ยุ ธ ยา คะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนร้อยละ 61.55 3.หลังการพัฒนา พบว่า นักเรียนที่เรียน ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหา เป็นฐานมีค ะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนเพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญ ท า ง ส ถิ ติ ( p- value < 0.001) โ ดย มี ค ะ แ น น ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลัง เรีย นเพิ่มขึ้น มากกว่ า ก่ อ นเรี ย นเท่ า กั บ 14.16 คะแนน (95% CI=12.44-16.77) เช่นเดียวกับผลการวิจัยของกานต์ ชนก ศรี น วลจั น ทร์ แ ละไพทยา มี สั ต ย์ (2558) ได้ พัฒนาความสามารถการคิดวิเคราะห์วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วั ฒ นธรรมโดยการเรีย นรู้ด้ ว ยเทคนิค หมวก 6 ใบ พบว่ า การเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน โดยการเรียนรู้ ด้วยเทคนิคหมวก 6 ใบ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ร ะดับ .05 และผลการวิจัยของ โยธกา ปาละนันท์ (2557: 11-20) ได้พัฒนาการคิด วิเคราะห์ พฤติ กรรมความร่วมมือ และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรีย นภาษาอัง กฤษชั้น ประถมศึก ษาปี ที่ 5 ด้วยคู่มือการเรียนแบบร่วมมือร่วมกับการฝึกคิดแบบ โยนิโ สมนสิการและการใช้กรอบมโนทัศน์ ซึ่ง พบว่า การคิดวิเคราะห์ หลัง เรียนของนักเรียนที่เรียนด้วย คู่มือการเรียนแบบร่ ว มมื อ ร่วมกับการฝึกคิ ด แบบ โยนิโสมนสิการและการใช้กรอบมโนทัศน์ สูงกว่าก่อน เรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ก่อนเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ผสมผสานโดยใช้ ปัญ หาเป็น ฐาน นั ก เรี ย นมี ทั กษะ ทางด้านคอมพิวเตอร์เท่ากับ 558 คะแนน ค่าเฉลี่ย 24.26 คิดเป็นร้อยละ 48.52 แต่หลังเรียนนักเรียนมี ทั ก ษะทางด้ า นคอมพิ ว เตอร์เท่ า กั บ 952 คะแนน
9 ค่าเฉลี่ย 41.39 คิดเป็นร้อยละ 82.78 สอดคล้อง กั บ ผสมผสาน สอดคล้ อ งกั บ แสวง ชุ ม แวงวาปี (2555: 76-80) พบว่าการพัฒนาบทเรียนบนเว็บโดย ใช้กระบวนการเรียนแบบผสมผสาน เรื่องการใช้โป รมแกรมอ่านหนาจอสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้นที่มีความบกพร่องทางการเห็น ผลการศึกษา พบว่ า บทเรี ย นบนเว็ บ โดยวิ ธี เ รีย นแบบผสมผสาน เรื่องการใช้โปรแกรมอ่านหน้าจอสาหรับนักเรียนชั้น มั ธย ม ศึ ก ษ า ตอ นต้ นมี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ เ ท่ า กั บ 81.81/81.25 ซึ่ ง เป็ น ไปตามเกณฑ์ 75/75 นั่ น แสดงว่ า เป็ น สื่ อ การสอนที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพี ย ง พอที่จะนาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โดยสามารถช่วย ให้นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ จากผลสัมฤทธิ์ ทาง การเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ โดยวิธีเรียนแบบผสมผสานสูงกว่านักเรียนที่เรียนด้วย การสอนปกติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจิร วดี ไทยสงคราม (2555: 103-105) พบว่า การเปรียบเทียบการคิดวิเคราะห์ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนและเจตคติเชิง วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 ที่ เ รี ย นโดยวิ ธี ก ารสอนแบบ ผสมผสานกับวิธีการสอนแบบปกติ จากการศึกษา พบว่า นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบบผสมผสาน มี การคิดวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติ เชิง วิทยาศาสตร์ สูง กว่านักเรียนที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p=0.017) นั่นแสดงว่า การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค การ สอน รูปแบบการสอนและวิธีการสอนที่หลากหลาย มาใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ผลดีและ สอดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของผู้ เ รี ย นนั้ น และ สอดคล้องกับผลการวิจัยของเรียม จันปุญนะ และ วิมล สาราญวานิช (2558: 1265-1273) ที่ได้พัฒนา
ความสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์ แ ละผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืชดอก โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ ใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) พบว่า นักเรียนมีการพัฒนา ความสามารถในการคิดวิเคราะห์โ ดยผ่านเกณฑ์ ที่มี คะแนนร้อยละ 70 ขึ้นไป ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด ไว้ 5. นั ก เรี ย นมี ค วามพึ ง พอใจต่ อ การจั ด กิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็น ฐานอยู่ในระดับมากที่สุด ( 4.54,SD.0.08) ในทานอง เดียวกับผลการวิจัยของกานต์ช นก ศรีนวลจันทร์ และไพทยา มี สั ต ย์ (2558) ซึ่ ง พบว่ า นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 5 มีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ด้วย เทคนิคหมวก 6 ใบ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ภาพรวม ของความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( = 4.14, SD. = 1.01) และผลการศึกษาของนพรัตน์ พลเสน (2557: 455-463) พบว่ า นั ก เรี ย นที่ มี ค วามพึ ง พอใจ ต่ อ บทเรียนแบบผสมผสาน เรื่อง ประวัติศาสตร์กรุงศรี อยุธยาอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย( )เท่ากับ 4.71 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน( =0.46) และ ผลการวิจัยของแสวง ชุมแวงวาปี (2555) ;ดวงพร เพ็ช ร์แบน (2558: 108-123) พบว่า ความพึง พอใจ ของนักเรียนที่เรียนแบบผสมผสานด้วยวิธีการสอน Big Six Skills พบว่า นักเรียนมีค วาม พึง พอใจโดย รวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้ ก่อนที่จะ นารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบการเรีย นรู้ แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ชั้นมัธยมศึกษา
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
137
10 ปีที่ 1 ไปใช้ควรศึกษาขั้นตอนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้องค์ประกอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ บทบาทของครูและนักเรียน ให้เข้าใจถ่องแท้เสียก่อน และผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1.1 การออกแบบและสร้างบทแบบ ผสมผสานนั้ น ควรค านึ ง ถึ ง กิ จ กรรมภายในและ ภายนอกห้องเรียน ความสามารถของผู้เรียนและ ศักยภาพของระบบคอมพิวเตอร์ที่จะสามารถรองรับ กับบทเรียนแบบผสมผสานที่จะพัฒนา ดัง นั้นก่อน การดาเนินการสร้างบทเรียนแบบผสมผสานจะต้ อง ทาการศึกษาข้อมูลเหล่านี้ เพื่อประกอบการตัดสินใจ ในการสร้ า งบทเรี ย นบนเพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ปั ญ หาต่ อ กิจกรรมการเรียนการสอนที่จะพัฒนาขึ้น 1.2 การออกแบบต้องค านึง ถึง การ โต้ตอบระหว่างกิจกรรมในบทเรียนแบบผสมผสานกับ ผู้เรียนอย่างต่อเนื่องในขณะเรียน ทั้งนี้เพราะจะช่วย กระตุ้ น ให้ นั ก เรี ย นอยากเรี ย นรู้ แ ละเพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์กับนักเรียนมากที่สุดควรส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้ด้วยตนเองและควรจะให้เวลาแก่นักเรียนใน การศึกษาบทเรียนและการทากิจกรรมกลุ่ม โดยให้ นั ก เรี ย นได้ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ แ ละเรี ย นรู้ ไ ปด้ ว ยกั น เพื่ อ ให้ สามารถฝึกทักษะต่างๆ ได้อย่างเต็มที่ 1.3 เพื่ อ ให้ ก ารเรี ย นด้ ว ยกิ จ กรรม การเรียนรู้แบบผสมผสานเป็นไปด้วยความสะดวก และได้ผลดียิ่ง ขึ้น ควรค านึง ถึง การรับส่ง ข้อมูลใน ปริมาณที่พอเหมาะและให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้งาน คอมพิวเตอร์ที่ถูกต้องและควรให้ศึกษาคู่มือการใช้ บทเรียนแบบผสมผสานก่อน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างที่เรียนได้ 2. ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมี ก ารสร้ า งและพั ฒ นา รู ป แบบการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนด้ ว ย
138
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
กิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานที่สามารถเชื่อมโยง ไปยังเนื้อหาวิชาต่างๆ เพื่อให้มีความหลากหลายและ ประยุกต์ใช้กิจกรรมที่สามารถกระทาร่วมกันได้ 2.2 ควรพัฒนากิจกรรมการเรียนการ สอนแบบผสมผสานสาหรับรายวิชาอื่นๆ ที่มีสัดส่วน ในการเรียนรู้ที่แตกต่างกันออกไป 2.3 ควรประยุ ก ต์ ใ ช้ รู ป แบบและ กิจกรรมการเรียนการสอนแบบผสมผสานไปใช้ในการ ส่ง เสริมทักษะในด้านต่างๆ ในรายวิช าอื่นๆ ด้วย เพื่อให้เกิดความหลากหลายในการเรียนรู้ เอกสารอ้างอิง กานต์ชนก ศรีนวลจันทร์ และไพทยา มีสัตย์. (2558). การพัฒนาความสามารถการคิดวิเคราะห์ วิชา สังคมศึกษาศาสนาและ วั ฒ นธรรมโดยการ เรียนรู้ด้วยเทคนิค หมวก 6 ใบ. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน จิ ร วดี ไทยสงคราม. การเปรี ย บเที ย บผล สั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนและเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและ การเปลี่ยนแปลงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดย วิธีการสอน แบบผสมผสานกั บ วิ ธี ก ารสอนแบบปกติ วารสารมหาวิ ทยาลัยนครพนม. 2(1) ; 109115. (2555, มกราคม). ดวงพร เพ็ ช ร์ แ บน. ผลการจั ด การเรี ย นรู้ แ บบ ผสมผสานด้ ว ยวิ ธี ส อน Big Six Skills เรื่ อ ง หลักและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศของนั ก เรี ย น
11 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal. 8 (2) : พฤษภาคม – สิงหาคม 2558: 108-123) ธีระศักดิ์ เกียงขวา. ผลการเรียนด้วยบทเรียนบน เว็บแบบผสมผสาน เรื่อ ง หลักการใช้สื่อ การเรียนการสอน ที่มีต่อการ เรียนของ นิ สิ ต ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี ที่ มี ก า ร รู้ คอมพิ ว เตอร์ แ ละการน าการเรี ย นด้ ว ย ตนเองต่ า งกั น . วารสารมหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม. 7 (2): พฤษภาคม-สิงหาคม 2556; 105-112. ประพั น ธ์ ศิ ริ สุ เ สารั จ . (2551). การพั ฒ นาการคิด. กรุงเทพมหานคร : 9119 เทคนิค พริ้นติ้ง. โยธกา ปาละนั น ท์ .(2557). การพั ฒ นาการคิ ด วิ เ คราะห์ พฤติ ก รรมความร่ ว มมื อ และ ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นภาษาอั ง กฤษชั้ น ประถมศึ กษาปีที่ 5 ด้วยคู่มือการเรียนแบบ ร่วมมือร่วมกับการฝึกคิดแบบโยนิโสมนสิการ แล ะ ก า ร ใช้ ก รอ บม โนทั ศ น์ . วา ร สาร บัณฑิตศึกษา.11 (55) : ตุลาคม – ธันวาคม 2557; 11-20. นพรัตน์ พลเสน. การพัฒนาบทเรียนแบบผสมผสาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม เรื่อง ประวัติศาสตร์กรุงศรีอยุธยา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน บ้านหนองมะสัง .วารสารวิช าการ Veridian E-Journal. 7 (3) : กั น ยายน – ธั น วาคม 2557; 455-463.
เรียม จันปุญนะ และวิมล สาราญวานิช. การพัฒนา ความสามารถในการคิ ด วิ เ คราะห์ และ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การสืบพันธุ์ของพืช ดอก โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา เป็นฐาน (PBL).การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจาปี 2558วันที่ 24 เมษายน 2558. โรงเรียนหนองหลวงประชาบารุง. (2557). รายงาน ผลการเรี ย น ปี ก ารศึ ก ษา 2557. ร้ อ ยเอ็ ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึ ก ษา ร้อยเอ็ด เขต 3. วัฒนา รัตนพรหม .(2548). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นหลัก. วารสารศึกษาศาสตร์ ปริทัศน์ มหา วิ ท ยาเกษตรศาสตร์ . 20(1) : (มกราคมเมษายน) ; 33-45. แสวง ชุมแวงวาปี .(2555). การพัฒนาบทเรียนบน เว็บโดยใช้กระบวนการเรียนแบบผสมผสาน เรื่ อ งการใช้ โ ปรแกรมอ่ า นหน้ า จอ ส าหรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ที่ มี ค วาม บกพร่องทางการเห็น. วิทยานิพนธ์การศึกษา ม ห า บั ณ ฑิ ต ( ก ศ . ม . ) ม ห า วิ ท ย า ลั ย มหาสารคาม. Thorne, S.L. (2003). Artifacts and culture of use in intercultural communication Language Learning and technology. London: Routledge.
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
139
การพัฒนาระบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา The Development of Information Technology Aspect Learning Environment Based on the Philosophy of Sufficiency Economy for Undergraduate Students โสมณุดา สัมมานุช1, ธนดล ภูสีฤทธิ2์ , สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ3 Somnuda Summanuch1, Thanadol Phuseerit2, Suttipong Hoksuwan3, นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Ph.D. Candidate in Educational Technology and Communication, Faculty of Education, Mahasarakham University ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Department of Educational Technology and Communication, Faculty of Education, Mahasarakham University
บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาองค์ ประกอบ ออกแบบและพั ฒ นาระบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย นด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพี ย งส� ำ หรั บ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา รวมถึงศึกษาผลการน�ำระบบที่พัฒนาไปใช้เพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจในหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณลักษณะ พึงประสงค์ตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และมีเจตคติที่ดีต่อหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาระดับ อุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ จ�ำนวน 374 คน ในการส�ำรวจสภาพ 140
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการในการจัด สภาพแวดล้อม 2) ผู้ทรงคุณวุฒิในการประเมิน องค์ประกอบและระบบที่พัฒนาจ�ำนวน 7 คน และ3) นักศึกษาจ�ำนวน 50 คนเพื่อใช้ในการ ทดลองใช้ระบบที่พัฒนา เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยได้แก่ 1) แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยว กับสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการ เกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2) แบบวัดความรูค้ วามเข้าใจ เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) แบบ วัดคุณลักษณะพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และ4) แบบวัดเจตคติตอ่ หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการวิจยั พบว่า 1) ผูต้ อบแบบสอบถาม มี ค วามคิ ด เห็ น ในด้ า นการรั บ รู ้ เ กี่ ย วกั บ หลั ก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและด้านสภาพ แวดล้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอยู่ในระดับ ปานกลาง ส่ ว นในด้ า นกระบวนการจั ด การ เรียนการสอนและด้านการประเมินผลมีระดับ ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก และมีความคิด เห็นเกี่ยวกับปัญหาในด้านสภาพแวดล้อมด้าน สารสนเทศอยู่ในระดับปานกลาง มีความคิด เห็นเกี่ยวกับปัญหาในด้านกระบวนการจัดการ เรียนการสอนอยู่ในระดับน้อย และความคิด เห็นเกี่ยวกับปัญหาในด้านการประเมินผลอยู่ใน ระดับมาก 2) องค์ประกอบของระบบประกอบ ด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ปัจจัยน�ำเข้า ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมทางด้านสารสนเทศ และเนื้อหาสาระการเรียนรู้เรื่องหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง กระบวนการ ประกอบ ด้วย 1) ก�ำหนดเป้าหมาย 2) ก�ำหนดมาตรฐาน คุณภาพ 3) วิเคราะห์คณ ุ ภาพ 4) ก�ำหนดลักษณะ ที่พึงประสงค์ 5) ก�ำหนดวิธีการพัฒนาสภาพ แวดล้อม 6) ก�ำหนดเครื่องมือในการพัฒนา สภาพแวดล้อม 7) ด�ำเนินการจัดสภาพแวดล้อม และ 8) ประเมินผล โดยมีการน�ำหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงที่ประกอบด้วย 3 องค์ ประกอบหลัก คือ ความพอประมาณ (ทางสาย กลาง) มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน ควบคู่กับความ รู้และคุณธรรม มาใช้กับกระบวนการ การจัดหา อุปกรณ์ การพัฒนาสือ่ การสอน และการส่งเสริม และพัฒนาบุคลากร และผลลัพธ์ ประกอบด้วย คุณลักษณะพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ความรู้ความเข้าใจในหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ มีเจตคติที่ดี ต่อหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) ผลการ ทดลองใช้ระบบ พบว่ากลุ่มทดลองที่ได้รับการ จัดสภาพแวดล้อมมีความรู้ความเข้าใจในหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณลักษณะ ความพอเพียงด้านการรูค้ ดิ ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านคุณธรรมจริยธรรม และมีเจตคติที่ดีต่อ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สูงกว่ากลุ่ม ควบคุมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ : สภาพแวดล้อมการเรียนรู้, หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, เทคโนโลยีสารสนเทศ ABSTRACT This research aimed to examine the components, design, and develop the information technology aspect Learning environment based on the philosophy of sufficiency economy for undergraduate students. The results of system usage in the understanding of the philosophy of sufficiency economy, the desired of sufficiency characteristics, and the attitude to the philosophy to sufficiency economy were also investigated. The samples in this research were 1) the 374 lecturers and undergraduate students of the university in the Northeast of Thailand to gather the survey results , 2) the 7 เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
141
experts to evaluate the components and the developed system, and 3) the 50 students to experiment the usage of the developed system. The research instruments were 1) the survey about current conditions, problems, and requirements of the learning environment, 2) the philosophy of sufficiency economy understanding test, 3) the desired of sufficiency characteristics assessment test, and 4) the philosophy of sufficiency economy attitude test. The results found that: 1. The awareness of the philosophy of sufficiency economy and the information technology aspect learning environment were in moderate level, meanwhile the learning processes and assessments were in high level. The problems in information technology aspect learning environment, the learning processes, and the assessment were in low level, moderate level, and high level, respectively. 2. The system consisted of 3 main components. The input component comprised the information technology aspect learning environment and the contents of the philosophy of sufficiency economy. The process component comprised 1) determine 142
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
the objective, 2) define the target, 3) analyze the quality, 4) define the desired characteristics, 5) define the development method, 6) define the development tools, 7) operate the environment, and 8) evaluate the results. The philosophy of sufficiency economy which consists with modesty, reasonability, and immunity was applied into the processes of hardware procurement, learning media development, and human development. The output component comprised 1) the desired of sufficiency characteristics, 2) the understanding in the philosophy of sufficiency economy, and 3) the attitude towards the philosophy of sufficiency economy. 3. Regarding the developed system usage results found that the understanding in the philosophy of sufficiency economy, the desired of sufficiency characteristics, and the attitude towards the philosophy of sufficiency economy of the experiment group were higher than the control group statistically significant at the level of .05 Keyword : Learning Environment, The Philosophy of Sufficiency Economy, Information Technology
บทน�ำ จากการที่ประเทศไทยเกิดเหตุการณ์ วิกฤตเศรษฐกิจอย่างรุนแรง มีสาเหตุจากคนไทย ขาดความเตรียมพร้อมและไม่มีพื้นฐานของการ เป็นสังคมอุตสาหกรรม และเนื่องด้วยสถาบัน การศึ ก ษาในระดั บ อุ ด มศึ ก ษาเป็ น สถาบั น ที่ ส�ำคัญในการผลิตบัณฑิตที่เป็นก�ำลังส�ำคัญใน การสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศ ชาติ ดังนั้น สถาบันอุดมศึกษาควรมีแนวทาง และหลั ก การในการบริ ห ารสถาบั น ที่ จ ะช่ ว ย ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ให้ ไ ด้ บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ และจากการ วิเคราะห์สาเหตุของความอ่อนแอทางเศรษฐกิจ และสั ง คมของประเทศอย่ า งรอบด้ า นและมี การน�ำเสนอแนวคิดในการฟื้นฟูเศรษฐกิจของ ชาติขนึ้ มาเป็นกระแสในสังคมไทยคือ การใช้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ดังนัน้ ระบบ การศึ ก ษาจึ ง น้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการบริ ห ารจั ด การ การศึกษา และจากการทบทวนเกี่ยวกับการ บริ ห ารสถาบั น อุด มศึกษาซึ่ง ได้สรุปและแบ่ง การบริหารสถาบันอุดมศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ใหญ่ ๆ คื อ ส่ ว นที่ 1 การบริ ห ารทั่ ว ไปของ สถาบันอุดมศึกษา และส่วนที่ 2 การบริหาร ตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษา การน�ำหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหาร สถาบันอุดมศึกษานั้นต้องมีการประยุกต์ใช้ใน การบริหารสถาบันและการประยุกต์ใช้ในการ เรียนรู้ของผู้เรียน (ส�ำนักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา, 2551) เมื่อการพัฒนาประเทศก�ำหนดทิศทาง ไปสู่สังคมแห่งความพอเพียง ระบบการศึกษา จึ ง ต้ อ งน� ำ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษาให้ได้อย่าง เหมาะสม ปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาบริหาร งานภายใต้กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565) ซึ่งยังคงอัญเชิญ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวทาง ในการก�ำหนดทิศทางยุทธศาสตร์ (strategy direction) (ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา, 2551) จึงท�ำให้สถาบันอุดมศึกษา หลายแห่ ง ได้ น ้ อ มน� ำ หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพียงมาเป็นแนวทางในการบริหารสถาบัน เพื่อมุ่งหวังให้ได้บัณฑิตที่มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามแนวหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิ ด ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เป็นแนวทางในการด�ำเนินชีวิตและการพัฒนา ตนเองให้กา้ วหน้าอย่างเป็นขัน้ ตอนและสามารถ พึ่งพาตนเองเกิดความพอมี พอกิน พอใช้ ได้ เผยแพร่ผ่านทางสื่อมวลชน สื่อสังคมออนไลน์ และอินเทอร์เน็ตท่ามกลางกระแสโลกยุคโลกา ภิวัตน์ จากการส�ำรวจพฤติกรรมการเงินส่วน บุคคลเมื่อปี 2549 โดยสถาบันรามจิตติและ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2549) เพื่อ ส� ำ รวจพฤติ ก รรมและทั ศ นคติ ใ นการจั ด การ การเงิน การออมส่วนบุคคลผลการส�ำรวจนิสัย การบริโภคของนักเรียนนักศึกษาพบว่า กลุ่ม นักเรียนระดับประถมศึกษา ร้อยละ 30 กลุ่ม นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 44 และ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
143
กลุ่มนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ร้อยละ 20 มี ลักษณะใจร้อนใจเร็ว (impulsive buyer) คือ ตัดสินใจซื้อทันทีเมื่อต้องการ นอกจากนี้ ยังพบ ว่ากลุ่มนักเรียนระดับประถมศึกษามีการตัดสิน ใจซื้อสินค้าตามอิทธิพลของโฆษณาสูงที่สุด คือ ร้อยละ 17 รองลงมา คือ กลุ่มนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา ร้อยละ 12 และกลุม่ นักศึกษาระดับ อุดมศึกษา ร้อยละ 11 และพบว่ากลุ่มนักเรียน ระดับประถมศึกษา ร้อยละ 30 มีพฤติกรรมการ บริโภคฟุ่มเฟือย กลุ่มนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 64 มีพฤติกรรมการบริโภคฟุม่ เฟือย และ กลุ่มนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ร้อยละ 90 มี พฤติกรรมการบริโภคฟุ่มเฟือยสูงสุด นอกจากนี้ ยั ง พบอี ก ว่ า กลุ ่ ม นั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ร้อยละ 15 มีปัญหาด้านการใช้จ่ายต้องยืมเงิน เพื่อนเป็นประจ�ำ และกลุ่มนักศึกษาระดับอุดม ศึกษาร้อยละ 30 เล่นการพนันเพือ่ เพิม่ รายได้ให้ กับตนเอง (สถาบันรามจิตติและตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย, 2549) ผลการส�ำรวจข้างต้น ชี้ให้เห็นว่า วัยรุ่นหรือผู้ที่ก�ำลังอยู่ในวัยเรียน ต่ า งอยู ่ ใ นกลุ ่ ม ที่ มี ค วามต้ อ งการซื้ อ สู ง ผล ส�ำรวจยังระบุอีกว่า กลุ่มตัวอย่างมีการบริโภค สินค้าฟุ่มเฟือยโดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษาระดับ อุดมศึกษา และผลจากการใช้สินค้าฟุ่มเฟือย ท�ำให้มปี ญ ั หาด้านการเงินและด้านการพนัน จาก หลักฐานเชิงประจักษ์ที่สะท้อนให้เห็นถึงปัญหา พฤติกรรมการใช้จ่ายของเยาวชนการช่วยผ่อน ปรนปัญหาที่เกิดขึ้นวิธีการหนึ่ง คือ การใช้หลัก เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการด�ำเนิน ชีวิต 144
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เทคโนโลยีการศึกษาเป็นอีกส่วนหนึ่งที่ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการเข้ า ไปจั ด รู ป แบบการ เรี ย นรู ้ แ นวเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ทั้ ง นี้ เ พราะ เทคโนโลยีการศึกษา เป็นศาสตร์แห่งวิธีการ ในการพัฒนาการศึกษาและถ่ายทอดความรู้ จากผู้สอนไปสู่ผู้เรียนที่มีแนวคิดพื้นฐานมาจาก 1) แนวคิดวิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Science Concept) เป็ น การประยุ ก ต์ วิทยาศาสตร์ทางกายภาพและเทคโนโลยีทาง วิศวกรรมมาใช้ในลักษณะสื่อการเรียนการสอน โดยเน้นกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มใหญ่ 2) แนวคิด ทางพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science) ซึ่ ง เป็ น การประยุ ก ต์ ห ลั ก การทางจิ ต วิ ท ยา สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ผสมผสานกับ ผลผลิตทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม มาจัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้เพื่อช่วยให้การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพ โดย เน้นวิธีการออกแบบการสอนตามหลักการเรียน การสอน (Instruction Design) และ 3) แนวคิด ทางปัญญาทัศนศาสตร์ (Illuminating Science Concept) เป็นแนวคิดใหม่ ที่น�ำหลักการจาก การผุดรู้ (Enlightenment) และญาณวิทยา (Epistemology) มาใช้ในการจัดระบบ การปรับ เปลี่ยนพฤติกรรม การพัฒนาเทคนิคและวิธีการ การสื่อสาร การจัดสภาพแวดล้อมที่เน้นสภาพ แวดล้อมทางจิตภาพโดยอิงเมตตาธรรมเป็นฐาน การจัดการและการประเมินการเรียนการสอน ที่ไม่ยึดติดกับการอิงเกณฑ์หรืออิงกลุ่ม แต่มุ่ง อิงธรรม เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาความสว่างคือ
ปัญญาให้เกิดขึ้น และประจักษ์และรู้เท่าทัน สภาพที่เป็นจริงอย่างปราศจากความเคลือบ แคลงสงสัย และสร้างเสริมสติปญ ั ญาของผูเ้ รียน ให้ลุ่มลึก กว้างขวางเป็นความรู้จริง (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2555) สภาพแวดทางการศึกษา จัดเป็นหนึ่ง ในขอบข่ายด้านสาระของเทคโนโลยีและสือ่ สาร การศึกษาและประสิทธิภาพการเรียนการสอน ขึน้ อยูก่ บั การจัดสภาพแวดล้อมสูงมาก ทัง้ สภาพ แวดล้อมทางด้านกายภาพ ทางด้านจิตภาพ ทาง ด้านสังคม (ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2552) สภาพ แวดล้อมทางการเรียนการสอนเป็นตัวแปรส�ำคัญ อีกอย่างหนึ่งที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพใน การเรียนการสอน คือ 1) เป็นเงื่อนไขการเรียนรู้ 2) เป็นตัวก�ำหนดทิศทางการเรียนรู้ 3) เป็นสื่อ การเรียนรู้ 4) เป็นตัวสร้างบรรยากาศที่ดีในการ เรียนการสอน 5) เป็นประโยชน์ต่อการเรียน (จันทร์พิมพ์ สายสมร, 2552) นอกจากนี้ได้ ศึกษาอิทธิพลของสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ พบว่าสภาพแวดล้อมทางการเรียนรูม้ ผี ลกระทบ ต่อผู้เรียนหลายประการ ได้แก่ 1) พัฒนาการ ของผู้เรียน การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน ที่เหมาะสม ช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีพัฒนาทาง กาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาดีขึ้น 2) ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน สภาพแวดล้อมทางการ เรียนรู้ที่เหมาะสม ช่วยท�ำให้ผลสัมฤทธิ์ของผู้ เรียนสูงขึ้น 3) เจตคติ สภาพแวดล้อมที่เหมาะ สมท�ำให้ผเู้ รียนสนใจเรียน รักโรงเรียน รักคุณครู รักเพื่อนๆ (พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ, 2548) การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน จัดเป็นองค์
ประกอบที่ส�ำคัญอย่างหนึ่งที่สามารถเกื้อหนุน ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายอย่าง มีประสิทธิภาพ (สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ, 2553) ด้ ว ยเหตุ ผ ลดั ง กล่ า วมาข้ า งต้ น จึ ง ท�ำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะการพัฒนาระบบการจัด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย นด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่ จะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง คือ พอประมาณ มี เหตุผล และมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ภายใต้เงื่อนไข ความรอบรู้และคุณธรรม เพื่อเป็นประโยชน์ใน การพัฒนาการเรียนการสอนของอาจารย์และ นักศึกษาหรือผู้เรียนในสถาบันอุดมศึกษาให้ได้ เตรียมความพร้อมและพัฒนาตนเองในระหว่าง การศึกษาไปจนส�ำเร็จการศึกษา และเพื่อให้ นักศึกษาหรือผูเ้ รียนสามารถท�ำตนให้เป็นพึง่ ของ ตนเองได้และเป็นทีพ่ งึ่ ของผูอ้ นื่ ในสังคมได้ตอ่ ไป วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ศึกษาสภาพปัจจุบนั ปัญหา และ ความต้องการของสภาพแวดล้อมทางการเรียน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับ อุดมศึกษา และสังเคราะห์องค์ประกอบของ ระบบ 2. เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบการ จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยี สารสนเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
145
3. เพื่ อ ศึ ก ษาผลการใช้ ร ะบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย นด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
ตรี สถาบันอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ�ำนวน 400 คน โดยใช้วธิ กี ารวิธกี ารสุม่ ตัวอย่าง แบบหลายขั้นตอน (Multi Stage Random Sampling) จากประชากร 257,921คน ก�ำหนด ขนาดกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งโดยใช้ วิ ธี ก ารเปิ ด ตาราง ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% 1. ประชากร ได้แก่ 1. อาจารย์ผู้สอน แล้วเลือกกลุ่มตัวอย่างค�ำนวณตามสัดส่วนแต่ ระดับปริญญาตรี ของสถาบันอุดมศึกษาภาค ละมหาวิทยาลัย ตะวันออกเฉียงเหนือ จ�ำนวน 9,860 คน 2. นักศึกษาระดับปริญญาตรี สถาบันอุดมศึกษา กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ�ำนวน 257,921 คน ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ก�ำหนดกรอบ 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1. อาจารย์ ที่จะท�ำการพัฒนาระบบการจัดสภาพแวดล้อม ผู้สอนระดับปริญญาตรี ของสถาบันอุดมศึกษา ทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลัก 8 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ�ำนวน 150 คน โดย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนิสติ นักศึกษา วิธีการสุ่มแบ่งกลุ่ม 2. นักศึกษาระดับปริญญา ระดับอุดมศึกษา ดังภาพที่ 1 สภาพแวดลอม ดานเทคโนโลยี สารสนเทศ
การจัดสภาพแวดลอม ทางการเรียน ตามทฤษฎีการออกแบบและจัด สภาพแวดลอมทางการเรียน
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช
ระบบการจัดสภาพแวดลอมทางการเรียนดานเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสําหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา คุณลักษณะพึงประสงคตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 1. มีความพอเพียงดานดานการรูคิด 2. มีความพอเพียงดานจิตใจ 3. มีความพอเพียงดานสังคม 4. มีความพอเพียงดานคุณธรรมจริยธรรม
มีความรูความเขาใจ ในหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัย ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดที่ใช้ ในการวิจยั
146
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เครื่องที่ใช้ ในการวิจัย ประกอบด้ วย
มีเจตคติที่ดีตอหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
เครื่องที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นเกีย่ วกับ สภาพการเรียนการสอน วิธีการและเทคนิคการ สอนเพื่อการจัดระบบสภาพแวดล้อมทางการ เรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งส� ำ หรั บ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา ส�ำหรับอาจารย์ผู้สอนระดับ อุดมศึกษา 2. แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับ การจัดระบบสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้าน เทคโนโลยี ส ารสนเทศตามหลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับ อุดมศึกษา 3. แบบสั ม ภาษณ์ ค วามคิ ด เห็ น ของ ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับองค์ประกอบและขั้นตอน ของระบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับ อุดมศึกษา การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ จากการเก็บข้อมูลด้วยแบบส�ำรวจความคิดเห็น เกีย่ วกับสภาพปัจจุบนั ปัญหา และความต้องการ ของอาจารย์และนักศึกษา เกีย่ วกับการจัดสภาพ แวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการ สัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญ
การวิเคราะห์ข้อมูล ผู ้ วิ จั ย จะด� ำ เนิ น การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามความ คิดเห็นของนักศึกษา ส่วนที่ 1 วิเคราะห์โดย การหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และส่วนที่ 2 วิเคราะห์ค่าความถี่ของ ข้อคิดเห็นและการน�ำเสนอแบบพรรณนา 2. ข้อมูลทีไ่ ด้จากการสัมภาษณ์อาจารย์ ผู ้ ส อน วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล โดยใช้ ก ารอภิ ป ราย พรรณนา 3. ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากผู ้ เ ชี่ ย วชาญในการ สนทนากลุ่ม (Focus Group) ผู้วิจัยตรวจสอบ ความสมบูรณ์ของแบบสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ เกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบการจัดสภาพ แวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับ นิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การอภิปรายเชิงพรรณนา วิธีการด�ำเนินวิจัย งานวิจัยเรื่องการพัฒนาระบบการจัด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย นด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษาซึ่ง ผู ้ วิ จั ย ได้ ด� ำ เนิ น การในลั ก ษณะการวิ จั ย และ พัฒนา (Research and Development) โดย แบ่งการวิจัยเป็น 3 ระยะ ซึ่งสรุปได้ ดังนี้ ระยะที่ 1 การศึกษาและสังเคราะห์องค์ ประกอบ และศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
147
ความต้องการ การพัฒนาระบบการจัดสภาพ แวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิต นักศึกษาระดับอุดมศึกษา มีขั้นตอนดังนี้ ขั้น ตอนที่ 1 ศึกษาและสังเคราะห์องค์ประกอบ จากเอกสาร หลักการแนวคิด ทฤษฏีและงาน วิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาระบบการจัดสภาพ แวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ขั้ น ตอนที่ 2 ส�ำรวจความคิดเห็นเกีย่ วกับสภาพปัจจุบนั สภาพ ทีพ่ งึ ประสงค์ และความต้องการ ของการพัฒนา ระบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้าน เทคโนโลยี ส ารสนเทศตามหลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับ อุดมศึกษาของอาจารย์และนิสิตนักศึกษา ขั้น ตอนที่ 3 สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญที่มี ประสบการณ์ ใ นการสอนและการจั ด สภาพ แวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ขั้ น ตอนที่ 4 ประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบโดยผู้ เชี่ยวชาญ ระยะที่ 2 การพัฒนาระบบการจัดสภาพ แวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับ นิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ขั้นตอนการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 พัฒนา ร่างระบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศตามหลั ก ปรั ช ญา 148
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งส� ำ หรั บ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษาและคู่มือ ขั้นตอนที่ 2 ประเมิน ระบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้าน เทคโนโลยี ส ารสนเทศตามหลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับ อุดมศึกษาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ขั้นตอนที่ 3 พัฒนาระบบการจัดสภาพ แวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ขั้ น ตอนที่ 4 พัฒนาเครื่องมือวัด ได้แก่ แบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดลักษณะอันพึง ประสงค์ตามเกณฑ์เศรษฐกิจพอเพียงและแบบ วัดเจตคติต่อการใช้ระบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิต นักศึกษาระดับอุดมศึกษา ขั้นตอนที่ 5 พัฒนา แบบสอบถามวัดเจตคติของผูเ้ รียนเกีย่ วกับระบบ การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ขั้นตอนที่ 6 ศึกษาและหาคุณภาพเครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย ระยะที่ 3 การใช้ระบบสภาพแวดล้อม ทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิต นักศึกษาระดับอุดมศึกษา มีขั้นตอนดังนี้ ขั้น ตอนที่ 1 ใช้แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวั ด คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ต ามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่ อ ประเมิ น
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่อการเรียนก่อนการ จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยี สารสนเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ขั้น ตอนที่ 2 ด�ำเนินการจัดสภาพแวดล้อมทางการ เรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งส� ำ หรั บ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา ขั้นตอนที่ 3 ใช้แบบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดทักษะการคิดหลัก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง เพื่ อ ประเมิ น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่อการเรียนหลังการ จัดรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับ อุดมศึกษา ขั้นตอนที่ 4 สอบถามเจตคติของ ผู้เรียนเกี่ยวกับรูปแบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนฯ ผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบนั ปัญหา และความต้องการของสภาพแวดล้อมทางการ เรี ย นด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศตามหลั ก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิต นักศึกษาระดับอุดมศึกษา จากการวิเคราะห์ผลของแบบส�ำรวจ สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของ อาจารย์และนิสติ นักศึกษาระดับปริญญาตรีของ มหาวิทยาลัยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจ�ำนวน 374 ฉบับ ได้ผลการวิเคราะห์ดังนี้ 1.1 ผลการศึ ก ษาสภาพปั จ จุ บั น
พบว่ า ผู ้ ต อบแบบสอบถามมี ค วามคิ ด เห็ น ใน ด้านการรับรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและด้านสภาพแวดล้อมด้านเทคโนโลยี สารสนเทศอยูใ่ นระดับปานกลาง ทีค่ า่ เฉลีย่ 3.43 และ 3.47 ตามล�ำดับ 1.2 ผลการศึกษาปัญหา และความ ต้องการ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิด เห็นเกี่ยวกับปัญหาในด้านสภาพแวดล้อมด้าน สารสนเทศอยู ่ ใ นระดั บ ปานกลางที่ ค ่ า เฉลี่ ย 3.25 มี ค วามคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ปั ญ หาในด้ า น กระบวนการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับ น้อย ที่ค่าเฉลี่ย 2.39 และความคิดเห็นเกี่ยวกับ ปัญหาในด้านการประเมินผลอยู่ในระดับมาก ที่ ค่าเฉลี่ย 3.56 2. ผลการออกแบบและพัฒนาระบบ การจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย นด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับ อุดมศึกษา 2.1 ผลการพั ฒ นาระบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย นด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา สามารถ สรุปองค์ประกอบได้ดังนี้ 2.1.1 ปัจจัยน�ำเข้า ประกอบ ด้วย 1) เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 2) หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.1.2 กระบวนการ ประกอบ ด้วยกระบวนการในการจัดสภาพแวดล้อม 8 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ก�ำหนดเป้าหมาย 2) ก�ำหนด เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
149
มาตรฐานคุณภาพ 3) วิเคราะห์คุณภาพ 4) ก�ำหนดลักษณะที่พึงประสงค์ 5) ก�ำหนดวิธี การพัฒนาสภาพแวดล้อม 6) ก�ำหนดเครื่องมือ ในการพัฒนาสภาพแวดล้อม 7) ด�ำเนินการจัด สภาพแวดล้อม และ 8) ประเมินผล โดยมีการ น�ำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ประกอบ ด้วย 3 องค์ประกอบหลัก คือ ความพอประมาณ (ทางสายกลาง) มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกัน ควบคู่ กับความรู้และคุณธรรม มาใช้กับกระบวนการ การจัดหาอุปกรณ์ การพัฒนาสื่อการสอน และ การส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร 2.1.3 ผลลัพธ์ ประกอบด้วย องค์ ป ระกอบ 3 องค์ ป ระกอบ ได้ แ ก่ 1) คุ ณ ลั ก ษณะพึ ง ประสงค์ ต ามหลั ก ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย มีความพอ เพียงด้านการรู้คิด มีความพอเพียงด้านจิตใจ มี ความพอเพียงด้านสังคม และมีความพอเพียง ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2) มีความรู้ความเข้าใจ ในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ 3) มี เจตคติที่ดีต่อหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 ผลการประเมิ น และรั บ รอง การพั ฒ นาระบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มทาง การเรียนฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 9 ท่าน พบว่าหลักการ แนวคิด และวัตถุประสงค์ องค์ ประกอบต่างๆ ของปัจจัยน�ำเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์ของการจัดสภาพแวดล้อม รวมถึง ภาพรวมของระบบฯ มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก 3. ผลการทดลองใช้ ร ะบบการจั ด สภาพแวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยี 150
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
สารสนเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียงส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จากการน�ำระบบการจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรี ย นฯ ไปจั ด สภาพแวดล้ อ มให้ แ ก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่ก�ำลังศึกษาคณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม สาขาบรรณารักษ์ศึกษาและภาษาอังกฤษ ชั้นปี ที่ 1 จ�ำนวน 50 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม ที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บ การจั ด สภาพแวดล้ อ ม และกลุ ่ ม ทดลองที่ได้รับการจัดสภาพแวดล้อม กลุ่มละ 25 คน ได้ผลการวิเคราะห์ ดังนี้ 3.1 ผลการวิเคราะห์ความรู้ความ เข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า ความรู ้ ค วามเข้ า ใจในหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของกลุ ่ ม ทดลองหลั ง ได้ รั บ การจั ด สภาพแวดล้ อ มทางการเรี ย นด้ า นเทคโนโลยี สารสนเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพี ย งเพิ่ ม ขึ้ น จากก่ อ นการจั ด สภาพแวดล้ อ ม และมีความรู้ความเข้าใจมากกว่ากลุ่มควบคุมที่ ไม่มีรับการจัดสภาพแวดล้อมอย่างมีนัยส�ำคัญ ที่ระดับ .05 3.2 ผลการวิ เ คราะห์ คุ ณ ลั ก ษณะ อันพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง พบว่ากลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดสภาพ แวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง มี คุณลักษณะความพอเพียงด้านการรู้คิด ด้าน จิตใจ ด้านสังคม และด้านคุณธรรมจริยธรรม มากกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้ไม่ได้รับการจัดสภาพ แวดล้อมอย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ .05
3.3 ผลการวิเคราะห์เจตคติตอ่ หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบว่ากลุ่มทดลองที่ ได้รับการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้าน เทคโนโลยี ส ารสนเทศตามหลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มีเจตคติที่ดีต่อหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งสูง กว่ากลุม่ ควบคุมทีไ่ ม่ได้รบั การจัดสภาพแวดล้อม อย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ .05 อภิปรายผล จากผลการวิจัยการพัฒนาระบบการ จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยี สารสนเทศตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส�ำหรับนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ผู้วิจัย สามารถสรุปประเด็นส�ำคัญในการอภิปรายผล ได้ดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์ความรู้ความเข้าใจ ในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบว่าความ รู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของกลุม่ ทดลองหลังได้รบั การจัดสภาพแวดล้อม ทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มขึ้นจาก ก่อนการจัดสภาพแวดล้อม และมีความรู้ความ เข้าใจมากกว่ากลุม่ ควบคุมทีไ่ ม่มรี บั การจัดสภาพ แวดล้อมอย่างมีนัยส�ำคัญ สอดคล้องกับแนวคิด ของ อรพันธุ์ ประสิทธิรัตน์ (2533) จันทร์พิมพ์ สายสมร (2552) สุมาลี ชัยเจริญ (2551) และงาน วิจัยของสุพจน์ อิงอาจ (2548) ที่พบว่าการจัด สภาพแวดล้อมทีด่ จี ะช่วยเพิม่ ความรูค้ วามเข้าใจ ในเนื้อหาที่เรียน และเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของผู้เรียนได้ 2. ผลการวิ เ คราะห์ คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียง พบว่ากลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดสภาพ แวดล้อมทางการเรียนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณลักษณะความพอเพียงด้านการรู้คิด ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านคุณธรรมจริยธรรม มากกว่า กลุ่มควบคุมที่ได้ไม่ได้รับการจัดสภาพแวดล้อม อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ ปนธร ธรรมสัตย์ และคณะ (2555) ที่พบว่าการ จัดรูปแบบการเรียนการสอนตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงสามารถช่วยเพิ่มสมรรถนะ ด้านความพอเพียง 4 ด้าน ได้แก่ ความพอเพียง ด้านความรูค้ ดิ ความพอเพียงด้านจิตใจ ความพอ เพียงด้านสังคม และความพอเพียงด้านคุณธรรม และจริยธรรมได้ 3. ผลการวิ เ คราะห์ เ จตคติ ต ่ อ หลั ก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบว่ากลุ่มทดลองที่ ได้รับการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้าน เทคโนโลยี ส ารสนเทศตามหลั ก ปรั ช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มีเจตคติที่ดีต่อหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งสูง กว่ากลุม่ ควบคุมทีไ่ ม่ได้รบั การจัดสภาพแวดล้อม อย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ ฉัตรรุ่ง เงินอ้น (2553) ที่พบว่าการน�ำหลัก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาบู ร ณาการกั บ การเรี ย นการสอนจะช่ ว ยให้ ผู ้ เ รี ย นมี เ จตคติ ต่อปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยู่ในระดับดีมาก เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
151
การน�ำเศรษฐกิจพอเพียงกับเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ คือ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต้องใช้ หลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชด�ำรัส ได้แก่ รู้จักใช้ตามความจ�ำเป็น และตามก�ำลัง ทรัพย์ของคนนัน้ หรือเรียกว่ารูจ้ กั ใช้พอประมาณ ตามเหตุผล ไม่ไปตามกระแสโลกประกอบกับใช้ หลักธรรมเข้ามาช่วย เช่น ไม่ใช้เทคโนโลยีไปใน ทางที่ผิด และหมั่นดูแลรักษาตลอดถึงในการใช้ ให้เกิดประโยชน์มากที่สุดตามความจ�ำเป็น ข้อเสนอแนะในการน�ำไปใช้ ผู้น�ำไปใช้ ควรเจตคติทดี่ ตี อ่ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมี ใ จเป็ น กลางในการจั ด สภาพแวดล้ อ ม
ไม่เอาความคิดเห็นส่วนตัวเข้าไปร่วมในการจัด สภาพแวดล้อมผู้น�ำไปใช้ควรศึกษาหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงให้มีความเข้าใจอย่างแท้จริง เพื่อให้สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างถูกต้อง ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ควร ศึ ก ษารู ป แบบการจั ด สภาพแวดล้ อ มในด้ า น อื่นๆ ได้แก่ สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สภาพ แวดล้อมทางจิตภาพ และสภาพแวดล้อมทาง สังคม เพื่อเติม ควรศึกษาถึงผลกระทบของการ ใช้สื่อต่างๆ เพื่อค้นหาสื่อที่เหมาะสมที่สุดใน การจัดสภาพแวดล้อมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
เอกสารอ้างอิง จันทร์พิมพ์ สายสมร. (2552). สภาพแวดล้อมการเรียนการสอน. นนทบุรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธร รมาธิราช. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2552 ). สามัญทัศน์เกี่ยวกับเทคโนโลยีการสอน. ในเอกสารการสอนชุดวิชา เทคโนโลยีการสอน หน่วยที1่ -8. พิมพ์ครัง้ ที1่ 0 .นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. และวาสนา ทวีกุลทรัพย์. (2555). การจัดสภาพแวดล้อมทางการศึกษา. ใน เอกสารการสอน ชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 12. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ. (2548). การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรูป้ ระตูสคู่ วามส�ำเร็จในการพัฒนา ผู้เรียน. กรุงเทพ: เทคโนโลยีการศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา. สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ. (2554). การออกแบบและพัฒนาสภาพแวดล้อมทางการศึกษา. http:// cyberclass.msu.ac.th/cyberclass/library/ 28 มกราคม 2554. ส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 (แก้ไข เพิ่มเติม 2545). กรุงเทพฯ: ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 152
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาและ ทักษะการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริงระดับประถมศึกษา The Development of Blended Learning System by Using Gamification Based Learning to Enhance the Mathematics Problem Solving Skills and Connection Skills to Real Life for Primary schools สุชัญญา เยื้องกลาง1*, ธนดล ภูสีฤทธิ2์ , สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ3 Suchanya Yuengklang1*, Thanadol Phuseerit2, Suttipong Hoksuwan3 1 นิสิตระดับปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาสารคาม 44000 Ph.D., student in Educational Technology and Communication, Mahasarakham University 44000 2,3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาสารคาม 44000 Faculty of Education Mahasarakham University, Mahasarakham 44000 *corresponding author, e-mail : Suchanya_koong@hotmail.com
บทคัดย่อ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี ค วามมุ ่ ง หมายเพื่ อ ศึกษาองค์ประกอบ พัฒนา และศึกษาผลการ ใช้ระบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดย ใช้เกมิฟิเคชั่นเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ ปัญหาและทักษะ การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์สู่ ชีวิตจริงระดับประถมศึกษา การวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ 1) ศึกษาองค์ประกอบ 2) พัฒนาและ รับรองระบบการเรียนการสอน และ 3) ทดลอง ใช้ระบบฯ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ครู คณิตศาสตร์ จํานวน 372 คน กลุ่มที่ 2 ผู้ทรง คุณวุฒิ จํานวน 7 ท่าน และกลุ่มที่ 3 นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จํานวน 35 คน เครื่อง มือที่ใช้ได้แก่ ระบบการเรียนการสอนที่พัฒนา ขึ้น แบบวัดทักษะต่าง ๆ และแบบสอบถาม
ความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (Dependent t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ระบบการเรียนการสอนที่พัฒนา มี 5 องค์ประกอบ คือ 1) ปัจจัยน�ำเข้า 2) กระบวนการ 3) การควบคุม 4) ผลลัพธ์ 5) ข้อมูล ป้อนกลับ องค์ประกอบกระบวนการ แบ่งออก 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นเตรียมการก่อนการเรียน การสอน และขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ซึ่งมี 6 ขั้น ได้แก่ ขั้นน�ำ เสนอสถานการณ์ ปัญหา ขั้นสอน มี 4 กิจกรรม ได้แก่ (1) ค้นหา ปัญหา (2) วางแผน (3) ด�ำเนินการแก้ปัญหา (4) การนําเสนอผลและตรวจสอบการแก้ปัญหา เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
153
ขั้ น สรุ ป ความคิ ด รวบยอด ขั้ น ฝึ ก ทั ก ษะ ขั้ น ประยุกต์ใช้ และขั้นประเมินผล กระบวนการ เกมิฟเิ คชัน่ ประกอบด้วย 1) แต้มสะสม (Points) 2) เหรียญตราสัญลักษณ์ (Badges) 3) ล�ำดับ ขั้น (Levels) 4) ตารางอันดับ (Leaderboard) 5) ความท้าทาย (Challenges) 2. ผู ้ เ รี ย นมี ทั ก ษะการแก้ ป ั ญ หาทาง คณิตศาสตร์ ทักษะการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์สู่ ชีวิตจริง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สู ง กว่ า ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 3. ผูเ้ รียนมีความพึงพอใจต่อระบบการ เรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก ค�ำส�ำคัญ: การเรียนการสอนแบบผสมผสาน เกมิ ฟ ิ เ คชั่ น การแก้ ป ั ญ หาทางคณิ ต ศาสตร์ การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริง ABSTRACT The objectives of this research were to study and Synthesize the components, to develop, and to study the usage of blended learning system using gamification based learning to enhance the mathematics problem-solving skills and connection skills to real life for primary schools. The research was divided into 3 phases. Phase 1) to study the components 2) develop the learning system using gamification-based learning 154
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
and confirming 3) evaluating the effects learning system implemented. Samples comprise: First stage, 372 mathematics teachers ; Second stage, Experts ; Third stage, 35 Phathom Suksa Six students from elementary school. The tools were : 1) the learning system developed 2) assessment forms and 3) satisfaction questionnaire. Data was analyzed to find percentage, mean, standard deviation and dependent samples t-test. The results were as the following : 1. The learning system developed are 5 components: 1) Input 2) Process 3) Controls 4) Output and 5) Feedback. The teaching system was divided into two phases as follows: 1) prepare learning and teaching, 2) organize instructional process in six steps i.e. presents the problem, teaching have 4 activities ; (1) search (2) plan and select (3) solve (4) share and check, summarize, practice, apply and evaluation. Process of gamification consisted of (1) Points (2) Badges (3) Levels (4) Leaderboard (5) Challenges. 2. The mathematics problemsolving skills, connection skills for real life and achievement; the results were statistically significant at 0.01 level
3. Students satisfied with the ทางคณิตศาสตร์ (Mathematical problem learning system developed at the high solving) เป็ น ความสามารถหนึ่ ง ในทั ก ษะ level กระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ ที่ นั ก เรี ย นควร จะเรียนรู้ ฝึกฝน และพัฒนาให้เกิดขึ้นในตัว Keywords: blended learning system, นั ก เรี ย น เพราะการเรี ย นการแก้ ป ั ญ หาทาง gamification, mathematics problem- คณิตศาสตร์จะช่วยให้นกั เรียนมีแนวทางการคิด solving skills connection skills to real life ที่หลากหลายมีนิสัยกระตือรือร้น ไม่ย่อท้อ และ มี ค วามมั่ น ใจในการแก้ ป ั ญ หาที่ เ ผชิ ญ อยู ่ ทั้ ง บทน�ำ ภายในและภายนอกห้องเรียน ตลอดจนเป็น การศึกษาในศตวรรษที่ 21 เป็นการ ทักษะพื้นฐานที่นักเรียนสามารถน�ำติดตัวไปใช้ จั ด การเรี ย นรู ้ เ พื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มให้ กั บ แก้ปัญหาในชีวิตประจ�ำวันได้นานตลอดชีวิต นักเรียนมีทักษะด้านต่าง ๆ สําหรับการออกไป (สถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอนวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ ดํารงชีวติ ในโลกปัจจุบนั นัน่ คือ ทักษะการเรียนรู้ เทคโนโลยี , 2551, น. 6) และการเรี ย นรู ้ (learning skill) ดังที่ วิจารณ์ พานิช (2555, เนื้ อ หาทางคณิ ต ศาสตร์ ที่ มี ก ารเชื่ อ มโยงกั บ น.10) ได้กล่าวว่า “ครูต้องไม่สอน แต่ต้อง สิ่งที่ได้พบเห็นที่มีอยู่ในชีวิตประจ�ำวันหรือใช้ ออกแบบการเรียนรู้และอํานวยความสะดวก สถานการณ์ตา่ ง ๆ ในชีวติ จริงมาเป็นสถานการณ์ (facilitate) การเรียนรู้ให้นักเรียนเรียนรู้จาก ปัญหาส�ำหรับการสอนเนื้อหาคณิตศาสตร์ใน การเรี ย นแบบลงมื อ ทํ า หรื อ ปฏิ บั ติ แ ล้ ว การ ทุ ก โอกาสที่ เ ป็ น ไปได้ แ ละมี ก ารท�ำอย่ า ง เรี ย นรู ้ ก็ จ ะเกิ ด จากภายในใจและสมองของ สม�่ ำ เสมอ จะท�ำให้ นั ก เรี ย นเห็ น คุ ณ ค่ า และ ตนเอง” ดังนั้น การพัฒนาคุณภาพการเรียน ตระหนักถึงความส�ำคัญของวิชาคณิตศาสตร์ รู้ของผู้เรียนที่ดีที่สุดคือ ให้ผู้เรียนเกิดทักษะ เรี ย นได้ ดี แ ละสนุ ก กั บ การเรี ย นคณิ ต ศาสตร์ การคิ ด วิ เ คราะห์ คิ ด แก้ ป ั ญ หาและคิ ด อย่ า ง (Buck, 2000, pp. 591-594) สร้างสรรค์ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนและ การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้ลงมือปฏิบัติ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดและ ระดับชาติ (O-net) คะแนนเฉลี่ยกลุ่มสาระการ แก้ปัญหาด้วยตนเอง ทักษะในการแก้ปัญหา เรียนรู้คณิตศาสตร์ 3 ปีย้อนหลัง ปี 2557-2559 (Critical Thinking and Problem Solving) ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ต�ำ่ กว่าร้อยละ 50 ทุกปี เป็นทักษะหนึ่งที่ส�ำคัญในทักษะการเรียนรู้ใน (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ, 2559) ศตวรรษที่ 21 ทีม่ คี วามสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ สอดคล้องกับการวัดผลระดับนานาชาติอย่าง การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองที่ว่า คน PISA ก็ได้ผลใกล้เคียงกัน ที่เด็กไทยมากกว่าครึ่ง ไทยคิดเป็น ท�ำเป็น แก้ปัญหาได้ และแก้ปัญหา ประเทศสอบตกวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
155
หรือแม้แต่การอ่าน ประเทศไทยเป็น 1 ใน 16 ประเทศ ที่เยาวชนอายุ 15 ปี สอบตก PISA มากกว่าครึ่งหนึ่งของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนที่ เข้าสอบคณิตศาสตร์ที่มีบริบทพื้นฐานว่าด้วย การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ทั้งในชีวิตจริง และสถานการณ์สมมติ การเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) เป็นการน�ำเอาคุณลักษณะที่ดีที่สุด ของการเรียนการสอนในห้องเรียนและการเรียน การสอนแบบออนไลน์เข้าด้วยกัน เพือ่ สนับสนุน ให้เกิดการเรียนรู้เชิงรุกอย่างอิสระและลดเวลา สอนในห้องเรียน (Garnham and Kaleta, 2002) พัฒนาผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ท้าทาย และตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล และศักยภาพทางการเรียนรู้ของนักเรียน ท�ำให้ นักเรียนสามารถพัฒนาความสามารถในการ เรียนรู้ของตนเองได้ดีขึ้น (Driscoll, 2002) และ ส่งผลให้นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงสุด (Singh, 2003) เกมิฟิเคชั่น (Gamification) อาศัยหลัก ของการเล่นที่มีความบันเทิง สนุกสนาน ตื่นเต้น ท้าทาย น่าติดตาม ผสมผสานกันไป โดยกลไก ของเกมิฟเิ คชัน่ จะท�ำให้พฤติกรรมการเรียนรูข้ อง ผูเ้ รียนเปลีย่ นแปลงในทางบวก ส่งผลดีให้เกิดขึน้ กับนักเรียน ซึง่ เป็นการน�ำข้อดีของการออกแบบ เกม คือ การสร้างความสนุกและความพึงพอใจ มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือ่ สร้างแรงจูงใจ (Simóes, Redondo, and Vilas, 2013) และความสนใจในการเรียนของผู้เรียน พร้อมทั้งได้รับความรู้ได้เป็นอย่างดี (Banfield 156
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
and Wilkerson, 2014) ด้วยเหตุผลนี้ ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนา ระบบการเรี ย นการสอนแบบผสมผสานโดย ใช้เกมิฟิเคชั่นเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการ แก้ปัญหาและทักษะการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ สู ่ ชี วิ ต จริ ง ระดั บ ประถมศึ ก ษา ที่ จ ะส่ ง ผลให้ นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหาทาง คณิตศาสตร์และน�ำไปเชื่อมโยงในชีวิตประจ�ำ วันได้อย่างมีความหมายและเข้าใจมากขึ้น อีก ทั้งครูผู้สอนได้แนวทางในการพัฒนาและการ ใช้ ร ะบบการเรี ย นการสอนแบบผสมผสาน โดยใช้ เ กมิ ฟ ิ เ คชั่ น เป็ น ฐานที่ มี อ งค์ ป ระกอบ ขัน้ ตอน และกิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ หมาะ สมกับระดับชั้นและวัยของผู้เรียน ที่สามารถ ส่งเสริมให้ครูผู้สอนน�ำไปพัฒนาการเรียนการ สอนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาและสังเคราะห์องค์ประกอบระบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดย ใช้เกมิฟิเคชั่นเป็นฐาน 2. เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอน แบบผสมผสานโดยใช้เกมิฟิเคชั่นเป็นฐาน 3. เพื่อศึกษาผลการใช้ระบบการเรียน การสอนแบบผสมผสานโดยใช้ เ กมิ ฟ ิ เ คชั่ น เป็นฐาน 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน ต่อระบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น
วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and development) แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาและสังเคราะห์ องค์ประกอบของระบบการเรียนการสอน และ ศึกษาสภาพปัจจุบนั ปัญหา และความต้องการ ของระบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยใช้เกมิฟิเคชั่นเป็นฐาน 1. ศึ ก ษาเอกสาร หลั ก การ แนวคิ ด ทฤษฎี และงานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง โดยวิ ธี ก าร วิเคราะห์เนือ้ หา (Content analysis) และเรียบ เรียงสรุปประเด็นต่าง ๆ น�ำเสนอในลักษณะค�ำ บรรยาย 2. น�ำผลการศึ ก ษามาสร้ า งแบบสอบถามแบบประมาณค่า 5 ระดับ เกี่ยวกับ สภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการการ จัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ โดยส�ำรวจ จากครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ สั ง กั ด ส�ำนั ก งาน คณะกรรมการการจั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 372 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multistage Random Sampling) น�ำผลการส�ำรวจ มาสรุปและวิเคราะห์ดว้ ยค่าเฉลีย่ และส่วนเบีย่ ง เบนมาตรฐาน 3. สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้เชี่ยวชาญที่มี ประสบการณ์ด้านการสอนคณิตศาสตร์ จ�ำนวน 5 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง น�ำข้อมูลมาวิเคราะห์ผล แล้วน�ำเสนอผลใน
รูปแบบของความเรียง 4. ผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 5 ท่าน ประเมิน ความเหมาะสมองค์ประกอบของระบบการเรียน การสอน โดยใช้แบบประเมินความเหมาะสม ขององค์ประกอบแบบประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่ง ประกอบด้วยค�ำถามถึงความเหมาะสมขององค์ ประกอบ ด้านปัจจัยน�ำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลลัพธ์ การควบคุม ด้านข้อมูลป้อนกลับ และภาพรวมขององค์ประกอบ น�ำข้อมูล มา วิเคราะห์ผลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ระยะที่ 2 การพัฒนาระบบการเรียน การสอนแบบผสมผสานโดยใช้ เ กมิ ฟ ิ เ คชั่ น เป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาและ ทั ก ษะการเชื่ อ มโยงคณิ ต ศาสตร์ สู ่ ชี วิ ต จริ ง ระดับประถมศึกษา 1. พัฒนาร่างระบบการเรียนการสอน จากองค์ ป ระกอบที่ ไ ด้ จ ากการสั ง เคราะห์ ใ น ระยะที่ 1 2. ให้ผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 7 คน เพื่อ ประเมินและรับรองระบบฯ โดยใช้แบบประมาณ ค่า 5 ระดับ ซึ่งประกอบด้วยข้อค�ำถาม หลักการ แนวคิด และวัตถุประสงค์ของระบบการเรียน การสอน องค์ประกอบของระบบการเรียนการ สอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ ภาพรวมของระบบการเรียนการสอน น�ำข้อมูล มาวิเคราะห์โดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 3. พัฒนาโปรแกรมบทเรียนแบบผสม ผสานตามระบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
157
โดยผู้เชี่ยวชาญ ได้ประเมินความเหมาะสมอยู่ ในระดับมากและหาคุณภาพของเครื่องมือโดย ก�ำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 80/80 จากการทดลองใช้ได้ค่าประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 86.40/80.76 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูง กว่าเกณฑ์ที่กําหนดไว้ 4. พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ วั ด ได้ แ ก่ แบบ วัดทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ แบบ วัดทักษะการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบสอบถามความพึงพอใจต่อระบบทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งทุก ฉบับมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60 - 1.00 และมีค่า อ�ำนาจจ�ำแนกเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 5. พัฒนาแบบสอบถามความพึงพอใจ อยู่ในรูปแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67 - 1.00 และค่า ความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.72 ระยะที่ 3 การศึกษาผลการใช้ระบบ การเรี ย นการสอนแบบผสมผสานโดยใช้ เกมิ ฟ ิ เ คชั่ น เป็ น ฐานเพื่ อ ส่ ง เสริ ม ทั ก ษะการ แก้ปัญหาและทักษะการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์ สู่ชีวิตจริงระดับประถมศึกษา 1. แบบแผนการทดลอง ในการทดลอง หาผลการใช้ระบบการเรียนการสอน ใช้แบบแผน การทดลองแบบ One-Group Pretest Posttest Design 2. กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง ได้ แ ก่ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านโจดนาตาล สังกัดส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา 158
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
กาฬสินธุ์ เขต 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จ�ำนวน 35 คน ได้จากการเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง (Purposive sampling) 3. เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย มี ร าย ละเอียดดังนี้ 3.1 เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการทดลอง ได้แก่ ระบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยใช้เกมิฟิเคชั่นเป็นฐาน 3.2 เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการเก็ บ รวบ รวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดทักษะการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์ แบบวัดทักษะการเชื่อมโยง คณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริง และแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.3 เครื่องมือที่ใ ช้ใ นการประเมิน ระบบการเรียนการสอน ได้แก่ แบบสอบถาม ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ระบบการ เรียนการสอน 4. ด�ำเนิ น การทดลองตามรู ป แบบที่ ออกแบบไว้ 5. เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและ หลังเรียน โดยใช้การทดสอบค่าที (t-test แบบ dependent) 6. วิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียน ต่อระบบการเรียนการสอนโดยใช้ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการของระบบการเรียนการสอน โดยใช้เกมิฟิเคชั่นเป็นฐาน พบว่า ครูผู้สอนเห็น
ด้วยปานกลางกับสภาพ ปัญหาในทุกด้าน มี ความต้องการทุกด้านอยูใ่ นระดับมาก โดยเฉพาะ ด้านการเรียนรู้โดยใช้เกมิฟิเคชั่น 2. ผลการพัฒนาระบบการเรียนการ สอนแบบผสมผสานโดยใช้เกมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
เพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาและทักษะการ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริงระดับประถม ศึกษา 2.1 ระบบการเรี ย นการสอนมี ลักษณะดังภาพที่ 1 ซึ่งประกอบด้วย
ภาพที่ 1 ระบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เกมิฟิเคชั่นเป็นฐานฯ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
159
ปัจจัยน�ำเข้า ได้แก่ 1) การเรียนการ สอนแบบผสมผสาน ได้แก่ การเรียนการสอน แบบเผชิญหน้าในห้องเรียนปกติ และการเรียน การสอนบนเว็ บ 2) หลั ก การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เกมิฟิเคชั่นเป็นฐาน 3) เนื้อหากลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ ประถมศึกษาปีที่ 6 กระบวนการ โดยมีขนั้ ตอนกระบวนการ เรียนการสอน 2 ขัน้ ตอน ได้แก่ 1) ขัน้ เตรียมการ ก่อนการเรียนการสอน 2) ขั้นการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน มี 6 ขั้น ได้แก่ ขั้นน�ำเสนอ สถานการณ์ปัญหา (แต้มสะสม) ขั้นสอน (แต้ม สะสม) มี 4 กิจกรรม ได้แก่ (1) ค้นหาปัญหา (2) วางแผนหาวิธีการแก้ปัญหา (3) ด�ำเนินการ แก้ปัญหา (4) การนําเสนอผลและตรวจสอบ การแก้ปัญหา ขั้นสรุปความคิดรวบยอด ขั้นฝึก ทักษะ (เหรียญตราสัญลักษณ์) ได้แก่ แบบฝึกหัด ด่านที่ 1 : ด่านกล้วย สถานการณ์ปญ ั หาในระดับ ง่าย แบบฝึกหัดด่านที่ 2 : ด่านภูเขา สถานการณ์ ปัญหาในระดับปานกลาง และแบบฝึกหัดด่าน ที่ 3 : ด่านหิน สถานการณ์ปัญหาในระดับยาก ขั้นประยุกต์ใช้ (ล�ำดับขั้น) ได้แก่ แบบฝึกหัด ด่านที่ 4 ด่านการน�ำไปใช้ : สร้างปัญหาชวนคิด ในบริบทชีวิตจริง ขั้นประเมินผล (ตารางอันดับ) ได้แก่ แบบฝึกหัดด่านที่ 5 ด่านทดสอบพิชิต เป้าหมาย เป็นด่านทดสอบย่อยตามจุดประสงค์ ในการเรียนเนื้อหาเมื่อเสร็จสิ้นแล้ว การควบคุม เป็นเงื่อนไขก�ำหนดเกณฑ์ การให้แต้มสะสม (Points) เหรียญตราสัญลักษณ์ (Badges) การให้ล�ำดับขั้น (Levels) ตาราง อั น ดั บ (Leaderboard) และความท้ า ทาย 160
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
(Challenges) ผลลัพธ์ ได้แก่ 1) ทักษะการแก้ปัญหา ทางคณิ ต ศาสตร์ 2) ทั ก ษะการเชื่ อ มโยง คณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริง 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน 4) ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อระบบการ เรียนการสอน ข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บ เป็ น ผลการปฏิ บั ติ ภารกิจและความผิดพลาดในการท�ำกิจกรรม 2.2 การแบ่งสัดส่วนการผสมผสาน ระหว่างการเรียนแบบเผชิญหน้าในห้องเรียน ปกติ 50% ในขั้นน�ำเสนอสถานการณ์ปัญหา ขั้นสอน และขั้นสรุปความคิดรวบยอด และการ เรียนการสอน บนเว็บ 50% ในขั้นฝึกทักษะ ขั้น ประยุกต์ใช้ และขั้นประเมินผล 2.3 ผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ไ ด้ ป ระเมิ น และ รับรองระบบการเรียนการสอนที่พัฒนา พบว่า มีความเหมาะสมอยูใ่ นระดับมาก น�ำไปใช้ในการ เรียนการสอนกับผูเ้ รียนในระดับประถมศึกษาได้ 3. ผลการใช้ระบบการเรียนการสอน ที่พัฒนาขึ้น พบว่า ผู้เรียนมีคะแนนทักษะการ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ทักษะการเชื่อมโยง คณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริง และผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนยั ส�ำคัญ ที่ระดับ .01 4. ผูเ้ รียนมีความพึงพอใจต่อระบบการ เรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก อภิปรายผล จากผลการทดลองใช้ระบบการเรียนการ สอน สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้
1. ผูเ้ รียนมีคะแนนทักษะการแก้ปญ ั หา ทางคณิ ต ศาสตร์ แ ยกเป็ น รายด้ า นหลั ง เรี ย น สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 แสดงให้เห็นว่าระบบการเรียนการ สอนที่ พั ฒ นาขึ้ น ส่ ง ผลให้ ผู ้ เ รี ย นมี พั ฒ นาการ ทัง้ 4 ด้านสูงขึน้ ครูผสู้ อนทีเ่ กีย่ วข้องในการสอน การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน ครู ควรปฏิบัติตามขั้นตอนของการแก้ปัญหาที่แบ่ง ออกเป็น ขั้นที่ 1 การทําความเข้าใจปัญหา ขั้นที่ 2 ขั้นวางแผน ในการแก้ปัญหา ขั้นที่ 3 ขั้น ดําเนินการแก้ปัญหา ขั้นที่ 4 ขั้นตรวจสอบผล ดังที่ Charles ; Lester ; & O’Daffer (1987, pp. 7-13) กล่าวว่าความสามารถในการท�ำความ เข้าใจ การเลือกใช้กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาและ การค้นหาค�ำตอบได้อย่างถูกต้อง เป็นสิ่งส�ำคัญ ในการพั ฒ นาความสามารถในการแก้ ป ั ญ หา ทางคณิตศาสตร์ และระบบการเรียนการสอน ที่ พั ฒ นาขึ้ น เน้ น ให้ นั ก เรี ย นทุ ก คนมี โ อกาส แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนวิธีการ และค�ำ ตอบในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์อย่างมี เหตุผล สามารถประเมินความคิด ตรวจสอบวิธี การและค�ำตอบของตนเองตลอดเวลา สอดคล้อง กับ วิชัย วงษ์ใหญ่ (2542, น. 9) ที่กล่าวว่า นั ก เรี ย นจะเกิ ด การเรี ย นรู ้ จ ากเพื่ อ นและคน รอบด้าน เมื่อมีการช่วยเหลือเอื้ออาทร ร่วมมือ ร่วมใจ และมีความสุขในการเรียน และ Slavin (1990) กล่าวว่าการปฏิบัติกิจกรรมระหว่าง สมาชิ ก ในกลุ ่ ม ที่ มี ค วามสามารถแตกต่ า งกั น และช่วยกันเรียนรู้จะช่วยพัฒนาผลการเรียนรู้ ได้เป็นอย่างดีสอดคล้องกับงานวิจัยของ Juan
M. Ferna’andez-Luna (2013) ได้ท�ำการ ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถในการ เรียนรู้แบบร่วมมือของผู้เรียนผ่านการเรียนรู้ ระบบแนวคิดเกมิฟิเคชั่น ผลการศึกษาพบว่า เกมิฟเิ คชัน่ ช่วยส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้เกิดแรงจูงใจ ในการเรียน ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือและน�ำ ไปสู่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น 2. ผู ้ เ รี ย นมี ค ะแนนทั ก ษะการเชื่ อ ม โยงคณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริงหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อาจ เป็นเพราะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ ผู้เรียนน�ำสถานการณ์ในชีวิตจริงมาเป็นสื่อใน การเชื่อมโยงความรู้ในเนื้อหา ท�ำให้ผู้เรียนเห็น วิชาคณิตศาสตร์เป็นเรื่องใกล้ตัวและเกี่ยวข้อง กับชีวิตประจ�ำวัน น�ำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ใน ชีวิตจริง ส่งผลให้ผู้เรียนตั้งใจเรียนรู้และเลือก วิ ธี ท างคณิ ต ศาสตร์ สอดคล้ อ งกั บ อั ม พร ม้าคะนอง (2554, น. 10-13) ที่กล่าวว่า การ เชื่อมโยงจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจคณิตศาสตร์ที่ เรียนในห้องเรียนได้ดีขึ้น และมองเห็นความ สําคัญของคณิตศาสตร์ในการเป็นเครือ่ งมือทีเ่ ป็น ประโยชน์สามารถน�ำไปใช้กับศาสตร์สาขาอื่น และชีวติ จริงได้ และรุง่ ฟ้า จันท์จารุภรณ์ (2554, น. 9-33) เห็นว่าช่วยให้นกั เรียนเห็นคณิตศาสตร์ เป็นวิชาที่มีคุณค่า น่าสนใจ และสามารถน�ำ ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจริงได้ เช่นเดียวกับเวช ฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร (2556, น. 31) กล่าวถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานการณ์ จริง จะส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาความสามารถ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
161
ในการเชื่อมโยงและมีความคิดเห็นที่ดีต่อการ เรียนการสอนด้วย สอดคล้องกับ Blank (1997 : 15) ในการใช้ปัญหาในชีวิตจริงเป็นสิ่งส�ำคัญที่ ท�ำให้นักเรียนเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับชีวิตจริง ได้ ซึ่ง NCTM (2000, pp. 60-62) ได้เสนอแนะ ว่า การให้นักเรียนได้อภิปรายด้วยเหตุผลและ มีก ารเชื่ อ มโยงจากข้อมูลที่มีอยู่ไปสู่ชีวิต จริง นั้น เป็นกระบวนการที่ส�ำคัญที่ท�ำให้นักเรียน เห็นความชัดเจนของวิชาคณิตศาสตร์ ตระหนัก ว่าคณิตศาสตร์มีอยู่ในชีวิตจริง และท�ำให้เกิด ความชอบต่อกิจกรรมการเรียนรู้ สอดคล้องกับ ปรีชา เนาว์เย็นผล (2545, น. 56) ถึงการเรียน รู้เนื้อหาทางคณิตศาสตร์ที่มีการเชื่อมโยงกับ สิ่งที่ได้พบเห็นที่มีอยู่ในชีวิตประจ�ำวันเป็นการ เรียนรู้ที่มีความหมาย ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ อย่างถ่องแท้จากตัวอย่างที่สัมผัสได้ ท�ำให้รู้สึก ว่าคณิตศาสตร์มีประโยชน์ และสามารถน�ำไป ใช้ในชีวิตจริงได้ 3. ผู้เรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงให้เห็นว่า ระบบการ เรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้เกมิฟิเคชั่น เป็นฐาน สามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเฉลี่ยมากกว่าการเรียนโดยใช้รูป แบบแบบปกติ สอดคล้องกับ Nellman (2008) พบว่า ผูเ้ รียนมีความเข้าใจในเนือ้ หาและมีทกั ษะ การแก้ปัญหาเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p <.05) มีปฏิกริ ยิ าเชิงบวกต่อรูปแบบการเรียน การสอนแบบผสมผสาน และควรนํารูปแบบการ เรียนการสอนแบบผสมผสานมาใช้ในการเรียน 162
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ให้มากขึน้ เช่นเดียวกับ Sandusky (2015) ทีพ่ บ ว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่ เกิดมาจากแรงจูงใจภายในและการเปลีย่ นแปลง ของกลไกเกมที่ใช้ในการเรียน จึงมีผลท�ำให้ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น 4. ผลการศึ ก ษาความพึ ง พอใจของ ผู ้ เ รี ย นต่ อ ระบบการเรี ย นการสอนแบบผสม ผสานโดยใช้เกมิฟิเคชั่นเป็นฐาน อยู่ในระดับ มาก เนื่องจากการเรียนตามระบบการเรียนการ สอนที่พัฒนาท�ำให้การเรียนสนุกสนานมากขึ้น ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนร่วมกัน เป็นกลุ่ม มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ได้แลก เปลี่ยนความคิด และค�ำนึงถึงความแตกต่าง ของผูเ้ รียน สอดคล้องกับทิศนา แขมมณี (2559, น.51-52) ที่ครูผู้สอนต้องเข้าใจความต้องการ พืน้ ฐานของผูเ้ รียนจัดสภาพการเรียนรูใ้ ห้ผเู้ รียน มีอสิ ระอือ้ ต่อการเรียนรู้ ดังที่ พรรณิสรา จัน่ แย้ม (2558, น. 119) กล่าวถึงว่า เป็นกิจกรรมที่สนุก สนานผ่านระบบออนไลน์โดยใช้เกมมิฟเิ คชันเพือ่ ให้เกิดการแข่งขันร่วมกับการได้รับผลสะท้อน กลับและการให้รางวัลอย่างมีความสุข และพิชญะ โชคพล (2558, น. 69-93) กล่าวว่าการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ตามแนวคิดเกมิฟิเคชั่นช่วยส่งเสริม พฤติกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือของผู้เรียน มี ปฏิสมั พันธ์ทดี่ ใี นกลุม่ กล้าแสดงออก และยอมรับ ในความคิดเห็นของผูอ้ นื่ มีความมัน่ ใจการเรียนรู้ ด้วยตนเอง และการเรียนการสอนบนเว็บสามารถ ช่ ว ยลดข้ อ จ�ำกั ด บางอย่ า งในการเรี ย นรู ้ ข อง ผูเ้ รียนลงได้ ส่งผลให้ผเู้ รียนเกิดความพึงพอใจต่อ ระบบการจัดการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น
ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัย ไปใช้ 1.1 ค�ำนึงถึงความพร้อมของผู้เรียน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ในการใช้งาน รวมทั้งศึกษาการ ใช้ระบบการเรียนการสอนให้เข้าใจก่อนที่จะนํา ไปใช้ เพื่อให้สามารถดําเนินกิจกรรมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 1.2 การจัดการเรียนการสอนแบบ เผชิ ญ หน้ า ในห้ อ งเรี ย นปกติ ควรเน้ น ที่ ก าร พัฒนาทักษะความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน การ ฝึกกระบวนการท�ำงานเป็นกลุ่ม ประกอบด้วย คนเก่ง ปานกลาง และอ่อน มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ พึ่งพาอาศัยและเห็นความส�ำคัญของกัน และกัน 1.3 การจัดการเรียนการสอนบนเว็บ ครูผู้สอนควรจัดหาสถานการณ์ปัญหาที่ผู้เรียน
สามารถสื บ ค้ น และค้ น คว้ า หาแหล่ ง ข้ อ มู ล ที่ หลากหลายและเป็นปัญหาใหม่ ๆ อย่างเป็น ระบบ เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติการการแก้ ปัญหาและเชื่อมโยงคณิตศาสตร์สู่ชีวิตจริงได้ 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาวิจยั เปรียบเทียบ กับกลุ่มห้องเรียนปกติเพื่อท�ำการเปรียบเทียบ ผลทีไ่ ด้ และควรน�ำไปทดลองใช้เพิม่ เติมกับกลุม่ ตัวอย่างอื่น ๆ เพื่อศึกษาผลที่ได้ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น 2.2 ควรมีการศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับ การแบ่งสัดส่วนการผสมผสานให้หลากหลาย เช่น 70 : 30 หรือ 60 : 40 จะมีผลต่อระบบการเรียน การสอนที่พัฒนาขึ้นหรือไม่ มากน้อยเพียงใด 2.3 ควรมีการศึกษาวิจัยกับตัวแปร อื่น ๆ เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นต้น เพื่อสร้าง แนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการ สอนให้หลากหลายและมีทางเลือกมากยิ่งขึ้น
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
163
เอกสารอ้างอิง ทิศนา แขมมณี. (2559). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดการกระบวนการเรียนรูปแบบ ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 20. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปรีชา เนาว์เย็นผล. (2545). หยิบสิง่ รอบกายมาใช้เรียนรูค้ ณิตศาสตร์ : แตงโมทรงลูกบาศก์. วารสาร คณิตศาสตร์, 45, น. 53-56. พรรณิสรา จัน่ แย้ม. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมด้วยกลยุทธ์เกมมิฟเิ คชัน่ และผังความคิดกราฟิก แบบร่วมมือออนไลน์ในการเรียน โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างความสามารถใน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์เชิงธุรกิจและจริยธรรมของนักศึกษาปริญญาตรี สาขา บริหารธุรกิจ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). พิชญะ โชคพล. (2558). การส่งเสริมพฤติกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดเกมิฟิเคชัน ส�ำหรับนักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุกูลนารี (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม). รุง่ ฟ้า จันทน์จารุภรณ์. (2546). เอกสารประกอบการบรรยาย ทักษะและและกระบวนการแก้ปญ ั หา. กรุงเทพฯ: โครงการอบรมครูคณิตศาสตร์ สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย. วิจารณ์ พานิช. (2555). ครูเพือ่ ศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. กรุงเทพฯ: เอส อาร์พริน้ ติง้ แมสโปรดักส์. วิชัย วงษ์ใหญ่. (2542). กระบวนทัศน์ใหม่ : การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพบุคคล. กรุงเทพฯ: SR Printing. เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2556). การพัฒนาความสามารถในการให้เหตุผลเชิงสถิติและการเชื่อม โยงคณิตศาสตร์ไปสู่ชีวิตจริงโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบการสอนแนะให้รู้คิด (CGI) ร่วม กับการใช้ค�ำถามระดับสูง ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารศึกษาศาสตร์, 24(2), น. 15-33. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2559). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET). สืบค้นเมื่อ 4 ตุลาคม 2557, จาก http://www.onetresult.niets. or.th/AnnouncementWeb/MainSch/MainSch.aspx?mi=3 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. อัมพร ม้าคะนอง. (2554). การจัดการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ทใี่ ช้ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในประมวลสาระชุดวิชาสารัตถะและวิทยวิธีทางคณิตศาสตร์ หน่วยที่ 10. นนทบุรี: สาขา วิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 164
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
Banfield, J., and Wilkerson, B. (2014). Increasing student intrinsic motivation and self-efficacy through gamification pedagogy. Contemporary Issues in Education Research (CIER), 7(4), pp. 291-298. Blank, W.E. Authentic Instruction. (1997). In Promising Practices for Connecting High School to the Real World. Florida: University of South Florida. Buck, J.C. (2000). Building connection among classes of polynomial functions. Mathematics Teacher, 93(7), pp. 591-594. Charles, Randall ; Lester, Frank ; & O’Daffer, Phares. (1987). How to Evaluate Progress in Problem Solving. Reston, Virginia: The National Council of Teacher of Mathematics. Driscoll, M. (2002). Blended Learning : Let’s Get Beyond the Hype. Retrieved May 3, 2017, from http://www-07.ibm.com/services/pdf/blended learning.pdf Garnham, C., & Kaleta, R. (2002). Introduction to Hybrid Courses. Retrieved May 3, 2017, from http://www.uwsa.edu/ttt/ articles/ garnham.htm. Juan M. Ferna’andez-Luna. (2013). Enhancing collaborative search systems engagement. Canada: through gamification. ACM. National Council of Teacher of Mathematics. (2000). Principles and Standards for School Mathematics. Reston, VA: Author. Nellman, Stephen William. (2008). A Formative Evaluation of a High School Blended Learning Biology Course (Doctor’s Thesis, United States – California: University of Southern California). Sandusky, S. (2015). Gamification in Education. Simóes, J., Redondo, R. D., and Vilas, A.F. (2013). A social gamification framework for a k-6 learning platform. Computers in Human Behavior, 29(2), pp. 345-353. Slavin, Robert E. (1990). Educational Psychology : Theory into Practice. 3rd ed. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall.
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
165
การใช้บล็อกเพื่อการจัดการความรู้ ในการพัฒนา การใช้ ล็อกเพืย ่อการจั ดการความรู้ ในการพัฒนาการจั ยนการสอน การจั ดบการเรี นการสอนของอาจารย์ มหาวิดการเรี ทยาลั ยศรีปทุม
ของอาจารย์ มหาวิทยาลัยtoศรีEnhance ปทุม Using of Blog for Knowledge Management Faculty Members’ Using ofTeaching Blog for Knowledge Management Enhance University Faculty Members' Management Efficiency oftoSripatum
Teaching Management Efficiencyกรกฎ ofผกาแก้ Sripatum University ว1, รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ สมพงษ์2 1
นิสิตปริญญาโท ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2 นายกรกฎ ผกาแก้ว1 อาจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยเกษตรศาสตร์
รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ สมพงษ์2
บทคัดย่อ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ 1) สร้ า งบล็ อ กการจั ด การความรู้ ด้ า นการ จัดการเรียนการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัย ศรีป ทุ ม ให้ มี คุ ณ ภาพ 2) ศึกษาความพึ ง พอใจ ของอาจารย์ ที่ มี ต่ อ การน าบล็ อ กมาใช้ ในการ จั ด การความรู้ ด้ า นการเรี ย นการสอนของ อาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม 3) ศึกษาผลการ ใช้บล็อกในการจัดการความรู้ด้านการเรียนการ สอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ อาจารย์ป ระจามหาวิท ยาลัย ศรีป ทุ ม บางเขน โดยการสุ่ ม แบบแบ่ ง ชั้ น จ านวน 160 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) บล็อกการ จั ด การความรู้ ด้ า นการเรี ย นการสอนของ อาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2) แบบประเมิน คุณภาพ สาหรับผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบสอบถาม ความพึ งพอใจที่ มี ต่ อบล็ อกการจั ด การความรู้ ด้ า นการจั ด การเรี ย นการสอนของอาจารย์ มหาวิท ยาลั ย ศรีป ทุ ม และ 4) แบบสั ม ภาษณ์ อาจารย์ ที่ เข้าใช้ บ ล็ อกการจั ด การความรู้ ด้ า น ก าร จั ด ก าร เรี ย น ก า รส อ น ข อ งอ าจ า ร ย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ 1
ข้ อ มู ล ได้ แ ก่ ค่ า เฉลี่ ย และส่ ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) บล็อกการจัดการ ความรู้ ด้ า นการเรี ย นการสอนของอาจารย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม มีคุณภาพอยู่ในระดับมาก ที่สุด 2) ความพึงพอใจที่มีต่อบล็อกการจัดการ ความรู้ ด้ า นการเรี ย นการสอนของอาจารย์ มหาวิท ยาลั ย ศรีป ทุ ม ในภาพรวมอยู่ในระดั บ มาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมาก ใน ทุ ก ด้ า น ได้ แ ก่ ด้ า นการใช้ ง านบล็ อ ก ด้ า น เนื้ อ หา และด้ า นประโยชน์ แ ละการน าไปใช้ และ 3) ผลการใช้บล็อกสรุปได้ว่าผู้เข้ามามีส่วน ร่ ว ม ใน บ ล็ อ ก ส าม ารถ น าอ งค์ ค ว าม รู้ ไ ป ประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนการสอนให้เกิด ประสิ ท ธิ ภ าพขึ้ น ได้ แต่ บ ล็ อ กก็ ยั ง มี จุ ด ที่ ค วร ปรับปรุงพัฒนา คือ การเข้าถึงการใช้งานบล็อก ยังเข้าถึงได้ยาก ค าส าคั ญ : บล็ อ ก, การจั ด การความรู้ , การ จัดการเรียนการสอน Abstract The purposes of this research were: to 1) create a Knowledge
เทคโนโลยี สื่อสารการศึ นิ166 สิตปริญญาโท ภาควิชาเทคโนโลยี การศึกกษาษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2 อาจารย์
2
Management (KM) blog to enhance faculty membersâ&#x20AC;&#x2122; teaching and learning efficiency, 2) study faculty membersâ&#x20AC;&#x2122; satisfaction towards using a KM blog in teaching and learning of Sripatum University faculty members, and 3) study the usefulness of a KM blog to enhance Sripatum University faculty membersâ&#x20AC;&#x2122; teaching and learning efficiency. The Sample group of this research were full time Sripatum University faculty members at the Bangkhen campus. Cluster random and sample was used to choose the faculty members by Taro Yamane. The research instruments were as follows: 1) KM blog in teaching and learning of Sripatum University faculty members, 2) evaluation form for experts, 3) satisfaction questionnaire of Sripatum University faculty members in using the KM blog, and 4) an interview form for Sripatum University faculty members for using the KM blog. Statistical data were analyzed by mean (đ?&#x2018;Ľđ?&#x2018;ĽĚ&#x2026; ), standard deviation (S.D.) and content analysis. The research results showed that 1) the quantity level of the KM blog of Sripatum University faculty members was at the highest level, 2) the overall level of Sripatum University
faculty membersâ&#x20AC;&#x2122; satisfaction in using the KM blog was at a high level when each area was considered such as using the blog, KM content, utilization, and implement, and 3) the interviewersâ&#x20AC;&#x2122; results revealed that the faculty members can participate in using the KM blog, and use and apply knowledge to improve their teaching and learning proficiency. Moreover, the improvement for the KM blog is difficult to access. Keyword : Blog, Knowledge Management (KM), Teaching ŕ¸&#x161;ŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x2122;า ŕ¸&#x203A;ูŕ¸&#x2C6;ŕ¸&#x2C6;ุŕ¸&#x161;ูŕ¸&#x2122;ŕš&#x201A;฼ภล฾ภารŕš&#x20AC;ŕ¸&#x203A;฼฾ŕš&#x2C6;ยŕ¸&#x2122;ŕš ŕ¸&#x203A;฼ŕ¸&#x2021;ŕš&#x201E;ŕ¸&#x203A;ŕ¸ŕ¸˘ŕš&#x2C6;าŕ¸&#x2021; ลาภŕ¸&#x2014;ูŕš&#x2030; ŕ¸&#x2021; ŕš&#x192;ŕ¸&#x2122;ŕ¸&#x201D;ŕš&#x2030; า ŕ¸&#x2122;ŕš&#x20AC;ศรชŕ¸?ภิ ŕ¸&#x2C6; สู ŕ¸&#x2021; ŕ¸&#x201E;ล วู ŕ¸&#x2019; ŕ¸&#x2122;ŕ¸&#x2DC;รรล ภารศผภชา ภาร๠ŕ¸&#x17E;ŕ¸&#x2014;ยŕš&#x152;ภารสาŕ¸&#x2DC;ารŕ¸&#x201C;สุŕ¸&#x201A; ฯ฼ฯ ŕš&#x201A;ŕ¸&#x201D;ย ภารŕš&#x20AC;ŕ¸&#x203A;฼฾ŕš&#x2C6; ย ŕ¸&#x2122;ŕš ŕ¸&#x203A;฼ŕ¸&#x2021;ŕ¸&#x201D;ู ŕ¸&#x2021;ภ฼ŕš&#x2C6; า วŕ¸&#x2122;ูŕš&#x2030; ŕ¸&#x2122; ล฾ ส าŕš&#x20AC;ญŕ¸&#x2022;ุ ล าŕ¸&#x2C6;าภŕ¸&#x201E;วาลŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2C6;ริ ŕ¸? ภŕš&#x2030; า วญŕ¸&#x2122;ŕš&#x2030; า ŕ¸&#x2014;าŕ¸&#x2021;วิ ŕ¸&#x2014; ยาศาสŕ¸&#x2022;รŕš&#x152; ๠ละ ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x201E;ŕš&#x201A;ŕ¸&#x2122;ŕš&#x201A;฼ย฾ ๠ละŕš&#x20AC;ลมŕš&#x2C6;ŕ¸ŕ¸&#x17E;ิŕ¸&#x2C6;ารŕ¸&#x201C;าŕ¸&#x2013;ผŕ¸&#x2021;ŕ¸&#x153;฼ภระŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x161;ŕ¸&#x2C6;าภŕ¸&#x201E;วาลŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2C6;ริ ŕ¸? ภŕš&#x2030; า วญŕ¸&#x2122;ŕš&#x2030; า ŕ¸&#x201A;ŕš&#x2030; า ŕ¸&#x2021;ŕ¸&#x2022;ŕš&#x2030; ŕ¸&#x2122; ŕ¸&#x17E;ŕ¸&#x161;วŕš&#x2C6; า ŕš&#x192;ŕ¸&#x2122;ŕ¸&#x201D;ŕš&#x2030; า ŕ¸&#x2122; ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x201E;ŕš&#x201A;ŕ¸&#x2122;ŕš&#x201A;฼ย฾ ส ารสŕ¸&#x2122;ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ศŕš&#x20AC;ŕ¸&#x203A;ŕš&#x2021; ŕ¸&#x2122; ŕ¸&#x201D;ŕš&#x2030; า ŕ¸&#x2122;ญŕ¸&#x2122;ผŕš&#x2C6; ŕ¸&#x2021; ŕ¸&#x2014;฾ŕš&#x2C6; ŕš&#x201E;ŕ¸&#x201D;ŕš&#x2030; รู ŕ¸&#x161; ŕ¸&#x153;฼ภระŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x161;ŕ¸ŕ¸˘ŕš&#x2C6;าŕ¸&#x2021;ลาภŕ¸&#x2039;ผŕš&#x2C6;ŕ¸&#x2021;ŕ¸&#x153;฼ŕ¸&#x2014;฾ŕš&#x2C6;ŕš&#x20AC;ภิŕ¸&#x201D;ŕ¸&#x2122;ูŕš&#x2030;ŕ¸&#x2122;ŕš&#x201E;ŕ¸&#x201D;ŕš&#x2030;ภŕš&#x2C6;ŕ¸ŕš&#x192;ญŕš&#x2030;ŕš&#x20AC;ภิŕ¸&#x201D; ŕ¸&#x201A;ŕš&#x2030;ŕ¸ŕ¸Ąŕ¸šŕ¸Ľ สารสŕ¸&#x2122;ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ศ รวลŕ¸&#x2013;ผ ŕ¸&#x2021;ŕ¸&#x201E;วาลรบŕš&#x2030;ŕš&#x192;ญลŕš&#x2C6; ŕš&#x2020; ŕ¸ŕ¸˘ŕš&#x2C6;าŕ¸&#x2021; ลาภลาย ŕš ŕ¸&#x2022;ŕš&#x2C6; ŕ¸&#x201A;ŕš&#x2030; ภลบ ฼ สารสŕ¸&#x2122;ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ศŕš&#x20AC;ญ฼ŕš&#x2C6; า ŕ¸&#x2122;ูŕš&#x2030; ŕ¸&#x2122; ล฾ ภยบŕš&#x2C6; ŕ¸ŕ¸˘ŕš&#x2C6;าŕ¸&#x2021;ภระŕ¸&#x2C6;ูŕ¸&#x201D;ภระŕ¸&#x2C6;ายŕ¸&#x2013;บภŕ¸&#x2C6;ูŕ¸&#x201D;ŕš&#x20AC;ภŕš&#x2021;ŕ¸&#x161;ŕ¸ŕ¸˘ŕ¸šŕš&#x2C6;ŕš&#x192;ŕ¸&#x2122;๠หลŕš&#x2C6;ŕ¸&#x2021;ŕš&#x20AC;ภŕš&#x2021;ŕ¸&#x161; ŕ¸&#x2014;฾ŕš&#x2C6;ญ฼าภญ฼าย ŕ¸&#x201A;าŕ¸&#x201D;ภารŕ¸&#x161;ริญารŕ¸&#x2C6;ูŕ¸&#x201D;ภารŕ¸ŕ¸˘ŕš&#x2C6;าŕ¸&#x2021;ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x203A;ŕš&#x2021;ŕ¸&#x2122; ระŕ¸&#x161;ŕ¸&#x161; ŕ¸&#x2014; าŕš&#x192;ญŕš&#x2030; ŕš&#x20AC; ลมŕš&#x2C6; ภล฾ ŕ¸&#x201E; วาลŕ¸&#x2022;ŕš&#x2030; ภŕ¸&#x2021;ภารŕ¸&#x201A;ŕš&#x2030; ภลบ ฼ ญรม ภส ารส ŕ¸&#x2122; ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014; ศ ล าŕ¸&#x160;ŕš&#x2C6; วย ŕš&#x192;ŕ¸&#x2122; ภารŕ¸&#x2022;ู ŕ¸&#x201D; สิ ŕ¸&#x2122; ŕš&#x192;ŕ¸&#x2C6; ญ รม ภŕ¸&#x201D; าŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2122;ิ ŕ¸&#x2122; ภารŕš&#x192;ŕ¸&#x201D; ŕš&#x2020; ŕ¸&#x2022;ŕš&#x2030; ภŕ¸&#x2021;ŕ¸ŕ¸˛ŕ¸¨ŕ¸ą ย ระยะŕš&#x20AC;ว฼าŕš&#x192;ŕ¸&#x2122;ภาร
ŕš&#x20AC;ŕ¸&#x2014;ŕ¸&#x201E;ŕš&#x201A;ŕ¸&#x2122;ŕš&#x201A;฼ย฾สมŕš&#x2C6;ŕ¸ŕ¸Şŕ¸˛ŕ¸Łŕ¸ ารศผภชา
167
3
สื บ ค้ น แล ะรวบ รวมข้ อ มู ล ซึ่ ง ท าให้ การ ดาเนิน งานไม่เต็ มประสิทธิภ าพ เอื้อน ปิ่ น เงิน และ ยืน ภู่วรวรรณ (2546) ในด้านการเรียนการสอน ผู้สอนต้องมี เทคนิ คการสอนที่ เหมาะสมกั บ ธรรมชาติ การ เรี ย น รู้ ข องผู้ เรี ย น แ ล ะส ามารถส่ ง เส ริ ม ก า ร เรี ย น รู้ ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร (2542) ประกอบกั บ ผู้ ส อนในระดั บ ที่ แ ตกต่ า งกั น มั ก มี ลั ก ษณะที่ แ ต ก ต่ างกั น กล่ าวคื อ ผู้ ที่ ส อน ใน ระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานหรื อ ครู เป็ น บุ ค ลากร วิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการ สอนและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้ วยวิธี ต่ า ง ๆ ขณะที่ ผู้ ส อนในระดั บ อุ ด มศึ ก ษาหรื อ อาจารย์ เป็นบุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้าน การเรียนการสอนและการวิจัย ส่วนใหญ่สาเร็จ การศึ ก ษาตามคุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ นั้ น ๆ ดั ง นั้ น ผู้ ส อนในระดั บ อุ ด มศึ ก ษาจึ งจ าเป็ น ในการใช้ ข้อมูลด้านการเรียนการสอนเพื่อเป็นแนวทางใน การจั ด การเรี ย นการสอนให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ พร้อมทั้งเป็ น ข้อมูล สาหรับ การศึกษาวิจั ยเพื่ อ พัฒนาการเรียนการสอน ด้ ว ยเหตุ และผลดั งกล่ าวข้า งต้ น จึ งมี ความสนใจศึกษาการใช้เทคโนโลยีการจัดการ ความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียน การสอนของอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา ซึ่งผล การศึ ก ษาน่ า จะเอื้ อ ประโยชน์ ต่ อ อาจารย์ ใน ระดับอุดมศึกษา ทั้งในด้ านเป็นแหล่งรวบรวม ข้ อ มู ล ทางวิ ช าการ ด้ า นการเรี ย นการสอน สาหรับอาจารย์ในการทาวิจัย เป็นแหล่งข้อมูล ในด้านการแก้ไขปัญ หาและพั ฒ นาการจัดการ เรียนการสอนของอาจารย์
168
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อสร้า งบล็ อกการจั ด การความรู้ ด้ า นการจั ด การเรี ย นการสอนของอาจารย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมให้มีคุณภาพ 2. เพื่ อ ศึ ก ษาผลการใช้ บ ล็ อ กในการ จั ด การความรู้ ด้ า นการเรี ย นการสอนของ อาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม 3. เพื่ อศึ กษ าความ พึ งพ อใจ ขอ ง อาจารย์ที่มีต่อการนาบล็อกมาใช้ในการจัดการ ความรู้ ด้ า นการเรี ย นการสอนของอาจารย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ได้ ร ะบบการจั ด การความรู้ ด้ ว ย บล็ อก ที่มีคุณ ภาพและช่วยเพิ่ มประสิ ทธิภ าพ ก าร จั ด ก าร เรี ย น ก า รส อ น ข อ งอ าจ า ร ย์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2. อาจารย์ ม ห าวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม สาม ารถจั ด การเรี ย น การส อน ได้ อย่ า งมี ประสิทธิภ าพ โดยใช้ป ระโยชน์จากบล็อกการ จัดการความรู้ด้านการเรียนการสอน 3. บล็อกการจัดการความรู้ ด้านการ เรียนการสอน ทาให้อาจารย์ที่เข้าใช้มีความพึง พอใจเพิ่มขึ้น 4. บล็ อกการจั ด การความรู้ ด้ านการ เรียนการสอน จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการ เรียนการสอนของอาจารย์ในระดับอุดมศึกษา ขอบเขตการวิจัย 1. กลุ่มประชากรการวิจัยในครั้งนี้ คือ อาจารย์ป ระจามหาวิทยาลัย ศรีป ทุม บางเขน จานวน 265 คน
4
2. กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในครั้งนี้ คือ อาจารย์ป ระจามหาวิทยาลัย ศรีป ทุม บางเขน จ านวน 160 คน เลื อ กมาโดยการสุ่ ม กลุ่ ม ตั ว อย่ า งแบบแบ่ ง ชั้ น (Stratified Random Sampling) ต า ม สั ด ส่ ว น ข น า ด ข อ ง ก ลุ่ ม ประชากรในแต่ละคณะ เครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิจัย เครื่ อ งมื อ ที่ ใช้ ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป็ น เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยผ่านการประเมิน คุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว ประกอบไปด้วย 1. บล็ อ กการจั ด การความรู้ ด้ า นการ จัดการเรียนการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัย ศรีปทุม 2. แบบประเมิ น คุ ณ ภาพ ส าหรั บ ผู้เชี่ยวชาญ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อ บล็อกการจั ด การความรู้ด้ านการจัด การเรีย น การสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม และ 4. แบบสั ม ภาษณ์ อ าจารย์ ที่ เ ข้ า ใช้ บล็อกการจั ด การความรู้ด้ านการจัด การเรีย น การสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม การด าเนิ น การวิ จั ย และการเก็ บ รวมรวบ ข้อมูล 1. ผู้วิจัยสร้างบล็อกการจัดการความรู้ ด้ า นการเรี ย นการสอน โดยผู้ วิ จั ย เลื อ กใช้ เครื่ อ งมื อ ในการสร้ า งบล็ อ ก คื อ WordPress จากนั้ น ท าการจั ด เก็ บ องค์ ค วามรู้ ในรู ป แบบ ต่าง ๆ ตามหมวดหมู่ที่ได้วางแผนไว้ 2. ผู้ วิ จั ย ประชาสั ม พั น ธ์ บ ล็ อ กการ จั ด การความรู้ ด้ า นการเรี ย นการสอน ผ่ า น ช่ อ ง ท า ง ต่ า ง ๆ เช่ น Facebook Twitter
Google+ เว็บไซต์หน่วยงาน ระบบสารบรรณ อิ เ ล็ ก ท รอนิ ก ส์ และ e-mail ภ ายใน เพื่ อ ประชาสัมพันธ์ไปยังคณะต่าง ๆ ถึงการเปิดใช้ งานบล็อกการจัดการความรู้ด้านการเรียนการ ส อ น โ ด ย ผู้ วิ จั ย ใ ช้ ร ะ ย ะ เว ล า ใ น ก า ร ประชาสั ม พั น ธ์ 1 อาทิ ต ย์ ซึ่ ง จะด าเนิ น การ ประชาสัมพันธ์ทุกวัน 3. ให้อาจารย์ทดลองเข้าใช้งานบล็อก การจัด การความรู้ด้านการเรียนการสอน โดย การเข้าไปร่ วมกัน แลกเปลี่ ย นความคิด เห็ น ใน ประเด็นต่าง ๆ 4. ผู้ วิ จั ย ติ ด ตามผลโดยการเข้ า ไปใน การประชุมการจัดการความรู้ (KM) ของแต่ละ คณะ และสั ม ภาษณ์ อาจารย์ โดยผู้ วิ จั ย เลื อ ก สั ม ภาษณ์ อาจารย์ ทั้ ง หมด ของผู้ ที่ เ ข้ า ไป แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านบล็อกการจัดการความรู้ ด้านการจัดการเรียนการสอน 5. ผู้ วิ จั ย ให้ ผู้ ที่ เข้ า ใช้ ง านบล็ อ กการ จั ด การความรู้ ด้ า นการจั ด การเรี ย นการสอน ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยจะเก็บใน รูปแบบของแบบสอบถาม 6. ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ผล จากการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยมี ขั้นตอนดังนี้ 6.1 หลั ง จากเสร็ จ สิ้ น การ ประชุ ม การจั ด การความรู้ (KM) ของแต่ ล ะ คณะผู้วิจัยจะแจกแบบสอบถามให้กับอาจารย์ ทุกท่าน พร้อมทั้งแจ้งผู้จัดการคณะให้ทราบ ถึ ง กาหนดการเก็บคืนของแบบสอบถาม 6.2 ผู้วิจัยติดตามสอบถามไป ยั งผู้ จั ด ก ารแ ต่ ล ะค ณ ะ ว่ ามี อ าจ ารย์ ส่ ง แบบสอบถามกลับคืนมาแล้วบ้างหรือไม่ หากมี
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
169
5
การส่งกลับมาบางส่วนแล้ว ผู้วิจัยจะดาเนินการ ไปรั บ แบบสอบถาม โดยผู้ วิ จั ย จะคอยโทร ติดตามกับทางคณะทุกวัน จนได้แบบสอบถาม ครบตามจานวนที่แจกไปในแต่ละคณะ 7. สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ และผลการเข้าใช้บล็อก อภิปรายผล จากผลการวิจัย เรื่อง การใช้บล็อกเพื่อ การจั ด การความรู้ ในการพั ฒ นาการจั ด การ เรียนการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม มีข้อวิจารณ์ ดังนี้ 1. ผลของการหาคุ ณ ภาพของบล็ อ ก การจัดการความรู้ด้านการจัดการเรียนการสอน ของอาจารย์มหาวิทยาลั ยศรีปทุม เป็ นไปตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งผลวิจัยพบว่าบล็อกการ จั ด การความรู้ ใ นการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการ จัดการเรียนการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัย ศรีปทุม มีคุณภาพและมีความเหมาะสมอยู่ใน ระดั บ ดี ม ากที่ สุ ด ทั้ ง นี้ เ ป็ น เพราะผ่ า นการ ประเมิ น จากผู้ เชี่ ย วชาญด้ า นออกแบบบล็ อ ก จ านวน 5 ท่ า น โดยได้ แ บ่ ง ออกเป็ น 3 ด้ า น พบว่า ด้านออกแบบ ในประเด็นการจัดรูปแบบ และองค์ ป ระกอบของบล็ อ กง่า ยต่ อ การอ่ า น และการใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุด ในส่วนของ ด้ า นเนื้ อ หา ประเด็ น การเชื่ อ มโยงเพื่ อ สื บ ค้ น เนื้ อ หาภายในมี ความถู กต้ องอยู่ ในระดั บ มาก ที่สุ ด และด้ านการออกแบบระบบปฏิ สัมพั น ธ์ ในประเด็นการแสดงผลมีความรวดเร็ว ทันต่อ ความต้องการอยู่ในระดับมาก และบล็อกการ จัดการความรู้ยังถูกสร้างขึ้นตามโครงสร้างและ องค์ประกอบของ ธนาธร ทะนานทอง (2551) โดยในระหว่างการพัฒนาก็ได้รับการตรวจสอบ
170
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
และปรั บ ปรุ ง จากอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา รวมทั้ ง ผู้ เชี่ ย วชาญด้ า นการออกแบบบล็ อ กที่ ไ ด้ ใ ห้ ข้อ เสนอแนะ เพื่ อน าไปปรั บ ปรุ งแก้ ไข จนได้ บล็อกการจัดการความรู้ด้านการเรียนการสอน ที่มีคุณภาพ และมีความเหมาะสม ตามเกณฑ์ที่ กาหนดไว้ 2. ผลการสั ม ภาษณ์ ข องผู้ เข้ า ใช้ งาน บล็อกการจั ด การความรู้ด้ านการจัด การเรีย น การสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม สรุป ได้ว่า บล็อกการจัดการความรู้ดังกล่าวอาจารย์ สามารถนาเอาความรู้ และเนื้อหาไปประยุกต์ใช้ กั บ การจั ด การเรี ย นการสอน ในรายวิ ช าที่ รั บ ผิ ด ชอบได้ โดยการน าเอาเทคนิ ค วิ ธี ก าร สอน ในรูปแบบต่าง ๆ ไปบูรณาการเข้ากับการ จั ด การเรี ย นการสอน โดยส่ ง ผลให้ ก ารสอน เป็ น ไปในทิศทางที่ดีขึ้น ผู้ เรียนมีความสนุ กใน การเรี ย นมากขึ้ น อี ก ทั้ ง บล็ อ กยั ง เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ อ าจารย์ ใ หม่ ที่ จ ะได้ เ ข้ า มา ศึกษาประสบการณ์การสอนจากอาจารย์รุ่น พี่ เพื่อที่จะนาไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาที่สอน ซึ่ง ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ Amy Hissom (2 0 0 9 ) ได้ ศึกษาวิจัยประโยชน์จากเว็บไซต์ประเภทบล็อก ไว้ ว่ า เป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ มี ศั ก ยภาพส าหรั บ การ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ข ององค์ ก รที่ ดี ในการ แลกเปลี่ย นความคิด ทั้งภายในหน่ ว ยงานและ ภ าย น อกห น่ วย งาน ช่ วย ให้ บุ ค ล ากรใน หน่ ว ยงานได้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นความคิ ด ที่ แต กต่ างกั น เพื่ อน าความ รู้ ที่ ได้ จากการ แลกเปลี่ ย นมาพั ฒ นาความสามารถให้ เ กิ ด ประโยชน์ ในองค์ ก ร และยั งสามารถเป็ น ช่ อ ง ทางการสื่อสารในการแลกเปลี่ยนความคิดกับ บุคคลภายนอกหน่วยงาน โดยนาความคิดที่ได้
6
จาก Weblog มาปรั บ ปรุ งความสามารถของ หน่ ว ยงาน ท าให้ เกิ ด ประโยชน์ ต่ อ หน่ ว ยงาน มากยิ่งขึ้น 3. ผลการศึ ก ษาความพึ ง พอใจของ กลุ่มตัวอย่างที่มีต่อบล็อกการจัดการความรู้ใน การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน ของอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ซึ่งแบ่ง ออกเป็น 3 ด้าน โดยทั้ง 3 มีความพึงพอใจใน ระดับมาก และเมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ด้าน การใช้งานบล็อก ในประเด็นบล็อกช่วยพัฒ นา พัฒ นาทักษะการใช้ เทคโนโลยี เพื่ อการจัด การ ความรู้ ของท่ านได้ มี ค่า เฉลี่ ย สู งสุ ด ส่ ว นด้ า น เนื้ อ ห า ป ระเด็ น เนื้ อ หาที่ น ามาใช้ ใ น การ แลกเปลี่ยนรู้มีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านประโยชน์และการนาไปใช้ ในประเด็น กระบวนการแลกเปลี่ยนเรีย นรู้โดยบล็ อกเปิ ด โอกาสให้ ท่ า นได้ แ สดงความคิ ด เห็ น แสดง ความรู้ที่ท่านมีได้อย่างอิสระ มีค่าเฉลี่ยนสูงสุด ซึ่งสอดคล้ องกับ ปรัช ญนั น ท์ นิ ล สุ ข และตวง รั ต น์ ศรี ว งดล (2550) ได้ ท าการพั ฒ นามั ล ติ บ ล็ อ ก เพื่ อ ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ส า ห รั บ สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา โดยศึ ก ษาพฤติ ก รรมการ จัดการความรู้ เจตคติและความพึงพอใจต่อมัล ติบล็อกในการจัดการความรู้ พบว่าครู อาจารย์ และเจ้ า หน้ า ที่ มีเจตคติ และความพึ งพอใจต่ อ การจั ด การความรู้ ด้ วยมัล ติ บ ล็ อกอยู่ ในระดั บ มาก
เรียนการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม สรุปผลการวิจัย ดังนี้ 1. บล็ อ กการจั ด การความรู้ ด้ า นการ จัดการเรียนการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัย ศรีปทุม มีคุณภาพและความเหมาะสมในระดับ มากที่สุด 2. จากการศึ ก ษาความพึ งพอใจของ กลุ่มตัวอย่างที่มีต่อบล็อกการจัดการความรู้การ จัดการเรียนการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัย ศรีปทุม พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจอยู่ ในระดั บ มากในทุ ก ด้ า น ได้ แ ก่ ด้ า นออกแบบ ด้านเนื้อหา และการออกแบบระบบปฎิสัมพันธ์ 3. ผลการสั ม ภาษณ์ ข องผู้ เข้ า ใช้ งาน บล็อกการจั ด การความรู้ด้ านการจัด การเรีย น การสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยศรีปทุม สรุป ได้ว่า บล็อกการจัดการความรู้ดังกล่าวอาจารย์ สามารถนาเอาความรู้ และเนื้อหาไปประยุกต์ใช้ กั บ การจั ด การเรี ย นการสอน ในรายวิ ช าที่ รั บ ผิ ด ชอบได้ โดยการน าเอาเทคนิ ค วิ ธี ก าร สอน ในรูปแบบต่าง ๆ ไปบูรณาการเข้ากับ การ จั ด การเรี ย นการสอน โดยส่ ง ผลให้ ก ารสอน เป็ น ไปในทิศทางที่ดีขึ้น ผู้ เรียนมีความสนุ กใน การเรี ย นมากขึ้ น อี ก ทั้ ง บล็ อ กยั ง เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ อ าจารย์ ใ หม่ ที่ จ ะได้ เ ข้ า มา ศึกษาประสบการณ์การสอนจากอาจารย์รุ่น พี่ เพื่อที่จะนาไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาที่สอน
สรุปผลการวิจัย จากผลการวิจัย เรื่อง การใช้บล็อกเพื่อ การจั ด การความรู้ ในการพั ฒ นาการจั ด การ
ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย สาหรับผู้บริหาร 1. ผู้ บ ริห ารคณะ หรือหน่ ว ยงานควร ส่ งเส ริ ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ให้ อ า จ า ร ย์ ร่ ว ม
ข้อเสนอแนะ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
171
7
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านบล็อกให้มากขึ้น โดยการ กระตุ้ น ผ่ า น Social media เพื่ อใช้ ใ น การ แลกเปลี่ย นเรีย นรู้ป ระสบการณ์ จากการสอน การทางานให้ครอบคลุมทุกองค์ความรู้ที่สาคัญ และจาเป็นต่อการจัดการเรียนการสอน 2. ผู้ บ ริห ารควรสร้างแรงจู งใจในการ แลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ให้ เกิ ด ขึ้ น กั บ อาจารย์ โดย จะต้องอาศัยระยะเวลาซึ่งหน่วยงานที่ดูแลหรือ รั บ ผิ ด ชอบ จะต้ อ งมี ก ารกระตุ้ น และสร้ า ง แรงจูงใจให้การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง และสม่าเสมอ เพื่อให้อาจารย์ได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนบ่มเพาะ เป็นนิสัย และเป็นเวทีในการแชร์ประสบการณ์ การสอนอยู่เสมอ สาหรับอาจารย์ผู้ใช้บล็อก 1. อาจารย์ควรมีความตระหนัก ความ รับผิดชอบ และกระตือรือร้นในการแลกเปลี่ ยน เรียนรู้อย่างสม่าเสมอ รวมทั้งให้ความสาคัญกับ การพั ฒ นาการสอนอยู่ เสมอเพื่ อพั ฒ นาทักษะ และสร้างพฤติ กรรมในการแลกเปลี่ ย นเรีย นรู้ ของตนเองกับบุคคลอื่น 2. อาจารย์ ค วรมั่ น ศึ ก ษาหาความรู้ เรื่องที่เกี่ยวกับรูปแบบวิธีการสอน เทคนิคการ สอนใหม่ ๆ จากแหล่งต่าง ๆ หรือประสบการณ์ การสอนจากอาจารย์ท่านอื่น ๆ เพื่อนามาปรับ ใช้ในการจัดการเรียนการสอนที่รับผิดชอบ เพื่อ ยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนให้ ดียิ่งขึ้น
172
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เอกสารและสิ่งอ้างอิง กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. 2542. แนวทางการ ดาเนินงาน การปฏิรูปการศึกษาของ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. กรุ ง เทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. ธนาธร ทะนานทอง. 2551. การพัฒนาระบบ การจั ด การเรี ย นการสอนโดยใช้ เทคโนโลยี เ ว็ บ ล็ อ ก. วิ ท ยานิ พ นธ์ วิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ : มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี. ปรั ช ญนั น ท์ นิ ล สุ ข และตวงรั ต น์ ศรี ว งษ์ ค ล. 2550. การพั ฒ นามั ล ติ เว็ บ ล็ อ กเพื่ อ ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ ส า ห รั บ สถาบันอุดมศึกษาไทย : มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนคร เหนือ. เอื้ อ น ปิ่ น เงิ น และ ยื น ภู่ ว รวรรณ . 2546. ส าเห ตุ ข อ งก า รจั ด ก ารค ว าม รู้ . กรุ ง เทพฯ : สมาคมห้ อ งสมุ ด แห่ ง ประเทศไทย. Amy Hissom. November 17, 2016. Corporate Weblogs. แหล่งที่มา URL : http://www.amyhissom.com/My Writings/Corporate Weblogs Weblogs as a Corporate Research Tool.pdf.
การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วิธีการน�ำเสนอ แบบนิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ DEVELOPMENT OF AN DEDUCTIVE ELECTRONIC BOOK ON AREA CALCULATION FOR MATHAYOMSUKSA 2, PREECHANUSAS SCHOOL พงศกร สุวรรณะ1, สุขมิตร กอมณี2, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง2 Pongsakorn Suwanna1, Sukhamit Komanee2, Damus Onchawiang2 oammen@gmail.com 1 นิสิตระดับการศึกษามหาบัณฑิต สาขานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2 อาจารย์ประจ�ำภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนา หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ โ ดยใช้ วิ ธี ก ารน� ำ เสนอ แบบนิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ส�ำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ ที่มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/ E2 = 70/ 70 2) เพือ่ เปรียบเทียบคะแนนจากการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ วิธีการน�ำเสนอแบบนิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน ปรีชานุศาสน์ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ นั ก เรี ย นที่ มี ต ่ อ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ โ ดยใช้ วิธีการน�ำเสนอแบบนิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน ปรีชานุศาสน์ เครือ่ งมือในการวิจยั ได้แก่ หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จ�ำนวน 49 คน ได้มาจากการเลือกแบบ เจาะจง ผลการวิ จั ย พบว่ า 1) ประสิ ท ธิ ภ าพ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ตามเกณฑ์ E1/ E2 เท่ากับ 71.63/ 72.04 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนทีม่ ตี อ่ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.52, SD = 0.61) เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
173
ค�ำส�ำคัญ: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์, วิธีการน�ำ ( = 4.52, SD = 0.61). เสนอแบบนิรนัย, การหาพื้นที่ KEYWORDS: ELECTRONIC, BOOK Abstract DEDUCTIVE PRESENT, AREA CALCULATION The aims of this research were 1) to develop a deduction electronic book บทน�ำ on “Area calculation” for Mathayomsuksa คณิ ต ศาสตร์ ถื อ เป็ น กลุ ่ ม สาระหนึ่ ง ที่ 2 at Preechanusas school to meet the E1/ มีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาความคิด E2 = 70/ 70 criterion, 2) to compare The ของมนุษย์ (กลุ่มส่งเสริมการเรียนการสอนและ pre-test and post-test scores before ประเมิ น ผลส� ำ นั ก วิ ช าการและมาตรฐานการ and after the use of the deductive ศึกษา, 2551) แต่ในปัจจุบันกลับพบว่า ยังไม่ electronic book on “Area calculation” ประสบความส�ำเร็จเท่าที่ควร โดยเฉพาะเรื่อง for Mathayomsuksa 2 at Preechanusas การหาพื้นที่ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในวิชาคณิตศาสตร์ school, 3. to study the satisfaction level ที่ ถู ก จั ด ให้ อ ยู ่ ใ นสาระหลั ก ที่ 2 การวั ด ของ of students after using the electronic book รายวิชาคณิตศาสตร์ on” Area calculation”. The instruments จากรายงานผลการทดสอบทางการ used in this research were an e-Book, a ศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปรากฏว่า ผล pre-test and a post-test, and a satisfaction สัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา questionaire. The sample was 49 students คณิตศาสตร์ มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 29.88 (สถาบัน in Matayomsuksa 2 at Preechanusas ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ, 2559) เมื่อ school. The samples were chosen by the พิจารณาคะแนนเฉลี่ยของสาระการเรียนรู้แล้ว purposive sampling. พบว่า สาระที่ 2 การวัด มีคะแนนเฉลี่ยร้อย The results were as follows: 1) ละ 28.92 นอกจากนี้ จากการสัมภาษณ์ของ the effectiveness of the electronic book ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้ E1/ E2 = 71.63/ 72.04 which meets the พบว่า นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 set criteria, 2) the post-test score was ประสบปัญหาในการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ higher then the pre-test scores at .05 ด้ ว ยสาเหตุ ข าดทั ก ษะการคิ ด ค� ำ นวณ และ level of statistical significance, 3) the การแก้โจทย์ปัญหา ประกอบกับเนื้อหาของ students’ satisfaction toward the use of รายวิชาคณิตศาสตร์ตามธรรมชาติเป็นวิชาที่ the electronic book was at a high level. เป็นนามธรรม ท�ำให้เป็นเรือ่ งทีย่ ากทีจ่ ะถ่ายทอด 174
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ความรูใ้ ห้ผเู้ รียนเกิดความรูค้ วามเข้าใจในเนือ้ หา ที่ตรงกัน ประกอบกับเนื้อหาสาระของ การหา พื้นที่ เป็นส่วนหนึง่ ของเนื้อหาที่สามารถต่อยอด ไปยังชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเรื่อง การหาพื้นที่ ผิว ซึ่งสิ่งนี้ส่งผลท�ำให้ผู้เรียนที่ขาดความรู้ความ เข้าใจในเรือ่ ง การหาพืน้ ที่ เกิดความยากล�ำบาก ในการเรียนรู้เพิ่มขึ้นตามไปด้วย โรงเรี ย นปรี ช านุ ศ าสน์ ก� ำ ลั ง เจอกั บ ปัญ หาการจั ดการเรียนการสอนของรายวิช า คณิตศาสตร์ เห็นได้จากรายงานผลการทดสอบ คณิ ต ศาสตร์ ข องโรงเรี ย นปรี ช านุ ศ าสน์ ชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ผลปรากฏ ว่ า นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรี ย น ปรีชานุศาสน์ สามารถท�ำข้อสอบได้คิดเป็นค่า เฉลี่ย 14.68 คะแนน โดยแยกเป็นข้อสอบของ สถานศึกษาคิดเป็นค่าเฉลี่ย 12.40 และแยก เป็นข้อสอบวัดความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน ระดับชาติ (NT) คิดเป็นค่าเฉลี่ย 2.24 ซึ่งจัดว่า อยู่ต�่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ทางโรงเรียนตั้งไว้ (ฝ่ายวัดและประเมินผล โรงเรียนปรีชานุศาสน์, 2559) ทั้งนี้การน�ำสื่อการสอนในรูปแบบของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ซึ่งถือว่าเป็น นวัตกรรมใหม่ทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา มี ลักษณะเป็นหนังสือที่แสดงผลในรูปแบบของ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ส ามารถอ่ า นผ่ า นทางหน้ า จอคอมพิ ว เตอร์ ไ ด้ ทั้ ง ในระบบออฟไลน์ แ ละ ออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถเชือ่ มโยงจุดไปยังส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ ได้ นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ยังเป็นสื่อ
ที่รวมเอาจุดเด่นของสื่อแบบต่าง ๆ มารวมอยู่ ในสื่อตัวเดียวหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถ แทรกข้อความ ภาพ เสียงได้ อีกประการหนึ่ง ที่ ส� ำ คั ญ ก็ คื อ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ส ามารถ ปรั บ ปรุ ง ข้ อ มู ล ให้ ทั น สมั ย ได้ ต ลอดเวลา ซึ่ ง คุณสมบัติ เหล่านีจ้ ะไม่มใี นหนังสือธรรมดาทัว่ ไป (ไพฑูรย์ ศรีฟ้า, 2551, หน้า 14) นอกจากนี้ จากการค้นคว้าถึงวิธีการ แก้ ไ ขปั ญ หาการจั ด การเรี ย นการสอนคณิ ต ศาสตร์แล้วนั้น พบว่า การน�ำการสอนแบบ อุปนัย (Inductive method) และการสอน นิรนัย (Deductive method) เป็นแนวทาง ที่มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา คณิ ต ศาสตร์ แต่ ด ้ ว ยการสอนแบบอุ ป นั ย (Inductive method) ใช้เวลาในการจัดการ เรียนการสอนมาก ส่งผลท�ำให้ผู้เรียนเกิดความ เบื่อหน่ายในการเรียนรู้ ซี่งแตกต่างกับการสอน แบบนิรนัย (Deductive method) ทีเ่ ป็นวิธกี าร สอนที่สามารถช่วยในการถ่ายทอดเนื้อหาสาระ ได้ง่าย รวดเร็วและไม่ยุ่งยาก ท�ำให้ใช้เวลาใน การจัดการเรียนการสอนไม่มาก ด้วยเหตุนี้ ทาง ผู้วิจัย จึงได้น�ำการสอนแบบนิรนัย (Deductive method) มาใช้ในการแก้ไขปัญหาการจัดการ เรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง การพื้นที่ ที่ ก�ำลังประสบปัญหาอยู่ในปัจจุบัน การน�ำการสอนแบบนิรนัย (Deductive method) มาใช้เป็นแนวทางในในการแก้ไข ปัญหาด้วยเหตุผลที่ว่า เนื้อหาสาระของวิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง การพื้นที่ เป็นวิชาที่เกี่ยวข้อง กับการเรียนรู้ถึงกฏเกณฑ์และหลักต่การต่าง ๆ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
175
และการน�ำใช้กฏเกณฑ์และหลักการต่าง ๆ ที่ ได้เรียนรู้ไปใช้ในการแก้ไขปัญหา ซึ่งสอดคล้อง กับการสอนแบบนิรนัย (Deductive method) ที่เป็นการสอนที่เริ่มจากกฎเกณฑ์หรือหลักการ ต่าง ๆ แล้วให้นักเรียนหาหลักฐานเหตุผลมา พิสูจน์ยืนยัน ฝึกทักษะในการคิดอย่างมีเหตุผล สามารถพิสูจน์ตรวจสอบข้อเท็จจริงได้จากกฏ เกณฑ์หรือหลักการนัน้ ๆ (ทิศนา แขมมณี, 2556, หน้า 338) การจัดการเรียนการสอนแบบนิรนัยมี ขั้นตอนส�ำคัญดังต่อไปนี้ 1) ขั้นก�ำหนดขอบเขต ของปัญหา 2) ขั้นแสดงและอธิบายทฤษฎี 3) ขั้นใช้ทฤษฎี หลักการ 4) ขั้นตรวจสอบและ 5) ขั้นฝึกปฏิบัติ (สิริพร ทิพย์คง, 2545, หน้า 148) จากที่กล่าวมาในข้างต้นนี้ ท�ำให้ผู้วิจัยมี ความสนใจทีจ่ ะพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดย ใช้วิธีการน�ำเสนอแบบนิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน ปรีชานุศาสน์ มาเป็นหัวข้อในการศึกษาซึง่ ผูว้ จิ ยั คาดหวังว่าสื่อการเรียนการสอนที่ได้พัฒนาขึ้น จะสามารถน�ำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน และแก้ไขปัญหานี้ได้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดย ใช้วิธีการน�ำเสนอแบบนิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน ปรีชานุศาสน์ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/ E2 = 70/70 2. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บคะแนนจากการ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้หนังสือ 176
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วิธีการน�ำเสนอแบบนิรนัย เรือ่ ง การหาพืน้ ที่ ส�ำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ 3. เพื่อศึกษาความ พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วธิ กี ารน�ำเสนอแบบนิรนัย เรือ่ ง การหา พื้ น ที่ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปรีชา นุศาสน์ ปีการศึกษา 2561 จ�ำนวนทั้งหมด 163 คน 2. กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง คื อ นั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 2/4 โรงเรียนปรีช านุศาสน์ จ�ำนวน 49 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกตัวอย่าง แบบเจาะจง เพราะเป็นห้องที่มีปัญหาด้านการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์มากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบ กับห้องเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทั้งหมดของ โรงเรียนปรีชานุศาสน์ 3. เนื้ อ หาวิ ช าที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย เพื่อ พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วิธีการสอน แบบนิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ส�ำหรับนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ 4. ระยะเวลาการท�ำวิจัย คือ ในช่วง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ใช้ระยะเวลาใน การศึกษาจ�ำนวน 2 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 คาบ คาบละ 1 ชั่วโมง 5. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย คือ - ตัวแปรต้น คือ การใช้หนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ - ตัวแปรตาม คือ 1. ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2. คะแนนจากการทดสอบก่ อ น เรียนและหลังเรียน 3. ความพึงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิธีด�ำเนินการวิจัย 1. ศึ ก ษาเอกสารต� ำ รางานวิ จั ย ที่ เกี่ยวข้อง 1.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และสาระและ มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1.2 ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การสอนแบบ นิรนัย 1.3 ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การพั ฒ นา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2. การออกแบบและสร้ า งหนั ง สื อ อิเล็กทรอนิกส์ การออกแบบและสร้ า งหนั ง สื อ อิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ 1. วิเคราะห์เนื้อหา 2. ออกแบบการด�ำเนินเรื่อง 3. เขียนบทด�ำเนินเรื่อง 3. เลือกโปรแกรมหลักและโปรแกรม สร้างบทเรียน โดยในการวิจัยนี้เลือกใช้โปรแกรม
Flip PDF Professionalมาใช้ในการออกแบบห นังสืออิเล็กทรอนิกส์ และใช้โปรแกรม Microsoft office กับโปรแกรม Adobe photoshop มาใช้ ในการออกแบบเนื้อหาและแบบทดสอบ 4. สร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ การพั ฒ นาหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ตามขั้ น ตอนการออกแบบและสร้ า งหนั ง สื อ อิเล็กทรอนิกส์ตามที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาอย่าง เป็นระบบ 5. ด� ำ เนิ น การสร้ า งหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิกส์ ด� ำ เนิ น การสร้ า งหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิกส์ตามที่ได้ออกแบบแล้วไว้ แล้วจึงน�ำ ไปทดสอบประสิทธิภาพโดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 5 ท่าน แล้วจึงน�ำมาปรับปรุงแก้ไขก่อน น�ำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งจากการประเมิน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในด้านเนื้อหานั้น พบว่า เนื้อหามีความถูกต้องและมีคุณค่าทางวิชาการ และมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียน รู้มีระดับความคิดเห็นมากที่สุด ( = 4.80, SD = 0.45) รองลงมา คือมีความยากง่ายเหมาะ สมกั บ ผู ้ เ รี ย นและจั ด ท� ำ เนื้ อ หาง่ า ยต่ อ ความ เข้าใจของผู้เรียน ( = 4.60, SD = 0.55) และ การใช้ภาษาสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน ( = 4.40, SD = 0.89) ตามล�ำดับ และในส่วน ของผลการประเมินหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ใน ด้านเทคนิคการออกแบบ พบว่า ความถูกต้อง ของข้อความและตัวอักษรตามหลักภาษาและ ความชัดเจนของภาพที่ใช้มีระดับความคิดเห็น มากที่สุด ( = 4.60, SD = 0.55) รองลงมา คือ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
177
ขนาดของภาพที่ใช้มีความเหมาะสมและระดับ ความดังของเสียงดนตรีทใี่ ช้ประกอบ ( = 4.40, SD = 0.89) และภาพทีใ่ ช้สามารถสือ่ ความหมาย ได้ดีตัวอักษรที่ใช้ อ่านง่ายและชัดเจน ตลอดจน การเชื่อมโยงไปยังจุดต่างๆ มีความถูกต้องและ รวดเร็ว ( = 4.40, SD = 1.10) ตามล�ำดับ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 1. แบบวัดความสามารถในการเรียน รู้วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 เรื่อง การหาพื้นที่ เป็นแบบทดสอบแบบ เลือกตอบ 4 ตัวเลือก ตอบข้อที่ถูกต้อง ได้ 1 คะแนน ตอบข้อที่ผิด ได้ 0 คะแนน 2. แบบสอบถามความพึงพอใจ เป็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ก�ำหนดค่าคะแนนเป็น 5 ระดับ และเกณฑ์การ วิเคราะห์ผลของแบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ขั้ น ทดลองใช้ แ บบรายบุ ค คล ทดสอบใช้ กั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ จ�ำนวน 3 คน ที่ไม่ใช่กลุ่ม ตัวอย่าง โดยใช้เด็กอ่อน ปานกลาง และเก่ง อย่าง ละ 1 คน 2. ขั้นทดลองแบบกลุ่มย่อย ทดลอง ใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน ปรีชานุศาสน์ จ�ำนวน 10 คน ทีไ่ ม่ใช่กลุม่ ตัวอย่าง และมีความสามารถแตกต่างกัน 3. ขั้นทดลองแบบภาคสนาม ทดลอง ใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน 178
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ปรีชานุศาสน์ ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จ�ำนวน 30 คน และมีความสามารถแตกต่างกัน 4. ขั้นน�ำไปใช้จริง มีขั้นตอน ดังต่อ ไปนี้ 4.1 จัดการเรียนการสอนให้กบั กลุม่ ตัวอย่างโดยการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่ได้ พัฒนาขึ้นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน 4.2 ให้กลุ่มตัวอย่างได้ท�ำการฝึกน�ำ เอาความรูท้ ไี่ ด้จากการเรียนรูม้ าประยุกต์ใช้ โดย การให้ท�ำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียนของแต่ละบท 4.3 ท� ำ การทดสอบผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียน โดยการให้กลุ่มตัวอย่างท�ำแบบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ได้พัฒนาขึ้น 4.4 ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบ ความความพึงพอใจทีม่ ตี อ่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้พัฒนาขึ้น ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ผลการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้วิธีการน�ำเสนอแบบนิรนัย เรื่อง การ หาพื้ น ที่ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรียนปรีช านุศ าสน์ พบว่า หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ E1/ E2 เท่ากับ 71.63/72.04 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ ก�ำหนด 2. ผลการเปรี ย บเที ย บคะแนนจาก การทดสอบก่ อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย นโดยใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วธิ กี ารน�ำเสนอแบบ นิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ พบว่า
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียน ของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึ ก ษาความพึ ง พอใจของ นั ก เรี ย นที่ มี ต ่ อ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ พบ ว่า นักเรียนมีความพีงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยรวมอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ ( = 4.52, SD = 0.61) อภิปรายผล การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ วิธีการน�ำเสนอแบบนิรนัย เรื่อง “การหาพื้นที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2โรงเรียน ปรีชานุศาสน์”มีประเด็นทีน่ ำ� มาอภิปรายผลดังนี้ 1. ผลการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ วิธีก ารน�ำเสนอแบบนิร นัย เรื่อง การ หาพื้ น ที่ ส� ำ หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ ปรากฏว่า หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/ E2 เท่ากับ 71.63/72.04 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ ก�ำหนด ทัง้ นี้ เป็นเพราะการออกแบบและพัฒนา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เป็นไปตามขั้นตอนการ พัฒนาอย่างมีระบบ ด้วยการน�ำข้อความ รูปภาพ และเสียงมาเป็นสื่อในการน�ำเสนอเนื้อหาท�ำให้ บทเรียนมีความน่าสนใจ และมีการจัดล�ำดับ ขั้นตอนเนื้อหาโดยอาศัยเทคนิคการน�ำเสนอ แบบนิรนัย ท�ำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับ บทเรียนเพิม่ ขึน้ ท�ำให้ผลสัมสัมฤทธิท์ างการเรียน เพิ่มขึ้นตามไปด้วย ดังที่ยุพิน พิพิธกุล (2527, หน้า 166) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการสอน
แบบนิรนัยไว้ว่า เป็นวิธีการสอนที่รวดเร็ว และ ท�ำให้เกิดประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา เพราะ ได้ มี ก ารฝึ ก ทบทวนปั ญ หาโจทย์ ต ่ า งๆท� ำ ให้ จ�ำหลักเกณฑ์ได้อย่างแม่นย�ำรวมถึงได้มีการ ตรวจสอบคุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้หนังสืออิเล็กนิกส์เกิด ประโยชน์ทางวิชาการกับผู้เรียนได้มากที่สุด 2. ผลการเปรี ย บเที ย บคะแนนจาก การทดสอบก่ อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย นโดยใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้วธิ กี ารน�ำเสนอแบบ นิรนัย เรื่อง การหาพื้นที่ ส�ำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนปรีชานุศาสน์ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียน ของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้ เป็นเพราะการน�ำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการจัดการเรียน การสอนจึงช่วยกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ด้วยข้อความ ภาพ เสียง คุณสมบัติที่สามารถ เชื่อมโยงเนื้อหาสาระภายใน และการน�ำเสนอ แบบนิ ร นั ย ส่ ง ผลต่ อ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ให้สูงขั้นเปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบก่อน เรียน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของนูรมา ตาเละ (2558, หน้า 65) ที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาโปรแกรมตารางงาน ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน ดรุณศาสน์วิทยา อ�ำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ผลการศึกษาพบว่า 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่ ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นประสิทธิภาพ เท่ากับ 80.44/ 85.78 สูงกว่าเกณฑ์ที่ก�ำหนด 2. ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่เรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
179
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 3. ค่าดัชนีประสิทธิผล ของนักเรียนมีค่าเท่ากับ 0.59 และ 4. ความพึง พอใจของนักเรียนที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.70, SD = 0.57) 3. ผลการศึ ก ษาความพึ ง พอใจของ นั ก เรี ย นที่ มี ต ่ อ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ พ บว่ า นักเรียนมีความพีงพอใจต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.52, SD = 0.61) ทั้งนี้เป็นเพราะการน�ำสื่อมาใช้ใน การเรียนการสอนประกอบกับหนังสืออิเล็กทร อสิกส์สามารถแทรกรูปภาพและเสียงได้ อีกทั้ง การน�ำเสนอเนื้อหาที่น่าสนใจ ท�ำให้นักเรียน เกิ ด ความสนใจกั บ การเรี ย นรู ้ ส ่ ง ผลท� ำ ให้ ผ ล สัมฤทธิท์ างการเรียนสูงขึน้ ซึง่ สอดคล้องกับงาน วิจัยของกมล สังข์ทอง (2555) ที่ได้ศึกษาเกี่ยว กั บ การพั ฒ นาหนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เรื่ อ ง พื้ น ฐานเทคโนโลยี สื่ อ สารมวลชน ส� ำ หรั บ นักศึกษาหลักสูตรเทียบโอน คณะเทคโลยีสอื่ สาร มวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ผลการศึกษาพบว่า ผลการศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษา มีความพึงพอใจมากค่าเฉลีย่ 4.22 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.28 ซึ่งจากข้อมูลที่ได้ ท�ำให้ผู้วิจัยมีความมั่นใจยิ่งขึ้นที่จะน�ำหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ไปเผยแพร่เพื่อใช้ในการเรียน การสอนวิชาคณิตศาสตร์ต่อไป
180
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ข้อเสนอแนะ ข้ อ เสนอแนะในการน� ำ ผลการวิ จั ย ไปใช้ 1. ควรจัดเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมก่อน การจัดการเรียนการสอน 2. ควรน�ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บันทึก ลงในแผ่นบันทึกหรือโทรศัพท์เพื่อให้สะดวกต่อ การใช้งาน 3. ควรเพิ่มความน่าสนใจในตัวสื่อการ สอนมากขึ้นเพื่อกระตุ้นความสนใจในการเรียน รู้ โดยเพิ่มเสียง ภาพประกอบและจุดเชื่อมโยง เนื้อหาสาระให้มากขึ้น ข้อเสนอแนะในการวิจัยในครั้งถัดไป 1. ควรมีการศึกษาเพือ่ ออกแบบเนือ้ หา เพิ่มเติม โดยการเพิ่มกิจกรรมต่างๆมากขึ้น 2. ควรมีการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การน�ำเสนอแบบอุปนัย 3. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบหาวิธี การจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับกลุ่ม เป้าหมายมากที่สุด
เอกสารอ้างอิง กานดา พูนลาภทวี.(2530). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. กัลยา วานิชย์บัญชา. (2554). สถิติส�ำหรับงานวิจัย. พิมพค์รั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:ธรรมสาร กิดานันท์ มลิทอง. (2546). เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา:สื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนา หนังสือกรมวิชาการ. เกียรติสดุ า ศรีสขุ . (2556).เอกสารประกอบการบรรยาย เรือ่ ง เทคนิคการสร้างเครือ่ งมือในงานวิจยั . เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ชัยยงค์ พรหมวงศ์.(2531). ชุดการสอนระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์. บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจยั เบือ้ งต้น พิมพครัง้ ที่ี 5 กรุงเทพมหานคร สํานักพิมพ์สวุ รี ยิ าสาส์น โรงเรียนปรีชานุศาสน์. (2559). รายงานผลการทดสอบคณิตศาสตร์ของโรงเรียนปรีชานุศาสน์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559.ชลบุรี: ฝ่ายวัดและประเมินผล โรงเรียนปรีชานุศาสน์ ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2550). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท วี อินเตอร์ พริ้นท์จ�ำกัด. สมนึก ภัททิยธนี. (2553). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์ สุรวาท ทองบุ. (2550). การวิจัยทางการศึกษา. มหาสารคาม: อภิชาตการพิมพ์. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2560).สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559. กรุงเทพฯ: สถาบันทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). สิริพร ทิพย์คง. (2545). หลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร์.กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ. สุพรรณิการ์ จันทร์ชมภู. (2556).ขัน้ ตอนการสร้างและหาประสิทธิภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน.ร้อยเอ็ด: มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด UTCC wiki. (2556). การสอนแบบนิรนัย. กรุงเทพฯ: ระบบสารานุกรมออนไลน์ มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย.
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
181
การพัฒนาหนังสือดิจิทัลวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับน�้ำและอากาศ เพื่อส่งเสริมความสามารถ การคิดวิเคราะห์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ฒนาหนังสือดิจิทัลวิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับน้าและอากาศ Theการพั Development of Digital Book on Phenomenon about Water and เพื่อส่งเสริมความสามารถการคิดวิเคราะห์ ส้าหรับนักเรียนชันประถมศึกษาปีที่ 5 Air in Science to EnhanceofAnalytical of student Prathomsuksa 5 The Development Digital BookThinking on Phenomenon about Water
and Air in Science to Enhance Analytical Thinking of student Prathomsuksa 5 ** เพ็ญประภา สีมา*, ณรงค์ สมพงษ์ Penprapa.se@ku.th, narong.so@ku.th เพ็ญประภา สีมา* กษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ * นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยี และสื่อสารการศึ ** รองศาสตราจารย์ประจําPenprapa.se@ku.th ภาควิชาเทคโนโลยีก**ารศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณรงค์ สมพงษ์ narong.so@ku.th
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนา หนังสือดิจิทัลวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณ์ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง กั บ น้้ า แล ะอากาศ ที่ มี คุ ณ ภาพแล ะมี ประสิ ท ธิ ภ าพตามเกณฑ์ 70/70 2) เปรี ย บเที ย บ คะแนนก่ อ นเรี ย นและผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ยนของ ผู้ เรี ยน ที่ เรี ยนด้ วยหนั ง สื อ ดิ จิ ทั ล วิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้้าและอากาศ และ 3) เปรียบเทียบคะแนนความสามารถการคิดวิเคราะห์ ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่ เรี ยนด้ วยหนัง สื อดิ จิ ทัล เรื่ อง ปรากฏการณ์ ที่ เกี่ยวข้องกับน้้าและอากาศ กลุ่มตัวอย่างได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับสลาก มา 1 ห้อง มีนักเรียนจ้านวน 38 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิ จั ย ครั้ ง นี้ ป ระกอบไปด้ ว ย 1) หนั งสื อ ดิ จิ ทั ล วิ ช า วิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้้าและ อากาศ 2) แบบประเมินคุ ณ ภาพหนั ง สื อ ดิจิ ทั ล วิ ช า วิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้้าและ อากาศ 3) แบบทดสอบวัดผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ยน แบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก เรื่อง ปรากฏการณ์ที่ เกี่ ยวข้ องกั บน้้ า และอากาศ และ 4) แบบทดสอบวั ด ความสามารถการคิดวิเคราะห์ แบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือกเรื่อง วิ ชาวิทยาศาสตร์ เรื่องปรากฏการณ์ ที่ เกี่ยวข้องกับน้้าและอากาศ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้ อ มู ล โดยใช้ ค่ า เฉลี่ ย ค่ า ร้ อ ยละ ส่ ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน และสถิติ t-test ผลการวิจั ยสรุ ปได้ว่า 1) หนังสือ ดิจิทั ลวิช า วิทยาศาสตร์เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้้าและ อากาศ ส้ า หรั บ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 มี คุ ณ ภ าพอ ยู่ ใ น ร ะดั บดี ( X = 4 .17 ) แล ะ มี * **
ประสิทธิภาพ 74/75 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยส้าคัญทาง สถิ ติ .05 และ 3) คะแนนความสามารถการคิ ด วิเคราะห์ของนักเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมี นัยส้าคัญทางสถิติ .05 ค้า ส้ า คัญ : หนั ง สื อดิ จิ ทั ลวิ ช าวิ ทยาศาสตร์ , เนื้ อ หา เรื่ อ ง ปร ากฏ การ ณ์ ที่ เ กี่ ย วกั บน้้ า แล ะอากาศ , ความสามารถการคิดวิเคราะห์ Abstract This objectives of this research were to: 1) develop a digital book on science related to water and air phenomena with efficiency of 70/70, 2) to compare pre-test scores and academic student’s learning by Digital book on phenomena water and air, and 3) to compare the ability scores of pretest and post-test on analytical thinking of Prathomsuksa 5 students studying digital books on phenomena related to water and air. The sample were 38 students that collected by Simple Random Sampling. The research instruments 1) Digital book on the subject of Water Phenomena. and Air, 2) Digital book quality assessment for,3) Achievement test, and 4) multiple choice options for water and air phenomena and, 4) multiple choice test of analytical abilities 4 science options for water and air
นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เทคโนโลยี สื่อสารการศึ กษา รองศาสตราจารย์ ประจาภาควิ ชาเทคโนโลยี การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
182
phenomena. Data analysis was mean ( x ), percentage, standard deviation (S.D.) and ttest. The results were as follows: 1) the digital book on Phenomenon about Water and Air effective at the criteria of 74/75 and the quality mean score was at the good level, 2) the students’ achievement were higher than the pre- test at .05 level of statistic significance, and 3) the achievement score of analytical thinking was higher than the pre-test at .05 level of statistic significance. Keyword : Digital Book, Phenomenon about Water and Air in Science, Analytical Thinking บทน้า
การสอนวิทยาศาสตร์เป็นการน้าความรู้และ กระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ ไ ปใช้ ใ นการศึ ก ษา ค้นคว้ าหาความรู้ และแก้ปัญหาอย่ างเป็นระบบ การ คิดอย่างเป็ นเหตุเป็นผล คิดวิ เคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ (หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน, 2551) จากผลการทดสอบทางการศึ กษาระดั บชาติ ขั้นพื้นฐาน (O –NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ใน ปีการศึกษา 2558 วิชาวิทยาศาสตร์ มีค่าเฉลี่ย 42.13 และผลการทดสอบระดั บ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาของ ส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 2 มีผลการ ทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์มีค่าเฉลี่ย 42. 55 จะเห็นได้ ว่า มีค่าเฉลี่ยลดลง และโรงเรียนกลุ่ม เครือข่ายบาง บัวทอง มีค่าเฉลี่ย 41.79 ซึ่งกลุ่มเครือข่ายบางบัวทอง มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่มอ้าเภออื่ น (ข้อมูล จาก Cookpit for evaluation ของส้านักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรีเขต 2) ซึ่งจะเห็น ได้ว่าค่าเฉลี่ยต่้ากว่าเกณฑ์และถ้าวิเคราะห์เป็นจ้าแนก ตามสาระการเรี ย นรู้ จ ะพบว่ า สาระการเรี ย นรู้ ที่ มี ค่ า เ ฉ ลี่ ย น้ อ ย ที่ สุ ด คื อ ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ 6 กระบวนการเปลี่ ย นแปลงของโลก ค่ าเฉลี่ ย 38.54 (ข้ อ มู ล จากรายงานผลการทดสอบทางการศึ ก ษา
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน,2558) ซึ่งจากรายงานนี้จะพบว่า มีคะแนนที่ค่อนข้างต่้า จากปั ญหาผลสั มฤทธิ์ ทางการเรียนและผล การทดสอบระดั บ ชาติ ใ นรายวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ต่้ า โดยเฉพาะสาระการเรียนรู้ที่ 6 การเปลี่ยนแปลงของ โลกของระดับ ชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 5 นั้นจะมีเนื้อหา ประกอบไปด้ วยเรื่ อง (1) ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศ (2) วัฏจักรของน้้า (3) การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (4) ลม ซึ่ ง เป็ น ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยการเรี ย นรู้ เรื่ อ ง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้ องกับ น้้ าและอากาศ (ตั วชี้ วัด สาระการเรี ย นรู้ แ กนกลาง กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ วิทยาศาสตร์, 2551) และจากเนื้อหาจะพบว่ามีความ ซับซ้อนและมีความเป็นนามธรรมสูง ส่งผลให้ผู้เรียนไม่ เข้าใจในเนื้อหาและไม่สามารถเชื่อมโยงเนื้อหากับการ ลงมื อ ปฏิ บั ติ ก ารทดลองได้ และจากการศึ ก ษาหา วิธีการแก้ไขปั ญหาจากผลการวิจัยที่มีลักษณะปัญหา คล้ ายคลึง กันจะพบว่ า ควรจะเลื อกใช้ สื่ อการสอนที่ สามารถเปลี่ยนเนื้อหาที่มีลักษณะเป็นนามธรรมให้เป็น รูป ธรรมขึ้ น เป็ นสื่ อหรื อกระบวนการที่กระตุ้นความ สนใจของผู้ เ รี ย น เช่ น สื่ อ มั ล ติ มี เ ดี ย บทเรี ย น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน บทเรียนส้าเร็จรูป และควรสอน เนื้อหาควบคู่ไปกับความสามารถการคิดวิเคราะห์ จาก สภาพปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาค้นคว้าหาแนว ทางการแก้ปัญหา โดยพิจารณาหาสื่อหรือเครื่องมือที่ มีลักษณะที่สามารถช่วยลดเนื้อหาที่มีความยาก ความ ซั บ ซ้ อ นและมี ลั ก ษณะเป็ น นามธรรม เพื่ อ ให้ เ ป็ น เนื้อหาเป็นมิตรกับผู้เรียน ท้าให้ผู้เรียนสนใจและเข้าใจ เนื้ อหามากขึ้ น ซึ่ งจากผลงานวิ จั ยของปั ทมาพร เย็ น บ้ารุ ง ที่อ้างในงานวิจัยของอมรรั ตน์ แก้วอุ่นเรือน ที่ กล่าวว่ารูปแบบการเรียนการสอนโดยอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศ และเครื อ ข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ก็ เ ป็ น อี ก รูปแบบหนึ่งที่สามารถแก้ไขปัญหานี้ได้ เนื่องจากมีการ ใช้ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ มี ลั ก ษณะเป็ น สื่ อ ประสม (Multimedia) ที่ มี ห ล าย รู ป แ บบทั้ งภา พนิ่ ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง รวมทั้งวีดีทัศน์ ที่จะช่วยกระตุ้น ความสนใจของผู้เรียนและช่วยลดเนื้อหาที่มีความยาก ซับซ้อน มีความเป็นนามธรรมสูงได้ และหนังสือดิจิทัล (Digital Book) มีจุดเด่น คือ เป็นลั กษณะหนังสือที่ พิเศษกว่ าหนั ง สือต้ าราเรี ยนทั่วไป เนื่ องจากหนั ง สื อ ดิ จิ ทัล สามารถอ่า นได้ ส ะดวก รวดเร็ ว และสามารถ อ่านพร้อมกันได้พร้อมกันหลายคน สามารถ ท้าส้าเนา ได้ ง่ า ย อ่า นได้ ทุ กที่ ทุ กเวลา ทุ กสถานที่ เนื่ อ งจาก
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
183
สามารถอ่านผ่ านอุปกรณ์อิเล็ กทรอนิ กส์พกพา ต่างๆ เช่น Ipad ,Tablet รวมทั้ง Smartphone ทั้งระบบ iOS หรือ Android ท้าให้ผู้เรียนสามารถอ่านได้ง่าย และสะดวกขึ้ น รวมทั้ ง ยั ง สามารถแทรกภาพนิ่ ง ภาพเคลื่อนไหว เสี ยง รวมทั้งแบบทดสอบที่สามารถ ท้าให้ ผู้ เรี ยนสามารถตรวจสอบความเข้ าใจได้ ทัน ที นอกจากนี้หนังสือดิจิทัลยังสามารถปรับปรุง (Update ) ข้ อมู ล ให้ทันสมั ยเปลี่ ยนแปลงได้ ตลอดเวลา และ สามารถสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้โดยผ่านทางเครือข่าย อินเตอร์เน็ตที่สามารถเชื่อมโยงเอกสาร (Hyper text) ไปยังเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆทั้งภายในและภายนอกได้ ท้าให้การเรียนรู้จะไม่ถูกจ้ากัดแค่ภายในห้องเรียนหรือ ถูกควบคุม การเรี ยนการสอนโดยครู เพี ยงอย่างเดี ยว นักเรี ยนจะสามรถเลื อกเรียนรู้ ได้ ตามความถนั ดและ ความสนใจของผู้ เรียนเอง และการน้าสื่ อ การใช้ สื่ อ การเรียนการสอน ที่กระตุ้นผู้เรียนเพื่อสร้างแรงจูงใจ ให้ กั บ ผู้ เ รี ย น การลดความเหลี่ อ มล้้ า โดยการจั ด การศึ กษาให้ ทั่วถึ ง เท่าเทียมและมี คุ ณ ภาพ การน้ า ระบบ ICT เข้ามาใช้จัดการเรียนรู้อย่างเป็นรูปธรรม และกว้างขวาง และการจัดการเรียนการสอนไม่ได้จัด เพื่อการสอบ แต่ จัดการเรียนการสอนเพื่ อเรี ยนให้ได้ ทักษะชีวิตสามารถด้าเนินชีวิตอยู่ในโลกไร้พรมแดนได้ อย่างมีความสุขก็เป็นการจัดการเรียนตามนโยบายของ ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ด้ ว ย ( น โ ย บ า ย ข อ ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ , 2558) และจาก บริ บ ทโรงเรี ยนวั ดล้ าโพ(คล้ อยประชารัง สฤษฏ์ ) ที่มี ความพร้ อ มในด้ า นการบริ ก ารทางอิ น เตอร์ เ น็ ต คอมพิวเตอร์ และยังมีแท็บเล็ตให้บริการที่เพียงพอต่อ จ้านวนของนั กเรี ยน ซึ่ ง หนั งสื อดิ จิ ทัล จะกระตุ้ นให้ ผู้เรี ยนเกิดความสนใจในการเรี ยน มี แรงจูง ใจในการ เรียนเพิ่ มขึ้นและเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาหนังสือดิจิทัลวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่ องปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้ องกับ น้้าและอากาศ ที่มี คุณภาพ และมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2. เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและ ผลสั ม ฤทธิ์ ห ลั ง เรี ยนของผู้ เรี ย น ที่เรี ยนด้ วยหนั ง สื อ ดิ จิ ทั ล วิ ช าวิ ท ยาศ าสตร์ เรื่ อ ง ปรากฏการณ์ ที่ เกี่ยวข้องกับน้้าและอากาศ 3. เพื่ อเปรี ยบเทียบคะแนนความสามารถ การคิดวิเคราะห์ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน
184
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยหนังสือดิจิทัล เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้้าและอากาศ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ได้ หนั ง สื อดิจิ ทัล วิ ชาวิ ทยาศาสตร์ เรื่ อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้้าและอากาศ ที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพสามารถน้าไปใช้ในการสร้างเนื้อหา อื่นๆที่มีลักษณะเนื้อหาคล้ายคลึงกันได้ 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนน ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิ ช าวิ ทยาศาสตร์ ของสู ง ขึ้ น และส่งผลให้คะแนนการทดสอบกลางวิชาวิทยาศาสตร์ ของระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สูงขึ้น 3. นักเรียนสามารถน้าความสามารถการคิด วิ เ คราะห์ ไปใช้ ใ นการคิ ด วิ เ คราะห์ ใ นวิ ช าอื่ น ที่ มี ลักษณะเนื้อหาใกล้เคียงกันได้อย่างเหมาะสม วิธีการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่ก้าลังศึกษาอยู่ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เป็ น นั ก เรี ย นของโรงเรี ย นวั ด ล้ า โพ (คล้ อ ยประชา รั ง สฤษฏ์ ) สั ง กั ด ส้ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษานนทบุ รี เขต 2 ซึ่งได้จากการสุ่ม อย่าง ง่าย ( Simple Random Sampling ) โดยการจับ สลาก มา 1 ห้อง มีนักเรียนจ้านวน 38 คน ห้องที่มี นักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อนคละชั้น เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยคือ 1. หนั ง สื อ ดิ จิ ทั ล วิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ เรื่ อ ง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้้าและอากาศ 2.แบบทดสอบวั ดผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรี ยน วิช าวิ ทยาศาสตร์ ทางการเรี ยนเรื่ อง ปรากฏการณ์ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ น้้ า และอากาศ เป็ นแบบทดสอบแบบ ปรนัย แบบเลือกตอบ (Multiple Choice) 4 ตัวเลือก จ้านวน 30 ข้อ 3. แบบประวั ด ความสามารถการคิ ด วิเคราะห์ เรื่ อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้ องกับ น้้ าและ อากาศ เป็ นแบบทดสอบแบบปรนั ย แบบเลื อกตอบ (Multiple -Choice) 4 ตัวเลือก จ้านวน 15 ข้อ 4. แบบประเมินคุณภาพหนังสือดิจิทัลส้าหรับ ผู้เชี่ยวชาญ จะประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ด้านเนื้อหา และด้านสื่อและเทคโนโลยี
การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ท้าหนังสือถึงผู้อ้านวยการโรงเรียนวัดล้าโพ (คล้ อยประชารั ง สฤษฏ์ ) เพื่ อขอความอนุ เคราะห์ ใ น การเก็บรวบรวมข้อมูล 2. ชี้ แ จงวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเรี ย น ก้ า หนด ข้อตกลงและชี้แจงการเรี ยนโดยใช้ห นังสื อดิจิทัลวิช า วิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้้าและ อากาศแก่นักเรียน แล้วให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างและให้ นั กเรี ยนท้ าแบบทดสอบก่อนเรี ย น (Pre – test) จ้านวน 30 ข้อ ใช้เวลา 40 นาที และแบบทดสอบวัด ความสามารถการคิดวิเคราะห์จ้านวน 15 ข้อ ใช้เวลา 20 นาที 3. นั กเรี ย นกลุ่ ม เป้ า หมายเรี ยนด้ ว ยหนั ง สื อ ดิจิทัลวชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง กับน้้าและอากาศ จ้านวน 4 เรื่องตามแผนการจัดการ เรียนรู้ จ้านวน 4 ชั่ วโมง ด้วยหนังสือดิ จิทัล โดยแบ่ ง การเรี ย นรู้ ต ามล้ า ดั บ แผนการเรี ยนรู้ โดยผู้ วิจั ย จะ อัพ เดตข้ อมู ล เนื้ อ หาในหนั ง สื อ ดิ จิ ตัล ทีล ะเรื่ อ งตาม แผนการจัดการเรียนรู้โดยหนังสือดิจิตัลจะใช้งานผ่าน แอปพลิเคชั่นบนมือถือและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา (แท็ปเล็ต)โดย 1 คน ต่อ 1 เครื่อง 4. เมื่อเรียนครบตามแผนการจัดการเรียนรู้ทั้ง 4 แผนการเรียนรู้แล้ว นักเรียนท้าแบบทดสอบสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ( Posttest ) เรื่ อง ปรากฏการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับน้้าและอากาศ จ้านวน 30 ข้อ ใช้เวลา 40 นาที และแบบทดสอบวั ด ความสามารถการคิ ด วิเคราะห์ จ้านวน 15 ข้อ ใช้เวลา 20 นาที 5. น้าข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 6.รวบรวมข้อมูลและน้าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ โดยใช้สถิติในการวิจัย คือ สถิติ t-test ในการทดสอบ สมมติฐาน
ผลการศึกษา 1. หนั ง สื อ ดิ จิ ทั ล วิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ เรื่ อ ง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับน้้าและอากาศมีคุณภาพระดับ
ดี และมีประสิทธิภาพ 74/ 75 ซึ่งสอดคล้องกับเกณฑ์ ที่ก้าหนดไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงกว่า คะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ .05 3.คะแนนความสามารถการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน สูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติ .05 อภิปรายผลการศึกษา 1 . ผ ล ก า ร พั ฒ น า ห นั ง สื อ ดิ จิ ทั ล วิ ช า วิทยาศาสตร์เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้้าและ อากาศ เพื่ อส่ งเสริม ความสามารถการคิดวิ เคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดล้าโพ (คล้ อยประชารัง สฤษฏ์) มี คุ ณภาพด้ านเนื้ อหาอยู่ ใ น ระดั บ ดี ทั้ง นี้ เนื่ องมาจากหนั ง สื อดิ จิ ทัล ได้ ผ่ านการ ประเมินความสมบูรณ์ของเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญด้าน เนื้อหาและด้านสื่อและเทคโนโลยีโดยตรง นอกจากนี้ หนังสือดิ จิทัลวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่ อง ปรากฏการณ์ที่ เกี่ ยวข้ อ งกั บ น้้ า และอากาศ ยั ง ได้ ถูก พั ฒนาขึ้ นตาม ขั้นตอนการสร้ างหนัง สื อดิ จิทัล อย่ างเป็นระบบ ตาม รูปแบบของ ADDIE model ที่เริ่มจากการวิเคราะห์ เนื้อหา วิเคราะห์ผู้เรียน และมีการออกแบบ โดยการ เขียนโครงสร้าง (Flow chart) เพื่อแสดงแผนผังของ เนื้อหาในหนังสือดิจิทัลนี้ เพื่อน้าไปเขียนเป็นเรื่องราว ล้าดับขั้นตอน (Story Board) ที่แสดงภาพรวมทั้งหมด ของหนั ง สื อ ดิ จิ ทั ล และในการพั ฒ นาก็ ไ ด้ รั บ การ ตรวจสอบและปรั บ ปรุ ง จากอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาและ ผู้ เชี่ ยวชาญที่ ได้ ใ ห้ ข้ อเสนอแนะ เพื่ อน้ าไปปรั บ ปรุ ง แก้ไข จนได้หนังสือดิจิทัลที่มีคุณภาพ และมีการน้าไป ทดลองใช้ เ พื่ อ ทดสอบหาประสิ ท ธิ ภ าพของหนั ง สื อ ดิจิทัลวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้อง กั บ น้้ า และอากาศ และในขั้ น ประเมิ น ผลก็ น้ า ไป ทดลองใช้กับนักเรียนพบว่าหนังสือมีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ ที่ก้ าหนดไว้ น อกจากนี้ ใ นขั้ นการออกแบบใน รูปแบบของการน้าเสนอเนื้อหา มีการน้าเสนอในด้าน มัล ติ มี เดี ย ได้ แก่ ตั วอักษร ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่ อนไหว เพื่อให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียน กระตุ้นความ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
185
สนใจของผู้ เ รี ย น รวมทั้ ง ยั ง มี แ บบทดสอบที่ มี ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนอีกด้วย ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของสุ นิ ช า แสงกล้ า (2556)ที่ ไ ด้ ศึ ก ษาการสร้ า งหนั ง สื อ ดิ จิ ทั ล แบบมี ปฏิสัมพันธ์บนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ วิชาวจน เพื่อการสื่อสารภาษาไทยที่มีผลวิจัยว่าหนัง สือดิจิทัล แบบมีปฏิสัมพันธ์บนอุปกรณ์ปฏิสัมพันธ์บนอุปกรณ์ เคลื่อนที่ที่มีคุณภาพด้านเนื้อหาในระดับดีและด้านสื่อ และเทคโนโลยีอยู่ในระดับดีมาก มีผลท้าให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยส้าคัญ ทางสถิติที่ .05 และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของอภิรดี นิลาศน์ (2557) ที่ได้ศึกษาการพัฒนาหนังสือดิจิทัลบน อุป กรณ์อิ เล็ กทรอนิก ส์เ คลื่ อนที่วิ ช าสื่อ สารมวลชน ศึกษา ที่มีผลการวิจัยว่าภาษาไทยที่มีผล วิจัยว่า หนัง สื อดิจิทั ล แบบมี ปฏิสัม พันธ์บ น อุปกรณ์ปฏิสัมพันธ์บนอุป กรณ์เคลื่อนที่ที่มีคุณภาพ ด้านเนื้อหาในระดับดีและด้านสื่อและเทคโนโลยีอยู่ใน ระดับดีมาก มีผลท้าให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่า คะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ .05 และ ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของอภิรดี นิลาศน์ (2557) ที่ ได้ ศึ ก ษา กา รพั ฒนาห นั ง สื อ ดิ จิ ทั ล บนอุ ป กร ณ์ อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่วิช าสื่อสารมวลชนศึกษา ที่มี ผลการวิจัยว่าหนังสือดิจิทัลมีคุ ณภาพในระดับดีมากมี ผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยส้าคัญทางสถิติที่ .05 และการพัฒนาหนังสือดิจิทัล ของผู้วิจัยก็มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมากเช่นกัน 2. จากการการวิ เ คราะห์ ก ารเปรี ย บเที ย บ คะแนนที่ ได้ จ ากการท้า แบบทดสอบก่อ นเรีย นและ แบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น พบว่ า นัก เรี ยนกลุ่ ม ตัว อย่ า งสามารถท้ า แบบทดสอบหลั ง เรีย นเรี ยนได้ค ะแนนเฉลี่ย สูง กว่าคะแนนก่ อนเรีย น อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งแสดงให้เห็น ว่า การเรียนด้วยหนังสือดิจิทัลวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณ์ ที่เกี่ย วข้องกับน้้าและอากาศนั้ น ช่ว ย ส่ง เสริม ความรู้ค วามเข้า ใจให้ กับ ผู้เรี ยนเป็นอย่างดี เนื่ อ งมาจากหนั ง สื อ ดิ จิ ทั ล วิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ เรื่ อ ง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับน้้าและอากาศเป็นหนังสือ ที่มี สื่อ มัล ติมี เดี ยที่ มีทั้ ง ตั ว อัก ษร ภาพกราฟิ ก เสี ย ง และภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเป็นการสร้างแรงจูงใจ กระตุ้ น
186
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ความสนใจของผู้ เ รี ย นเป็ น อย่ า งดี และนอกจากนี้ หนัง สือดิจิทัล ยัง ช่วยให้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เอง ตามความสามารถของแต่ล ะบุคคล โดยไม่ตองรีบเร่ง รอหรือรอใคร หากไม่เข้าใจก็ยังสามารถย้อนกลับไป ทบทวนใหม่ได้ และยังสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เนื่องจากสามารถเก็บไว้ในอุปกรณ์เคลื่อนที่แบบพกพา ได้ง่าย โดยไม่ต้องใช้อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง 3.จากการวิเคราะห์การเปรียบเทียบคะแนน ความสามารถการคิดวิเคราะห์จากการท้าแบบทดสอบ ก่อนเรียนและแบบทดสอบหลัง เรียน พบว่านักเรียน กลุ่ ม ตั ว อย่ า งสามารถท้ า แบบทดสอบหลั ง เรี ย นได้ คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยส้าคัญ ทางสถิ ติ ที่ 0.05 ซึ่ ง แสดงให้ เ ห็ น ว่ า การเรี ย นด้ ว ย หนังสือดิจิทัลวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณ์ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ น้้ า และอากาศเป็ น หนั ง สื อ ที่ มี สื่ อ มั ล ติ มี เ ดี ย ที่ มี ทั้ ง ตั ว อั ก ษร ภาพกราฟิ ก เสี ย ง และ ภาพเคลื่อ นไหว ซึ่ ง เป็ นการสร้า งแรงจูง ใจ กระตุ้ น ความสนใจของผู้ เ รี ย นเป็ น อย่ า งดี และนอกจากนี้ หนัง สือดิจิทัล ยัง ช่วยให้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เอง ตามความสามารถของแต่ล ะบุคคล โดยไม่ตองรีบเร่ง รอหรือรอใคร หากไม่เข้าใจก็ยังสามารถย้อนกลับไป ทบทวนใหม่ได้ และยังสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา เนื่องจากสามารถเก็บไว้ในอุปกรณ์เคลื่อนที่แบบพกพา ได้ง่ าย โดยไม่ ต้อ งใช้อิ นเตอร์เ น็ต ความเร็ วสู ง และ หนังสือดิจิทัลยังมีแบบทดสอบความสามารถการคิด วิ เ คราะห์ ส อดแทรกลงในไปแต่ ล ะเนื้ อ หา มี ก าร สอดแทรกเนื้อหาเรื่ องราวจากสถานการณ์ปัจ จุบั น เช่น ข่าวสาร บทความที่เกิดขึ้นในปัจจุบันและมีความ ยากง่ า ยที่ เ หมาะสม และความสามารถการคิ ด วิ เ คราะห์ เ ป็ น การคิ ด ในขั้ น ที่ ย ากส้ า หรั บ ผู้ เ รี ย นใน ระดับประถมศึกษา แต่ก็มีความส้าคัญเนื่องจากการ คิ ด วิ เ คราะห์ เ ป็ น พื้ น ฐานในการคิ ด เช่ น การคิ ด วิจารณญาณ การคิดวิพากษ์ เป็นต้น และสอดคล้อง กับงานวิจัยของจุฬารัตน์ ต่อหิรัญพฤกษ์ (2551) ที่ได้ ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิช าวิทยาศาสตร์และ ความสามารถการคิดวิเคราะห์ ที่ได้มีการบูรณาการก จัดการเรียนรู้กับเรื่องราวในปัจจุบันท้าให้ผลท้าให้ผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมี นั ยส้ าคั ญ ทางสถิ ติ ที่ .05 และความสามารถการคิ ด วิเคราะห์สูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยส้าคัญทาง สถิติที่.05 ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย 1. การเรี ย นด้ ว ยหนั ง สื อ ดิ จิ ทั ล วิ ช า วิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากกฎการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ น้้ า และอากาศ เพื่อส่งเสริมความสามารถการคิดวิเคราะห์ ที่ผู้ วิ จั ย สร้ า งขึ้ น นี้ ผู้ วิ จั ย ได้ ส อดแทรกเนื้ อ หาที่ เ ป็ น เหตุ การณ์ใ นปัจ จุ บั น เช่ น ข่ าวสาร บทความ ที่เป็ น เหตุการณ์ที่นักเรียนได้เคยมีประสบการณ์มาแล้ว เช่น ฝ น ลู ก เ ห็ บ แ ม่ ค ะ นิ้ ง เ ป็ น ต้ น ห ลั ก ก า ร ท า ง วิทยาศาสตร์เพื่อให้เกิดความเข้าใจได้ง่ายและส่งผลให้ ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ความรู้จากบทเรียนได้สูงขึ้น 2.ในการจั ดกิจ กรรมการเรี ยนรู้ ควรให้ เวลา กั บ ผู้ เ รี ย นอย่ า งเต็ ม ที่ โดยค้ า นึ ง ถึ ง ความแตกต่ า ง ระหว่างบุคคลเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่เรียนรู้ ช้าได้ มีโ อกาสเรี ยนรู้ ได้เต็ ม ศักยภาพของเขา และใน หนังสือดิจิทัลผู้วิจัยได้เพิ่มความเป็นสื่อประสม ท้าให้ ผู้เรียนที่มีความแตกต่างระหว่างบุคคลสามารถเรียนรู้ ได้ดีขึ้น เช่น ผู้เรียนที่มีปัญหา ด้านการอ่าน ก็สามารถ เลือกฟังได้จากวีดิทัศน์ได้ 3. ในการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ที่ เ น้ น การ พั ฒ นาการคิ ดวิ เคราะห์ เพื่ อ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพควร จัดการเรี ยนรู้แบบต่ อเนื่อง โดยเพื่อให้ผู้ เรี ยนคุ้นเคย กับการเรียนรู้ที่เน้นการคิดวิเคราะห์ และจัดการเรียนรู้ จากง่ ายไปหายาก โดยเริ่ ม จากการวิ เคราะห์ เนื้ อหา ความสัมพันธ์และหลักการตามล้าดับ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ บูรณาการและการจัดการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชามัธยมศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ. สุนิชา แสงกล้า. 2556. การสร้างหนังสือดิจิทัลแบบ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ บ นอุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เคลื่ อ นที่ วิ ช าสื่ อ มวลชนศึ ก ษา ส้ า หรั บ นักศึกษาระดับปริญ ญาตรี มหาวิ ท ยาลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี พ ร ะ เ จ้ า เ ก ล้ า ธ น บุ รี . วิ ท ยานิ พนธ์ คุ รุ ศาสตร์ อุ ต าสา หกรร ม มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการเรียนรู้และ สื่อสารมวลชน, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าธนบุรี อภิรดี นิลาศน์. 2557. การพัฒนาหนังสือดิจิทัลบน อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ วิชาสือ่ มวลชน ศึกษา ส้าหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระเจ้าเกล้าธนบุรี.
เอกสารและสิ่งอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิ การ. 2551. หลักสู ตรแกนกลาง การศึ ก ษาขั นพื นฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว จุฬารัตน์ ต่อหิรัญพฤกษ์. 2551. การศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของ นักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิต
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
187
การพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพืการพั ่อส่งเสริฒ มความคิ สร้างสรรค์ สาหรัเมชั บนักนเรีโดยใช้ ยนชั้นอนุนบิทาลปี นาสื่อดการ์ ตูนแอนิ านที่ 3
เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สําหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 Development of Cartoon CartoonAnimation AnimationtotoEnhance Enhance the theThird ThirdGrade Grade Development of Kindergarten student studentCreative Creative Thinking Thinking Kindergarten
ศรัญญา เจริญผล*, รศ.ดร.ณรงค์ สมพงษ์** นางสาวศรัญญา เจริญผล * Angeii_ja@hotmail.com fedunrs@ku.ac.th Angeii_ja@hotmail.com
รศ.ดร.ณรงค์ สมพงษ์ ** fedunrs@ku.ac.th บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สาหรับ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ทีมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 และ 2) เปรียบเทียบ ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 หลังจากเรียนด้วยสื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดย ใช้นิทาน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย ครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัยชายและหญิงที่กาลัง ศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จานวน 30 คน ได้มาโดย วิธีการจับสลากสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) สื่อการ์ตูนแอนิเมชัน โดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์, 2) แบบประเมินคุณภาพสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน สาหรับผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบทดสอบวัด ความคิดสร้างสรรค์ 4) แบบประเมินชิ้นงาน
188
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ด้วยการให้คะแนนแบบรูบริค สกอร์ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) สื่อการ์ตูน แอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีคุณภาพระดับมาก และมี ประสิทธิภาพเท่ากับ 78.61/ 85.75 เป็นไป ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้และ 2) ความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 หลังจากเรียน ด้วยสื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทาน คะแนน ทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อน เรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คาสาคัญ : การ์ตูน, แอนิเมชัน, ความคิด สร้างสรรค์ Abstract
The objectives of this research were to 1) Development of Cartoon Animation for third year students. had performance by criteria 80/80, and 2) to compare Creative Thinking for third year students, Before and after using Cartoon Animation. The sample group were 30 Kindergarten student who were studying in the third grade kindergarten in the second semester of academic year 2016 selected from the cluster random sampling method, The research instruments were 1) cartoon animation using fairy tales. For Enhancing creative thinking , 2) the cartoon animation quality assessment form, and 3) creative thinking tests 4) Scoring Rubric form. Data were analyzed by percentage, mean ( ) and Standard Deviation (S.D.) The results of this research were as follows: 1) the cartoon animation of enhancing creativity that met the criterion the third grade kindergarten, have high quality and have efficiency at 78.61 / 85.75, and 2) students’ creative thinking after teaching with cartoon animation higher than pretest at 0.5 significant level .
Keyword : Cartoon, Animation, Creative Thinking บทนา หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 มุ่งพัฒนาเด็กปฐมวัย บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและ พัฒนาการของเด็กแต่ละคนตามศักยภาพ ภายใต้บริบทของสังคมและวัฒนธรรมที่เด็ก อาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทร และ ความเข้าใจของทุกคน เพื่อสร้างรากฐาน พัฒนาคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเองและ สังคม โดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญ คือ พัฒนาเด็ก ปฐมวัยให้มีความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา มีจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ได้เหมาะสมกับวัย(หลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546) ในระบบการศึกษาไม่มีการสอนวิธีคิด สร้างสรรค์ เราจึงไม่รู้ว่าอย่างไรจึงเรียกว่าคิด สร้างสรรค์ การเรียนรู้ในระบบท่องจาทาให้ ผู้เรียนรับรู้และเชื่อถือข้อมูล โดยปราศจาก การตั้งข้อสงสัย หรือการคิดเชิงวิพากษ์เป็น การปิดกั้นการคิดในมุมที่แตกต่างจากเดิม จึงนาไปสู่การลอกเลียนแบบความคิดผู้อื่น (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2556) ดังนั้นเด็ก จึงจาเป็นต้องพัฒนาตนเองให้มีทักษะการคิด เชิงระบบและความคิดสร้างสรรค์เป็นทักษะ การคิดที่เป็นเครื่องมือขั้นฐานที่สาคัญในการ เผชิญหน้ากับกระแสการไหลบ่าถาโถมของ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
189
ข้อมูลข่าวสารในยุคต้นศตวรรษที่ 21 ได้อย่าง มีประสิทธิภาพสูง ช่วยให้บุคคลสามารถทา ความเข้าใจโลกรอบตัวได้อย่างเป็นระบบและ มีสมรรถนะในการคิดสร้างสรรค์ให้เกิด นวัตกรรมในการเรียน (ประจักษ์ ปฏิทัศน์, 2559) จากความสาคัญดังกล่าวผู้วิจัยจึง เล็งเห็นความสาคัญของการที่จะพัฒนา ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นวัย แรกเริ่ม และเป็นช่วงวัยที่ดีที่สุดต่อการเริ่มต้น เพื่อตอบสนองแนวทางการจัดการเรียนการ สอนในศตวรรษที่ 21 ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะสร้าง สื่อการ์ตูนแอนิเมชันนิทาน เพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนชั้น อนุบาลปีที่ 3 ในสื่อจะประกอบไปด้วย ข้อความ เสียง และรูปภาพประกอบ พร้อมชุด กิจกรรมระหว่างฟังนิทานแอนิเมชัน เพื่อให้ เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กโดยการวาดภาพ จากจินตนาการ เป็นการเล่านิทานที่บูรณาการ เกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว ในเรื่องสัตว์บก สัตว์น้า ในนิทานจะสอนในเรื่องของการ เริ่มต้นจากจุดไปสู่เส้นและให้เด็กได้ใช้ ความคิด และจินตนาการได้อย่างเต็ม ความสามารถ จากประสบการณ์จริงที่เคยพบ เห็น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน โดยใช้นิทาน ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ทีมีคุณภาพ พร้อมทั้งประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
190
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
2. เพื่อเปรียบเทียบความคิด สร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 เมื่อเรียนด้วยสื่อการ์ตูนแอนิเมชันนิทาน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ประโยชน์ที่ได้รับ 1. สื่อการ์ตูนแอนิเมชันมีคุณภาพ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ กาหนดไว้ ซึ่งสามารถส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ของผู้เรียน 2. นาผลจากประเมินการพัฒนาสื่อ แอนิเมชันนิทาน เพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 นาไปปรับใช้เป็นแนวทางในการออกแบบและ พัฒนาสื่อในการจัดการเรียนการสอนต่อไป และสามารถนาไปใช้กระตุ้นความคิด สร้างสรรค์ของผู้เรียน ขอบเขตของการวิจัย 1. กลุ่มประชากรการวิจัยในครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัยชายและหญิงที่กาลังศึกษาอยู่ในชั้น อนุบาลปีที่ 3 โรงเรียนอนุบาลคหกรรมศาสตร์ เกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จานวน 90 คน 2. กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในครั้งนี้ คือ เด็กปฐมวัยชายและหญิงที่กาลังศึกษาอยู่ ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ห้อง 3/1 จานวน 30 คน โดยวิธีการ สุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 3. ขอบเขตในด้านเนื้อหา
เนื้อหาที่ผู้วิจัยนามาใช้ มาจากหน่วยการสอน ในสาระที่เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว ของโรงเรียนอนุบาลคหกรรมศาสตร์ อ้างอิงมา จากหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ เรื่อง ของสิ่งมีชีวิต โดยใช้หน่วยการสอน เรื่องสัตว์ บก และสัตว์น้า โดยผ่านการนาเสนอรูปแบบ นิทานประเภทสัตว์พูดได้ เพื่อส่งเสริมให้เกิด กระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ที่นาไปสู่ การปฏิบัติ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.1 ที่มาของเส้น เกิดจากจุด วงกลมหลายๆจุดเรียงต่อกัน 3.2 ประเภทของเส้น 3.2.1 เส้นตรง เป็นเส้นที่ แสดงความรู้สึก แข็งแรงมั่นคงไม่เคลื่อนไหว ลากจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งทั้งในแนวราบ และแนวดิ่ง เป็นลายเส้นเริ่มต้นที่สามารถต่อ เติมให้กลายเป็นรูปร่างและรายละเอียดของ ภาพการ์ตูนสัตว์แต่ละชนิดได้ เช่น คอของ ยีราฟ ขาของนก เป็นต้น 3.2.2 เส้นหยัก เป็นเส้นที่ แสดงถึงความเคลื่อนไหวอย่างมีพลัง และมีมี ระเบียบ เป็นลายเส้นเริ่มต้นที่สามารถต่อเติม ให้กลายเป็นรูปร่างและรายละเอียดของภาพ การ์ตูนสัตว์แต่ละชนิดได้ เช่น ฟันของปลา เขาของสัตว์ เป็นต้น 3.2.3 เส้นโค้ง (เส้นอิสระ) แสดงถึงความอ่อนน้อม การเคลื่อนไหว ความ สนุกสนาน กลายเป็นรูปร่างและรายละเอียด ของภาพการ์ตูนสัตว์แต่ละชนิดได้ เช่น สันหลังของสัตว์ งูเลื้อย เป็นต้น
3.3 เนื้อเรื่องของนิทาน เกี่ยวกับการผจญภัยของตัวละครที่ไปพบเจอ เหตุการณ์ที่ทาให้รู้จักกับลายเส้น เส้นตรง เส้นโค้ง เส้นหยัก และพบเจอกับเพื่อนๆสัตว์ ชนิดอื่น ในสถานที่ ที่อยู่อาศัยที่แตกต่างกัน 4. ตัวจัดกระทาที่จะศึกษา 4.1 ตัวจัดกระทา ได้แก่ การเรียนด้วยสื่อการ์ตูนแอนิเมชันนิทาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สาหรับ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 4.2 ผลของตัวจัดกระทา ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์จากการเรียนรู้ด้วยสื่อ หลังจากการร่วมกิจกรรม 5. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย คือ เริ่ม ดาเนินการภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 (ระยะเวลารวมทั้งสิ้น 4 สัปดาห์) สมมติฐาน เด็กนักเรียนชั้นอนุบาล 3 ที่เรียนด้วย สื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ มีผลการเรียนรู้ทาง ความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ .05 กรอบแนวคิดในงานวิจัย ตัวจัดกระทา คือ การเรียนรู้ด้วยสื่อ การ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้รูปแบบนิทานเพื่อ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ + กิจกรรมก่อน เข้าสู่บทเรียน ผลของตัวจัดกระทา คือ ความคิด สร้างสรรค์ มีทั้งสิ้น 4 ด้าน ได้แก่
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
191
- ความคิดริเริ่ม - ความคิดคล่องแคล่ว - ความคิดยืดหยุ่น - ความคิดละเอียดละออ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็น เครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยผ่านการทดสอบ คุณภาพโดยการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว ประกอบไปด้วย 1. สื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สาหรับ นักเรียนชั้นอนุบาล 3 ที่ผ่านการประเมินจาก ผู้เชี่ยวชาญแล้ว ซึ่งมีทั้งหมด 3 ตอน 2. แบบประเมินคุณภาพสื่อการ์ตูน แอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 3 สาหรับผู้เชี่ยวชาญ 3. แบบทดสอบวัดความคิด สร้างสรรค์โดยอาศัยรูปภาพเป็นสื่อ แบบ ก โดยผู้วิจัยดัดแปลงจาก Torrance Test of Creative Thinking Figural Form A ซึ่งมี ทั้งหมด 3 ตอน 4. แบบประเมินชิ้นงานด้วยการให้ คะแนนแบบรูบริค สกอร์ โดยใช้ประเภทการ ให้คะเเนนรูบริคแบบแยกส่วน การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวม ข้อมูล
192
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
1. ผู้วิจัยนาหนังสือขอความ อนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไปยังโรงเรียนอนุบาลคหกรรมศาสตร์เกษตร เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการทดลองและเก็บ รวบรวมข้อมูล 2. นัดหมายกับอาจารย์ผู้สอนกลุ่ม สาระการเรียนรู้ ธรรมชาติรอบตัว เรื่อง สิ่งมีชีวิต หน่วยการสอนสัตว์บก สัตว์น้า 3. นาแบบทดสอบวัดความคิด สร้างสรรค์ก่อนเรียน เพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 3 จานวน 3 กิจกรรม ไปทาการทดสอบกับ นักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง ก่อนเริ่ม ทาการ ทดลองใช้สื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สาหรับ นักเรียนชั้นอนุบาล 3 ในการสอบกิจกรรมที่ 1 ใช้เวลา 5 นาที กิจกรรมที่ 2 และ3 ใช้เวลา กิจกรรมละ 10 นาที ทั้งหมด 3 กิจกรรม รวมทั้งสิ้น 25 นาที จากนั้นจึงนาคะแนนของ นักเรียนมาหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน เพื่อดูพื้นฐานความรู้เดิมของ นักเรียน 4. จัดเตรียมสถานที่และเครื่องมือใน การทดลอง โดยใช้ห้องเรียน 3/1 ของโรงเรียน อนุบาล คหกรรมศาสตร์เกษตร โดยการ เตรียมพื้นที่ห้องให้โล่ง 5. อธิบายวิธีการใช้งานสื่อแอนิเมชัน โดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 3 แก่นักเรียน โดย
มีกิจกรรมที่เป็นไปตามแผนการสอน โดยมี การสอนในขั้นต้น 6. ให้นักเรียนเรียนด้วยสื่อการ์ตูน แอนิเมชันโดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 3 โดย ใช้เวลาเรียน 2 คาบเรียน มีกิจกรรมระหว่างที่ ดูสื่อการ์ตูนแอนิเมชันและหลังจากดูสื่อเสร็จ เรียบร้อยแล้วตามแผนการสอนที่ผู้วิจัย สร้างขึ้น 7. หลังการเรียนจากสื่อการ์ตูน แอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 3 ผู้วิจัยให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดความคิด สร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาล 3 จานวน 3 กิจกรรม ในการสอบกิจกรรมที่ 1 ใช้เวลา 5 นาที กิจกรรมที่ 2 และ3 ใช้เวลากิจกรรมละ 10 นาที ทั้งหมด 3 กิจกรรมรวมทั้งสิ้น 25 นาที 8. รวบรวมข้อมูลที่ได้จาก แบบทดสอบมาตรวจทาการวิเคราะห์ข้อมูล และแปลผลทางสถิติต่อไป อภิปรายผล จากผลการวิจัย เรื่อง การพัฒนาสื่อ การ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาล ปีที่ 3 มีข้อวิจารณ์ ดังนี้ 1. จากผลการวิจัย เรื่อง การพัฒนา สื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาล
ปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น จากการประเมินของ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค จานวน 3 คน ผลการวิจัยพบว่า มีคุณภาพด้านเทคนิค มีค่าเฉลี่ย 4.32 ซึ่งอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณา ตามรายการประเมินด้านภาพนิ่ง (Image) พบว่า ขนาดของภาพที่ใช้เหมาะสม, สีและ ภาพมีความชัดเจน, ภาพที่ใช้สื่อตรง ความหมาย, มีความสมดุลในการวางภาพใน กรอบและจานวนของภาพเหมาะสม อยู่ใน ระดับดีมากทุกข้อ และผลการประเมิน คุณภาพของสื่อแอนิเมชันโดยนิทาน เพื่อ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ จากการประเมิน ของผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จานวน 3 คน พบว่า คุณภาพด้านเนื้อหา มีค่าเฉลี่ย 4.64 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก เมื่อพิจารณาตามรายการ ประเมิน พบว่า ด้านแบบทดสอบ พบว่า วัตถุประสงค์การเรียนรู้มีความชัดเจน, ความ ชัดเจนของคาสั่งและคาถามของแบบทดสอบ และความเหมาะสมของชนิดแบบทดสอบที่ เลือกใช้ อยู่ในระดับดีมาก ผลการให้คะแนนจากผลงานความคิด สร้างสรรค์ (รูบริค สกอร์) พบว่า ด้านเกิด รูปภาพใหม่ที่มีเรื่องราวมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.90 (ค่า S.D. = 0.84) มีค่าเฉลี่ยจากผล คะแนนรวมมากที่สุด แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนทั้ง กลุ่มมีความคิดหยืดหยุ่นมากที่สุด สามารถ บอกเล่าเรื่องราวจากผลงานได้, สามารถบอก ชนิดสัตว์ได้ตรงตามภาพ, สามารถอธิบาย ส่วนประกอบต่างๆในภาพได้, สามารถอธิบาย ความรู้สึกของสัตว์ที่วาดออกมาได้ และนา
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
193
ผลงานมาดัดแปลงเกิดชิ้นงานให้แตกต่างจาก เพื่อน ส่วนด้านมีความแปลกใหม่ มีคะแนน เฉลี่ยเท่ากับ 3.77 (ค่า S.D. = 1.14), ด้านมี รายละเอียดน่าสนใจ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.70 (ค่า S.D. = 0.79) และด้านเสร็จทัน กาหนดเวลา มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 3.13 (ค่า S.D. = 1.50) ซึ่งทั้ง 4 ด้านนี้อยู่ในการ ทดสอบ หรืออยู่ในขั้นของการดาเนินการ ระหว่างเรียนร้อยละ 78.61 สรุปค่าผลรวม เฉลี่ยรวมทั้งหมดเท่ากับ 14.50 (ค่า S.D. = 2.96) และเมื่อหาประสิทธิภาพของสื่อการ์ตูน แอนิเมชันโดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ ของนักเรียนจานวน 30 คน ทา แบบฝึกหัดระหว่างเรียนด้วยสื่อการ์ตูน แอนิเมชันโดยใช้นิทานที่สร้างขึ้นได้ถูกต้อง ร้อยละ 78.61 และทาแบบฝึกหัดหลังเรียนได้ ถูกต้อง ร้อยละ 85.75 ดังนั้น สื่อการ์ตูน แอนิเมชันโดยใช้นิทานดังกล่าวมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 78.61/85.75 มีการพิจารณาการผ่าน เกณฑ์ เนื่องจากเกณฑ์ที่ตั้งไว้เป็นเกณฑ์ต่าสุด ดังนั้นหากการทดสอบคุณภาพของสิ่งใดหรือ พฤติกรรมใดได้ผลสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้อย่างมี นัยสาคัญ ที่ระดับ .05 หรืออนุโลมให้มีความ คลาดเคลื่อน ต่าหรือสูงกว่าค่าประสิทธิภาพ ที่ตั้งไว้เกิน 2.5 ซึ่งสอดคล้อง กับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือ 80/80 ดังนั้นจึงทาให้ปัญหาระหว่างการ ดาเนินงานการสร้างสื่อฯ สามารถแก้ไขได้ตรง กับปัญหาที่แท้จริง โดยสามารถถ่ายทอด เนื้อหาได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ชัดเจนและ เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน อีกทั้งสื่อฯ มี ความเคลื่อนไหว รวมทั้งเสียงประกอบ
194
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถ อธิบายเรื่องราวที่ซับซ้อน เข้าใจได้ง่ายขึ้น เพราะสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน มีทั้งภาพ เสียง เป็นองค์ประกอบหลัก จากผลการวิจัยการใช้ แอนิเมชันเป็นสื่อในด้านของการศึกษา(อ้างใน สุภัชรา อวบอ้วน, 2555) แสดงให้เห็นว่า สื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทานเพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ มีประสิทธิภาพสามารถ นาไปใช้ประกอบการเรียนการสอนได้ 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อน เรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 หลังจากเรียนด้วยสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน นิทาน จานวน 30 คน โดยที่ผู้วิจัยได้ทาการ แบ่งกิจกรรม ออกมาเป็น 2 ส่วนนั่นคือ การ เรียนด้วยกิจกรรม ตามของแผนการจัดการ เรียนรู้ และการเรียนจากสื่อฯ โดยประยุกต์ใช้ หลักการออกแบบระบบการเรียนการสอนของ ADDIE MODEL ของ Barbara Seel และ Zita Glasgow (1998) ซึ่งพบว่า การทดสอบ คะแนนของนักเรียน มีคะแนนก่อนเรียนเฉลี่ย เท่ากับ 10.22 คะแนน และมีคะแนนหลัง เรียนเฉลี่ยเท่ากับ 11.38 คะแนน เมื่อ เปรียบเทียบระหว่างคะแนนสอบทั้ง 2 พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เนื่องจาก ครูผู้สอน และสื่อฯทาให้ผู้เรียนมีความรู้และ ความเข้าใจมากขึ้น ในการสร้างสรรค์ผลงาน ที่ทาในแบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ หลังเรียน ซึ่งสอดคล้องกับ ศิริลักษณ์ คลองข่อย (2555) ได้ทาวิจัยเรื่อง การพัฒนานิทานการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่องอยู่
อย่างพอเพียงสาหรับเด็กปฐมวัย โดยมี ผลการวิจัย พบว่า 1) นิทานการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่อง อยู่อย่างพอเพียงมีคุณภาพในระดับดี มาก และ 2) เด็กปฐมวัยมีความเข้าใจในเรื่อง อยู่อย่างพอเพียง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน จากนิทานการ์ตูนแอนิเมชันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปผลการวิจัย จากการดาเนินการพัฒนาสื่อการ์ตูน แอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 สรุปผลการวิจัย ดังนี้ 1. สื่อการ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์สาหรับ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมี คุณภาพระดับมาก และมีประสิทธิภาพเท่ากับ 78.61/ 87.54 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2. ความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ชั้นอนุบาลปีที่ 3 หลังจากเรียนด้วยสื่อการ์ตูน แอนิเมชันนิทาน คะแนนทดสอบหลังเรียนสูง กว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตาม สมมติฐานที่ตั้งไว้ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย 1. ในกระบวนการพัฒนาสื่อการ์ตูน แอนิเมชันโดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์สาหรับนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3
โดยประยุกต์ใช้หลักการ ADDIE MODEL ของ Barbara Seel และZita Glasgow (1998) โดยใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ อาทิ Adobe After Effects, Adobe Illustrator และ Adobe Premiere pro ซึ่งทาให้สื่อมี คุณภาพและประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 2. ผลทางความคิดสร้างสรรค์หลัง การเรียนด้วยสื่อการ์ตูนแอนิเมชันพบว่า สูง กว่าก่อนเรียนเนื่องจากหลังเรียน มีการทา กิจกรรมและการเรียนด้วยสื่อฯ ทาให้ผู้เรียนมี ความเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น สามารถทบทวน ความรู้ซ้าจากสื่อได้ ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. การพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน โดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ควรสอดแทรกหรือแบ่งช่วงความสนใจของ การนาเสนอเส้นแต่ละเส้นให้ชัดเจนกว่านี้จะ ช่วยส่งเสริมด้านความคิดสร้างสรรค์ให้กับ นักเรียนได้เพิ่มมากขึ้น 2. ควรมีการศึกษาวิจัยในสภาพ ปัญหา หรือความพึงพอใจของผู้เรียน ต่อการ ใช้สื่อการ์ตูนแอนิเมชัน จากการนาไปใช้ 3. การพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชันให้ มีการโต้ตอบ (Interactive) กับผู้เรียน โดยใช้ เทคนิคจับการเคลื่อนไหว เพื่อให้นักเรียนมี ส่วนร่วมใน 4. ในการพัฒนาสื่อการ์ตูนแอนิเมชัน โดยใช้นิทาน เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ โดยสร้างฉากในนิทานให้นักเรียนสามารถ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
195
เลือกเหตุการณ์หลายเหตุการณ์ได้ ว่าถ้าตัว ละครเลือกที่จะทาอีกแบบจะมีผลอย่างไร เอกสารและสิ่งอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ.กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. 2546. บทที่ 2 สาระสาคัญของหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 (สาหรับเด็กอายุ 3-5ปี). กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. ประจักษ์ ปฏิทัศน์. 2559. การคิดเชิงระบบ และความคิดสร้างสรรค์ (Systematic and Creative Thinking). กรุงเทพฯ : บริษัท โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. ศิริลักษณ์ คลองข่อย. 2555. การพัฒนา นิทานการ์ตูนแอนิเมชัน เรื่องอยู่ อย่างพอเพียงสาหรับเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี. สุภัชรา อวบอ้วน. 2555. การพัฒนาบทเรียน การ์ตูนแอนิเมชันโดยใช้แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้สมอง เป็นฐาน วิชาภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ราชภัฎนครราชสีมา.
196
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้าง และบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม A Development of Individual Training Package : Mechanical Equipment Road Construction and Maintenance for Mechanical Operator of Trat Highway District, Department of Highways, Ministry of Transport
ขนิษฐา ผาลทอง1, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง2, สุขมิตร กอมณี3 KHANITHA PHANTONG, DAMRAS ONCHAWIANG, SUKHAMITE KOMANEE 1 นิสิตการศึกษามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี 2 อาจารย์ประจ�ำภาควิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี 3 อาจารย์ประจ�ำภาควิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อ พัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรือ่ ง เครือ่ งจักรกล งานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงาน ขั บ เครื่ อ งจั ก รกลแขวงทางหลวงตราด กรม ทางหลวง กระทรวงคมนาคมให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2) เพื่อเปรียบ เทียบคะแนนความรู้ ทักษะก่อนและหลังการใช้ ชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงาน ก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงาน ขั บ เครื่ อ งจั ก รกลแขวงทางหลวงตราด กรม ทางหลวง กระทรวงคมนาคม 3) เพือ่ ศึกษาความ พึ งพอใจของพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวง ทางหลวงตราด ที่มีต่อชุดฝึกอบรมรายบุคคล เรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษา ทาง ส� ำ หรั บ พนักงานขับเครื่องจักรกลแขวง ทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม
ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ ได้แก่ พนักงานที่ ปฏิบตั งิ านของแขวงทางหลวงตราด จ�ำนวน 224 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานขับเครื่องจักร กลของแขวงทางหลวงตราด จ�ำนวน 30 คน หลังจากนัน้ ให้พนักงานขับเครือ่ งจักรกลท�ำแบบ ทดสอบ และแบบสอบถามความพึงพอใจที่ผู้ วิจัยได้สร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลีย่ ค่าร้อยละส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t (t-test) และประสิทธิภาพ ชุ ด ฝึ ก อบรมตามเกณฑ์ ม าตรฐาน 90/90 (The 90/90 standard) ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดฝึกอบรมราย บุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุง รักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม มีประสิทธิภาพ 93.83/93.33 เป็น เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
197
ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 standard) ที่ ตั้ ง ไว้ 2) คะแนนหลั ง การใช้ ชุดฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการใช้ชุดฝึก อบรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) พนักงานขับเครื่องจักรกลที่เข้ารับการฝึกอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับพอใจมากที่สุด Abstract The purposes of this research were; 1) To develop individual training package : mechanical equipment road construction and maintenance for mechanical operator of Trat Highway District, Department Of Highways, Ministry Of Transport to meet efficiency according to the 90/90 standard. 2) To compare pretest and post-test scores knowledge skills after using individual training package : mechanical equipment road construction and maintenance for mechanical operator of Trat Highway District, Department Of Highways, Ministry Of Transport. 3) To study the satisfaction of mechanical operator with the individual training package : mechanical equipment road construction and maintenance for mechanical operator of Trat Highway District, Department Of Highways, Ministry Of Transport. The population used in this research were 224 person of Trat Highway 198
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
District. The sample group consisted of 30 mechanical operator of Trat Highway District. The mechanical operator doing the test and the satisfaction questionnaire created by the researcher. The statistics used for data analysis were mean, percentage, standard deviation, t-test, efficiency of training package according to the 90/90 standard. The results indicated that; 1) The efficiency of the developed individual training package : mechanical equipment road construction and maintenance for mechanical operator of Trat Highway District, Department Of Highways, Ministry Of Transport checking was at 93.83/93.33 according to the 90/90 standard criteria set. 2) The post-test scores using the individual training package was higher than that pretest at the statistical significance level of .05. 3) The mechanical operator satisfaction level of trainees towards the individual training package was at most high level. บทน�ำ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ก�ำหนดให้ส่วนราชการด�ำเนินการตามหลักการ บริหารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี เพือ่ ให้เกิดประโยชน์
สุ ข ของประชาชนและสอดคล้ อ งกั บ นโยบาย รัฐบาล จึงเกิดแผนยุทธศาสตร์กรมทางหลวงขึน้ แต่เดิมโครงสร้างที่กรมทางหลวงก�ำหนด มีการ จัดแบ่งความรับผิดชอบตามสายงานต่าง ๆ ไว้ เช่น สายบริหาร สายงานด�ำเนินการ สายงานวิชาการ และสายงานบ�ำรุงรักษา โดยบางหน่วยงานมี ลักษณะงานคล้ายกันแต่สังกัดในสายงานที่ต่าง กัน เช่น กองการเจ้าหน้าที่ สังกัดสายงานบริหาร แต่กองฝึกอบรมมีหน้าที่พัฒนาบุคลากร สังกัด สายงานวิชาการ ท�ำให้แนวทางการท�ำงานไม่เป็น ไปในทิศทางเดียวกันเท่าที่ควร ขาดการบูรณา การระหว่างหน่วยงานภายใน และยังมีหน่วย งานบางหน่วยที่ไปสังกัดภายในการก�ำกับดูแล ของวิศวกรใหญ่ด้านต่าง ๆ จึงท�ำให้เกิดการกระ จายมากเกินไป น�ำงานจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ มาทดแทนการด�ำเนินการเองให้มากขึ้น เพื่อ ชดเชยอัตราก�ำลังทีม่ จี ำ� กัด และลดน้อยลง (แผน ยุทธศาสตร์กรมทางหลวง พ.ศ. 2555 - 2559) แขวงทางหลวงตราด เน้นไปที่ภารกิจ งานด้านการบ�ำรุงรักษาทางให้มีความปลอดภัย โดยค�ำนึงถึงผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจและ ความมัน่ คงของชาติภายใต้กรอบการพัฒนาตาม มาตรฐานทางหลวง เปรียบเสมือนประตูเชื่อม โยงการค้า การท่องเที่ยว การลงทุนและสร้าง ความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ พร้อมทั้งน�ำ ไปสู่การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และเศรษฐกิจ กั บ ประเทศเพื่อนบ้านและภูมิภ าคอื่น (แผน ยุทธศาสตร์กรมทางหลวง พ.ศ. 2555 - 2559) และการดูแลการใช้งานรถบรรทุก (ดีเซล) ขนาด 4 ตัน 6 ล้อ แบบกระบะเหล็กอยู่ในความรับผิด
ชอบของแขวงทางหลวงตราด ซึง่ หน่วยงานปรับ ซ่อมมีภาระหน้าที่ควบคุม วางแผนการบ�ำรุง รักษา การให้คำ� แนะน�ำและตรวจสอบการปฏิบตั ิ งานของเครื่องจักร ยานพาหนะและ เครื่องมือ กลในสังกัดแขวงทางหลวงตราด ซึ่งการออกไปปฏิบัติกิจกรรมงานบ�ำรุง ปกติมีความจ�ำเป็นต้องใช้งานรถบรรทุก (ดีเซล) ขนาด 4 ตัน 6 ล้อ แบบกระบะเหล็กในการ บรรทุกเครื่องมือและเครื่องจักรที่น�ำไปใช้งาน หรือใช้ขนส่งผู้ปฏิบัติงานไปยังหน้างาน ผู้ปฏิบัติ หน้าที่ควบคุมเครื่องจักรกลประเภทรถบรรทุก ต้องเป็นผู้มีความรู้ ความช�ำนาญ และทักษะใน การควบคุมเครือ่ งจักรกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมี ค วามปลอดภั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน เกิ ด ประโยชน์สูงสุดแก่ทางราชการเหมาะสมสอด คล้องกับงบประมาณแผ่นดินที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด ประกอบกั บ อั ต ราก� ำ ลั ง ของกรมทางหลวงที่ เกษียณอายุราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ. ศ. 2559 มีอตั ราร้อยละ 70.70 ซึง่ สวนทางกับอัตรา การสรรหาพนักงานราชการประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 มีอตั ราร้อยละ 28.71 (รายงานประจ�ำ ปี 2559 กรมทางหลวง) เมื่อพิจารณาอัตรา ก�ำลังจะเห็นว่ามีการสูญเสียอัตราก�ำลังเพิ่มขึ้น แต่อัตราการสรรหาลดลง มีความสอดคล้องกับ นโยบายของรัฐบาลเรื่องการลดอัตราก�ำลัง ส่ง ผลให้เกิดการขาดแคลนบุคลากรด้านการปฏิบตั ิ งานและขาดผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ คี วามรู้ ความช�ำนาญ และทักษะในการปฏิบัติภารกิจ เมื่อรับบุคลากร ใหม่ เ ข้ า มาปฏิ บั ติ ง านบ้ า งคนมี ค วามรู ้ ค วาม สามารถตรงตามสายงาน บางคนอาจมีความ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
199
รู้ความสามารถไม่ตรงตามสายงาน จึงมีความ จ�ำเป็นต้องได้รับการฝึกอบรมก่อนการปฏิบัติ งานเสียก่อน แต่เนือ่ งจากการฝึกอบรมพนักงาน ใหม่ในแต่ละครัง้ มีคา่ ใช้จา่ ยในการด�ำเนินการสูง และการจัดฝึกอบรมบ่อย ๆ เป็นการสิน้ เปลืองทัง้ เวลา ทรัพย์สนิ ของทางราชการ และงบประมาณ ที่ได้รับจากส่วนกลาง จากสภาพปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยจึงเกิด ความสนใจในการพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคล เรื่ อ ง เครื่ อ งจั ก รกลงานก่ อ สร้ า งและบ� ำ รุ ง รักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม เพือ่ ใช้ฝกึ อบรมพนักงานขับเครือ่ งจักร กลที่สนใจศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
เรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษา ทางส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทาง หลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) 2. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บคะแนนความรู ้ ทั ก ษะก่ อ นและหลั ง การใช้ ชุ ด ฝึ ก อบรมราย บุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุง รักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม 3. เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของพนักงาน ขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด ที่มีต่อ ชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงาน ก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงาน วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขั บ เครื่ อ งจั ก รกลแขวงทางหลวงตราด กรม 1. เพื่ อ พั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุ ค คล ทางหลวง กระทรวงคมนาคม กรอบแนวคิดการวิจัย ทฤษฎีการเรียนรู้ แนวคิดการพัฒนา ชุดฝึกอบรมรายบุคคล
ชุดฝึกอบรมรายบุคคล เรื่อง เครื่องจักรกล งานก่อสร้างและบ�ำรุง รักษาทาง ส�ำหรับ พนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด ฯ
เครื่องจักรกล(รถบรรทุก (ดีเซล) ขนาด 4 ตัน 6 ล้อ แบบกระบะเหล็ก) พนักงาน ขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด ฯ
ภาพประกอบที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดการวิจัย
200
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
คะแนนความรู้และ ทักษะของการฝึกอบรม ด้วยชุดฝึกอบรม รายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกล งานก่อสร้างและ บ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับ เครื่องจักรกลแขวง ทางหลวงตราด ฯ
นิยามศัพท์เฉพาะ 1. ชุดฝึกอบรมรายบุคคล หมายถึง ชุด สื่อประสมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นส�ำหรับการฝึกอบรม รายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและ บ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักร กลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคมประกอบด้วย วัตถุประสงค์ คูม่ อื การใช้ ชุดฝึกอบรม เนื้อหา สื่อ แบบตรวจสอบรายการ แบบทดสอบก่อน-หลังฝึกอบรม 2. เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุง รักษาทาง หมายถึง รถบรรทุก (ดีเซล) ขนาด 4 ตัน 6 ล้อ แบบกระบะเหล็ก 3. พนักงานขับเครื่องจักรกล หมายถึง ผูป้ ฏิบตั หิ น้าทีค่ วบคุมรถบรรทุก (ดีเซล) ขนาด 4 ตัน 6 ล้อ แบบกระบะเหล็ก จากหมวดทางหลวง 5 หมวดในความดูแลของแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม 4. ประสิ ท ธิ ภ าพชุ ด ฝึ ก อบรม หมาย ถึ ง คุ ณ ภาพของชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุ ค คลเรื่ อ ง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครือ่ งจักรกลแขวงทางหลวง ตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคมตาม เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ซึ่งมีความหมายดังนี้ 4.1 90 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละของ คะแนนเฉลีย่ ผลสัมฤทธิท์ ไี่ ด้จากการประเมินหลัง การฝึกอบรมด้วยชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครือ่ งจักรกลแขวงทางหลวง ตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม 4.2 90 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละ
ของจ� ำ นวนผู ้ เ ข้ า รั บ การฝึ ก อบรมที่ ผ ่ า นทุ ก จุดประสงค์ ด้วยชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครือ่ งจักรกลแขวงทางหลวง ตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม 5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึก ชอบหรือไม่ช อบของผู้ฝ ึกอบรมที่มีต่อชุดฝึก อบรมพนักงานขับเครื่องจักรกลส�ำหรับแขวง ทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม ซึง่ สามารถวัดออกมาได้ 5 ระดับ ได้แก่ 1) ระดับความพึงพอใจมากที่สุด 2) ระดับความ พึงพอใจมาก 3) ระดับความพึงพอใจปานกลาง 4) ระดับความพึงพอใจน้อย และ 5) ระดับความ พึงพอใจน้อยที่สุด วิธีด�ำเนินการวิจัย การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครือ่ งจักรกลแขวงทางหลวง ตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม โดย เป็นการวิจัยและพัฒนา (Resecarch & Development) ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการ5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาเอกสาร หลักการ ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับหลักการสร้างชุด ฝึกอบรม และรายงานผลการใช้เครื่องจักรกล งานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ขั้นตอนที่ 2 น�ำข้อมูลที่ได้มาออกแบบ และสร้างชุดฝึกอบรม โดยค�ำนึงถึงความเป็นไป ได้และการน�ำไปใช้จริง รวมทั้งความพร้อมของ วัสดุอุปกรณ์ ซึ่งการสร้างในรูปแบบของชุดฝึก เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
201
อบรมตามหลักการชุดฝึกอบรม เมื่อได้เนื้อหา และทราบแนวทางทีต่ อ้ งการแล้ว จึงท�ำการเรียบ เรียงเนื้อหาให้สอดคล้องกัน เพิ่มภาพประกอบ เพื่อการสื่อความหมายให้ชัดเจน ขั้นตอนที่ 3 น�ำชุดฝึกอบรมที่สร้างขึ้น ไปตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้น โดยน�ำไปให้คณะ กรรมการทีป่ รึกษา พิจารณาข้อบกพร่องแล้วน�ำ มาปรับปรุงแก้ไข ทั้งในด้านถ้อยค�ำในการเรียบ เรียงข้อความ ด้านความถูกต้องของเนื้อหา ด้าน ความเหมาะสมของสื่อและความถูกต้องตาม หลักของชุดการสอน แล้วน�ำมาแก้ไขปรับปรุง ก่อนน�ำไปทดลอง ขั้นตอนที่ 4 น�ำชุดฝึกอบรมที่ผ่านการ ตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นไปทดสอบประสิทธิภาพใช้เบื้องต้น (try out) โดยแบบเดี่ยว (1:1) จ�ำนวน 3 คน เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562 แบบ กลุ่ม (1:10) จ�ำนวน 9 คน เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2562 และแบบภาคสนาม กับกลุ่มตัวอย่าง 30 คน เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2562 - 2 พฤษภาคม 2562 ขั้นตอนที่ 5 ศึกษาผลสัมฤทธิ์และเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล จากการใช้ ชุ ด ฝึ ก อบรมราย บุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุง รักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ พนักงานที่ปฏิบัติงาน ของแขวงทางหลวงตราด จ�ำนวน 224 คน กลุม่ ตัวอย่าง คือ ได้แก่ พนักงานทีป่ ฏิบตั ิ 202
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
งานส่วนขับเครื่องจักรกลของแขวงทางหลวง ตราด โดยใช้การเลือกแบบเจาะจงจากความ สมัครใจ จ�ำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. ชุดฝึกอบรมรายบุคคล ผู ้ วิ จั ย ได้ จั ด ท� ำ ชุ ด ฝึ ก อบรมราย บุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุง รักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม โดยประกอบด้วย สือ่ รถบรรทุก (ดีเซล) ขนาด 4 ตัน 6 ล้อ แบบกระบะเหล็ก สื่อวิดีทัศน์ และเอกสารคูม่ อื ชุดฝึกอบรมรายบุคคล โดยแบ่ง เนื้อหาออกเป็น 4 หน่วย ได้แก่ 1.1 หน่ ว ยที่ 1 การเตรี ย มความ พร้อมของพนักงานขับเครื่องจักรกล 1.2 หน่วยที่ 2 การใช้งานขับเครื่อง จักรกล 1.3 หน่วยที่ 3 ความปลอดภัยใน การปฏิบัติงาน 1.4 หน่วยที่ 4 การบ�ำรุงรักษาเครือ่ ง จักรกล 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์จากการ ฝึกอบรม ผูว้ จิ ยั ได้จดั ท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ จากการฝึกอบรมจากการใช้ชุดฝึกอบรมราย บุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุง รักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง
คมนาคม เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์จากการใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคลของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ส�ำหรับทดสอบ ก่อนและหลังการใช้ชุดฝึกอบรม โดยมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 สร้างแบบทดสอบให้สอดคล้องกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนด ซึ่งเป็นแบบ ทดสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก โดยตอบข้อทีถ่ กู ต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน แบบทดสอบ มีจ�ำนวน 40 ข้อ โดยแบ่งตามเนื้อหาบทเรียนออกเป็น 4 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ 1 จ�ำนวน 10 ข้อ หน่วยที่ 2 จ�ำนวน 10 ข้อ หน่วยที่ 3 จ�ำนวน 10 ข้อ และหน่วยที่ 4 จ�ำนวน 10 ข้อ 2.2 น�ำแบบทดสอบที่สร้างขึ้นไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหา จ�ำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงตรง (Content validity) ความเหมาะสมของภาษาและหา ค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of item objective congruence : IOC) ระหว่างแบบทดสอบกับ จุดประสงค์ที่ต้องการวัด แล้วน�ำมาปรับปรุงแก้ไข โดยมีเกณฑ์ในการพิจารณา คือ ถ้าเห็นว่าสอดคล้อง ให้คะแนน +1 ถ้าไม่แน่ใจว่าสอดคล้อง ให้คะแนน 0 ถ้าแน่ใจว่าไม่สอดคล้อง ให้คะแนน -1 2.3 แบบทดสอบที่ผ่านการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อค�ำถามกับ จุดประสงค์ ซึ่งค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ต้องมีค่า .05 ขึ้นไป 3. แบบตรวจสอบรายการ ผูว้ จิ ยั ได้จดั ท�ำแบบตรวจสอบรายการ ซึง่ เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ส�ำหรับ รายการพฤติกรรมการปฏิบัติใช้งานเครื่องจักรกล 3.1 ก�ำหนดกรอบเนื้อหาของแบบตรวจสอบรายการให้สอดคล้องกับชุดฝึกอบรม รายบุคคล โดยเป็นรายการดังนี้ การเตรียมความพร้อมของพนักงานขับเครื่องจักรกล การใช้งาน ขับเครื่องจักรกล ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และการบ�ำรุงรักษาเครื่องจักรกล 3.2 ก�ำหนดเกณฑ์ในการประเมินเป็นตรวจสอบรายการ (Checklist) 5 หมายถึง ท�ำได้ครบตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 3 หมายถึง ท�ำได้ไม่ครบตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 1 หมายถึง ท�ำได้บ้างตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 0 หมายถึง ไม่ท�ำตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 4. แบบสอบถามความพึงพอใจ ผู้วิจัยได้จัดท�ำแบบสอบถามความพึงพอใจ เพื่อใช้ในการสอบถามความพึงพอใจของ พนักงานขับเครื่องจักรกล มีขั้นตอนดังนี้ 4.1 ก�ำหนดกรอบเนื้อหาของแบบสอบถามความพึงพอใจให้สอดคล้องกับชุดฝึกอบรม เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
203
รายบุคคล โดยแบ่งกรอบค�ำถามเป็นรายด้านดังนี้ ด้านเนื้อหาสาระ ด้านชุดฝึกอบรม และด้าน ประโยชน์ที่ผู้เข้ารับการอบรมน�ำไปใช้ 4.2 ก�ำหนดเกณฑ์ในการประเมินเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2533) ดังนี้ 5 หมายถึง มากที่สุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถึง น้อยที่สุด และก�ำหนดเกณฑ์การพิจารณาคะแนนเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจของค�ำถามแต่ละข้อ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2533) ดังนี้ ค่าเฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด 4.3 น�ำแบบสอบถามความพึงพอใจที่สร้างขึ้นมาให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบแล้วน�ำไป ปรับปรุงแก้ไขตามค�ำแนะน�ำ 4.4 จัดท�ำแบบสอบถามความพึงพอใจเพื่อน�ำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างหลังการเข้ารับการ ฝึกอบรมรายบุคคล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้าง และบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพมาตรฐาน 90/90 ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษา ทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม มีผล คะแนนดังนี้ ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงาน ก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง 204
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
กระทรวงคมนาคม ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพมาตรฐาน 90/90 จากการทดลอง 1 : 1 จ�ำนวน 3 คน กลุ่มทดสอบ ประสิทธิภาพชุดฝึก อบรมรายบุคคล
90 ตัวแรก (ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์หลังการ ฝึกอบรม)
90 ตัวหลัง (ร้อยละของจ�ำนวน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ผ่านเกณฑ์)
3 คน
50.42
66.67
90/90
50.42 / 66.67
จากตารางที่ 1 พบว่า ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงาน ก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2562 จากการทดลอง 1 : 1 จ�ำนวน 3 คน เมื่อหา ประสิทธิภาพโดยรวมทั้ง 4 หน่วย มีประสิทธิภาพเท่ากับ 50.42 / 66.67 ผลลัพธ์ยังไม่ถึงเกณฑ์ ที่ตั้งไว้ โดยพบข้อบกพร่องด้านเนื้อหายังไม่ครอบคลุมเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ดังนั้น ผู้วิจัย จึงท�ำการปรับปรุงเพื่อให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์โดยศึกษาค้นคว้าเอกสารตามเนื้อหาที่เกี่ยว ข้องกับการปฏิบัติงานเพิ่มเติม ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงาน ก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพมาตรฐาน 90/90 จากการทดลอง 1 : 10 จ�ำนวน 9 คน กลุ่มทดสอบ ประสิทธิภาพชุดฝึก อบรมรายบุคคล
90 ตัวแรก (ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์หลังการ ฝึกอบรม)
90 ตัวหลัง (ร้อยละของจ�ำนวน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ผ่านเกณฑ์)
9 คน
65.28
77.78
90/90
65.28 / 77.78
จากตารางที่ 2 พบว่า ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงาน ก่อสร้างและบ�ำรุงรักษา ทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2562 จากการทดลอง 1 : 10 เมื่อหาประสิทธิภาพโดยรวม ทัง้ 4 หน่วย มีประสิทธิภาพเท่ากับ 65.28 / 77.78 ผลลัพธ์ยงั ไม่ถงึ เกณฑ์ทตี่ งั้ ไว้ โดยพบข้อบกพร่อง ด้านภาพประกอบยังไม่ชัดเจนเพียงพอต่อการอธิบายเนื้อหา ดังนั้น ผู้วิจัยจึงท�ำการปรับปรุงเพื่อให้ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์โดยปรับภาพประกอบตามเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานเพิ่มเติม เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
205
ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงาน ก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพมาตรฐาน 90/90 จากการทดลอง (1:100) กับกลุ่ม ตัวอย่าง 30 คน กลุ่มทดสอบ ประสิทธิภาพชุดฝึก อบรมรายบุคคล
90 ตัวแรก (ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์หลังการ ฝึกอบรม)
90 ตัวหลัง (ร้อยละของจ�ำนวน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ผ่านเกณฑ์)
30 คน
93.83
93.33
90/90
93.83 / 93.33
จากตารางที่ 3 พบว่า ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรือ่ ง เครือ่ งจักรกลงานก่อสร้าง และบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครือ่ งจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2562 - 2 พฤษภาคม 2562 จากการทดลอง เมื่อหาประสิทธิภาพ โดยรวมทั้ง 4 หน่วย มีประสิทธิภาพเท่ากับ 93.83 / 93.33 ผลลัพธ์เป็นไปตามเกณฑ์ 90/90 ตอนที่ 2 การวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนจากการท�ำแบบทดสอบก่อนการฝึกอบรมและหลัง การฝึกอบรมจากชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการพัฒนาของพนักงานขับเครื่องจักรกล โดยใช้ชุดฝึกอบรม รายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม ผลดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ผลการเปรียบเทียบคะแนนจากการท�ำแบบทดสอบก่อนการฝึกอบรมและหลัง การฝึกอบรมจากชุดฝึกอบรมรายบุคคล การทดสอบ ก่อนฝึ กอบรม หลังฝึ กอบรม
N 30 30
คะแนนเต็ม 20 20
11.33 19.00
SD 1.77 0.83
t 24.015
p .00*
D 230
1852
*p < .05, df = 29 จากตารางที่ 4 คะแนนจากการท�ำแบบทดสอบก่อนการฝึกอบรมและหลังการฝึกอบรม จากชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับ 206
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม กับกลุ่มตัวอย่าง 30 คน มีค่า เฉลีย่ คะแนนแบบทดสอบก่อนการฝึกอบรมเท่ากับ 11.33 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.77 และ มีค่าเฉลี่ยคะแนนแบบทดสอบหลังการฝึกอบรมเท่ากับ 19.00 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.83 ผลการทดสอบก่อนการฝึกอบรมและหลังการฝึกอบรมจากชุดฝึกอบรมรายบุคคล พบว่า คะแนน ทดสอบหลังการฝึกอบรมด้วยชุดฝึกอบรมรายบุคคลสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมด้วยชุดฝึกอบรมราย บุคคลอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 24.015, p = .00) ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ความพึงพอใจของพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรม ทางหลวง กระทรวงคมนาคม ตารางที่ 5 ระดับความพึงพอใจของพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรม ทางหลวง กระทรวงคมนาคม คะแนน
รายการ ด้านเนื้ อหาสาระ 1.1 มีการระบุวตั ถุประสงค์การเรี ยนช่วยให้ท่านเห็ น เป้ าหมายการฝึ กอบรมแต่ละหน่ วยชัดเจน 1.2 เนื้ อหาสาระที่เสนอมีการแบ่งโครงสร้างของ เนื้ อหาชัดเจน 1.3 ความยาวของการนําเสนอเนื้ อหาแต่ละหน่ วย/ ตอนมีความเหมาะสม 1.4 เนื้ อหาสาระที่เสนอมีความเหมาะสมกับระดับของ ผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรม ด้านชุดฝึ กอบรม 2.1 ใช้งานง่าย สะดวก 2.2 มีคาํ อธิ บายรายละเอียดที่ตอ้ งปฏิบตั ิอย่างชัดเจน 2.3 มีการลําดับรายละเอียดของชุดฝึ กอบรมอย่าง ชัดเจน ด้านประโยชน์ที่ผเู ้ ข้ารับการอบรมนําไปใช้ 3.1 มีความรู ้เกี่ยวกับเครื่ องจักรกลในความรับผิดชอบ มากขึ้น 3.2 มีแนวทางการนําไปใช้ประกอบการปฎิ บตั ิงาน มากขึ้น 3.3 นําความรู ้ไปเผยแพร่ กบั ผูท้ ี่เกี่ยวข้องได้ รวม
SD
ความหมาย
4.47
0.63
พอใจมาก
4.60
0.50
พอใจมากที่สุด
4.50
0.57
พอใจมาก
4.57
0.57
พอใจมากที่สุด
4.33 4.47 4.60
0.71 0.63 0.50
พอใจมาก พอใจมาก พอใจมากที่สุด
4.70
0.47
พอใจมากที่สุด
4.77
0.43
พอใจมากที่สุด
4.73
0.45
พอใจมากที่สุด
4.57
0.55
พอใจมากที่สุด
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
207
จากตารางที่ 5 พบว่า ความพึงพอใจ ของพนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวง ตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม โดย รวมมีความพึงพอใจ ( = 4.57, SD = 0.55) อยู่ ในระดับพอใจมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านเนื้อหาสาระ 1.1 มีการระบุวัตถุประสงค์การเรียน ช่วยให้ท่านเห็นเป้าหมายการฝึกอบรมแต่ละ หน่วย/ตอนชัดเจน ( = 4.47, SD = 0.63) อยู่ ในระดับพอใจมาก 1.2 เนื้ อ หาสาระที่ เ สนอมี ก ารแบ่ ง โครงสร้างของเนื้อหาชัดเจน ( = 4.60, SD = 0.50) อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด 1.3 ความยาวของการนําเสนอเนื้อหา แต่ละหน่วย/ตอนมีความเหมาะสม ( = 4.50, SD = 0.57) อยู่ในระดับพอใจมาก 1.4 เนื้อหาสาระที่เสนอมีความเหมาะ สมกับระดับของผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม ( = 4.57, SD = 0.57) อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด ด้านชุดฝึกอบรม 2.1 ใช้งานง่าย สะดวก ( = 4.33, SD = 0.71) อยู่ในระดับพอใจมาก 2.2 มี คํ า อธิ บ ายรายละเอี ย ดที่ ต ้ อ ง ปฏิบัติอย่างชัดเจน ( = 4.47, SD = 0.63) อยู่ ในระดับพอใจมาก 2.3 มี ก ารลํ า ดั บ รายละเอี ย ดของชุ ด ฝึกอบรมอย่างชัดเจน ( = 4.60, SD = 0.50) อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด ด้านประโยชน์ทผี่ เู้ ข้ารับการอบรมจะน�ำ 208
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ไปใช้ 3.1 มีความรู้เกี่ยวกับเครื่องจักรกลใน ความรับผิดชอบมากขึ้น ( = 4.70, SD = 0.47) อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด 3.2 มี แ นวทางการนํ า ไปใช้ ป ระกอบ การปฎิบัติงานมากขึ้น ( = 4.77, SD = 0.43) อยู่ในระดับพอใจมากที่สุด 3.3 นําความรู้ไปเผยแพร่กับผู้ที่เกี่ยว ข้องได้ ( = 4.73, SD = 0.45) อยูใ่ นระดับพอใจ มากที่สุด สรุปผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ สรุปได้เป็น 3 ประเด็น ดังนี้ 1. การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคล เรื่ อ ง เครื่ อ งจั ก รกลงานก่ อ สร้ า งและบ� ำ รุ ง รักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม ให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 พบว่า ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรม รายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและ บ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักร กลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม ได้ค่าจ�ำนวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ผลการท�ำแบบทดสอบหลังการฝึกอบรมรวม 93.83 และค่าจ�ำนวนร้อยละของผู้ฝึกอบรมที่ สามารถท�ำแบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์ รวม 93.33 สรุปว่าชุดฝึกอบรมรายบุคคลทีผ่ วู้ จิ ยั พัฒนาขึน้ มีประสิทธิภาพเกณฑ์มาตรฐาน 90/90
2. การเปรี ย บเที ย บคะแนนความรู ้ และทักษะก่อนและหลังการใช้ชุดฝึกอบรมราย บุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุง รักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนการใช้ ชุดฝึกอบรมมีค่าเฉลี่ย 11.33 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 1.77 และคะแนนผลสัมฤทธิ์หลัง ใช้ชุดฝึกอบรมมีค่าเฉลี่ย 19.00 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.83 ซึง่ ผลการทดสอบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยคะแนนการทดสอบก่อนและหลัง การฝึกอบรม โดยใช้สถิติทดสอบT-Test แบบ ไม่เป็นอิสระต่อกัน ปรากฏว่าคะแนนทดสอบ หลังใช้ชุดฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อน ใช้ชุดฝึกอบรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 24.015, p = .00) 3. ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึก อบรมด้วยชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรือ่ ง เครือ่ งจักร กลงานก่ อ สร้ า งและบ� ำ รุ ง รั ก ษาทาง ส� ำ หรั บ พนักงานขับเครื่องจักรกลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความพึง พอใจต่อชุดฝึกอบรมรายบุคคลในระดับพอใจ มากที่สุด ( = 4.57, SD = 0.55 ) เมื่อพิจารณา รายข้อพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึง พอใจในระดับพอใจมากทีส่ ดุ เรียงตามล�ำดับจาก มากไปน้อย ดังนี้ ด้านประโยชน์ที่ผู้เข้ารับการ อบรมน�ำไปใช้ ระดับพอใจมากที่สุด ( = 4.73, SD = 0.45 ) ด้านเนื้อหาสาระ ระดับพอใจมาก
ที่สุด ( = 4.53, SD = 0.57 ) และด้านชุดฝึก อบรม ระดับพอใจมาก ( = 4.47, SD = 0.61 ) อภิปรายผลการวิจัย จากการวิจยั เรือ่ ง การพัฒนาชุดฝึกอบรม รายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและ บ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักร กลแขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม ทีส่ ร้างขึน้ มีประสิทธิภาพ 93.83/93.33 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ซึ่งสามารถ อภิปรายผลได้ดังนี้ ผลการวิจยั พบว่า การพัฒนาชุดฝึกอบรม รายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและ บ�ำรุงรักษาทางส�ำหรับพนักงานขับเครือ่ งจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด ซึ่ ง เป็ น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ตั้ ง ไว้ เนื่ อ งมา จากได้ด�ำเนินการสร้างเป็นขั้นตอน โดยเริ่ม จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แล้ววิเคราะห์เนื้อหาซึ่งประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่ การเตรียมความพร้อมของพนักงานขับ เครือ่ งจักรกล การใช้งานขับเครือ่ งจักรกล ความ ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และการบ�ำรุงรักษา เครือ่ งจักรกล หลังจากได้เนือ้ หาของชุดฝึกอบรม แล้ว จึงได้ด�ำเนินการเลือกสื่อที่เหมาะสมกับ ชุดฝึกอบรมด้วยการปรึกษาขอค�ำแนะน�ำจากผู้ เชี่ยวชาญและอาจารย์ที่ปรึกษา จึงได้เครื่องมือ ในการวิจัยพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครือ่ งจักรกลแขวงทางหลวง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
209
ตราด กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม แบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์เรื่อง เครื่องจักรกลงาน ก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาทาง ส�ำหรับพนักงาน ขั บ เครื่ อ งจั ก รกลแขวงทางหลวงตราด กรม ทางหลวง กระทรวงคมนาคม และแบบประเมิน ความพึงพอใจของพนักงานขับเครื่องจักรกลที่ มีต่อชุดฝึกอบรม หลังจากได้เครื่องมือในการ วิ จั ย จึ ง ด� ำ เนิ น การทดลองกั บ กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งที่ เป็น บุคลากรที่ปฏิบัติงานส่วนขับเครื่องจักรกล ของแขวงทางหลวงตราด จ�ำนวน 30 คน ผลที่ ได้สอดคล้องกับทฤษฎีความแตกต่างระหว่าง บุคคล (Individual Differences Theory) ของ เดอเฟลอร์ (De Fleur, 1996 อ้างใน พีระ จิรโสภณ หน้า 645-646, 2533) โดยค�ำนึงถึง ความต้องการ ความถนัด และความสนใจของ ผู้เข้าฝึกอบรมเป็นส�ำคัญ เพราะแต่ละบุคคลมี ความแตกต่างกันทั้งความสามารถด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์ สอดคล้องผล การวิจัยของ สาคร อัฒจักร (2561) ที่ศึกษา เรือ่ ง การพัฒนาชุดฝึกอบรมการออกแบบสือ่ การ เรียนรู้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ผลการวิจัยพบ ว่ า ชุ ด ฝึ ก อบรมที่ ส ร้ า งขึ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 86.05/84.81 เป็ น ไปตามเกณฑ์ ม าตรฐาน 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ ทรงธรรม ดีวาณิชสกุล (2557) ที่ศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดฝึกอบรม เพือ่ เพิม่ สมรรถนะด้านการผลิตขวดแก้ว ส�ำหรับ พนักงานควบคุมเครื่องขึ้นรูปขวดแก้ว ผลการ วิจยั พบว่า ชุดฝึกอบรมทีส่ ร้างขึน้ มีประสิทธิภาพ 82.67/80.61 เป็ น ไปตามเกณฑ์ ม าตรฐาน 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ 210
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
การเปรี ย บเที ย บคะแนนความรู ้ แ ละ ทั ก ษะก่ อ นและหลั ง การใช้ ชุ ด ฝึ ก อบรมราย บุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุง รักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม พบว่ า คะแนนทดสอบหลั ง ใช้ ชุ ด ฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนใช้ชุดฝึก อบรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 24.015, p = .00) ซึ่งเกิดการเรียนรู้และ พัฒนาตามทฤษฎีการเรียนรู้ด้วยการน�ำตนเอง (Self-Directed Learning) ของ Knowles, 1975 เป็ น กระบวนการที่ บุ ค คลริ เ ริ่ ม เรี ย นรู ้ ด้วยตนเอง อาจรับหรือไม่รับความช่วยเหลือ จากบุ ค คลอื่ น โดยวิ เ คราะห์ ค วามต้ อ งการ และก�ำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ของตนเอง สอดคล้ อ งกั บ ผลการวิ จั ย ของ ชนิ พ รรณ จา ติเสถียร (2561) ที่ศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุด ฝึ ก อบรมทางไกล ส� ำ หรั บ ครู ป ฐมวั ย เรื่ อ ง การประเมิ น พั ฒ นาการและการเรี ย นรู ้ ข อง เด็กปฐมวัย โรงเรียนในกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ผลการวิจัยพบว่า ผู้เข้ารับการฝึก อบรมมีความก้าวหน้าด้านความรู้เพิ่มขึ้นจาก ก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 อนุสิทธิ์ ตังคณานุกูลชัย (2560) เรื่องการ พัฒนาชุดฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วย การน�ำตนเอง ของนิสิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่า ผลการประเมินการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองหลังการฝึก อบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05
ความพึงพอใจของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ส่วนขับเครื่องจักรกลของแขวงทางหลวงตราด จ�ำนวน 30 คน ที่มีต่อการใช้ชุดฝึกอบรมราย บุคคลเรื่อง เครื่องจักรกลงานก่อสร้างและบ�ำรุง รักษาทาง ส�ำหรับพนักงานขับเครื่องจักรกล แขวงทางหลวงตราด กรมทางหลวง กระทรวง คมนาคม พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความ พึงพอใจต่อชุดฝึกอบรมรายบุคคลในระดับพอใจ มากทีส่ ดุ ( = 4.57, SD = 0.55 ) เนือ่ งจากชุดฝึก อบรมรายบุคคลมีความสะดวกใช้งานง่าย เนือ้ หา มีความชัดเจนน่าสนใจ ตัวอักษร ภาพประกอบ มีความเหมาะสม และสามารถน�ำไปใช้ได้จริง สอดคล้องกับผลการวิจัยของ นุชนาถ คงทอง (2559) ที่ศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดฝึกอบรม ผ่านเว็บเรื่อง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สําหรับครูในสังกัดสํานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา จังหวัดสงขลา ผลการวิจยั พบว่า ผูเ้ ข้ารับการฝึก อบรมมีความพึงพอใจต่อชุดฝึกอบรมอยูใ่ นระดับ มาก ( = 4.08, SD = 0.19 ) สิธยา บุญเรือง (2559) ทีศ่ กึ ษาเรือ่ ง การพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วย ตนเองเรื่อง การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบา หวาน ผลการวิจยั พบว่า ความพึงพอใจของผูเ้ ข้า รับการฝึกอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมอยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.61, SD = 0.48 ) ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำไปใช้ประโยชน์ มีดังนี้ 1.1 ควรศึกษาและท�ำความเข้าใจ ในรายละเอียดและวิธีใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคล
นี้และเตรียมสื่อการฝึกอบรมให้พร้อมก่อนการ ฝึกอบรม 1.2 ควรอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติ กิจกรรม ค�ำแนะน�ำและค�ำชี้แจงต่าง ๆ ให้ผู้ เข้าฝึกอบรมเข้าใจ และคอยช่วยเหลือผู้เข้ารับ การฝึกอบรมที่มีปัญหาในขณะปฏิบัติกิจกรรม 1.3 ควรบันทึกปัญหาและข้อสงสัย ของผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม เพือ่ การน�ำชุดฝึกอบรม รายบุคคลไปใช้ในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น 2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้ง ต่อไป 2.1 ควรน� ำ แนวคิ ด และหลั ก การ ในการวิจัยครั้งนี้ไปสร้างชุดฝึกอบรมในเนื้อหา เครื่องจักรกลชนิดอื่น ๆ เพื่อส่งเสริมและหา แนวทางปรับปรุงพัฒนาการฝึกอบรมพนักงาน ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น 2.2 ควรพัฒนารูปแบบชุดฝึกอบรม ในหน่วยงานอื่น ๆ ที่สนใจ ทั้งที่เป็นองค์กรภาค รัฐและเอกชน โดยปรับเปลี่ยนเนื้อหาและวิธี การน�ำเสนอเพื่อให้สอดคล้องกับผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมในระดับต่าง ๆ 2.3 ควรพัฒนาแบบสังเกตให้ชดั เจน 2.4 ควรเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม ส่งคลิปวีดิทัศน์เพื่อเสนอผลงานต่อ ผู้ประเมินผลการฝึกทักษะ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
211
เอกสารอ้างอิง ชนิพรรณ จาติเสถียร. (2561). การพัฒนาชุดฝึกอบรมทางไกล ส�ำหรับครูปฐมวัย เรื่องการประเมิน พัฒนาการและการเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัย โรงเรียนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยา นิพนธ์มหาบัณทิต, สาขาศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2533). เทคโนโลยีทางการศึกษา: ทฤษฎีและการวิจยั . กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. ทรงธรรม ดีวาณิชสกุล. (2557). การพัฒนาชุดฝึกอบรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะด้านการผลิตขวดแก้ว ส�ำหรับพนักงานควบคุมเครื่องขึ้นรูปขวดแก้ว. วิทยานิพนธ์มหาบัณทิต, สาขาครุศาสตร์ เครื่องกล, คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. นุชนาถ คงทอง. (2559). การพัฒนาชุดฝึกอบรมผ่านเว็บเรื่อง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สําหรับครูในสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาเทคโนโลยีและสือ่ สารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยทักษิณ. พีระ จิรโสภณ. (2533). ทฤษฎีการสื่อสารมวลชนเกี่ยวกับผู้รับสาร : เอกสารการสอนชุดวิชาหลัก และทฤษฎีการสื่อสาร. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาคร อัฒจักร. (2561). การพัฒนาชุดฝึกอบรมการออกแบบสื่อการเรียนรู้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์. วิทยานิพนธ์มหาบัณทิต, สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สิธยา บุญเรือง. (2559). การพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรือ่ ง การดูแลตนเองของผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน. วิทยานิพนธ์มหาบัณทิต, สาขาเทคโนโลยีการศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา. ส�ำนักงานเลขานุการกรม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ กรมทางหลวง. (2560). รายงานประจ�ำปี 2559 กรมทางหลวง. กรุงเทพฯ : บริษัท จีบีพีเซนเตอร์ จ�ำกัด. ส�ำนักแผนงาน กรมทางหลวง. (2559). แผนยุทธศาสตร์กรมทางหลวง พ.ศ. 2555 - 2559. กรุงเทพฯ อนุสิทธิ์ ตังคณานุกูลชัย. (2560). การพัฒนาชุดฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยการน�ำตนเอง ของนิสิตสาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎี บัณฑิต,สาขาวิชาการอุดมศึกษา, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Knowles, Malcolm S. (1975). Self-Directed Learning : A Guide for Learners and Teachers. Chicago: Association Press.
212
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
การพัฒนาชุดการสอน เรื่องการแต่งกลอนสุภาพของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา (Development of Instruction Packages of Klonsupap Thai Poem on Matayomsuksa 3 Student at Uthai School in Ayutthaya Province)
ภัทร์ศยาพรรณ เกตุสิงห์1, ภูเบศ เลื่อมใส2, ดวงพร ธรรมะ3 PATSAYAPAN KETSING, PHUBATE LAUIMSAI, DUANGPORN THAMMA 1 นิสิตการศึกษามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี 2 อาจารย์ประจ�ำภาควิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี 3 อาจารย์ประจ�ำภาควิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี
บทคัดย่อ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ 1) พัฒนาชุดการสอนเรื่อง การแต่งกลอนสุภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ ม าตรฐาน 80/80 (The 80/80 Standard) 2) เพือ่ เปรียบเทียบคะแนนก่อนและ หลังการใช้ชดุ การสอนเรือ่ ง การแต่งกลอนสุภาพ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ชุดการ สอนเรื่อง การแต่งกลอนสุภาพของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยมีกระบวนการพัฒนา เริ่มจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับปัญหา การจัดการเรียนการสอนเรื่องการแต่งกลอน สุภาพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และการ พัฒนาชุดการสอน น�ำข้อมูลมาวิเคราะห์ และ สร้างชุดการสอน จากนั้นน�ำชุดการสอนที่สร้าง ขึ้นไปทดลองใช้ เพื่อหาข้อปรับปรุงและแก้ไข
น�ำชุดการสอนที่ปรับปรุงแล้วไปใช้กับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดการสอนเรื่อง การแต่งกลอนสุภาพของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ ผู ้ วิ จั ย พั ฒ นาขึ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ E1/E2 = 84.91/82.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด 2) คะแนนจากการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนน จากการทดสอบก่ อ นเรี ย นอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ : การพัฒนาชุดการสอน, การแต่ง กลอนสุภาพ Abstract The purpose of this research were 1) To develop an Instructional package of เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
213
บทน�ำ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ได้ก�ำหนดให้เปิดการเรียนการสอน วิชาภาษาไทยในทุกระดับชั้น ทั้งรายวิชาบังคับ และรายวิ ช าเลื อ ก โดยมี ก ารก� ำ หนดผลการ เรียนรู้ที่คาดหวัง สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2, 3 คือ แต่งบท ร้อยกรองประเภทกลอน การเขียนร้อยกรอง จึง เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาไทย โดยได้ปลูกฝัง ให้กับเยาวชนตั้งแต่ ระดับประถมศึกษาขึ้นไป ได้ฝึกแต่งบทประพันธ์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ทั้งนี้เพราะคน ไทยเรานั้นมีนิสัยเจ้าบทเจ้ากลอน ถนัดในการ ร้อยเรียงถ้อยค�ำ เพื่อสื่อความหมายทั้งที่เป็น ภาษาพูด และภาษาเขียน รสถ้อยและรสความ ที่รจนาจากความรักความดีงาม และความจริง ของชีวิต ดังนั้นการเรียนการสอนการแต่งค�ำ ประพันธ์ประเภทกลอน จึงจ�ำเป็นที่ครูผู้สอน จะต้อง จัดเนื้อหา และกิจกรรมให้เหมาะสม กับความสามารถ ความถนัด ความสนใจของ นักเรียน โดยมุ่งเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงทุก ขั้นตอน ดังที่ อัศนีย์ พลจันทร์ (กิฟลี วรรณจิยี. 2535) กล่าวว่า “บุคคลมิได้เป็นกวีหรือนักกลอน โดยชาติกำ� เนิดแต่เป็นโดยการกระท�ำของเขาเอง นั่นคือ เป็นจากการได้ฝึกหัดเขียน” ดังนั้นน่าจะ กล่าวได้ว่า การฝึกนักเรียนให้หัดประพันธ์บท ร้อยกรองสามารถจะท�ำได้ ในเมื่อหลักของการ ประพันธ์นั้นใช้ภาษาและอารมณ์เป็นสื่อ Keywords: Instructional package, การฝึกให้นักเรียนรู้จักค�ำสัมผัส แผนผัง Klonsupap Thai Poem และวิธีการเขียนกลอนจึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น และมี Klonsupap Thai Poem for Matayomsuksa III Uthai School’students in Ayutthaya Province with the efficiency 80/80 2) To compare the pre-test and post-test score after learning with the package. The research instrument used was the Instructional package of Klonsupap Thai Poem for Mathayomsuksa III students at Uthai School in Ayutthaya Province. The package were developed by reviewing the literature on problems in Klonsupap Thai poem. The development of instructional packages to analyze data And create instructional packages. And Tried to use these instructional packages for Matayomsuksa III students at Uthai School in Ayutthaya Province. The results yielded that 1. the instructional package on Klonsupap Thai poem for Matayomsuksa III students had the efficiency level of 84.91/82.33, which meets the set criterion, 2. the post-test mean score after learning with the package were significantly higher than the pre-test mean score at the .05 level.
214
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
คุณค่ามาก จะเป็นการช่วยให้นักเรียนฝึกเขียน กลอนได้ประสบผลส�ำเร็จ ซึ่งสอดคล้องกับค�ำ กล่าวของเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ (กิฟลี วรรณจิย.ี 2535) “อารมณ์ความรู้สึกของเด็กที่ถ่ายทอด ออกมาบริสุทธิ์มาก แม้นว่าจะไม่สามารถที่จะ ฝึกให้เด็กเป็นนักประพันธ์ที่ดีได้ทุกคน แต่พอ จะฝึกฝนให้เขียนได้ตามความสามารถทางสติ ปัญญา และประสบการณ์ของเด็กแต่ละคน” การจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ที่ ผ ่ า นมายั ง ไม่ ป ระสบผลส� ำ เร็ จ เท่ า ที่ ค วร เนื่องจากการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทยที่ยังขาดการเน้นให้ผู้เรียนมี ความสามารถด้านการอ่าน ฟัง พูด และเขียน โดยเฉพาะอย่างยิง่ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ยังมีปัญหาด้านการเขียนกลอนสุภาพ ข้อสังเกต คือผลการวัดคุณภาพการศึกษาระดับชาติในวิชา ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2557 ของเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1 และ เขต 2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 32.17 และ 33.00 ตามล�ำดับ ซึ่งจากการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า นักเรียนร้อยละ 70 ไม่สนใจในการเรียนภาษาไทยเรื่อง การแต่ง กลอนสุภาพ จากการสอบถามและสัมภาษณ์ นักเรียนถึงสาเหตุดังกล่าวสรุปได้ว่า 1) นักเรียน คิดว่ายากเกินความสามารถของตนเอง 2) คิดว่า ตัวเองไม่มีความสามารถที่จะแต่งค�ำประพันธ์นี้ ได้ และ 3) ไม่มีประโยชน์ต่อชีวิตประจ�ำวัน ดังนั้นการให้นักเรียนได้ฝึกแต่งกลอน สุภาพ โดยใช้การกระท�ำซ�้ำ และบ่อยครั้งจะ
ท�ำให้ผลสัมฤทธิ์การเรียนสูงขึ้น สื่อการสอนจึง มีความส�ำคัญในการแก้ปญ ั หาดังกล่าว จึงจ�ำเป็น ที่ครูจะต้องสร้างชุดการสอนเฉพาะเรื่อง เพื่อ ช่วยให้นกั เรียนมีความคล่องแคล่วในการแต่งค�ำ ประพันธ์ดงั ที่ สมปอง อินทร์งาม (สมปอง อินทร์ งาม. 2538) ได้สร้างแบบฝึกทักษะการเขียนบท ร้อยกรองสี่ค�ำเชิงสร้างสรรค์ ส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ของ นักเรียนด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด เชิงสร้างสรรค์ในการเขียนบทร้อยกรองสูงขึ้น นักเรียนมีความสนใจในแบบฝึกมีความตัง้ ใจทีจ่ ะ ท�ำแบบฝึก และกล้าถามครู สนใจใคร่รใู้ นผลงาน ของตน ชุดการสอน เป็นสื่อการเรียนการสอนที่ เน้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง โดยส่งเสริมให้นกั เรียน เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมากที่สุด และเป็นสื่อ ที่เหมาะสมที่ครูสามารถน�ำมาใช้สอนเรื่องการ แต่งกลอนสุภาพ เพราะชุดการสอนจะช่วยให้ นักเรียนได้ทบทวน ฝึกฝน เนือ้ หาความรูต้ า่ งๆ ที่ ได้เรียนไปแล้วให้เกิดความจ�ำ จนสามารถปฏิบตั ิ และสามารถน�ำไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวันได้ ดังที่ ชัย ยงค์ พรหมวงค์ (ชัยยงค์ พรหมวงค์. 2521) กล่าว ว่า ชุดการสอนเป็นสือ่ ประสมทีไ่ ด้จากระบบการ ผลิตและการน�ำสื่อการสอนที่สอดคล้องกับวิชา หน่วย หัวเรือ่ ง และวัตถุประสงค์ เพือ่ ช่วยให้เกิด การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น จากความส� ำ คั ญ ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น จะ เห็นได้ว่าชุดการสอนนั้นมีความส�ำคัญต่อการ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนในการเพิ่ ม คุ ณ ภาพ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
215
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเรื่องการ แต่งกลอนสุภาพ ซึง่ การใช้ชดุ การสอนมาช่วยใน การเรียนการสอนจะท�ำให้ผเู้ รียนเกิดความสนใจ ในเนื้อหาที่จะเรียน และยังลดข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ของการเรี ย น อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น การลดช่ อ งว่ า ง ระหว่างครูและนักเรียนได้อีกด้วย ผู้วิจัยจึงได้ สร้างและพัฒนาชุดการสอนเรือ่ ง การแต่งกลอน สุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อ เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอน ที่จะ ช่วยพัฒนาให้ผเู้ รียนมีศกั ยภาพในการแต่งกลอน สุภาพมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ สร้างและพัฒนาชุดการสอนเรือ่ ง การแต่งกลอนสุภาพของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน E1/ E2 = 80/80 2. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บคะแนนจากการ ทดสอบก่อนและหลังการใช้ชุดการสอนเรื่อง การแต่งกลอนสุภาพของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 สมมติฐานของการศึกษา คะแนนจากการทดสอบหลั ง เรี ย นสู ง กว่าคะแนนจากการทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05
216
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ขอบเขตการวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ในการวิจัยเป็นการวิจัยในเนื้อหาเรื่อง การแต่งกลอนสุภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จ�ำนวน 3 ตอน ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ด�ำเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2562 จ�ำนวน 13 ชั่วโมง โดยผู้วิจัย ด�ำเนินการสอนด้วยตนเอง ตัวแปร 1. ตัวแปรต้น คือ การจัดการเรียนการ สอนโดยใช้ชดุ การสอนเรือ่ ง การแต่งกลอนสุภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ตัวแปรตาม คือ คะแนนจากการท�ำ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน เรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3
กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรอิสระ
ตัวแปรตาม
การจัดการเรียนการสอนโดยชุดการสอน เรื่องการแต่งกลอนสุภาพ ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย
1. ประสิทธิภาพของชุดการสอน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ภาพประกอบที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดการวิจัย
นิยามศัพท์เฉพาะ 1. ชุดการสอน หมายถึง ชุดเอกสารและ กิจกรรมการเรียนการสอนเรื่อง การแต่งกลอน สุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัย สร้างขึน้ เป็นชุดการสอนทีม่ สี ว่ นประกอบส�ำคัญ ดังนี้ 1.1 ค�ำแนะน�ำในการใช้ชดุ การสอน ส�ำหรับครู 1.2 ค�ำแนะน�ำส�ำหรับนักเรียน 1.3 แผนการจัดการเรียนรู้ 1.4 ใบความรู้ 1.5 แบบฝึกหัดพร้อมเฉลย 1.6 แบบทดสอบพร้อมเฉลยในท้ายเล่ม 1.7 แบบประเมินผลงานและแบบ ประเมินการแต่งกลอนสุภาพ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หมาย ถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนอุทัย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา 3. ประสิทธิภาพของชุดการสอนตาม เกณฑ์ E1/ E2 หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละของ
คะแนน จากการท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการแต่งค�ำประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ ก่อนเรียนและหลังเรียน จากการใช้ชุดการสอน เรื่อง การแต่งกลอนสุภาพ 3.1 E1 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพ ของกระบวนการในการใช้ชุดการสอนเรื่อง การ แต่งกลอนสุภาพ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 คิดเป็นร้อยละของจ�ำนวนนักเรียนที่มีคะแนน จากการท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนระหว่างเรียนไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 80 3.2 E2 หมายถึง ค่าประสิทธิภาพ ของกระบวนการในการใช้ชุดการสอนเรื่อง การ แต่งกลอนสุภาพ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 คิดเป็นร้อยละของจ�ำนวนนักเรียนที่มีคะแนน จากการท�ำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 80 4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน หมายถึง เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลชุด การสอนทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ จากการวิเคราะห์จดุ มุง่ หมายของหลักสูตร เป็นข้อสอบปรนัย ชนิดเลือก ตอบ 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 30 ข้อ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
217
วิธีการด�ำเนินการวิจัย การพัฒนาชุดการสอนเรื่อง การแต่ง กลอนสุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย เป็นการวิจัยและพัฒนา (Resecarch & Development) ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการ ดังนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั เป็นนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ ศึกษา 2562 ของโรงเรียนอุทยั จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จ�ำนวน 179 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จ�ำนวน 40 คน โดยใช้วธิ กี ารเลือกแบบ เจาะจงและสมัครใจ (Purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. ชุ ดการสอน เรื่อง การแต่ง กลอน สุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน เรื่องการแต่งกลอนสุภาพ วิธีการรวบรวมข้อมูล 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผูว้ จิ ยั ได้ดำ� เนินการทดสอบก่อนเรียน ในครัง้ แรก โดยผูว้ จิ ยั ให้นกั เรียนท�ำแบบทดสอบ ก่อนเรียน หลังจากนั้นจัดการเรียนการสอนโดย ใช้ชุดการสอนเรื่อง การแต่งกลอนสุภาพของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดย ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ ท�ำแบบฝึกหัด และ 218
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เมือ่ นักเรียนเรียนจบแล้วจะต้องท�ำแบบทดสอบ หลังเรียน โดยใช้แบบทดสอบฉบับเดียวกันกับ ที่ใช้ทดสอบก่อนเรียน จากนั้นน�ำคะแนนที่ได้ มาท�ำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อทดสอบ สมมติฐาน 2. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ ผู ้ วิ จั ย ได้ ท� ำ การสร้ า งและพั ฒ นา ชุ ด การสอนเรื่ อ ง การแต่ ง กลอนสุ ภ าพของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย โดย ผู ้ วิ จั ย น� ำ แนวคิ ด การพั ฒ นาชุ ด การสอนของ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2539) มาใช้ดังนี้ 1) สร้างชุดการสอนเรื่อง การแต่ง กลอนสุภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย ตามแนวคิด ทฤษฎีของชัยยงค์ พรหมวงศ์ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2523) โดยมีขั้น ตอนดังต่อไปนี่ 1.1 ก�ำหนดหมวดหมูเ่ นือ้ หาและ ประสบการณ์ 1.2 ก�ำหนดหน่วยการสอน 1.3 ก�ำหนดหัวเรื่อง 1.4 ก�ำหนดความคิดรวบยอด และหลักการ ให้สอดคล้องกับหน่วยและหัวเรือ่ ง 1.5 ก�ำหนดวัตถุประสงค์ 1.6 ก�ำหนดกิจกรรมการเรียน 1.7 ก�ำหนดแบบประเมินผล 1.8 เลือกและผลิตสื่อการสอน 1.9 หาประสิทธิภาพชุดการสอน 1.10 การใช้ชุดการสอน 2) น� ำ ชุ ด การสอนเรื่ อ ง การแต่ ง
กลอนสุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญเพื่อปรับปรุง ภายหลังผู้ เชี่ยวชาญตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขแล้ว ผู้ วิจัยน�ำไปทดลองใช้กับนักเรียนแบบรายบุคคล ซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน อุ ทั ย ที่ มี ผ ลการเรี ย นแตกต่ า งกั น คื อ เก่ ง ปานกลาง อ่อน จ�ำนวน 3 คน ผู้วิจัยสังเกต พฤติกรรมและเก็บรวบรวมข้อมูล เพือ่ ตรวจสอบ หาข้อบกพร่องต่างๆ แล้วน�ำมาปรับปรุงแก้ไขชุด การสอน 3) น� ำ ชุ ด การสอนเรื่ อ ง การแต่ ง กลอนสุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขในครั้งที่ 1 ไปทดลอง ใช้ กั บ นั ก เรี ย นแบบกลุ ่ ม ซึ่ ง เป็ น นั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย ที่มีผลการเรียน แตกต่างกัน คือ เก่ง ปานกลาง อ่อน และไม่ใช่ กลุม่ ตัวอย่าง จ�ำนวนกลุม่ ละ 10 คน ผูว้ จิ ยั สังเกต พฤติกรรมและเก็บรวบรวมข้อมูล เพือ่ ตรวจสอบ หาข้อบกพร่องต่างๆ แล้วน�ำมาปรับปรุงแก้ไข ชุดการสอน 4) น� ำ ชุ ด การสอนเรื่ อ ง การแต่ ง กลอนสุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขในครั้งที่ 2 ไปทดลอง ใช้กบั นักเรียนแบบภาคสนาม ซึง่ เป็นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย ที่มีผลการเรียน แตกต่างกัน คือ เก่ง ปานกลาง อ่อน จ�ำนวน 30 คน เพือ่ หาประสิทธิภาพของชุดการสอน ตามเกณฑ์ ที่ก�ำหนดไว้ที่ระดับ 80/80 5) สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร ต�ำรา และ
เอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับการวัดผล การประเมินผล และวิธีสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ตลอด จนศึกษาเนื้อหาเรื่อง การแต่งกลอนสุภาพ รวม ถึ ง กระบวนการในการจั ด การเรี ย นการสอน วิ ช าภาษาไทย โดยศึ ก ษาจากคู ่ มื อ หลั ก สู ต ร แกนกลางขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 (กระทรวง ศึกษาธิการ. 2551) และน�ำข้อมูลที่ได้จากการ วิ เ คราะห์ ม าสร้ า งแบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่อง การแต่งกลอนสุภาพ เป็น แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จ�ำนวน 40 ข้อ ให้มีความ สอดคล้องกับเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยมีเกณฑ์ให้คะแนน คือ ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน 6) น� ำ แบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนเสนอต่อผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการวัดผล ประเมินผล เพือ่ ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องตาม ค�ำแนะน�ำ จากนั้นตรวจสอบคุณภาพของแบบ ทดสอบด้านความเที่ยงตรง เชิงเนื้อหา โดยใช้ ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ต้องการวัดจากการ พิจารณาของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 คน ซึ่งแต่ละ คนลงความเห็นว่าข้อสอบแต่ละข้อวัดตรงตาม ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังหรือไม่ 7) น�ำแบบทดสอบที่ปรับปรุงแก้ไข ไปทดลองกั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรียนอุทัย จ�ำนวน 9 คน น�ำแบบทดสอบมา ตรวจให้คะแนน โดยตอบถูกให้ 1 คะแนน ตอบ ผิดให้ 0 คะแนน จากนั้นน�ำผลสอบ มาวิเคราะห์ เพื่อหาค่าอ�ำนาจจ�ำแนก (r) และความยากง่าย (p) เป็นรายข้อและคัดเลือกข้อสอบที่มีค่าความ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
219
ยากง่ายตั้งแต่ 0.20 – 0.80 และมีค่าอ�ำนาจ จ�ำแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป จ�ำนวน 30 ข้อ 8) จัดพิมพ์แบบทดสอบเป็นฉบับจริง เพือ่ น�ำไปใช้เป็นเครือ่ งมือทดลองจริงในการเก็บ ข้อมูลต่อไป 3. การวิเคราะห์ข้อมูล 1) ค่าประสิทธิภาพของชุดการสอน เรื่ อ ง การแต่ ง กลอนสุ ภ าพของนั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยน�ำคะแนนก่อนเรียนและ หลังเรียน เทียบกับเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ E1/ E2 = 80/80 2) เปรี ย บเที ย บคะแนนทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชุด การสอน สรุปผลการวิจัย การวิจยั เรือ่ งการพัฒนาชุดการสอน เรือ่ ง การแต่งกลอนสุภาพของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผู้วิจัยสรุปผลการวิจัยดังนี้ 1. ชุดการสอน เรือ่ งการแต่งกลอนสุภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบด้วย 1.1 ค�ำแนะน�ำในการใช้ชดุ การสอน ส�ำหรับครู 1.2 ค�ำแนะน�ำส�ำหรับนักเรียน 1.3 แผนการจัดการเรียนรู้ 1.4 ใบความรู้ 1.5 แบบฝึกหัดพร้อมเฉลย 1.6 แบบทดสอบพร้อมเฉลยในท้ายเล่ม 2. ประสิทธิภาพของชุดการสอนเรื่อง 220
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
การแต่งกลอนสุภาพของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย พบว่า มีประสิทธิภาพ E1/ E2 เท่ากับ 84.91/82.33 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ ก�ำหนดไว้ 3. ผลเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนเรือ่ ง การแต่งกลอนสุภาพ พบว่า คะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการท�ำแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิห์ ลังเรียนสูงกว่า คะแนนจากการท�ำแบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิก์ อ่ นเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามที่ตั้งไว้ อภิปรายผลการวิจัย จากการพัฒนาชุดการสอนเรือ่ ง การแต่ง กลอนสุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผล การวิจัยและอภิปรายผลได้ดังนี้ 1. ผลการพัฒนาชุดการสอนเรื่อง การ แต่งกลอนสุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนอุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ ผู ้ วิ จั ย พั ฒ นาขึ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเท่ า กั บ 84.91/82.33 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ E1/ E2 = 80/80 ที่ตั้งไว้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ธัญวรรณ เถาโพธิ์ (2550 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา การพัฒนาชุดการสอนเสริมทักษะสาระการเรียน รู้ภาษาไทย โดยใช้กระบวนการเสริมทักษะ 5 ขัน้ เรือ่ งการผันเสียงวรรณยุกต์และการเขียนค�ำ ที่มีวรรณยุกต์ก�ำกับส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 3 ผลการวิจัยพบว่า ชุดการสอนมี ประสิทธิภาพที่ 86.90/85.49 ซึ่งเป็นไปตาม เกณฑ์ที่ตั้งไว้คือ 80/80
ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากชุ ด การสอนที่ ส ร้ า ง ขึ้น อาศัยหลักจิตวิทยาจูงใจผู้เรียน โดยการ จัดเป็นขั้นตอนที่เรียงจากง่ายไปสู่ยาก มีขั้น ตอนในการจัดท�ำอย่างเป็นระบบและมีความ เหมาะสมสอดคล้องกับหลักการของบทเรียน โปรแกรม (Skinner, 1954 ) คือ 1) เปิดโอกาส ให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมอย่างกระฉับกระเฉง (Active Participation) การที่นักเรียนได้มีส่วนร่วม ในกิจกรรมยิ่งมาก ยิ่งส่งเสริมให้เกิดการเรียน รู้มากขึ้น 2) ให้ทราบผลการเรียนของตนเอง อย่างทันทีทันใด (Immediated Feed Back) เป็นการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนทันที ว่า สิ่งที่ผู้เรียนท�ำนั้นถูกหรือผิด 3) ประสบการณ์ แห่งความส�ำเร็จ (Sucess Experience) เมื่อ เรียนจบแต่ละขั้นตอนที่ส�ำคัญ ครูควรให้การ เสริมแรง (Reinfocement) แก่ผู้เรียนเพราะจะ เป็นการกระตุน้ ให้ผเู้ รียนรูส้ กึ ภูมใิ จ และต้องการ เรียนต่อไป 4) การประมาณทีละน้อย (Gradual Approximation) เป็นการจัดล�ำดับขั้นตอน ของเนื้อหา ให้เหมาะสมกับความสามารถของ ผู้เรียนโดยศึกษาจากหลักสูตร เนื้อหา เทคนิค วิธีการจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทาง ในการพัฒนาชุดการสอน และได้ผ่านการตรวจ สอบแก้ไขข้อบกพร่องตามข้อเสนอแนะของ อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย รวมทั้งผ่านการตรวจ สอบประเมินจากผูเ้ ชีย่ วชาญ น�ำมาปรับปรุงให้มี ความถูกต้องสมบูรณ์ก่อนน�ำไปทดลองสอนจริง 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง การแต่งกลอนสุภาพของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 พบว่า ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อน
เรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุด การสอนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น โดยการทดสอบค่า t (t-test dependent sample) อย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ เนื่องจาก กิจกรรมการเรียนมีความส�ำคัญต่อ การเรียนรูข้ องนักเรียน การน�ำรูปแบบการเรียน ที่รวมเนื้อหา เลือกสื่อต่างๆ ให้ผู้เรียนได้อย่าง เหมาะสมจะช่วยให้ผเู้ รียนได้รบั ความส�ำเร็จตาม จุดมุง่ หมายทีก่ ำ� หนดไว้ซงึ่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของกิตติศักดิ์ เทียนทองศิริ (2558) ที่พบว่า ผล เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัตร ของสาร ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ชุดการสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ จรัสวลัย สนทนา (2544) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและความก้าวหน้าทางการเรียน ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้ชุดการสอนสูงกว่า นักเรียนที่เรียนตามปกติ อย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ า วข้ า งต้ น นี้ ท� ำ ให้ นั ก เรี ย นที่ เ รี ย นโดยใช้ ชุ ด การสอนเรื่ อ ง การ แต่งกลอนสุภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่ ระดับ 84.91/82.33 และมีผลสัมฤทธิ์ทางการ แต่งกลอนสุภาพสูงขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ดังนั้นชุดการสอนเรื่อง การแต่ง กลอนสุภาพ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สามารถน�ำไปใช้สอนได้ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
221
ข้อเสนอแนะ 1. ชุ ด การสอนเรื่ อ ง การแต่ ง กลอน สุภาพ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ ได้สร้างขึน้ ได้รบั ความสนใจจากนักเรียนสูง โดย สังเกตจากพฤติกรรมขณะเรียน คะแนนจากการ ท�ำแบบฝึกหัด คะแนนจากแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ดังนั้นชุดการสอนเรื่อง การแต่ง กลอนสุภาพ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จึงเป็นชุดการสอนทีผ่ สู้ อนควรน�ำไปใช้สอนใน การแต่งกลอนสุภาพแก่นักเรียน 2. ครูควรตระหนักถึงความส�ำคัญในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนซึง่ การสร้างชุดการ สอน เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถพัฒนาทักษะแก่ นักเรียนให้เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ 3. ควรมีการสร้างชุดการสอนเรื่อง การ แต่งค�ำประพันธ์ประเภทอื่น ๆ อีกต่อไป เช่น โคลง กาพย์ 4. ควรทดลองใช้ชุดการสอนกับกลุ่ม ตัวอย่างที่มีบริบทแตกต่างกัน เพื่อให้เกิดความ เที่ยงตรงมากขึ้น
222
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ส�ำเร็จโดยสมบูรณ์ ด้ ว ยความกรุ ณ าและความช่ ว ยเหลื อ จาก ดร.ภูเบศ เลื่อมใส อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก และ ดร.ดวงพร ธรรมะ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ที่ได้ ให้ความกรุณาให้คำ� ปรึกษาและช่วยเหลือชีแ้ นะ เอาใจใส่มาโดยตลอดจนส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วย ดี ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุก ท่านทีใ่ ห้ความอนุเคราะห์ในการตรวจสอบ และ ให้คำ� แนะน�ำในการปรับปรุงแก้ไข รวมทัง้ พัฒนา เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ให้มคี ณ ุ ภาพ นอกจากนี้ ยังได้รับความอนุเคราะห์จากท่านผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนอุทยั ตลอดจนครูและนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกท่าน ทีใ่ ห้ความร่วมมือเป็น อย่างดีในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย ท�ำให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ส�ำเร็จด้วยดี
เอกสารอ้างอิง กิฟลี วรรณจิยี. (2535). การเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนบท ร้อยกรองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยการใช้แบบฝึกการเขียนแบบ สร้างสรรค์กับการใช้แบบฝึกแบบปกติ. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร. ถ่ายเอกสาร. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย สมปอง อินทร์งาม. (2538). การใช้แบบฝึกหัดทักษะการเขียนบทร้อยกรองสี่ค�ำเชิงสร้างสรรค์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (การประถมศึกษา). เชียงใหม่ : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ถ่ายเอกสาร. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2521). ชุดการสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2539). การทดสอบประสิทธิภาพของชุดการสอน. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา สื่อการสอนระดับประถมศึกษา หน่วยที8-15. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ธัญวรรณ เถาโพธิ์. (2550). การพัฒนาชุดการสอนเสริมทักษะสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้ กระบวนการเสริมทักษะ 5 ขั้นเรื่องการผันเสียงวรรณยุกต์และการเขียนค�ำที่มีวรรณยุกต์ ก�ำกับส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3, วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. จรัสวลัย สนทนา. (2544). การสร้างชุดการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต เรืองสารเคมี ส� ำ หรั บนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6.วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต,สาขาวิช า วิทยาศาสตร์ศึกษา,บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยบูรพา. กิตติศักดิ์ เทียนทองศิริ. (2544). การพัฒนาชุดการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและสมบัติของสาร ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 .วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
223
การพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเอง ส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์
DEVERLOPMENT OF TRAINING PACKAGES ON HOW TO TAKE CARE OF HIV INFECTED PATIENTS นสิรวีณ์ ด�ำรงค์ธนัทโรจน์1, ภูเบศ เลื่อมใส2, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง3 SIRAWEE DAMRONGTHANATROJ, PHUBAET LAUIMSAI AND DAMRAS ONCHAWIANG 1 นิสิตการศึกษามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี 2 อาจารย์ประจ�ำภาควิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี 3 อาจารย์ประจ�ำภาควิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อ พัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพือ่ การดูแลตนเอง ส�ำหรับ ผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี/เอดส์ ให้มปี ระสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ มาตรฐาน 90/90 2) เพือ่ เปรียบเทียบ คะแนนความรู้เรื่องการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ จาการทดสอบก่อนและหลังฝึก อบรมด้วยชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแล ตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ 3) เพื่อ ศึกษาความพึงพอใจของติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ทีม่ ตี อ่ ชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพือ่ การดูแลตนเอง ส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ประชากรที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โรงพยาบาลบ้านโพธิ์ อ�ำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัด ฉะเชิงเทรา จ�ำนวน 212 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่มารับบริการที่ โรงพยาบาลบ้านโพธิ์ จ�ำนวน 30 คน หลังจากนัน้ ให้ผู้เป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ท�ำแบบทดสอบ และแบบสอบถามความพึ ง พอใจที่ ผู ้ วิ จั ย ได้ 224
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
สร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การ ทดสอบค่า t (t-test) และประสิทธิภาพชุดฝึก อบรมตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 standard) ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดฝึกอบรมราย บุคคลเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอช ไอวี/เอดส์ มีประสิทธิภาพ 95.42/93.33เป็น ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 standard) ที่ตั้งไว้ 2) คะแนนหลังการใช้ชุด ฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการใช้ชุดฝึกอบรม อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผู้ติด เชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่เข้ารับการฝึกอบรมมีความ พึงพอใจอยู่ในระดับพอใจมากที่สุด Abstract The purposes of this research were; 1) To develop individual training
package : on how to take care Of HIV infected patients to meet efficiency according to the 90/90 standard. 2) To compare pretest and post-test scores knowledge skills after using individual training package : on how to take care Of HIV infected patients. 3) To study the satisfaction of person of HIV infected patients Who come to receive treatment at Ban Pho Hospital Chachoengsao. operator with the individual training package : on how to take care of HIV infected patients. The population used in this research were 212 person Of HIV infected patients Who come to receive treatment at Ban Pho Hospital Chachoengsao. The sample group consisted of 30 person of HIV infected patients Who come to receive treatment at Ban Pho Hospital Chachoengsao. The person of HIV infected patients operator doing the test and the satisfaction questionnaire created by the researcher. The statistics used for data analysis were mean, percentage, standard deviation, t-test, efficiency of training package according to the 90/90 standard. The results indicated that; 1) The efficiency of the developed individual training package : on how to take care
Of HIV infected patients. checking was at 95.42/93.33 according to the 90/90 standard criteria set. 2) The post-test scores using the individual training package on how to take care Of HIV infected patients significance level of .05. 3) The person of HIV infected patients Who come to receive treatment at Ban Pho Hospital Chachoengsao. operator satisfaction level of trainees towards the individual training package was at most high level. บทน�ำ นับตัง้ แต่การติดเชือ้ เอชไอวี และเอดส์ได้ มีการค้นพบในปี ค.ศ.1981 จนถึงปลายศตวรรษ ที่ 20 โรคเอดส์เป็นปัญหาส�ำคัญทีท่ วั่ โลกก�ำลัง เผชิญอยู่ในขณะนี้ เนื่องจากการแพร่ระบาด ของเชื้อเอดส์ที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้มี ผู้คนเจ็บป่วยและเสียชีวิตเป็นจ�ำนวนมาก จาก รายงานพบว่า ในแต่ล ะวันจะมีผู้ติดเชื้อเอช ไอวีทั่วโลกเพิ่มขึ้นมากกว่า 75,000 คน ส�ำหรับ ประเทศไทยพบผู้ติดเชื้อรายแรกใน พ.ศ. 2527 (กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข) การ แพร่ระบาดของเชื้อเอชไอวี ได้ก่อให้เกิดผล กระทบตามมาอย่างมากมาย นอกจากผู้ติดเชื้อ เองจะมีความเจ็บป่วยทางกายและสภาพจิตใจ แล้ว ยังส่งผลถึงปัญหาทางสังคม ครอบครัว เศรษฐกิจ และการด�ำเนินชีวติ ประวัน แม้วา่ แนว เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
225
โน้มที่มีการติดเชื้อรายใหม่จะลดลงจากความ ร่วมมือของทุกภาคส่วน แต่ก็ยังมีผู้ติดเชื้อเอดส์ ที่ยังมีชีวิตอยู่และต้องการการดูแลจ�ำนวนมาก จะเห็นได้ว่าแนวโน้มของผู้ติดเชื้อเอช ไอวี/เอดส์ ถึงจะมีแนวทางแก้ไขแต่กย็ งั เพิม่ มาก ขึ้นทุกวัน และในปัจจุบันยังมีผู้ติดเชื้อเอชไอวี จ�ำนวนมาก ที่ไม่เข้ารับการรักษาตัว และพร้อม ที่จะปฏิเสธการรักษาเพราะคิดว่าหมดคุณค่าใน ตนเอง และโรคเอดส์เป็นโรคที่น่ารังเกียจ ซึ่ง โรคเอดส์ก็เป็นเหมือนโรคเรื้อรังทั่วไปโรคหนึ่ง ที่รักษาไม่หาย แต่รักษาอาการได้โดยการกิน ยาต้านไวรัส การดูแลตนเองและการใช้ชีวิต ในสังคมอย่างปกติสุข การดูแลตนเองส�ำหรับ ผู้ติดเชื้อนั้นส�ำคัญมากยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด เพราะ มันจะเป็นตัวก�ำหนดการมีชีวิตอยู่ของตัวผู้ติด เชื้อเอง ถ้าดูแลตนเองดี รับประทานยาต้านถูก ต้องตรงเวลาดี รักษาสุขภาพ ออกก�ำลังกาย สม�่ำเสมอ ทานอาหารที่มีประโยชน์ ร่างกาย ก็จะดีขึ้น สุขภาพจิตใจก็จะดีขึ้น ต้องศึกษา และท�ำความเข้าใจกับโรคเอดส์อย่างเข้าใจ แต่ ปัญหาตอนนี้คือ ยังมีผู้ติดเชื้ออีกมากที่ยังไม่ ยอมรับ และไม่เข้ารับการรักษา ซึ่งหมายความ ว่าในอนาคตอันใกล้อาจจะท�ำให้ผู้ติดเชื้อเอง มีสุขภาพที่แย่ลง และกลายเป็นผู้ป่วยเอดส์ใน ที่สุด จากปัญหาและแนวคิดดังกล่าวข้างต้น ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ มีอัตราการป่วยเพิ่มมาก ขึ้น การดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ จึงมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างมาก ที่ต้องได้ รับ การฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเอง 226
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ เพื่อให้ผู้ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ ปฏิบตั ติ นได้ถกู ต้อง อีกทัง้ จากข้อ จ�ำกัดทางแพทย์ พยาบาล บุคลากรสาธารณสุข มีจ�ำนวนจ�ำกัด ระยะเวลาการให้ค�ำปรึกษาน้อย จึงท�ำให้ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ เรื่องการดูแลตนเองเมื่อติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ได้อย่างทั่วถึง จากปัญหาและข้อจ�ำกัดดังกล่าว สามารถทดแทนได้ด้วยชุดฝึกอบรม ซึ่งเป็นสื่อ ทีม่ ลี กั ษณะของชุดฝึกอบรมสามารถแก้ไขปัญหา ดังกล่าวได้ โดยผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ สามารถ ศึกษาเนื้อหา และฝึกปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน ลั ก ษณะรายบุ ค คล การส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวี/เอดส์ สามารถดูแลตนเองได้ จะท�ำให้ เกิดความรู้ ความเข้าใจ ที่เป็นไปในทางที่พึง ประสงค์ ซึ่งจะเป็นส่วนช่วยในการป้องกันการ ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ไม่ให้ลุกลาม และสามารถ รักษาได้อย่างถูกวิธี อัตตาการเจ็บป่วยลดลง และจ�ำนวนอัตราการตายจากโรคเอดส์ก็ลดลง ด้วยเช่นกัน จากสภาพปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยจึงเกิด ความสนใจในการพัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคล เพือ่ การดูแลตนเองส�ำหรับผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวีเอดส์ เพื่อใช้ฝึกอบรมกับกลุ่มผู้ติเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่ สนใจศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ พัฒนาชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพือ่ การดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard)
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2. เพื ่อเปรี บเทีดยฝึบคะแนนความรู ้เรื่อ่ องการดู แลตนเองสํ 3. เพืา หรั่ อ ศึบกผู้ตษาความพึ ง พอใจของผู 1. เพื ่ อ พัฒยนาชุ กอบรมรายบุ ค คลเพื ิ ด เชื้ อ เอชไอวี / เอดส์ ให้ มี ้ ติ ด การดู ิดเชื้อเอชไอวี /เอดส์ จา เชื้อเอชไอวี/เอดส์ โรงพยาบาลบ้านโพธิ์ อ�ำเภอ ประสิแทลตนเองของผู ธิภาพตามเกณฑ์ม้ตาตรฐาน 90/90 (The 90/90 Standard) 2. เพือ่อนและหลั เปรี ยบเทียบคะแนนความรู ่ องการดู จาการทดสอบก่ ้อเอชไอวี การทดสอบก่ งฝึกอบรมด้ว้เรืยชุ ดฝึกแลตนเองของผู บ้านโพธิต้์ ิจัดเชืงหวั ดฉะเชิ/เอดส์ งเทรา ที่มีต่อชุดฝึอกนอบรม และหลังฝึ กอบรมด้ ดฝึ กอบรมรายบุ คคลเพื าหรัคบคลเพื ผูต้ ิดเชื่อ้อเอชไอวี อบรมรายบุ คคลเพืวยชุอ่ การดู แลตนเองส� ำหรั่อการดู บผูต้ แดิ ลตนเองสํ รายบุ การดูแ/เอดส์ ลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูต้ ิดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โรงพยาบาลบ้านโพธิ์ อําเภอบ้านโพธิ์ จังหวัด เชื้อเอชไอวี3./เอดส์ เอชไอวี/เอดส์ ฉะเชิงเทรา ที่มีต่อชุดฝึ กอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเองสําหรับผูต้ ิดเชื้อเอชไอวี/เอดส์
กรอบแนวคิดการวิจัย
กรอบแนวคิดการวิจัย
ศึกษาวิเคราะหปญหา เรื่องการดูแลตนเอง ของผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส
ทฤษฎีการดูแลตนเอง
ประสิทธิภาพของ ชุดฝกอบรมรายบุคคล เพื่อการดูแลตนเอง สําหรับผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส
ชุดฝกอบรมรายบุคคล เพื่อการดูแลตนเอง สําหรับผูติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส
หลักการและแนวคิด ในการพัฒนา ชุดฝกอบรมรายบุคคล ความรูเรื่องการดูแลตนเอง
ความพึงพอใจตอชุดฝกฯ
ภาพประกอบที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดการวิจัย ภาพประกอบที่ 1 แสดงกรอบแนวคิดการวิจยั
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
227
นิยามศัพท์เฉพาะ 1. ชุดฝึกอบรมรายบุคคล หมายถึง ชุด สื่อประสมที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นส�ำหรับการฝึกอบรม ในที่ นี้ ห มายถึ ง ชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุ ค คลเพื่ อ การดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ คู่มือการใช้ชุดฝึก อบรม เนื้อหา สื่อ แบบทดสอบก่อน-หลังฝึก อบรม 2. การดูแลตนเอง หมายถึง กิจกรรม ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ในการรับประทาน อาหาร การออก ก�ำลังกาย การควบคุมอารมณ์ และการเข้าสังคม 3. ความรูก้ ารดูแลตนเอง หมายถึง ความ สามารถของผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี/เอดส์ ในการเข้าใจ เนื้ อ หาเรื่ อ งการดู แ ลตนเองส� ำ หรั บ ผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวี/เอดส์ 4. ประสิทธิภาพชุดฝึกอบรม หมายถึง คุณภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพือ่ การดูแล ตนเองส�ำหรับผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี/เอดส์ ตามเกณฑ์ มาตรฐาน 90/90 ซึ่งมีความหมายดังนี้ 4.1 90 ตัวแรก หมายถึง ร้อยละ ของคะแนนเฉลีย่ ผลสัมฤทธิท์ ไี่ ด้จากการประเมิน หลังการฝึกอบรมด้วยชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพือ่ การดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ 4.2 90 ตัวหลัง หมายถึง ร้อยละ ของจ�ำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่ผ่านทุกจุด ประสงค์ ด้วยชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพือ่ การดูแล ตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ 5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึก ชอบหรื อไม่ ชอบของผู้ฝึกอบรมที่มีต ่อชุด ฝึก 228
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
อบรมรายบุ ค คลเพื่ อ การดู แ ลตนเองส� ำ หรั บ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ซึ่งสามารถวัดออกมาได้ 5 ระดับ ได้แก่ 1) ระดับความพึงพอใจมากที่สุด 2) ระดับความพึงพอใจมาก 3) ระดับความพึง พอใจปานกลาง 4) ระดับความพึงพอใจน้อย และ 5) ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด วิธีด�ำเนินการวิจัย การพั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุ ค คล เพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ เป็นการวิจัยและพัฒนา (Resecarch & Development) ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการ5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้ น ตอนที่ 1 ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ป ั ญ หา พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการปฏิเสธการ เข้ารับการรักษาโรคเอดส์ ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี ในโรงพยาบาลบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา 1.1 สัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องในการ รักษา ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล เภสัชกร และหน่วยงานสุขภาพจิต ยาเสพติดและเอดส์ โรงพยาบาลบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา 1.2 สังเกตพฤติกรรมการเข้ารับการ รักษาของผู้ติดชื้อเอชไอวี ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนดคุณลักษณะของ ชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุ ค คลเรื่ อ งการดู แ ลตนเอง ส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี / เอดส์ ชุดฝึกอบรมที่ใช้ในการวิจัยมีลักษณะ ดังนี้ - ชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแล ตนเองของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์
- ปฏิทินการกินยา - ปฏิทินการแสดงอารมณ์ความรู้สึก - แบบทดสอบก่ อ นและหลั ง การฝึ ก อบรม โดยใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคล - แบบสอบถามความพึงพอใจของผูต้ ดิ เชื้อเอชไอวี/เอดส์ ต่อการใช้ชุดฝึกอบรม 2.2 พิจารณาเลือกผู้ติดเชื้อเอชไอ วี/เอดส์ ที่มารับบริการในโรงพยาบาลบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) จากผู้ที่สมัครใจเข้ารับ การอบรม จ�ำนวน 30 คน ขัน้ ตอนที่ 3 การออกแบบและพัฒนาชุด ฝึกอบรม 3.1 ศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง ในเรื่องการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อ เอชไอวี / เอดส์ 3.2 ประมวลข้อมูลและความรู้ที่ได้ จากการศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยขอค�ำแนะน�ำจากผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 3 ท่าน 3.3 ก�ำหนดรายละเอียดโครงร่างชุด ฝึกอบรม ประกอบด้วย ค�ำอธิบาย วัตถุประสงค์ เนื้อหาชุดฝึกอบรม กิจกรรมฝึกอบรม การวัด และประเมินผล 3.4 ส ร ้ า ง แ บ บ ส อ บ ถ า ม ใ ห ้ ผู ้ เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา จ�ำนวน 3 ท่าน ประเมิน ความเหมาะสมของเนื้อหา 3.5 สร้างชุดฝึกอบรมโดยการศึกษา รายละเอียดองค์ประกอบต่าง ๆ ของชุดฝึกอบรม บนขัน้ ตอนการวิเคราะห์และการออกแบบ สร้าง สื่อการอบรมต่าง ๆ
3.6 ปรับปรุงแบบประเมินตามข้อ เสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ 3.7 สร้ า งแบบสอบถามความพึ ง พอใจของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่มีต่อชุดฝึก อบรมรายบุคคล ขั้นตอนที่ 4 การหาประสิทธิภาพชุดฝึก อบรม 4.1 เพื่ อ ประเมิ น การใช้ ชุ ด ฝึ ก อบรมว่ า มี ค วามเหมาะสมหรื อ ไม่ มี ป ั ญ หา และอุปสรรคในการใช้งานอย่างไร โดยประเมิน ผลจากกลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง น� ำ ชุ ด ฝึ ก อบรมที่ ผ ่ า น การตรวจสอบคุ ณ ภาพเบื้ อ งต้ น ไปทดสอบ ประสิทธิภาพใช้เบื้องต้น (try out) โดยแบบ เดี่ยว (1:1) จ�ำนวน 3 คน แบบกลุ่ม (1:10) จ�ำนวน 9 คน และแบบการทดลองใช้จริง กับ กลุ่มตัวอย่าง 30 คน 4.2 เพื่ อ เปรี ย บเที ย บความรู ้ ข อง ผู้ที่ใช้ชุดฝึกอบรมเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โดยหวังว่าผู้ใช้ชุดฝึก อบรมจะมี ค วามรู ้ เ รื่ อ งการดู แ ลตนเอง และ เจตคติที่ดีต่อโรคเอดส์ โดยการหาประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูล 5.1 ประเมิ นผลโดยการน� ำ ข้ อมู ล จากแบบวัดความรู้ มาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม ส�ำเร็จรูป วิเคราะห์หาค่าสถิติพื้นฐาน และเปรียบ เทียบคะแนนก่อนและหลังการใช้ชุดฝึกอบรม เพื่อหาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ น�ำผลที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
229
5.2 ประเมิ น ความสอดคล้ อ ง ระหว่างเนื้อหากับจุดประสงค์ 5.3 ประเมินความพึงพอใจ จากการ ใช้ชุดฝึกอบรมเรื่องการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติด เชื้อเอชไอวี/เอดส์ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอ วี/เอดส์ โรงพยาบาลบ้านโพธิ์ อ�ำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา จ�ำนวน 212 คน กลุม่ ตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอ วี/เอดส์ ที่มารับบริการในโรงพยาบาลบ้านโพธิ์ อ�ำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยใช้การ เลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) และเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นแบบ Accidental sampling จากผู้ที่สมัครใจเข้ารับการอบรม จ�ำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1. ชุดฝึกอบรมรายบุคคล ผูว้ จิ ยั ได้จดั ท�ำชุดฝึกอบรมรายบุคคล เพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ โดยประกอบด้วย เนื้อหา สื่อวิดีทัศน์ และ เอกสารคู่มือชุดฝึกอบรมรายบุคคล โดยแบ่ง เนื้อหาออกเป็น 4 หน่วย ได้แก่ 1.1 หน่วยที่ 1 ความรูท้ วั่ ไปของโรค เอดส์ 1.2 หน่วยที่ 2 ความรู้เรื่องการดูแล ตนเอง 1.3 หน่วยที่ 3 การปฏิบตั ติ นเมือ่ ติด เชื้อเอชไอวี/เอดส์ 230
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
1.4 หน่วยที่ 4 การรับประทานยา และการเก็บรักษายา 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ผู ้ วิ จั ย ได้ จั ด ท� ำ แบบทดสอบวั ด ผล สัมฤทธิจ์ ากการใช้ชดุ ฝึกอบรมรายบุคคลเพือ่ การ ดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ เพื่อ วัดผลสัมฤทธิ์จากการใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคล ของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ส�ำหรับทดสอบก่อนและ หลังการใช้ชุดฝึกอบรม โดยมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 สร้างแบบทดสอบให้สอดคล้อง กับเนื้อหาและวัตถุประสงค์ที่ก�ำหนด โดยแบ่ง ตามเนื้อหาบทเรียนออกเป็น 4 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ 1 จ�ำนวน 10 ข้อ หน่วยที่ 2 จ�ำนวน 10 ข้อ หน่วยที่ 3 จ�ำนวน 10 ข้อ และหน่วยที่ 4 จ�ำนวน 10 ข้อ 2.2 น� ำ แบบทดสอบที่ ส ร้ า งขึ้ น ไป ให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญทางด้าน เนื้อหาจ�ำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงตรง (Content validity) ความเหมาะสมของภาษา และหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of item objective congruence: IOC) ระหว่างแบบ ทดสอบกับจุดประสงค์ที่ต้องการวัด แล้วน�ำมา ปรับปรุงแก้ไข โดยมีเกณฑ์ในการพิจารณา คือ
ถ้าเห็นว่าสอดคล้อง ให้คะแนน +1 ถ้าไม่แน่ใจว่าสอดคล้อง ให้คะแนน 0 ถ้าแน่ใจว่าไม่สอดคล้อง ให้คะแนน -1 2.3 แบบทดสอบที่ผ่านการวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อค�ำถามกับ จุดประสงค์ ซึ่งค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ต้องมีค่า .05 ขึ้นไป 3. แบบสอบถามความพึงพอใจ ผูว้ จิ ยั ได้จดั ท�ำแบบสอบถามความพึงพอใจ เพือ่ ใช้ในการสอบถามความพึงพอใจ ของกลุม่ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่มารับบริการในโรงพยาบาลบ้านโพธิ์ อ�ำเภอบ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา มี ขั้นตอนดังนี้ 3.1 ก�ำหนดกรอบเนื้อหาของแบบสอบถามความพึงพอใจให้สอดคล้องกับชุดฝึกอบรม รายบุคคล 3.2 ก�ำหนดเกณฑ์ในการประเมินเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2533) ดังนี้ 5 หมายถึง มากที่สุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถึง น้อยที่สุด และก�ำหนดเกณฑ์การพิจารณาคะแนนเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจของค�ำถามแต่ละ ข้อ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2533) ดังนี้ ค่าเฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.50 - 4.49 หมายถึง พึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.49 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายถึง พึงพอใจน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายถึง พึงพอใจน้อยที่สุด 3.3 น�ำแบบสอบถามความพึงพอใจที่สร้างขึ้นมาให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบแล้วน�ำไป ปรับปรุงแก้ไขตามค�ำแนะน�ำ 3.4 จัดท�ำแบบสอบถามความพึงพอใจเพื่อน�ำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างหลังการเข้ารับการ ฝึกอบรมรายบุคคล เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
231
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอช ไอวี/เอดส์ ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพมาตรฐาน 90/90 ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ มีผลคะแนนดังนี้ ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเอง ส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพมาตรฐาน 90/90 จากการทดลอง 1 : 1 จ�ำนวน 3 คน กลุ่มทดสอบ ประสิทธิภาพชุดฝึก อบรมรายบุคคล
90 ตัวแรก (ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์หลังการ ฝึกอบรม)
90 ตัวหลัง (ร้อยละของจ�ำนวน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ผ่านเกณฑ์)
3 คน
83.33
66.67
90/90
83.33 / 66.67
จากตารางที่ 1 พบว่า ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ จากการทดลอง 1 : 1 จ�ำนวน 3 คน เมื่อหาประสิทธิภาพโดยรวมทั้ง 4 หน่วย มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.33 / 66.67 ผลลัพธ์ยังไม่ถึงเกณฑ์ที่ตั้งไว้ โดยพบข้อบกพร่องซึ่ง ไม่ครอบคลุมเพียงพอต่อความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงท�ำการปรับปรุงเพื่อให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์โดยศึกษาค้นคว้าเอกสารตามเนื้อหาที่ เกี่ยวข้องกับความรู้ของโรคเอดส์ การดูแลตนเองเมื่อติดเชื้อ และการรับประทานยาต้าน เพิ่มเติม
232
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเอง ส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพมาตรฐาน 90/90 จากการทดลอง 1 : 10 จ�ำนวน 9 คน กลุ่มทดสอบ ประสิทธิภาพชุดฝึก อบรมรายบุคคล
90 ตัวแรก (ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์หลังการ ฝึกอบรม)
90 ตัวหลัง (ร้อยละของจ�ำนวน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ผ่านเกณฑ์)
9 คน
88.89
77.78
90/90
88.89 / 77.78
จากตารางที่ 2 พบว่า ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ จากการทดลอง 1 : 10 เมื่อหาประสิทธิภาพโดยรวมทั้ง 4 หน่วย มี ประสิทธิภาพเท่ากับ 88.89 / 77.78 ผลลัพธ์ยังไม่ถึงเกณฑ์ที่ตั้งไว้ โดยพบข้อบกพร่องด้านการ จดจ�ำเวลารับประทานยา ท�ำให้หาค่าประสิทธิภาพการรับประทานยามาได้ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงท�ำการ ปรับปรุงเพื่อให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์โดยเพิ่มปฏิทินการรับประทานยาเข้าไป เพื่อง่ายต่อการ บันทึก และหาค่าประสิทธิภาพได้ ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ตามเกณฑ์ประสิทธิภาพมาตรฐาน 90/90 จากการทดลอง (1:100) กับ กลุ่มตัวอย่าง 30 คน กลุ่มทดสอบ ประสิทธิภาพชุดฝึก อบรมรายบุคคล
90 ตัวแรก (ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์หลังการ ฝึกอบรม)
90 ตัวหลัง (ร้อยละของจ�ำนวน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ที่ผ่านเกณฑ์)
30 คน
95.42
93.33
90/90
95.42/93.33
จากตารางที่ 3 พบว่า ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมรายเพือ่ การดูแลตนเองส�ำหรับผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี/เอดส์ จากการทดลอง 1 : 100 เมื่อหาประสิทธิภาพโดยรวมทั้ง 4 หน่วย มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 95.42 / 93.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
233
จากตารางที่ 3 พบว่า ประสิ ทธิภาพของชุดฝึ กอบรมรายเพื่อการดูแลตนเองสําหรับผูต้ ิดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ จากการทดลอง 1 : 100 เมื่อหาประสิ ทธิภาพโดยรวมทั้ง 4 หน่วย มีประสิ ทธิภาพเท่ากับ 95.42 / 93.33 เป็ นไปตามเกณฑ์ที่ต้ งั ไว้
ตอนที่ 2 การวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนจากการท�ำแบบทดสอบก่อนการฝึกอบรมและหลัง ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ เปรียบเทียบคะแนนจากการทําแบบทดสอบก่อนการฝึ กอบรมและหลังการฝึ กอบรมจากชุด การฝึ กอบรมจากชุดฝึกอบรมรายเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ฝึ กอบรมรายเพื่อการดูแลตนเองสําหรับผู้ตดิ เชื้อเอชไอวี/เอดส์ การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการพัฒนาของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โดยใช้ชุดฝึกอบรมราย การวิเคราะห์เปรี ยบเทียบผลการพัฒนาของผูต้ ิดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โดยใช้ชุดฝึ กอบรมรายเพื่อการดูแล เพืตนเองสํ ่อการดูาหรั แลตนเองส� ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ผลดังตารางที่ 4 บผูต้ ิดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ผลดังตารางที่ 4 4 ผลการเปรี บเทียบคะแนนจากการทํ าแบบทดสอบก่อนการฝึ กอบรมและหลัองนการฝึ การฝึ กอบรมจากชุ ด ง ตารางที่ตารางที ่ 4 ยผลการเปรี ยบเทียบคะแนนจากการท� ำแบบทดสอบก่ กอบรมและหลั ฝึ กอบรมรายบุ คคล ดฝึกอบรมรายบุคคล การฝึ กอบรมจากชุ การทดสอบ กอนฝกอบรม หลังฝกอบรม
N 30 30
คะแนนเต็ม 20 20
12.87 18.07
SD 2.33 1.24
t 21.11
p .00*
D 157
873
*p < .05, df = 29 df = 29 *p < .05,จากตารางที ่ 4 คะแนนจากการท�ำแบบทดสอบก่อนการฝึกอบรมและหลังการฝึกอบรม จากชุดฝึกอบรมรายเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ กับกลุ่มตัวอย่าง 30 คน จากตารางที่ 4 คะแนนจากการทําแบบทดสอบก่อนการฝึ กอบรมและหลังการฝึ กอบรมจากชุดฝึ กอบรม มีรายเพื ค่าเฉลี ่ ย คะแนนแบบทดสอบก่ อนการฝึกอบรมเท่ากับ 12.87 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ ่อการดูแลตนเองสําหรับผูต้ ิดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ กับกลุ่มตัวอย่าง 30 คน มีค่าเฉลี่ยคะแนนแบบทดสอบก่อน 2.33 ค่าาเฉลี ่ยคะแนนแบบทดสอบหลั กอบรมเท่ กับ่ยคะแนนแบบทดสอบหลั 18.07 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การฝึ กและมี อบรมเท่ กับ 12.87 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่งการฝึ ากับ 2.33 และมีค่าาเฉลี งการ เท่ากับ 1.24 ผลการทดสอบก่อนการฝึกอบรมและหลังการฝึกอบรมจากชุดฝึกอบรมรายบุคคล พบว่า คะแนนทดสอบหลังการฝึกอบรมด้วยชุดฝึกอบรมรายบุคคลสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมด้วยชุด ฝึกอบรมรายบุคคลอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 21.11, p = .00) ตอนที่ 3 การวิเคราะห์ความพึงพอใจของกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่ใช้ชุดฝึกอบรมรายเพื่อ การดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์
234
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ตารางที่ 5 ระดับความพึงพอใจของกลุม่ ผูต้ ดิ เชือ้ เอชไอวี/เอดส์ ทีใ่ ช้ชดุ ฝึกอบรมรายเพือ่ การ ดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ รายการประเมิน
คะแนน
แปลผล
X
SD
4.57 4.73 4.43
0.50 0.45 0.62
มากที่สุด มากที่สุด มาก
4.57
0.57
มากที่สุด
7. ชุดฝกอบรมฯ สามารถนําความรูไปประยุกตใชได
4.53
มากที่สุด
8. ชุดฝกอบรม ฯ มีความนาสนใจ
4.50 4.57
0.51 0.51
1. ชุดฝกอบรมฯ มีเนื้อหาเหมาะสมกับเรื่อง 2. ชุดฝกอบรมฯ ชวยพัฒนาความเขาใจเกี่ยวกับโรคเอดส 3. ชุดฝกอบรมฯ มีเนื้อหาเขาใจงาย เหมาะกับการเรียนรู 4. ชุดฝกอบรมฯ ผูเรียนสามารถศึกษาคนควาดวยตนเอง 5. ชุดฝกอบรมฯ มีการจดบันทึกขอมูลที่ชัดเจน 6. ชุดฝกอบรมฯ ใชภาษาเขาใจงายไปซับซอน
4.53 4.46
9. ชุดฝกอบรม ฯ เหมาะที่จะนําไปเผยแพรได
0.51 มากที่สุด 0.73 มาก
มาก มากที่สุด
0.50 10. ความพึงพอใจที่มีตอชุดฝกอบรม ฯ
4.63
0.50
มากที่สุด
เฉลี่ย 4.55
0.54
มากที่สุด
จากตารางที่ 5 พบว่า ความพึงพอใจของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่ใช้ชุดฝึกอบรมรายเพื่อ การดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ โดยรวมมีความพึงพอใจ ( = 4.55, SD = 0.54 ) อยู่ ในระดับพอใจมากที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อแล้วพบว่า ความพึงพอใจที่อยู่ในระดับมากที่สุด สาม ล�ำดับแรกดังนี้ คือ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
235
1. ชุดฝึกอบรมฯ ผู้เรียนสามารถศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง ( = 4.73, SD = 0.45 ) อยู่ ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด 2. ชุ ดฝึ กอบรมฯ มีเ นื้อหาเข้าใจง่าย เหมาะกับการเรียนรู้ ( = 4.57, SD = 0.50 ) อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด 3. ชุดฝึกอบรมฯ ใช้ภาษาเข้าใจง่ายไป ซับซ้อน ( = 4.57, SD = 0.57 ) อยู่ในระดับ ความพึงพอใจมากที่สุด และระดับความพึงต�่ำสุด กล่าวคืออยู่ ในเกณฑ์พอใจมาก สามล�ำดับดังนี้ 1. ชุดฝึกอบรมฯ มีการจดบันทึกข้อมูล ที่ชัดเจน ( = 4.43, SD = 0.62 ) อยู่ในระดับ ความพึงพอใจมาก 2. ชุดฝึกอบรมฯ ช่วยพัฒนาความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคเอดส์ ( = 4.46, SD = 0.73 ) อยู่ ในระดับความพึงพอใจมาก 3. ชุดฝึกอบรม ฯ มีความน่าสนใจ ( = 4.50, SD = 0.51 ) อยู่ในระดับความพึงพอใจ มาก สรุปผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ สรุปได้เป็น 3 ประเด็น ดังนี้ 1. การพั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุ ค คล เพื่อตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 พบว่า ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมราย บุคคลเพื่อตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ได้ค่าจ�ำนวนร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการท�ำ 236
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
แบบทดสอบหลังการฝึกอบรมรวม 95.42 และ ค่าจ�ำนวนร้อยละของผู้ฝึกอบรมที่สามารถท�ำ แบบทดสอบผ่านทุกวัตถุประสงค์รวม 93.33 สรุปว่าชุดฝึกอบรมรายบุคคลที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 2. การเปรียบเทียบคะแนนความรู้เรื่อง การดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ จาก การทดสอบก่ อ นและหลั ง ฝึ ก อบรมด้ ว ยชุ ด ฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนการใช้ ชุดฝึกอบรมมีค่าเฉลี่ย 12.87 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 2.33 และคะแนนผลสัมฤทธิ์หลัง ใช้ชุดฝึกอบรมมีค่าเฉลี่ย 18.07 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 1.24 ซึ่งคะแนนทดสอบหลังใช้ชุด ฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนใช้ชุดฝึก อบรมอย่ า งมี นั ย ส� ำ คั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 (t = 24.015, p = .00) 3. ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึก อบรมด้วยชุดฝึกอบรมรายบุคคลเพื่อการดูแล ตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความ พึ ง พอใจต่ อ ชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุ ค คลในระดั บ พอใจมากที่สุด ( = 4.55, SD = 0.54 ) เมื่อ พิจารณารายข้อพบว่าอยู่ในระดับพึงพอใจมาก ที่สุด และข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากเรียงล�ำดับดังนี้ชุด ฝึกอบรมฯ ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง ( = 4.73, SD = 0.45) ความพึงพอใจทีม่ ี ต่อชุดฝึกอบรม ฯ ( = 4.63, SD = 0.50) ชุดฝึก อบรมฯ มีเนื้อหาเข้าใจง่าย เหมาะกับการเรียนรู้
( = 4.57, SD = 0.50) ชุดฝึกอบรมฯ ใช้ภาษา เข้าใจง่ายไปซับซ้อน ( 4.57, SD = 0.57) ชุด ฝึกอบรม ฯ เหมาะที่จะน�ำไปเผยแพร่ได้ ( = 4.57, SD = 0.50) ชุดฝึกอบรมฯ มีเนือ้ หาเหมาะ สมกับเรื่อง ( = 4.53, SD = 0.51) สามารถน�ำ ความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ ( = 4.53, SD = 0.51) ชุดฝึกอบรม ฯ มีความน่าสนใจ ( = 4.50, SD = 0.51) ชุดฝึกอบรมฯ ช่วยพัฒนาความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคเอดส์ ( = 4.46, SD = 0.73) ชุด ฝึกอบรมฯ มีการจดบันทึกข้อมูลที่ชัดเจน ( = 4.43, SD = 0.62) อภิปรายผลการวิจัย จากการวิ จั ย เรื่ อ ง การพั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุคคลเพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 95.42/93.33 เป็ น ไปตามเกณฑ์ ม าตรฐาน 90/90 ซึ่งสามารถอภิปรายผลได้ดังนี้ ผลการวิ จั ย พบว่ า การพั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรมรายบุ ค คลเพื่ อ การดู แ ลตนเองส� ำ หรั บ ผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวี / เอดส์ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพตาม เกณฑ์ที่ก�ำหนด ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ ตั้งไว้ เนื่องมาจากได้ด�ำเนินการสร้างเป็นขั้น ตอน โดยเริ่มจากการศึกษาเอกสารและงาน วิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง แล้ววิเคราะห์เนือ้ หาซึง่ ประกอบ ด้วย 4 หน่วย ได้แก่ ความรู้ทั่วไปของโรคเอดส์ ความรู้เรื่องการดูแลตนเอง การปฏิบัติตัวเมื่อ ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ การรับประทานยาและ การเก็บรักษายา หลังจากได้เนื้อหาของชุดฝึก อบรมแล้ว จึงได้ดำ� เนินการเลือกสื่อที่เหมาะสม
กับชุดฝึกอบรมด้วยการปรึกษาขอค�ำแนะน�ำ จากผู้เชี่ยวชาญและอาจารย์ที่ปรึกษา จึงได้ เครื่ อ งมื อ ในการวิ จั ย พั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรมราย บุ ค คลเพื่ อ การดู แ ลตนเองส� ำ หรั บ ผู ้ ติ ด เชื้ อ เอชไอวี/เอดส์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ และ แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ ที่มารับบริการในโรงพยาบาล บ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่มีต่อชุดฝึกอบรม หลังจากได้เครื่องมือในการวิจัยจึงด�ำเนินการ ทดลองกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็น กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ ที่มารับบริการในโรงพยาบาล บ้านโพธิ์ จังหวัดฉะเชิงเทรา จ�ำนวน 30 คน มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด เนื่องจากผู้ เข้ารับการฝึกอบรมได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ตามความต้องการ ความถนัด และความสนใจ ของผู้เข้าฝึกอบรม ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีความ แตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Differences Theory) ได้รบั การพัฒนา มาจากแนวคิดเรือ่ งสิง่ เร้าและการตอบสนอง (Stimulus-response) และ Gagne ได้เสนอทฤษฎี เอส-อาร์ (S-R Theory) อธิบายว่า บุคคลมีความแตกต่างกัน หลายประการ เช่น บุคลิกภาพ ทัศนคติ สติ ปั ญ ญา และความสนใจ ความแตกต่ า งนี้ ยั ง ขึ้นอยู่กับสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมท�ำให้ มี พฤติกรรมการสื่อสารและการเลือกเปิดรับ สารที่แตกต่างกัน (อ้างถึงในสุพัตรา ใจตั้ง หน้า 18, 2560) และสอดคล้องกับผลการวิจัยของ อมรรัตน์ แซ่ตั้ง (2547) ที่ศึกษาเรื่อง การพัฒนา ชุดฝึกอบรม เรื่อง โรคเอดส์ ส�ำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจัยพบว่า ชุดฝึก เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
237
อบรมที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 84.924/82.92 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่กำ� หนดไว้ เมธี ไกรศรี (2554) ที่ศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุด ฝึกอบรม เรื่องคุณธรรม 4 ประการ ตามพระ บรมราโชวาท ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ชุดฝึกอบรมที่สร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ 84.17/82.00 เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 ที่ก�ำหนดไว้ การเปรี ย บเที ย บคะแนนความรู ้ แ ละ ทักษะก่อนและหลังการใช้ชดุ ฝึกอบรมรายบุคคล เพื่อการดูแลตนเองส�ำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ พบว่า คะแนนทดสอบหลังใช้ชุดฝึกอบรม สูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนใช้ชุดฝึกอบรมอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 21.11, p = .00) เป็นผลเนื่องมาจากผู้เข้ารับการฝึก อบรมเกิดการเรียนรู้และพัฒนาความรู้ในการ ดูแลตนเอง เป็นการเรียนรู้รายบุคคล เป็นตาม ทฤษฎีการเรียนเพื่อรอบรู้ (Mastery learning) หมายถึง กระบวนการในการด�ำเนินการให้ผู้ เรียนทุกคน ซึ่งมีความสามารถและสติปัญญา แตกต่างกัน สามารถเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง ((Block & Anderson,1975) (อ้างถึงใน ทิศนา แขมมณี หน้า 127, 2547) สอดคล้องกับผลการ วิจัยของ วิริยา ศรีสมบูรณ์ (2560) ที่ศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การเตรี ยมตัวเพื่อหางานท�ำ ส�ำหรับนิสิตปริญญาตรี ชั้น ปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผลการวิจัยพบว่า ผู้ เข้ารับการฝึกอบรมมีความก้าวหน้าด้านความรู้ 238
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 เกรียงศักดิ์ พราหมณพันธุ์ (2557) เรื่องการพัฒนาชุดฝึกอบรมการป้องกันภัยพิบัติ จากอุทกภัย ส�ำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยง ผลการ วิจยั พบว่า ผลการประเมินการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง หลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่าง มีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความพึงพอใจกลุม่ ผูต้ เิ ชือ้ เอชไอวี/เอดส์ ที่มารับบริการในโรงพยาบาลบ้านโพธิ์ จังหวัด ฉะเชิงเทรา จ�ำนวน 30 คน ที่มีต่อการใช้ชุดฝึก อบรมรายบุคคลเพือ่ การดูแลตนเองส�ำหรับผูต้ ดิ เชื้อเอชไอวี/เอดส์ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรม พึงพอใจต่อชุดฝึกอบรมรายบุคคลในระดับพอใจ มากที่สุด ( = 4.55, SD = 0.54 ) เนื่องจาก ชุดฝึกอบรมรายบุคคลมีความสะดวกใช้งานง่าย เนื้อหามีความชัดเจนน่าสนใจ และสามารถน�ำ ไปใช้ได้จริง สอดคล้องกับผลการวิจัยของ นุสรา พี ร ะพั ฒ นพงศ์ (2558) ที่ ศึ ก ษาเรื่ อ ง การ พัฒนาชุดฝึกอบรมผ่านสื่อสังคมเฟสบุ๊ค เพื่อ เตรียมความพร้อมในการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ เทคโนโลยีการศึกษา ส�ำหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา ผลการวิจัยพบว่า ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อชุดฝึกอบรมอยู่ ในระดับมาก ( = 4.49, SD = 0.29 ) สิธยา บุญเรือง (2559) ที่ศึกษาเรื่อง การพัฒนาชุดฝึก อบรมด้วยตนเองเรือ่ ง การดูแลตนเองของผูป้ ว่ ย โรคเบาหวาน ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจ ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมอยู่ ในระดับมากที่สุด ( = 4.61, SD = 0.48 )
ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการน�ำไปใช้ประโยชน์ มีดังนี้ 1.1 ควรศึกษาและท�ำความเข้าใจ ในรายละเอียดและวิธีใช้ชุดฝึกอบรมรายบุคคล นี้และเตรียมสื่อการฝึกอบรมให้พร้อมก่อนการ ฝึกอบรม 1.2 ควรอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติ กิจกรรม ค�ำแนะน�ำและค�ำชี้แจงต่าง ๆ ให้ผู้เข้า ฝึกอบรมเข้าใจ และคอยช่วยเหลือผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมที่มีปัญหาในขณะปฏิบัติกิจกรรม 1.3 ควรบันทึกปัญหาและข้อสงสัย ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม เพื่อการน�ำชุดฝึก อบรมรายบุคคลไปใช้ในครั้งต่อไป
2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้ง ต่อไป 2.1 ควรน� ำ แนวคิ ด และหลั ก การ ในการวิจัยครั้งนี้ไปสร้างชุดฝึกอบรมในเนื้อหา ที่ เ ห็ น ว่ า เหมาะสมกั บ การสร้ า งชุ ด ฝึ ก อบรม เพือ่ จะได้สง่ เสริมและหาแนวทางในการปรับปรุง พั ฒ นาการฝึ ก อบรมให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพิ่ ม มากขึ้น 2.2 ควรมี ก ารพั ฒ นารู ป แบบชุ ด ฝึกอบรมในระดับอื่น ๆ หรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่ สนใจ ทัง้ ทีเ่ ป็นองค์กรภาครัฐและเอกชน เป็นต้น โดยปรับเปลี่ยนเนื้อหาและวิธีการน�ำเสนอเพื่อ ให้สอดคล้องกับผู้เข้ารับการฝึกอบรมในระดับ ต่าง ๆ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
239
เอกสารอ้างอิง กรมควบคุมโรค. (2549). สรุปรายงานเฝ้าระวังโรค 2548. กรุงเทพฯ : ส�ำนักระบาดวิทยา กองระบาดวิทยา.(2545). สรุปสถานการณ์ผู้ป่วยเอดส์และผู้ติดเชื้อเอดส์ที่มีอาการ.กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข. เกรียงศักดิ์ พราหมณพันธุ์. (2557). การพัฒนาชุดฝึกอบรมการป้องกันภัยพิบัติจากอุทกภัย ส�ำหรับ ประชาชนกลุ่มเสี่ยง.วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการ ศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. ทิศนา แขมมณี. (2547). 14 วิธีสอน ส�ำหรับครูมืออาชีพ . พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: ส�ำนัก พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นุสรา พีระพัฒนพงศ์.(2558).การพัฒนาชุดฝึกอบรมผ่านสื่อสังคมเฟสบุ๊ค เพื่อเตรียมความพร้อม ในการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา ส�ำหรับนิสิตปริญญาตรี มหาวิทยาลัย บูรพา. วิทยานิพนธ์มหาบัณทิต, สาขาเทคโนโลยีการศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา. เมธี ไกรศรี. (2554). การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรือ่ งคุณธรรม 4 ประการ ตามพระบรมราโชวาท ส�ำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา. วิทยานิพนธ์ มหาบัณทิต, สาขาเทคโนโลยีการศึกษา,คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. วิริยา ศรีสมบูรณ์. (2560). การพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การเตรียมตัวเพื่อหางาน ท�ำ ส�ำหรับนิสิตปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, สาขาเทคโนโลยีการฝึกอบรมเพื่อการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. สิธยา บุญเรือง. (2559). การพัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรือ่ ง การดูแลตนเองของผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน. วิทยานิพนธ์มหาบัณทิต, สาขาเทคโนโลยีการศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา. สุพตั รา ใจตัง้ . (2560). เรือ่ ง ความแตกต่างระหว่างบุคคลทีท่ ำ� นายกลวิธจี ดั การแบบเชิงรุกของผูใ้ หญ่ ตอนกลาง ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, สาขา การวิจัยและสถิติทางวิทยาการปัญญา,คณะวิทยาศาสตร์ศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. อมรรัตน์ แซ่ตั้ง. (2547). เรื่อง การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง โรคเอดส์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์มหาบัณทิต, สาขาเทคโนโลยีการศึกษา,คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
240
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ระหว่างปี พ.ศ.2561 - 2562 กิจกรรมของมูลนิธิศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีดังนี้
ประชุมคณะกรรมการบริหารมูลนิธิฯ ประชุมคณะกรรมการบริหารมูลนิธิ ศ.ม.ล.ปิ่น มาลากุล ครั้งที่ 2 / 2561 วันที่ 15 ธันวาคม 2561 ณ ห้องประชุมสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ชั้น 2 อาคาร 14
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
241
เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2562 คณะกรรมการมูลนิธิ ศ.ม.ล.ปิ่น มาลากุล และปราชญ์สาขาต่างๆ ได้เข้าเฝ้าและรับพระราชทานรางวัล “ศาสตรเมธี” จาก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ อาคารชัยพัฒนา สวนจิตรลดาฯ
242
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
รูปปั้น รองศาสตราจารย์ชม ภูมิภาค นี้จัดตั้งไว้ ณ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา (ชั้น 8) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อให้ศิษย์เก่าใช้เป็นที่สักการะต่อไป
กิจกรรมงานวันครู
16 มกราคม 2562 ร่วมงานวันครู ณ หอประชุม คุรุสภา โดยมูลนิธิออกร้านแจกหนังสือเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา ให้แก่คณะครู ตัวแทนของโรงเรียน พร้อมผู้ร่วมงาน และจ�ำหน่ายเข็มกลัดลายเซ็นและเหรียญรูปเหมือน ม.ล.ปิ่น มาลากุล
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
243
งานมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจ�ำปีพุทธศักราช 2562 29 เมษายน 2562 วันมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ครบรอบ 70 ปี คณะกรรมการมูลนิธิฯ และเจ้าหน้าที่ ท�ำบุญถวายภัตตาหารเช้าและตักบาตรพระสงฆ์จ�ำนวน 70 รูป หน้าอาคารหอประชุมใหญ่ และร่วมพิธีวางพาน พุ่ม ดอกไม้ ณ อนุสาวรีย์ศาสตราจารย์ หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล และหลวงสวัสดิสารศาสตรพุทธิ หน้าอาคาร 3 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
244
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
แนะน�ำเว็บไซต์ แนะน�ำเว็บไซต์
1. มูลนิ ธิศาสตราจารย์หม่อมหลวง ปิ่ น มาลากุล ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ าสตราจารย์หหม่ม่ออมหลวงปิ มหลวง ่นปิ่ นมาลากุ มาลากุ ล ในพระบรมราชู ปถัมจพระกนิ ภ์สมเด็ษจพระเทพรั ดาฯจ ล ในพระราชู ปถัมภ์สมเด็ ฐาธิราชเจ้าตนราชสุ กรมสมเด็ สยามบรมราชกุ ม1. 1.ารีมูลนิธธิศิศาสตราจารย์ สยามบรมราชกุ มารีดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระเทพรัตนราชสุ
ขอเชิญเขา้ ชมเว็บไซต์ มูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวง ปิ่ น มาลากุล ได้ท่ี http://www.prof-ml-pin ขอเชิ มหลวงปิปิ่น่ น มาลากุ ขอเชิญเข้เขา้ ชมเว็บไซต์ มูลนิธิศาสตราจารย์หม่ออมหลวง มาลากุลล ได้ ได้ทที่ ่ี http://www.prof-ml-pin- http://www.prof-ml-pinmalakul-foundation.org และติ ด ตามข่ า วสารได้ ท ่ ี facebook ของมู ล นิ ธ ฯ ิ กองบรรณาธิ กการขอขอบคุ ารขอขอบคุ malakul-foundation.orgและติ และติ ดตามข่ าวสารได้ ที่ facebook นิธิฯ กองบรรณาธิ ผศ.ธีร malakul-foundation.org ดตามข่ าวสารได้ ท่ี facebook ของมูของมู ลนิธฯิ ลกองบรรณาธิ การขอขอบคุ ณ ผศ.ธีณรณ บุญฤทธิ์ ควรหาเวช า� เนิทีนด่ การสร้ างนและประชาสั มมพัพันนธ์ธ์มเเว็พัว็บบนไซต์ มาณมาณโอกาสนี รบุญ ฤทธิที์ ด่ ควรหาเวช �ำเนิ การสร้ าง และประชาสั ธ์ไซต์ เว็บมา ไซต์ ณโอกาสนี โอกาสนี ์ ควรหาเวช บุผศ.ธี ญฤทธิ า� เนิทีน่ดการสร้ าง และประชาสั ้ ้้
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
245 159
2. eJournal วารสารเทคโนโลยีส่อื สารการศึกษา มูลนิ ธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่ น มาลากุล ในพระ 2. eJournal วารสารเทคโนโลยีสอื่ สารการศึกษา มูลนิธศิ าสตราจารย์หม่อมหลวงปิน่ มาลากุล ในพระราชูปถัมภ์ บรมราชู มภ์สมเด็ ตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ มารี สมเด็ปจถัพระกนิ ษฐาธิจพระเทพรั ราชเจ้า กรมสมเด็ จพระเทพรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ มารี eJournal ษา สามารถเข้ สามารถเขาชม า้ ชมอ่าอ่นานและและDownload Download วารสารตั eJournalวารสารเทคโนโลยี วารสารเทคโนโลยีสส่อื ื่อสารการศึ สารการศึกกษา วารสารตั ้งแต่ ง้ แต่ ฉบับฉบั ที่ บ15ที่ 15 เป็ นเป็ต้นต้มานมาที่ ทีhttp://poonsri.weebly.com/journal.html วอย่ ง กองบรรณาธิ ่ http://poonsri.weebly.com/journal.html ดังดัตังวตัอย่ างข้าางขงล่า้ างล่ ง ากองบรรณาธิ การ การ ขอขอบคุ ณ ผศ.ดร.พู ลศรีอเวศย์ เนินการสร้ าง และประชาสั ไซต์มามา ณณ โอกาสนี โอกาสนี้ ขอขอบคุ ณ ดร.พู ลศรี เวศย์ ฬุ ารอทีุฬด่ ารา� เนิที่ดน�ำการสร้ าง และประชาสั มพัมนพัธ์นเธ์ว็เบว็บไซต์
246
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
รองศาสตราจารย์ชม ภูมิภาค ประธานมูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี