u5omssun1sBDfl1sua�mHTuTafin1s flnH1 I
11 �Ufi11Vf11VI f.11 tQll fl�Ufl�UV1'111'1tw
นวัตกรรมการสือ่ สารและเทคโนโลยีการศึกษา มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ประจำ�ปีการศึกษา 2563 ที่ปรึกษา
รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ ดร.จันทร์ ชุ่มเมืองปัก
บรรณาธิการ
ศาสตรเมธี ศ.ดร.ผดุง อารยะวิญญู ศาสตรเมธี รศ.ดร.สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ
ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ
คณะกรรมการดำ�เนินงาน
ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ศาสตรเมธี รศ.ดร.ประหยัด จิระวรพงศ์ รศ.ดร.สาโรช โสภีรักข์ รศ.ดร.สานิตย์ กายาผาด รศ.ดร.วีระ ไทยพานิช ผศ.ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร รศ.ดร.สุนทร โคตรบรรเทา ผศ.ดร.ไพบูลย์ เปานิล รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ รศ.ดร.พงษ์ประเสริฐ หกสุวรรณ ศาสตรเมธี รศ.ดร.วินัย วีระวัฒนานนท์ อาจารย์น้ำ� สุขอนันต์ นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์
ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา และประชาสัมพันธ์
สำ�นักงาน
นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์
มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เลขที่ 114 อาคาร 14 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โทรศัพท์ 0 2259 1919 โทรสาร 0 2261 1777
สารบัญ หน้า บรรณาธิการแถลง . ...................................................................................................................................... 3 คณะกรรมการร่วมกลั่นกรอง ....................................................................................................................... 4 ใบส�ำคัญแสดงการจดทะเบียนแต่งตั้งกรรมการของมูลนิธิขึ้นใหม่ทั้งชุด ...................................................... 5 พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ..... 6 พระราโชวาทสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร . ......................................................................................................... 13 ประวัติ ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี .................................................................................................... 16 เทคโนโลยี......จะเข้ามาแทนที่ครูได้หรือไม่ ? : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ . .................................. 33 กรวยแห่งอนาคต: กลยุทธ์การออกแบบนวัตกรรมการศึกษา : ผศ.ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร .............................. 38 ท่านทราบหรือไม่ ประเทศใดจัดการศึกษาดีที่สุดในโลก : รศ.ดร.บุญเลิศ ส่องสว่าง ...................................... 46 การจัดการเรียนการสอนในสภาพแวดล้อมเสมือนจริง : รศ.ดร.สาโรช โศภีรักข์ ........................................... 50 การสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom และ Google Hangouts Meet : รศ.ดร.สมภพ ทองปลิว ..... 55 หน้าต่างงานวิจัย ....................................................................................................................................... 61 การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 : ขัตติยา วงค์ษาแก่นจันทร์, พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง ........................................................... 62 การพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา : ธนทรัพย์ โกกอง , ด�ำรัส อ่อนเฉวียง , สุขมิตร กอมณี ...... 73 การศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถมศึกษาที่จบสาขาวิชาชีพครู กับที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย สุธาสิโนบล, อาจารย์ ดร.ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล ............................................. 89 การสร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทน ในภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญ : เนติพงษ์ ประเสริฐศรี, ดร.สิริกานต์ ไชยสิทธิ์ ............................................................................................. 101 การออกแบบกลยุทธ์การใช้งานแอพลิเคชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อการสนับสนุนการเรียนการสอน ในรูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน : รัฐสภา แก่นแก้ว, ณรงค์ สมพงษ์ ............................................................................................................. 111 ประวัติ รองศาสตราจารย์ ชม ภูมิภาค .................................................................................................... 125 รายนามคณะกรรมการบริหาร มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ..................................................... 131 รายนามผู้บริจาค “เพื่อกองทุนมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ” ................................................... 133 ภาพข่าวมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ........................................................................................ 134
บรรณาธิการแถลง หนังสือนวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา เล่มนี้เป็นเล่มปฐมฤกษ์ เพื่อ สนองความต้องการของผู้อ่านในยุคเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า ท�ำให้นักเทคโนโลยีการศึกษาต้อง ปรับตัวในการผลิตสื่อสมัยใหม่เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการสอน เป็นการยกระดับคุณภาพ ของผู้เรียนให้สูงและรวดเร็วขึ้น ถ้านักการศึกษาท่านใดสนใจจะลงบทความเพื่อเผยแพร่ แนวคิดทางการศึกษาใหม่ ๆ ข้าพเจ้าก็ยินดีน�ำลงในหนังสือให้ด้วยความเต็มใจ ไม่ว่าท่านจะ เป็นครูชายแดน ในเมือง ในมหาวิทยาลัยหรือในกระทรวงศึกษาธิการ ขอขอบคุ ณ คณาจารย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญทุ ก ท่ า นที่ ก รุ ณ าส่ ง บทความมาลงในหนั ง สื อ เล่มปฐมฤกษ์ไว้ ณ โอกาสนี้ ข้าพเจ้าขอขอบคุณทุกท่านทีใ่ ห้การสนับสนุนการจัดพิมพ์จนออกมาเป็นเล่มสวยงาม ขอให้ท่านและครอบครัวมีแต่ความสุขและความเจริญในชีวิตตลอดไป
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ) บรรณาธิการหนังสือนวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา ประธานมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เลขที่ 114 อาคาร 14 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โทรศัพท์ 0-2259-1919 โทรสาร 0-2261-1777
คณะกรรมการร่วมกลั่นกรอง
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์
เบาใจ
2. รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร
โคตรบรรเทา
3. ศาสตรเมธี ศาสตราจารย์ ดร.ผดุง
อารยะวิยญู
4. ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ
5. รองศาสตราจารย์ ดร.วีระ
ไทยพานิช
6. รองศาสตราจารย์ ดร.สาโรช
โสภีรักข์
7. ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.ประหยัด จิระวรพงศ์
8. รองศาสตราจารย์ ดร.สานิตย์
กายาผาด
9. รองศาสตราจารย์ ดร.เผชิญ
กิจระการ
10. ศาสตรเมธี รองศาสตราจารย์ ดร.วินัย
วีระวัฒนานนท์
11. รองศาสตราจารย์ ดร.พงษ์ประเสริฐ
หกสุวรรณ
12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิตร
ทองชั้น
13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พูลศรี
เวศย์อุฬาร
14. ดร.พีระพงษ์
สิทธิอมร
พระบรมราโชวาท
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ ๙) 6 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
บทคัดย่อ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงมีพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อม ต่อนิ สิตและบัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่มีกา� เนิ ดจากวิทยาลัยวิชาการศึกษาซึ่งเป็ นสถาบัน ผลิ ตครูช้ันสูง พระบรมราโชวาทที่ พระราชทานแก่บัณฑิตและนิ สิตของมหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ทั้ง 8 วิทยาเขตในช่วง พ.ศ. 2517 – 2531 ก่อนที่มหาวิทยาลัยมีการเปลีย่ นแปลงสถานภาพในพ.ศ. 25321 ไม่เพียงเป็ นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับอดีตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในสมัยเริ่มต้น หากยังสะท้อนถึงพระมหากรุณาธิคุณต่อปวงชนชาวไทย ด้วยเป็ นแนวพระราชด�าริเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของประเทศชาติเพื่อพัฒนาคุณภาพของพลเมือง โดยเฉพาะคุณภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ เป็ นก�าลังส�าคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติ ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพของบุคลากรที่ศึกษาในสาขา วิชาต่างๆ ซึ่งล้วนเป็ นทรัพยากรบุคคลที่มีความส�าคัญต่อพัฒนาประเทศชาติให้กา้ วหน้าและยัง่ ยืน มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒหรื อ มศว ได้รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากพระบาทสมเด็ จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชต่อเนื่องนับตัง้ แต่ยงั มีสถานะเป็ นวิทยาลัยวิชาการศึกษา กระทัง่ ได้รบั ยกฐานะ เป็ นมหาวิทยาลัย ด้วยพระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยและทรงให้ความส�าคัญกับการพัฒนาด้านการศึกษา ซึ่ง “.. เป็ นปั จจัยส�าคัญที่สุดอย่างหนึ่ งของชีวิต เพราะเป็ นรากฐานส�าหรับช่วยให้บุคคลสามารถก้าวไปถึง ความส�าเร็จ ความสุข ความเจริญทั้งปวง ทั้งของตนเองและของส่วนรวม ...”2 ดังนั้น แม้วา่ วิทยาลัยวิชาการ ศึกษาซึง่ ได้รบั ยกฐานะจากโรงเรียนฝึ กหัดครูชน้ั สูงตามพระราชบัญญัตวิ ทิ ยาลัยวิชาการศึกษา พุทธศักราช 2497 จะมีสถานะเป็ นเพียงวิทยาลัยที่ผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษา แต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุ ล ยเดชทรงให้ค วามส� า คัญ ต่ อ สถาบัน และนิ สิ ต ของสถาบัน แห่ ง นี้ เช่ น เดี ย วกับ มหาวิ ท ยาลัย อื่ น ๆ ในขณะนั้ น ที่ มี อ ยู่ 5 มหาวิ ท ยาลั ย คื อ จุ ฬ าลงกรณ์ แพทย์ศ าสตร์ ธรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ และศิลปากร “... เพราะเห็นว่าวิทยาลัยการศึกษาทัง้ ห้าแห่งมีความส�าคัญมากส�าหรับประเทศชาติ มีเกียรติมาก * ผู ช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วงเดื อน นาราสัจจ์ อดี ตอาจารย์ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ 1 จ�านวนวิทยาเขตเริ่มลดลง โดยการยุบรวมวิทยาเขตในส่วนกลาง ส่วนวิทยาเขตในส่วนภูมิภาคได้แยกตัวและยกฐานะเป็ น มหาวิทยาลัยต่างๆ 2 พระราชด�ารัสในโอกาสที่นายบุญถิ่น อัตถากร ปลัดกระทรวงศึกษาธิการน� าครู และนั กเรียนโรงเรียนราษฎร์สอนศาสนา อิ ส ลามจากภาคใต้เ ข้า เฝ้ า ทู ล ละอองธุ ลี พ ระบาท วัน ที่ 21 กุ ม ภาพัน ธ์ 2515, ประมวลพระบรมราโชวาทและ พระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พุทธศักราช 2513 – 2514. (2550). หน้า 66.
7 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
2
วารสารประวัติศาสตร์ 2560
JOURNAL OF HISTORY 2017
แล้วก็เป็ นการท�างานที่ จะต้องใช้ความคิ ดที่ ดี ความเข้มแข็ง ความเสี ยสละ ...” 1 พระองค์ได้เสด็ จไป พระราชทานปริญญาบัตรแก่บณ ั ฑิตของวิทยาลัยวิชาการศึกษาที่มีจา� นวนวิทยาเขตเพิ่มมากขึ้ นตามล�าดับ และเสด็ จไปทรงดนตรี ที่วิทยาลัยวิชาการศึ กษา ประสานมิตรถึ ง 2 ครั้งใน พ.ศ. 2512 และ 2515 เป็ นการพระราชทานพระราชวโรกาสให้คณาจารย์และนิ สิตได้เข้าเฝ้ าใกล้ชิดอย่างไม่เป็ นพิธีการ น� ามาซึ่ง ความปลื้ มปี ติอย่างหาที่สุดมิได้แก่คณะผูบ้ ริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิ สิตของวิทยาลัยวิชาการศึกษา ทุ กคน ยิ่งไปกว่านั้ น หลังจากคณะรัฐ มนตรี มีมติ ให้ยกฐานะวิทยาลัยวิชาการศึ กษาเป็ นมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2517 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุ ลยเดชทรงมีพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อมหาวิทยาลัยว่า “ศรีนครินทรวิโรฒ” ซึ่งมีความหมายว่า (มหาวิทยาลัย) ที่เจริญเป็ นศรีสง่าแก่มหานคร ตามหนังสือของส�านักราชเลขาธิการ ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517
1
พระราชด�ารัสพระราชทานเนื่ องในงานวันการศึ กษาสัมพันธ์ ของวิทยาลัยวิชาการศึ กษา ณ วิทยาลัยวิชาการศึ กษา ถนนประสานมิตร วันเสาร์ที่ 15 มีนาคม 2512, ประมวลพระราชด�ารัสและพระบรมราโชวาท. หน้า 100.
8 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
พระบรมราโชวาทที่จารึกอยูใ่ นประวัติศาสตร์ของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531) วงเดือน นาราสัจจ์
มหาวิ ท ยาลัย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒได้รับ การพัฒ นาให้เ จริ ญ ก้า วหน้ า ตามล�า ดั บ โดยเริ่ ม แรก มีวิทยาเขตทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค รวม 8 วิทยาเขต ในส่วนกลาง ได้แก่ วิทยาเขตประสานมิตร (มศว ประสานมิตร) ปทุมวัน (มศว ปทุมวัน) บางเขน (มศว บางเขน) และพลศึกษา (มศว พลศึกษา) วิทยาเขตในส่วนภูมิภาคได้แก่ วิทยาเขตบางแสน (มศว บางแสน) มหาสารคาม (มศว มหาสารคาม) พิ ษ ณุ โ ลก (มศว พิ ษ ณุ โ ลก) และสงขลา (มศว สงขลา) ต่ อ มามหาวิท ยาลัย ศรี น คริ น ทรวิโ รฒเริ่ ม มี การเปลี่ยนแปลงสถานภาพของมหาวิทยาลัย กล่าวคือ ตั้งแต่ พ.ศ 2532 วิทยาเขตในส่วนกลางทั้ง 4 แห่ง ได้ทยอยยุบรวมอยูท่ ี่มศว ประสานมิตร ส่วนวิทยาเขตในภูมิภาคก็ได้แยกตัวและยกฐานะเป็ นมหาวิทยาลัย ได้แ ก่ มหาวิ ท ยาลัย บู ร พา (มศว บางแสน) มหาวิ ท ยาลัย นเรศวร (มศว พิ ษ ณุ โ ลก) มหาวิ ท ยาลัย มหาสารคาม (มศว มหาสารคาม) และมหาวิทยาลัยทักษิณ (มศว สงขลา) ระหว่ า งพ.ศ. 2517-2531 พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชได้เ สด็ จ พระราชด�าเนิ นในการพระราชทานปริญญาบัตรแก่บณ ั ฑิตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด และพระราชทานพระบรมราโชวาทที่เป็ นแนวทางส�าหรับการพัฒนามหาวิทยาลัยให้ยงั ่ ยืน และพระบรมราโชวาททีน่ �าประโยชน์อเนกอนันต์แก่บณ ั ฑิตและศิษย์เก่าของมศวทุกวิทยาเขต ทัง้ ในด้านความคิด การท�างาน ตลอดจนการประพฤติปฏิบัติตน ในบทความนี้ จะเน้นศึกษาพระบรมราโชวาทที่จารึกอยู่ใน ประวัติศาสตร์สมัยเริ่ มแรกของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531) ที่ มี 8 วิทยาเขต และเป็ นช่วงเวลาที่ มหาวิ ท ยาลัย ผลิ ต บัณ ฑิ ต ทางด้า นศึ ก ษาศาสตร์เ ป็ นหลัก พระบรมราโชวาทส่ ว นใหญ่ จึ ง สะท้อ นถึ ง แนวพระราชด�าริเกีย่ วกับ การพัฒนาการศึกษาและการพัฒนาคนซึง่ เป็ นหัวใจของการพัฒนาประเทศให้ยงั ่ ยืน
เสด็จพระราชทานปริญญาบัตร พ.ศ.2502 (ปฐมวาระ) (ที่มา: หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
9 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
3
4 4
วารสารประวัติศาสตร์ 2560
JOURNAL OF HISTORY 2017
วารสารประวัติศาสตร์ 2560
JOURNAL OF HISTORY 2017
เสด็จทรงดนตรี พ.ศ.2512 (ที่มา: หอจดหมายเหตุ มหาวิท พ.ศ.2512 ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) เสด็จทรงดนตรี (ที่มา: หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
พระบรมราโชวาทที่เกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษา พระบรมราโชวาทที พระบาทสมเด็จ่เกีพระปรมิ ทรมหาภู มิพลอดุลกยเดชทรงให้ ความส�าคัญกับการพัฒนาด้านการศึกษา ่ยวกับนการพั ฒนาการศึ ษา
เพื ความเจริจญพระปรมิ ก้าวหน้นา ด้ วยทรงได้ บั การอบรมเลี้ ยงดูจคากสมเด็ นคริฒนนาด้ ทราบรมราชชนนี อ่ ให้ประเทศมี พระบาทสมเด็ ทรมหาภู มิพรลอดุ ลยเดชทรงให้ วามส�าคัจญพระศรี กับการพั านการศึกษา เรื ่ อ งความส� า คั ญ ของการศึ ก ษาที ่ ก ่ อ ประโยชน์ ใ ห้ ก บ ั การพั ฒ นาประเทศตั ้ ง แต่ ย ง ั ทรงพระเยาว์ ประกอบกับ เพื่ ให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้า ด้วยทรงได้รบั การอบรมเลี้ ยงดูจากสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เมื ได้เ สด็ จาเถลิ ถวัล ยราชสมบั ละได้เ สด็ให้จกเยีบั ่ ยการพั มพสกนิ ก รในส่ ว นภู้งแต่ มิ ภยาค ตลอดจนถิ ่ นประกอบกั ทุ ร กัน ดาร เรื่อ่ องความส� คัญงของการศึ กษาที่กต่อิ แประโยชน์ ฒนาประเทศตั งั ทรงพระเยาว์ บ พระบาทสมเด็ จพระปรมิ นทรมหาภูตมพิแ ละได้ ลอดุลเยเดชทรงพบว่ า ราษฎรส่ ษา เมื่ อ ได้เ สด็ จ เถลิ ง ถวัล ยราชสมบั สด็ จ เยี่ ย มพสกนิ ก รในส่วนใหญ่ ว นภู มมิ ภฐี านะยากจนและขาดการศึ าค ตลอดจนถิ่ น ทุ ร กันกดาร ซึพระบาทสมเด็ ่งเป็ นอุปสรรคส� าคัญต่นอทรมหาภู การพัฒมนาประเทศ พระองค์ พระราชทานโครงการช่ วยเหลือด้านการศึกษา จพระปรมิ พิ ลอดุลยเดชทรงพบว่จาึง ราษฎรส่ วนใหญ่มฐี านะยากจนและขาดการศึ ษา จ�ซึา่งเป็ นวนมาก เช่ น ได้ น “ภูมิพล” แก่นิสจิตึงนัพระราชทานโครงการช่ กศึกษาในมหาวิทยาลัยวยเหลื ที่เรียนดี าฯ นอุปสรรคส� าคัญพต่ระราชทานทุ อการพัฒนาประเทศ พระองค์ อด้า โปรดเกล้ นการศึกษา ให้ อ่ ตัง้ มูลนิธอิ านั นทมหิ ดลเพือ่ ส่งเสริมนและสนั สนุนนิสนติ ิ สนัิตกนัศึกษาที เ่ รียนดีให้มโี อกาสไปศึ างประเทศ จ�ากนวนมาก เช่ น ได้ พระราชทานทุ “ภูมิพบล” แก่ ศึกษาในมหาวิ ทยาลัยทีก่เรีษาต่ ยนดีอในต่ โปรดเกล้ าฯ และน� า วิ ช าความรู แ ้ ขนงต่ า งๆ กลั บ มาช่ ว ยพั ฒ นาบ้ า นเมื อ งให้ ก า ้ วหน้ า ทุ ก ด้ า น ทั ้ ง ด้ า นการแพทย์ ให้กอ่ ตัง้ มูลนิธอิ านันทมหิดลเพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนนิสติ นักศึกษาทีเ่ รียนดีให้มโี อกาสไปศึกษาต่อในต่างประเทศ วิและน� ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เกษตรศาสตร์ งคมศาสตร์ ละอักาษรศาสตร์ นทุน า วิ ช าความรู ้แ ขนงต่ า งๆ กลั บสัมาช่ ว ยพัฒแนาบ้ นเมื อ งให้ และในพ.ศ. 2510 ได้ ก า้ วหน้ า ทุ ก ด้า น ทัพ้ งระราชทานเงิ ด้า นการแพทย์ 1 เพื ก่อตั้งโรงเรี ยนสงเคราะห์ เด็กที่ยากจนและก� าพร้และอั าอนาถาในวั ด รวม 4 แห่ ง นอกจากนี้ พระองค์ยงั นทรง วิท่อยาศาสตร์ เทคโนโลยี เกษตรศาสตร์ สังคมศาสตร์ กษรศาสตร์ และในพ.ศ. 2510 ได้ พระราชทานเงิ ทุน 1 ให้ ค วามส� า คั ญ กั บ สถาบั น การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาที ่ เ ป็ นผู ผ ้ ลิ ต บุ ค ลากรทางการศึ ก ษาโดยตรงเช่ เพื่อก่อตั้งโรงเรียนสงเคราะห์เด็กที่ยากจนและก�าพร้าอนาถาในวัด รวม 4 แห่ง นอกจากนี้ พระองค์ยงั ทรงน มหาวิ ทยาลัายคัศรี นทรวินโรฒ ให้ค วามส� ญ กันบคริสถาบั การศึ ก ษาระดับ อุ ด มศึ ก ษาที่ เ ป็ นผู ผ้ ลิ ต บุ ค ลากรทางการศึ ก ษาโดยตรงเช่น มหาวิทยาลั สาระส� ของพระบรมราโชวาทเกี ่ ย วกับ การพัฒ นาการศึ ก ษาที่ พ ระราชทานแก่ บัณ ฑิ ต ยศรีนาคริคัญ นทรวิ โรฒ ของมหาวิ ทยาลัยาศรี ครินทรวิโรฒทั้ง 8 วิทยาเขต ได้ แก่ วัฒ ตถุนาการศึ ประสงค์กขษาที องการศึ กษา และการพั สาระส� คัญนของพระบรมราโชวาทเกี ่ ย วกับ การพั ่ พ ระราชทานแก่ บัณฒฑินาต บุของมหาวิ คลากรทางการศึ กษา ทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒทั้ง 8 วิทยาเขต ได้แก่ วัตถุ ประสงค์ของการศึ กษา และการพัฒนา บุคลากรทางการศึกษา 1
จิรภา อ่อนเรือง. (2530). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงของเรา). หน้า 176.
1
10จิรภา อ่อนเรือง. (2530). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช (ในหลวงของเรา). หน้า 176.
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
พระบรมราโชวาทที่จารึกอยูใ่ นประวัติศาสตร์ของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531) พระบรมราโชวาทที่จารึกอยูใ่ นประวัติศาสตร์ของชาวมศว (พ.ศ. 2517-2531) วงเดือน นาราสัจจ์ วงเดือน นาราสัจจ์
วัตถุประสงค์ของการศึกษา วัตถุประสงค์ ระหว่าขงวัองการศึ นที่ 25 –กษา 28 มิถุนายน พ.ศ. 2523 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ได้เ สด็ จ พระราชด� ระหว่างวันาทีเนิ่ 25 – 28 มิ ถุนายน พ.ศ. 2523 พระบาทสมเด็ จพระปรมิทนยาลั ทรมหาภู ลยเดช น เพื่ อ พระราชทานปริ ญ ญาบัต รแก่ บัณ ฑิ ต ของมหาวิ ย ศรี นมคริิพลอดุ น ทรวิ โ รฒ ได้ เ สด็ จ พระราชด� า เนิ น เพื ่ อ พระราชทานปริ ญ ญาบั ต รแก่ บ ั ณ ฑิ ต ของมหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ รฒบ ประจ�าปี การศึกษา 2522 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร และได้พระราชทานพระบรมราโชวาทที่ เกี่ยโวกั ประจ� ปี การศึ กษา 2522 ณ อาคารใหม่ มพร และได้ พระราชทานพระบรมราโชวาทที วัตถุปาระสงค์ ของการศึ กษาซึ่งครอบคลุมถึงเรื สวนอั ่องความรู ด้ า้ นวิชาการ การลงมือปฏิบตั ิ ความคิดวินิ่จเกีฉั่ยยวกั และบ วัความประพฤติ ตถุประสงค์ของการศึ ปฏิบตั ิ ดักงษาซึ นี้ ่งครอบคลุมถึงเรื่องความรูด้ า้ นวิชาการ การลงมือปฏิบตั ิ ความคิดวินิจฉัยและ ความประพฤติปฏิบตั ิ ดังนี้ ... วัตถุ ประสงค์ของการศึ กษานั้ นคื ออย่างไร กล่าวโดยรวบยอด ก็คือการท�าให้บุคคล มีปัจจัย... วั ระสงค์ ้ นคืวอนเพี อย่ายงไร วโดยรวบยอด การท�าให้ หรือตมีถุอปปุ กรณ์ สา� ขหรัองการศึ บชีวติ อย่กาษานั งครบถ้ งพอ กล่ ทั้งาในส่ วนวิชาความรูก็้ ส่ควื อนความคิ ดวิบนุ คิ จคล ฉัย มีส่วปนจิ ั จจัยตหรื อ มี อ ป ุ กรณ์ ส า � หรั บ ชี ว ต ิ อย่ า งครบถ้ ว นเพี ย งพอ ทั ้ ง ในส่ ว นวิ ช าความรู ้ ส่ ว นความคิ ด วิ น ิ จ ใจและคุ ณธรรมความประพฤติ ส่วนความขยันอดทนและความสามารถ ในอันที่ จะน�ฉัยา ส่ความรู วนจิตค้ ใจและคุ ธรรมความประพฤติ ส่วนความขยั นที่ จะน�ขา วามคิดณ ไปใช้ ปฏิบตั ิงานด้วยตนเองให้ ได้จริงๆนอดทนและความสามารถ ในอั เพื่อสามารถด�ารงชีพอยู่ได้ดว้ ยความสุ ความรู ค้ วามคิ ดไปใช้ ปฏิาบงสรรค์ ตั ิงานด้ปวระโยชน์ ยตนเองให้ ริงๆ เพื่อาสามารถด� รงชีพอยู่ไฐด้านะด้ ดว้ ยความสุ ความเจริ ญมัน่ คง และสร้ ให้แก่ได้สงจั คมและบ้ นเมืองได้ตาามควรแก่ วย ...1 ข ความเจริญมัน่ คง และสร้างสรรค์ประโยชน์ให้แก่สงั คมและบ้านเมืองได้ตามควรแก่ฐานะด้วย ...1 วิช าความรู อ้ ัน พึ ง ประสงค์น้ั น ได้แ ก่ วิช าและความรู ท้ ี่ ถู ก ต้อ ง ชัด เจน แม่ น ย�า ช�า นาญ าความรู อ้ ัน พึ งไประสงค์ น้ั น ได้แ ก่ทัวนิชต่าและความรู ท้ ี่ ถาู กงมีต้ปอระสิ ง ชัทดธิเจน น ย�า ช�าางเสริ นาญ น�าไปใช้วิกชารเป็ นประโยชน์ ด้พอเหมาะพอควร อเหตุการณ์ อย่ ภาพ แม่ เราจะสร้ ม น�ความรู าไปใช้อ้ กย่ารเป็ น ประโยชน์ ไ ด้ พ อเหมาะพอควร ทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เราจะสร้ า งเสริ างนี้ ขึ้ นได้อย่างไร เบื้ องต้นจะต้องเลิกคิดว่าเรียนวิชาไว้เพื่อสอบไล่ เพราะในชีวติ ของเราม ความรู นได้อย่าดงไร เบื้ จะต้อหากแต่ งเลิกคิดอว่ยูาก่ เรีบั ยการท� นวิชาไว้ เพื่อสอบไล่ เพราะในชี วติ ของเรา เราไม่ไอ้ด้ย่อายูงนี้ก่ บั ขึ้การกาผิ กาถูกองต้ ในข้อนสอบ างานและการวิ นิจฉัยปั ญหาสารพั ด เราไม่ ไ ด้ อ ยู ก ่ บ ั การกาผิ ด กาถู ก ในข้ อ สอบ หากแต่ อ ยู ก ่ บ ั การท� า งานและการวิ น ิ จ ฉั ย ปั ญ หาสารพั ทางที่ ถูก เราจะต้องขวนขวายเปิ ดตาเปิ ดใจให้เรียนรูอ้ ยู่เสมอ ทั้งโดยทางกว้างและทางลึ ก ...ด ทางที ดใจให้ ยู่เสมอ ทั างและทางลึ เมื่อรูแ้ ่ ถลู้กว เราจะต้ ก็น�ามาคิอดงขวนขวายเปิ พิจารณาให้เดตาเปิ ห็นประเด็ น ให้เรีเยห็นรู นส่อ้ วนที ่เป็ นเหตุ้ งโดยทางกว้ ส่วนที่เป็ นผล ให้เห็นล�กาดั ...บ เมื ่อรูแ้ ล้ว ก็นย่ � าวต่มาคิ จารณาให้ เห็นประเด็ น ให้เห็นส่วนที นเหตุ ดส่เจนแน่ วนที่เป็นนผล ให้ เห็สนามารถ ล�าดับ ความเกาะเกี อเนืด่ อพิงแห่ งเหตุและผลนั ้ นๆ ไปจนตลอดให้ เข้า่เป็ใจโดยชั อน เพือ่ ให้ ความเกาะเกี วต่อเนื่ องแห่งาเหตุ นๆ ไปจนตลอดให้ เข้าใจโดยชั เจนแน่ นอน เพือรายละเอี อ่ ให้สามารถ ส�าเหนี ยกก�าย่ หนดและจดจ� ไว้ไแด้ละผลนั ทั้งส่ว้นที ่เป็ นหลักเป็ นทฤษฎี ทั้งส่วดนเรื ่องราวหรื ยด ส�จักาได้ เหนีสามารถน� ยกก�าหนดและจดจ� า ไว้ ไ ด้ ทั ้ ง ส่ ว นที ่ เ ป็ นหลั ก เป็ นทฤษฎี ทั ้ ง ส่ ว นเรื ่ อ งราวหรื อ รายละเอี าไปสัง่ สอนผูอ้ นื่ และน�าไปเทียบเคียงใช้ให้เป็ นประโยชน์ในการงาน หรือการคิดอ่ยานด 2 จัแก้กได้ ามารถน� ไปสัวง่ ติ สอนผู าไปเทียบเคียงใช้ให้เป็ นประโยชน์ในการงาน หรือการคิดอ่าน ปัญสหาต่ างๆาในชี ต่อไปอ้ นื่ ... และน� 2 แก้ปัญหาต่างๆ ในชีวติ ต่อไป ... ... การหาโอกาสน�าความรูภ้ าคทฤษฎีมาลงมือปฏิบตั ิกด็ ี การฝึ กหัดปฏิบตั ิงานเพือ่ ใช้แรงงาน ใช้ฝีมอื ... การหาโอกาสน� าลงมื บตั อิกงกระท� ด็ ี การฝึ บตั าิงไปกว่ านเพืาอ่ ภาคทฤษฎี ใช้แรงงาน ใช้ความละเอียดถีถ่ าว้ ความรู นก็ดี เป็ภ้ นาคทฤษฎี สิง่ จ�าเป็ นมอย่ างยิอง่ ปฏิ และต้ ามิกใหัห้ดนปฏิ อ้ ยหน้ ใช้ ฝีมอื ใช้ความละเอี ยดถีถ่ เป็ว้ นก็ ด ี เป็ นสิง่ จ�สาร้เป็างเสริ นอย่ามงยิปัง่ จและต้ ามิวให้ิตนในด้ อ้ ยหน้ าไปกว่าภาคทฤษฎี เพราะการศึ กษาภาคนี้ นประโยชน์ จัยส�าอคังกระท� ญของชี านความขยั นขันแข็ง เพราะการศึ ก ษาภาคนี้ เป็ นประโยชน์ ส ร้ า งเสริ ม ปั จ จั ย ส� า คั ญ ของชี ว ิ ต ในด้ า นความขยั แข็ง ความเข้มแข็ง ความอดทนพยายาม ความละเอียดรอบคอบของบุคคล ได้อย่างมากที่สุด ผูนท้ ขัี่ปนรกติ ความเข้ ง ความอดทนพยายาม ความละเอี ดรอบคอบของบุ คล ได้ ย่างมากทีไม่่สุดต ผู ท้ ี่ปดรกติ ท�าอะไรด้มแข็ วยตนเอง จะเป็ นผูม้ ีอิสระ ไม่ตอ้ งพึ่ง ยไม่ ตอ้ งอาศัยผูใ้ ด คจะไม่ ตอ้ องรอคอย อ้ งผิ หวัง ท�และจะได้ าอะไรด้รวบั ยตนเอง จะเป็ นผูม้กีอเสมอไป ิสระ ไม่...ตอ3้ งพึ่ง ไม่ตอ้ งอาศัยผูใ้ ด จะไม่ตอ้ งรอคอย ไม่ตอ้ งผิดหวัง ผลส�าเร็จสมใจนึ และจะได้รบั ผลส�าเร็จสมใจนึ กเสมอไป ...3 1 1 2 2 3 3
พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู ้ า� เร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ พระบรมราโชวาทในพิ ธพี ระราชทานปริ ญญาบัตรแก่ผสู ้ า� เร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลั ศรีนครินทรวิโรฒจณพระเจ้ อาคารใหม่ สวนอั มพร วันพุธ ที่ 25 มิ ถุนายน 2523, ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชด� ารัสยของพระบาทสมเด็ าอยูห่ วั พุธ ที่–252523. (2550). หน้ มิถุนายน 2523, ประมวลพระบรมราโชวาทและพระราชด� ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พุสวนอั ทธศัมกพร ราชวัน2520 า 467. พุพระบรมราโชวาทในพิ ทธศักราช 2520 –ธ2523. (2550).ญญาบั หน้าต467. พี ระราชทานปริ รแก่ผสู ้ า� เร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ พระบรมราโชวาทในพิ ธพี ระราชทานปริ ญญาบัตรแก่ผมสู ้ เดี า� เร็ยจวกั การการศึ ษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอั มพร วันพฤหัสบดี ที่ 26 มิถุนายน 2523, เล่ น. หน้าก 468. สวนอั มพร วันพฤหัสบดี ที่ 26 มิถุนายน 2523, น. หน้าก468. พระบรมราโชวาทในพิ ธพี ระราชทานปริ ญญาบั ตรแก่เล่ผมสู ้ เดี า� เร็ยจวกั การการศึ ษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ พระบรมราโชวาทในพิ พี ระราชทานปริ ญญาบัตมรแก่ สู ้ า� นเร็. หน้ จการการศึ สวนอั มพร วันศุกร์ ที่ ธ27 มิ ถุนายน 2523, เล่ เดียผวกั า 470.กษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันศุกร์ ที่ 27 มิถุนายน 2523, เล่มเดียวกัน. หน้า 470.
11
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
5 5
6
วารสารประวัติศาสตร์ 2560
6
วารสารประวัติศาสตร์ 2560
JOURNAL OF HISTORY 2017
HISTORY 2017 ความคิดวินิจฉัยและความประพฤติปฏิบตั ิที่ดีนี้ เป็ นเรื่องที่เJOURNAL ป็ นเหตุเOF ป็ นผลประกอบกั น และส่งเสริมสนั บสนุ นกัน ทั้งเป็ นรากฐานของการด�ารงชีวิตที่ดี ที่เจริญ ที่มนั ่ คง อย่างส�าคัญยิ่ง หลักที่จะปฏิ บตั ิฝดึ กวิฝนมี ว่ า่ เบื้ องต้น บุคคลจะต้ าความคิ ดจิ่เตป็ ใจให้ แน่ น เป็ นกลาง ความคิ นิจฉัอยยูและความประพฤติ ปฏิบตั อิทงหัี่ดดีนท�ี้ เป็ นเรื่องที นเหตุหเนัป็ กนผลประกอบกั น ไม่ ป ล่ อ ยให้ ห น ั เหไปตามอ� า นาจอคติ ก ่ อ น เมื ่ อ จะมอง จะพิ จ ารณาเรื ่ อ งใด ปั ญ หาใด ตลอดจน และส่งเสริมสนั บสนุ นกัน ทั้งเป็ นรากฐานของการด�ารงชีวิตที่ดี ที่เจริญ ที่มนั ่ คง อย่างส�าคัญยิ่ง บุหลัคกคลใดๆ ก็ ว้ ยใจที กแน่ นอเป็งหันกลางนั ้ นทุกดครัจิต้งให้ สม�หา่ นัเสมอและเที ่ยงตรง ที่จะปฏิบพตั ยายามพิ ิฝึกฝนมีอจยูารณาดู ว่ า่ เบื้ ดองต้ น บุ่หคนัคลจะต้ ดท�าความคิ ใจให้ กแน่ น เป็ นกลาง ให้ นัยประจ� าตัว ก็จะแลเห็ นสิ่งที่เกพ่่องนพิจเมื ารณาโดยชั เจนกระจ่ างแจ้่องงใด ท�าให้ สามารถวิ นิจฉัยได้ ไม่เปป็ล่นวิ อยให้ หนั เหไปตามอ� านาจอคติ ่อจะมอง ดจะพิ จารณาเรื ปั ญ หาใด ตลอดจน อง ตรงตามความจริ เป็ นเหตุ ่งเสริม่หให้ ระพฤติ ปฏิบตั ิต้ น่อปัทุญ หา สถานการณ์ และบุค่ยคลได้ บุถูกคต้คลใดๆ ก็พยายามพิจงารณาดู ดว้ สยใจที นักปแน่ นเป็ นกลางนั กครั ้งให้สม�า่ เสมอและเที งตรง ถูให้กเต้ป็อนวิ ง พอเหมาะพอดี อ่ ประพฤติ ใิ ห้ถกู ต้องพอเหมาะพอดี ด้สม�งาเสมอ จนเกิ ่ ท�าให้สามารถวิ ดความชั นัยประจ�าตัว ก็และเมื จะแลเห็ นสิ่งที่เปพ่ฏิงพิบตจั ารณาโดยชั ดเจนกระจ่าไงแจ้ นิจฉัดยเจน ได้ ช�ถูากนาญแล้ ว ความประพฤติ ป ฏิ บ ต ั ิ น ้ ั น ก็ จ ะส่ ง เสริ ม ความคิ ด อ่ า นให้ แ จ่ ม แจ้ ง คล่ อ งแคล่ ว รวดเร็ ว ขึ้ น ต้อง ตรงตามความจริง เป็ นเหตุส่งเสริมให้ประพฤติปฏิบตั ิต่อปั ญหา สถานการณ์ และบุคคลได้ จะวิ ยสิ่งใดก็ง่ายดาย และถู กต้อปงแน่ วอุดหนุ นไความประพฤติ บัติให้ดดเจน ี ขึ้น ถูกต้นอิงจฉัพอเหมาะพอดี และเมือ่ ประพฤติ ฏิบนตั ใิอนยิ ห้ถกู ่งต้ขึ้อน แล้ งพอเหมาะพอดี ด้สม�าเสมอ ่ จนเกิปดฏิความชั 1 สูช�างขึ้นาญแล้ นไปอีกว ผูความประพฤติ ท้ ี่คิดดีทา� ดีจึงมีปแฏิต่บจตั ะเจริ ง่ ๆ ขึ้ นเป็มความคิ นล�าดับด ไม่ ีทางที า่ ลงได้ ... วรวดเร็วขึ้ น ิน้ันญ ก็จยิะส่ งเสริ อ่ามนให้ แจ่ม่จะตกต� แจ้ง คล่ องแคล่ จะวินิจฉัยสิ่งใดก็ง่ายดาย และถูกต้องแน่ นอนยิ่งขึ้ น แล้วอุดหนุ นความประพฤติ ปฏิบัติให้ดีขึ้น การพัฒนาบุ คลากรทางการศึ สูงขึ้ นไปอี ก ผูท้ ี่คิดดีทา� ดีจกึงมีษา แต่จะเจริญยิง่ ๆ ขึ้ นเป็ นล�าดับ ไม่มีทางที่จะตกต�า่ ลงได้ ...1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชด�าริว่าบุคลากรทางการศึกษา ซึการพั ง่ รวมถึฒ งผูนาบุ จ้ ดั และครู ซงึ่ เป็ นผูใ้ ห้การศึกกษามี คลากรทางการศึ ษา ความส�าคัญต่อการพัฒนาการศึกษาเพราะเป็ นผูข้ บั เคลือ่ นการพัฒนา การศึกษาให้ เกิดประสิทธิภจาพและประสิ ทธิผล โดยเฉพาะการพั ฒนาคุณพภาพของเยาวชนในชาติ พระองค์ทรงเน้ พระบาทสมเด็ พระปรมินทรมหาภู มิพลอดุลยเดชทรงมี ระราชด�าริว่าบุคลากรทางการศึ กษาน เรื งนี้ กังบผูบัจ้ ณดั และครู ฑิตของมหาวิ ยศรีกนษามี ครินความส� ทรวิโรฒอยู ข้อความในพระบรมราโชวาทตอนหนึ ่ งว่ฒานา ซึง่ ่อรวมถึ ซงึ่ เป็ นผูทใ้ ยาลั ห้การศึ าคัญต่อเ่ สมอ การพัดัฒงนาการศึ กษาเพราะเป็ นผูข้ บั เคลือ่ นการพั การศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยเฉพาะการพัฒนาคุณภาพของเยาวชนในชาติ พระองค์ทรงเน้น ้งที่ ไปมอบปริ ยาลัยดัศรี ครินทรวิโรฒ ข้าพเจ้าได้พูดกับบั่ งณ เรื่องนี้ กับบั...ณทุฑิกตครั ของมหาวิ ทยาลัยญศรีญาบั นคริตนรของมหาวิ ทรวิโรฒอยูทเ่ สมอ งข้อนความในพระบรมราโชวาทตอนหนึ ว่าฑิต ให้น� า เอาความรู ค้ วามสามารถที่ มี อ ยู่ ออกไปใช้ป ฏิ บัติ ง านด้า นการศึ ก ษาให้เ กิ ด ประโยชน์ แก่ ชทุาติ บ ้า้งทีนเมื อ งจริ ง ๆญด้ญาบั ว ยจุตดรของมหาวิ ประสงค์ที่ จทะสั ง่ สอนถ่ ยทอดความรู ... กครั ่ ไปมอบปริ ยาลั ยศรีนาคริ นทรวิโรฒ ข้ค้ าวามฉลาดในทางที พเจ้าได้พูดกับบัณฑิ่ ถูตก ทีให้่สนร้า� างสรรค์ แก่เยาวชน ให้อนุชนรุน่่ มหลั างส่าวนการศึ นรวมให้ มั ่นคงเ กิและตั ง้ ตัวได้ เอาความรู ค้ วามสามารถที ี อ ยู่งสามารถสร้ ออกไปใช้ปาฏิงตนสร้ บัติ ง านด้ ก ษาให้ ด ประโยชน์ 2 ด้วยความเจริ แก่ ช าติ บ า้ นเมืญอความก้ งจริ ง ๆาวหน้ ด้ว ยจุาด...ประสงค์ที่ จ ะสัง่ สอนถ่ า ยทอดความรู ค้ วามฉลาดในทางที่ ถู ก ที่สร้างสรรค์แก่เยาวชน ให้อนุชนรุน่ หลังสามารถสร้างตนสร้างส่วนรวมให้มั ่นคง และตัง้ ตัวได้ พระบรมราโชวาทเกี ่ ย วกั บ การพั ด้วยความเจริญความก้ าวหน้ า ...2ฒ นาบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาที่ พ ระราชทานแก่ บัณ ฑิ ต ของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่สา� คัญ เช่น หน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ของครู และคุณสมบัติ ของครูผูม้ พระบรมราโชวาทเกี ีวชิ า ่ ย วกับ การพัฒ นาบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาที่ พ ระราชทานแก่ บัณ ฑิ ต ของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่สา� คัญ เช่น หน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ของครู และคุณสมบัติ ของครูผูม้ หน้ ีวชิ าาที่ของบุคลากรทางการศึกษา หน้าที่ ของผูจ้ ัดและผูใ้ ห้การศึ กษานั้ น กล่าวอย่างสั้นที่ สุด ก็คือการ “ให้คนได้เรี ยนดี ” เพื า การงานสร้ หน้่ อาทีที่ จ่ขะสามารถท� องบุคลากรทางการศึ กษาา งตัว และด�า รงตัว ให้เ ป็ นหลัก เป็ นประโยชน์ แ ก่ ส่ ว นรวมได้ หน้าที่ ของผูจ้ ัดและผูใ้ ห้การศึ กษานั้ น กล่าวอย่างสั้นที่ สุด ก็คือการ “ให้คนได้เรี ยนดี ” 1 พระบรมราโชวาทในพิธพ ี ระราชทานปริ ญญาบัตรแก่ � เร็จการการศึ ศรีนครินทรวิโรฒ เพื่ อ ที่ จ ะสามารถท� า การงานสร้ า งตัผวสู ้ าและด� า รงตักวษาจากมหาวิ ให้เ ป็ นหลัทกยาลั เป็ยนประโยชน์ แ ก่ สณ่ วอาคารใหม่ นรวมได้
สวนอัมพร วันเสาร์ ที่ 28 มิถุนายน 2523. เล่มเดียวกัน. หน้า 471. พระบรมราโชวาทในพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบัต รแก่ ผู ้ส�า เร็ จ การการศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลัย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู ้ า� เร็จการการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ ณ มหาวิ ท ยาลัย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ สงขลา วัน พฤหัส บดี ที่ 4 กัน ยายน 2518, ประมวลพระบรมราโชวาทและ สวนอัมพร วันเสาร์ ที่ 28 มิถุนายน 2523. เล่มเดียวกัน. หน้า 471. พระราชด� ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พุทธศักราช 2517 – 2519. (2550). หน้า 214. 2 พระบรมราโชวาทในพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต รแก่ ผู ้ส� า เร็ จ การการศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ 12ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา วันพฤหัสบดี ที่ 4 กันยายน 2518, ประมวลพระบรมราโชวาทและ ารั่อสของพระบาทสมเด็ จพระเจ้ นวัตพระราชด� กรรมการสื สารและเทคโนโลยี การศึากอยูษาห่ วั พุทธศักราช 2517 – 2519. (2550). หน้า 214. 2 1
พระราโชวาท
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
13 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
พระราโชวาท สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันพุธ ที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๒๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้า มาท�ำพิธีมอบปริญญาบัตรในวันนี้ ข้าพเจ้ายินดีที่ได้ทราบรายงานว่ากิจการของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทวิโรฒ ด�ำเนินก้าวหน้ามาด้วยดีทุกๆ ด้าน ขอแสดงความชื่นชมกับท่านผู้ทรงคุณวุฒิ และบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียรติและความส�ำเร็จในการศึกษา บัณฑิตย่อมทราบอยู่เป็นอันดี ว่าการท�ำงานและการด�ำเนินชีวิตในทุกวันนี้ ต้องอาศัย วิชาความรู้อย่างมาก และวิชาการตลอดจนความเป็นไปต่างๆ นั้น ย่อมวิวัฒนาเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลา ผู้ที่ใช้วิชาการปฏิบัติงานโดยตรง อย่างเช่นท่านทั้งหลายจึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องขวนขวายศึกษาค้นคว้า เพิ่มพูนความรู้ความช�ำนาญอยู่เสมอเพื่อให้สามารถท�ำการงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสบความส�ำเร็จความเจริญก้าวหน้า ผู้ใดไม่พยายามศึกษา ปรับปรุงตนเองให้ต่อเนื่อง ไม่ช้านานนัก ก็จะต้องล้าหลังและกลายเป็นคนเสื่อมสมรรถภาพไป การศึกษาเพิ่มเติมที่แต่ละคนจะพึงกระท�ำนั้น กล่าวได้ว่ามีอยู่สองทาง ทางหนึ่งคือ ศึกษาค้นคว้าจากต�ำรับต�ำรา และวิเคราะห์วจิ ยั ตามระบบและวิธกี ารทีป่ ฏิบตั กิ นั ในมหาวิทยาลัย อีกทางหนึ่งคือสดับตรับฟัง สังเกต จดจ�ำจากการกระท�ำค�ำพูดของบุคคล รวมทั้งเรื่องราว เหตุการณ์ต่างๆ ที่ประสบพบผ่าน แม้แต่อุปสรรค ความผิดพลาดของตนเองก็อาจน�ำมาคิด พิจารณาให้เป็นบทเรียน ที่ท�ำให้เกิดความรู้ ความคิด ความฉลาดได้ทั้งสิ้น และความรู้ประเภท นี้ เท่าที่ปรากฏ มักจะเป็นความรู้ชนิดยอดเยี่ยม ที่หาไม่ได้ในต�ำราใดๆ แต่มีประโยชน์มีคุณค่า ใช้การได้จริงๆ ดังนั้น แม้บัณฑิตทั้งหลายจะศึกษาส�ำเร็จแล้ว มีการงานท�ำแล้ว ก็ขอให้ตั้งใจ พยายามศึกษาหาความรู้ ให้เพิ่มพูนกว้างขวางยิ่งๆ ขึ้นต่อไป จักได้เป็นผู้ที่ฉลาดสามารถ และ บ�ำเพ็ญประโยชน์ตนประโยชน์ผู้อื่นได้อย่างเต็มภาคภูมิในวันข้างหน้า ขออวยพรให้บัณฑิตใหม่ประสบความสุขส�ำเร็จในชีวิต มีความก้าวหน้าและเจริญ รุ่งเรืองในหน้าที่การงาน ทั้งขอให้ทุกๆ ท่านที่มาประชุมพร้อมกันในพิธีนี้ มีความผาสุก สวัสดี จงทั่วกัน.
14 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
พระราโชวาท สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันพฤหัสบดี ที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๒๕ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ข้าพเจ้าเชิญ พระราชกระแสขอบใจในการทีค่ ณาจารย์ ข้าราชการ บัณฑิต และนิสติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ไปเยี่ยมพระอาการ ถวายพระพรและถวายพานดอกไม้ ข้าพเจ้ามีความยินดีที่ได้มาท�ำพิธีมอบ ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒอีกวาระหนึ่ง ขอแสดงความชื่นชมกับท่านผู้ทรง คุณวุฒิและบรรดาบัณฑิตทุกคน ที่ได้รับเกียติและความส�ำเร็จในครั้งนี้ เมือ่ วันวาน ข้าพเจ้าได้กล่าวกับบัณฑิตในทีป่ ระชุมนีเ้ ป็นในความว่า การด�ำเนินชีวติ และการ ปฏิบัติงานทั้งปวงในทุกวันนี้ จ�ำเป็นต้องอาศัยวิชาความรู้อย่างมาก และวิชาการต่างๆ นั้นมีวัฒนา การก้าวหน้าอยู่ตลอดเวลา ผู้ใช้วิชาการปฏิบัติงาน จึงจ�ำเป็นจะต้องศึกษาเพิ่มเติมอยู่เสมอโดย ไม่หยุดนิง่ ด้วยการศึกษาค้นคว้าตามระบบทางหนึง่ ด้วยการสดับตรับฟังและสังเกตจดจ�ำจากบุคคล เรื่องราว และเหตุการณ์ต่างๆ ที่ได้ผ่านพบอีกทางหนึ่ง ซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นการศึกษานอกระบบ วันนีใ้ คร่จะกล่าวถึงกลวิธขี องการศึกษานอกระบบเพิม่ เติมแก่ทา่ นต่อไป นักศึกษาทีฉ่ ลาด ไม่สมควรจะมีความล�ำพองประมาทหมิ่นผู้ใดสิ่งใดเป็นอันขาด เพราะความประมาทหมิ่นนั้นจะ ปิดบังป้องกันไว้ มิได้เปิดตาเปิดใจที่จะรับรู้รับฟังสิ่งต่างๆ ความรู้ความฉลาดจึงไม่มีทางเข้ามาสู่ ตนได้ ตรงข้าม ควรจะถือว่าบุคคลทุกคน เรื่องราวและเหตุการณ์ทุกสิ่งเป็นเสมือนครู เสมือนบท เรียน ที่ให้ความรู้ความฉลาดแก่ตนได้อย่างวิเศษ ตนเองนั้นเปรียบเหมือนศิษย์ที่คอยรับรับความรู้ จากครูอาจารย์ เมื่อไม่มีความประมาทหมิ่นและอวดดีแล้ว ก็ย่อมเกิดความยินดีและเต็มใจที่จะรับ ความรูต้ า่ งๆ อย่างกว้างขวาง เพือ่ น�ำมาพิจารณากลัน่ กรองให้เห็นสาระ และก�ำหนดจดจ�ำไว้ประดับ ปัญญาของตัว ฝ่ายผูใ้ ห้ความรูเ้ มือ่ ชอบใจอัธยาศัยของผูเ้ ป็นศิษย์ ก็จะถ่ายทอดวิชาให้โดยไม่ปดิ บัง โบราณท่านจึงสั่งสอนกันนักหนา ว่ามิให้ประมาทปัญญาผู้อื่น และให้ตั้งใจเล่าเรียนโดยเคารพ ทั้ง ในผู้ที่เป็นครูและในวิชา จึงขากฝากให้บัณฑิตได้น�ำไปคิดพิจารณาให้เกิดประโยชน์บ้าง ขออวยพรให้บัณฑิตทุกคนที่ส�ำเร็จในการศึกษาในคราวนี้ ประสบความสุขส�ำเร็จในชีวิต และการงาน มีความเจริญก้าวหน้าได้ตามที่ปรารถนา และขอท่านทั้งหลายที่มาประชุมพร้อมกัน อยู่ในพิธีนี้ มีความผาสุกสวัสดีทุกเมื่อไป.
15 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี เกิด
วันเสาร์ ที่ ๑๖ กันยายน ๒๔๕๙ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต บุตรคนโตของขุนประทุมสิริ พันธ์ (เจริญ บัวศรี) และนางเปล่ง บัวศรี มีพี่น้อง ๕ คน คือ สาโรช สารี สว่าง จํานง และจงดี
การศึกษา
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นทีจ่ งั หวัดภูเก็ต มัธยมศึกษาตอนปลายทีป่ นี งั ประเทศ มาเลเซีย ๒๔๗๖ - ๒๔๗๘ โรงเรียนฝึกหัดครูประถมพระนคร ๒๔๗๘ - ๒๔๘๑ อักษรศาสตรบัณฑิต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๔๘๒ ประกาศนียบัตรครูมัธยม (ป.ม.) ๒๔๙๑ - ๒๔๙๒ M.A. จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ๒๔๙๒ - ๒๔๙๖ Ph.D. จากมหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ๒๕๐๖ จบหลักสูตร ว.ป.อ. จากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
16 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การทํางาน
๒๔๘๒ ๒๔๘๓ - ๒๔๙๑ ๒๔๙๑ ๒๔๙๑ - ๒๔๙๖
เป็นครูสอนโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พระนคร เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูประถม พระนคร ได้รับทุนจากกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ไปศึกษาต่อ ปริญญาโทและเอก ที่สหรัฐอเมริกา ๒๔๙๖ เป็นอาจารย์โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ถนนประสานมิตร ๒๔๙๖ เป็นผูอ้ าํ นวยการโรงเรียนฝึกหัดครูชนั้ สูง ถนนประสานมิตร และได้เสนอ ให้ยกฐานะเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษา เมือ่ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๙๖ และ ทําให้มี พ.ร.บ. วิทยาลัยวิชาการศึกษา เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๔๙๗ ๒๔๙๖ - ๒๔๙๗ เป็นผู้อํานวยการวิทยาลัยวิชาการศึกษา ๒๔๙๗ - ๒๔๙๙ เป็นรองอธิการ และหัวหน้าคณะวิชาการศึกษาวิทยาลัยวิชาการศึกษา ๒๔๙๙ - ๒๕๑๒ เป็นอธิการคนแรกของวิทยาลัยวิชาการศึกษา ๒๕๑๒ - ๒๕๑๓ เป็นรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ครั้งที่ ๑) ๒๕๑๓ - ๒๕๑๖ เป็นอธิบดีกรมการฝึกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๑๗ - ๒๕๑๙ เป็นรองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ครั้งที่ ๒) จนเกษียณอายุราชการ
บทบาทสําคัญทางด้านการศึกษา
• เป็นผู้บุกเบิกในการยกมาตรฐานวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง คือให้เปิดสอนถึงระดับ ปริญญาตรี โท และเอก • เป็นผู้บุกเบิกในการยกฐานะโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูงเป็นวิทยาลัย วิชาการศึกษา (ได้รับ การยกฐานะเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๔๙๖ และมี พ.ร.บ. เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๔๙๗) • เป็นผู้ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาด้านจริยธรรม วัฒนธรรมและประชาธิปไตยใน หน่วยงานและสถานศึกษา • เป็นนักเขียน นักแปล และนักวิจัยค้นคว้าทางด้านการศึกษา และพุทธศาสนา เพื่อเป็น แนวทางในการวางกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการสร้าง ปรัชญา การศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์ • เป็นราชบัณฑิตในสํานักธรรมศาสตร์และการเมือง ประเภทวิชา ปรัชญา ราชบัณฑิตยสถาน • เป็นผู้ก่อตั้งสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย และเป็นนายกสมาคม คนแรกและเป็น นายกสมาคม ๒ สมัยติดต่อกัน สมาคมการศึกษา จัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนอาชีพครูและเผยแพร่ แนวคิดทางการศึกษา • เป็นผู้นําการศึกษาแผนใหม่หรือการศึกษาแบบพิพัฒนาการ (Progressive Education) มาใช้ในวิทยาลัยวิชาการศึกษาและเป็นผู้คิดตรา และสีประจําวิทยาลัย ตามแนวคิดเชิงปรัชญาการ ศึกษาแบบพิพัฒนาการ คือ “การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม” สีของมหาวิทยาลัยคือสีเทาและ
17 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
สีแดงโดยมีความหมายว่า สีเทาเป็นสีของสมอง แสดงถึงความคิด ความเฉลียวฉลาด และ สีแดงเป็น สีของเลือดมีความหมายแสดงถึงความกล้าหาญ รวมกันแล้วมีความหมายว่า ให้ผู้เรียน (นิสิต) เป็น คนกล้าคิดกล้าหาญและเฉลียวฉลาด ตราของวิทยาลัยวิชาการศึกษา เป็นรูปกร๊าฟ ของสมการ วาย เท่ากับ อี กําลัง เอ๊กซ์ (y = ex) ซึ่งหมายยถึง “การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม” และมี คําขวัญ เป็นภาษาบาลีว่า “สิกฺขา วิรุฬฺหิ สมฺปตฺตา” • เป็นผูร้ เิ ริม่ และเผยแพร่ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์ และการจัดการศึกษาตาม แนว พุทธศาสตร์ (ดังปรากฏงานเขียนในหนังสือเล่มนี้) • เป็นผูท้ าํ คุณประโยชน์ให้แก่สงั คมไทย และอุทศิ ตนเพือ่ “ทําคุณประโยชน์อย่างสูงยิง่ ต่อ การศึกษาชาติ” อาทิ เป็นที่ปรึกษา กรมวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร เป็นที่ปรึกษาเกี่ยวกับ จริยธรรมข้าราชการของสํานักงานคณะกรรมการข้าราชการ พลเรือน เป็นกรรมการบัญญัติศัพท์ สาขาปรัชญา เป็นกรรมการบัญญัติศัพท์สาขาอุดมศึกษา เป็นที่ปรึกษาและกรรมการจัดทําสาราณุ กรมศึกษาศาสตร์ และเป็นกรรมการหนังสือแปลของกระทรวงศึกษาธิการ ฯลฯ เป็นต้น ภาระงาน เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นงานที่ทําหลังเกษียณอายุราชการแล้วทั้งสิ้น
เครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงสุดที่ได้รับ
๕ ธันวาคม ๒๕๓๔ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ๕ ธันวาคม ๒๕๑๗ มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) ๕ พฤษภาคม ๒๕๑๓ ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ได้ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๓๖
18 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เมื่อครบ ๖๐ ปี ของ สาโรช บัวศรี ๑๖ ก.ย. ๒๕๑๙ ๑๖ กันยายน ๒๕๑๙
ห้ารอบครานี้ ชื่นชมยินดี จากหมู่ญาติมิตร หลายท่านสู้จร ประจักษ์ซาบซึ้ง เป็นถ้อยจากใจ ขอให้ร่มเย็น อายุฟ้าดิน
สาโรชบัวศรี ไมตรีอวยพร และศิษย์เคยสอน มาจากทางไกล ตราตรึงสุดไข ได้สมดังจินต์ เป็นสุขจวบสิ้น ทั่วทุกท่านเทอญ
เมื่อครบ ๖๐ ปี ของสาโรช บัวศรี เย็นวันหนึง่ ในเดือนมิถนุ ายน ๒๕๑๙ ข้าพเจ้าได้มโี อกาสฟังวิทยุ “เสียงอเมริกา” เป็นภาษา อังกฤษ ปรากฏว่าเป็นรายการสนทนาของนักวิทยาศาสตร์สองคน กําลังพูดกันเรือ่ งยานอาวกาศ ชือ่ Viking๑ ของอเมริกา ซึ่งกําลังเดินทางตรงไปยังดาวพระอังคาร (Mars) และกําหนดจะลงยังพื้นของ ดาวอังคารในวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๑๙ อันเป็นวันชาติและเป็นวันครบรอบ ๒๐๐ ปี ของประเทศ อเมริกาด้วย เมื่อลงยังพื้นของดาวอังคารได้แล้ว ยานอวกาศลํานี้ก็จะได้ส่งข้อมูลกลับมายังโลก มนุษย์ของเราว่ามี สิ่งที่มีชีวิต อยู่บนดาวดวงนี้หรือไม่ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นมาก เพราะ คาดว่าอาจจะมีลําธาร, และ ดังนั้นก็คาดต่อไปว่าอาจจะมี สิ่งที่มีชีวิต เช่นพืชหรือสัตว์อยู่ก็ได้ แต่ ก็ไม่แน่ใจกันทั้งนั้น ; จึงคอยให้ถึงกําหนดวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๕๑๙ เสียโดยเร็ว, และขออย่าให้ ยานอวกาศต้องเกิดขลุกขลัก หรือประสพภัยใด ๆ เลย พอสนทนากันถึงตอนนี้, นักวิทยาศาสตร์คนหนึ่งก็เกิดถามขึ้นมาว่า “ที่เรียกว่าชีวิตนั้นคือ อะไร, หรือหมายความว่าอะไรกันแน่.” เมื่อถามเช่นนี้แล้ว ก็เกิดสนทนากันใหญ่ เนื่องจากผู้สนทนาทั้งสอนเป็น นักวิทยาศาสตร์, ก็มองดู ชีวิต ไปในแง่วิทยาศาสตร์ เช่นในแง่ของชีววิทยา ซึ่งกล่าวกันว่า สิ่งที่มีชีวิต ย่อมจะบริโภค ขับถ่าย สืบพันธุ์ เป็นต้น, และในทีส่ ดุ ก็จบลงว่ายังไม่ควรยุตใิ นเรือ่ งทีว่ า่ “ชีวติ หมายความว่าอะไร” นี้, แต่ควรจะได้ช่วยกันคิดให้ลึกซึ้งต่อไปอีก เมื่อข้าพเจ้าฟังมาได้ถึงตอนนี้, ก็ครุ่นคิดว่าในประเทศเรา ได้มีนักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้ใด ได้กล่าวเกี่ยวกับ ความหมายของคําว่าชีวิต นี้ไว้ที่ใดบ้างไหม, และกล่าวว่าอย่างไร.
19 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เท่าที่นึกออก ก็จําได้ว่า ท่านพุทธทาสภิกขุ ได้กล่าวไว้ในหนังสือชื่อ “เกิดมาทําไม” (ตอน ๑ และตอน ๒) ไว้ดังนี้ : “คนเราเกิดมาเพื่อจะเดินไปตามที่ให้ถึงพระนิพพานในที่สุด และให้พยายามที่จะพอกพูน หนทางแห่งพระนิพพานนั้นอยู่ตลอดเวลา” หน้า ๒๖ ; พิมพ์ครั้งที่ ๒ ; ธันวาคม ๒๕๑๐ “มนุษย์นี้เกิดมาเพื่อเดินทาง, จากความทุกข์ ไปสู่ความไม่มีทุกข์” หน้า ๔๓ ; เล่มเดียวกัน “เราเดินทางกันอยู่เรื่อยไปทุกลมหายใจเข้าออก - ทุก ๆ ขณะ ซึ่งจะเรียกว่า ๑ นาฑี หรือ ๑ วินาฑีก็ตาม มันเป็นการเดินทางอยู่เรื่อยไป, เผลอเมื่อใดก็วกไปผิดทางเมื่อนั้น” หน้า ๔๕ ; เล่มเดียวกัน. ตัวข้าพเจ้าเองในฐานะที่เป็นบุคคลธรรมดา ๆ คนหนึ่ง, พยายามอยู่ในศีลในธรรมไปตาม ปรกตินิสัยของพลเมืองดี โดยที่ยังไม่มีโอกาสจะได้ปฏิบัติตนอยู่ในศีลและในธรรมในระดับสูงได้, เมื่อได้พิจารณาดูคํากล่าวอันสําคัญยิ่งของท่านพุทธทาสภิกขุ ตามที่ยกมาข้างต้นนั้นแล้ว, ก็ใคร่ขอ อนุญาตสรุปโดยอนุโลม, เป็นการชั่วคราวไปก่อนว่า : ๑. ดังนั้น ชีวิตก็คือการเดินทาง นั่นเอง ๒. การเดินทาง นี้, ถ้าพิจารณากันตามประสาชาวบ้าน ผู้ยังมิได้มีโอกาสปฏิบัติธรรมใน ระดับสูง, ก็อาจจะหมายความได้ ๒ นัย คือ ๒.๑ เดินทางไป ตามเวลา หรือ ตามอายุ เช่น จากอายุ ๒๐ ปี, ๓๐ ปี, ๔๐ ปี, ๕๐ ปี, ๖๐ ปี, ๗๐ ปี, ๘๐ ปี, ๙๐ ปี, เรื่อย ๆ ไป จนถึงแก่ความตายไปตามปรกติ หรือตามธรรมชาติ ของมนุษย์ กล่าวคือ ดินก็ย่อมกลับไปเป็นดิน น้ําก็ย่อมกลับไปเป็นน้ํา ฯลฯ ประการหนึ่ง ๒.๒ เดินทาง จากความที่มี ความโลภ - โกรธ - หลง อยู่อย่างมาก, ไปสู่ ความที่ ไม่มี ความโลภ - โกรธ - หลง, หรือมีก็มีอย่างน้อยที่สุด, อีกประการหนึ่ง ๓. คนเราในขณะที่เดินทาง ตามอายุไกลออกไปทุก ๆ วันนั้น, หากประคับประคอง ระมัดระวังโดยไม่ประมาทยิ่ง เพื่อให้สามารถลดความต้องการ หรือความอยากได้ ด้วยประการ ทั้งปวง ลงให้เหลือน้อยที่สุด, ได้สําเร็จ, สามารถลดความโมโหโทโษ พยาบาท เกลียดอย่างไม่ส่าง ลงให้เหลือน้อยที่สุด, สามารถลดความไม่รู้ไม่เข้าใจ หลงผิดไปให้เหลือน้อยที่สุด, ได้สําเร็จแล้ว ก็ คงจะได้ประสพความร่มเย็นในชีวิตอยู่ไม่น้อยซึ่งก็คงปรากฏแก่ใจของแต่ละคนอยู่แล้วเป็นอย่างดี. ๔. ในทางตรงกันข้าม ถ้าประมาทไม่ประคับประคอง การเดินทาง ของตนให้ดี ก็ยงิ่ จะเกิด มีความโลภ-โกรธ-และหลงผิดทับถมมากขึน้ ทุก ๆ วัน, ทําให้ชวี ติ เต็มไปด้วยความเร้าร้อน และหมก ไหม้, ซึ่งก็คงปรากฏแก่ใจของแต่ละคนอยู่แล้วเป็นอย่างดีเช่นกัน. ๕. ดังนั้น สําหรับบุคคลที่ไม่ประมาท, และพยายาม ลด ความโลภ-โกรธ-หลง อยู่เป็นนิจ, ก็จะพบว่า ยิ่งเดินทางไปไกลเท่าใด, ๕๐ ปี, ๖๐ ปี, ๗๐ ปี, ๘๐ ปี, ฯลฯ ก็ยิ่งลดความโลภ-โกรธ-หลง
20 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ลงไปได้มากเท่านั้น ; ดังนั้นในกรณีนี้ ยิ่งอายุมาก ก็ยิ่งดี ; จึงไม่ควรจะเกิดความวิตกกังวลในเรื่อง อายุนี้เลย ; แต่ถ้ายิ่งมีอายุมากขึ้น, ยิ่งกลับโลภมาก โกรธมาก-หลงผิดมากขึ้นแล้ว นั่นแหละเป็น เรื่องที่จะต้องวิตกอย่างยิ่ง จะต้องแก้ไข. ในโอกาสที่ข้าพเจ้าจะมีอายุครบ ๖๐ ปี ในเดือนกันยายนนี้ และบังเอิญไปฟังวิทยุที่เขาพูด กันเรื่อง ความหมายของชีวิต เข้า, จึงพยายามคิดเขียนบทความนี้ขึ้นเพื่อเตือนสติตัวเอง และเพื่อ เล่าสู่กันฟังด้วยความเคารพ จะผิดถูกประการใด ก็สุดแต่ท่านผู้รู้จะวินิจฉัย.
๒๓ มิ.ย.๒๕๑๙
21 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ความคิดบางประการในวิชาการศึกษา เรื่องที่หนึ่ง ความหมายของคําว่า “การศึกษา” คําว่า “การศึกษา” นี้ได้มีผู้ให้คําจํากัดความไว้มากแล้ว เช่น “การศึกษาคือ การทําคนให้ เป็นคน” หรือ “การศึกษาคือ การปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม”เป็นต้น ทั้งนี้ก็ย่อมแล้วแต่ความ คิดอันเป็นรากฐาน (Basic assumption) ของแต่ละบุคคลที่สนใจคิดนึกเกี่ยวกับเรื่องการศึกษา จะ ได้บัญญัติกันขึ้นไว้ ในปัจจุบันนี้ ได้มีความคิดกันอยู่แพร่หลายว่า “การศึกษาคือการงอกงามตามที่เกิดขึ้น แก่ผู้เรียน เนื่องจากได้รับประสพการณ์ที่เลือกเฟ้นให้แล้วเป็นอย่างดี” การจํากัดความดังกล่าวนี้ นับว่าชัดแจ้งและสะดวก เป็นการเตือนใจครู ผู้สอน หรือนัก บริหารการศึกษาทัง้ ปวง ให้ราํ ลึกอยูเ่ สมอว่า เป็นหน้าทีข่ องตนทีจ่ ะต้องเลือกเฟ้นและจัดหาประสพ การณ์ที่ดีๆ และเหมาะสมทั้งทาง วิชาการ กิจกรรมและอื่นๆ ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งถ้าจัดประสพการณ์ ให้แก่ผู้เรียนได้ถูกต้องและเหมาะสมแก่ความสนใจ ความถนัด และความสามารถของผู้เรียน และ เหมาะสมตามความจําเป็นและต้องการของสังคมด้วยแล้ว ผู้เรียนก็จะ เจริญงอกงาม ขึ้นในทางที่ เป็นประโยชน์แก่สังคม หรือที่เรียกว่า ได้รับการศึกษา นั้นเอง เพื่ออธิบายคําจํากัดความข้างบนนั้นให้แจ่มแจ้งยิ่งขึ้น จึงขอชักตัวอย่าง ดั่งต่อไปนี้ สมมุติ ว่ามีทารกคนหนึง่ พอกําเนิดมาเรานําไปใส่ไว้ในห้องแห่งหนึง่ ซึง่ ทึบหมด ไม่มปี ระตูหรือหน้าต่างอัน ใด มีแต่เพียงช่องเล็กๆ หนึ่งช่อง พอให้อากาศเข้าได้ และพอจะส่งอาหารเข้าไปได้เท่านั้น และขอ สมมุติต่อไปอีกว่า ทารกนั้นสามารถ มีชีวิตอยู่ได้ในสถานการณ์เช่นนั้น เมื่อเป็นดังนี้แล้วเด็กคนนี้ ก็จะเติบโตขึ้นโดยที่ ไม่ได้ประสพอะไรเลย เพราะอยู่แต่ในห้องทึบ ไม่ได้พบปะมนุษย์ ไม่ได้หัดพูด ไม่ได้รู้ว่าจะต้องมีการแต่งกาย ไม่รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณี ไม่เคยเห็นสัตว์ ต้นไม้ พระจันทร์ บ้านเมือง ถนนหนทาง หรือแต่มนุษย์ด้วยกันเอง สมมุติว่าเมื่อครบอายุ ๑๕ ปี เราเปิดห้องทึบนั้น ออก และปล่อยให้เด็กคนนี้ออกมา เด็กคนนี้จะมีลักษณะอย่างไร รู้สึกว่าคงจะไม่เป็นมนุษย์เอา ทีเดียว พูดก็ไม่ได้ ไม่รู้จักปกปิดร่างกาย ไม่มีศีลธรรม ไม่รู้จักประเพณีใดๆ ไม่รู้จักอะไรทั้งสิ้น ที่ เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าในระยะ ๑๕ ปีที่ผ่านมานั้น เด็กคนนี้ไม่ได้ประสบอะไรเสียเลย คือไม่มีประสพ การณ์ นั่นเองเขาจึงไม่สามารถงอกงามขึ้นได้ในทางที่เหมาะสม ได้แต่งอกขึ้นในทางกายเท่านั้น ซึ่ง เท่ากับการงอกของพืชหรือสัตว์หรืออาจจะน้อยกว่าเสียอีก จากการสมมุตินี้ เราเห็นได้ชัดว่า เด็ก ไม่งอกงามเท่าที่เราต้องการก็เพราะไม่ได้ประสบอะไรเลย การไม่งอกงามนี้ จะพูดอีกทีหนึ่ง ก็คือ การไม่มีการศึกษานั่นเอง แต่ในทางตรงกันข้าม เมื่อเด็กเกิดมา ถ้าเราจัดให้ได้ประสบพบปะหรือได้ฝึกฝนในสิ่ง ต่างๆ มากมาย เลือกเฟ้นให้ได้พบแต่สิ่งที่ดีๆ เริ่มตั้งแต่เครื่องเล่น เครื่องมือ วิชาการ วิชาชีพ ขนบธรรมเนียมประเพณี ศีลธรรม ศาสนา ภาษาของชาติของตน ภาษาต่างประเทศ วิทยาศาสตร์
22 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
วรรณคดี ศิลปะดนตรี การท่องเที่ยวไปในต่างประเทศ ได้พบกับสิ่งแวดล้อมชนิดต่างๆ ได้ผจญกับ ปัญหาชีวติ ต่างๆ สามารถสร้างคุณธรรม (Values) ขึน้ ได้ประจําใจ ฯลฯ เด็กก็จะเจริญเติบโตงอกงาม มีปญ ั ญาและเป็นพลเมืองทีด่ ี นีก่ เ็ ป็นการเห็นชัดอีกว่าประสพการณ์ทาํ ให้เด็กคนนัน้ มีการศึกษา คือ มีความงอกงามตามแนวทางอันเป็นที่พึงประสงค์ของสังคมนั่นเอง จากข้อสมมุติและคําอธิบายอย่างสั้นๆ ข้างบนนั้น ก็พอจะชี้ให้เห็นความหมายของคําที่ กล่าวกันว่า “การศึกษาคือการงอกงาม” ได้อย่างแจ่มแจ้งพอควร อันจะเป็นรากฐานให้ได้เกิดความ คิดเกี่ยวกับคําว่า “การศึกษา” นี้ให้กว้างขวางต่อไปอีก เรื่องที่สอง ความหมายของคําว่า “ประชาธิปไตย” การดําเนินการศึกษานั้น ย่อมจะต้องดําเนินให้สอดคล้องกับการปกครองของประเทศ ถ้าประเทศประสงค์จะปกครองแบบประชาธิปไตย ก็มีความจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสอนเรื่อง ประชาธิปไตย ให้แก่นักเรียนตั้งแต่เริ่มมาเข้าโรงเรียนทีเดียว มิฉะนั้นแล้วนักเรียนก็ไม่อาจจะทราบ ได้ว่า ประชาธิปไตยนั้นคืออย่างไรกันแน่ เมื่อเติบโตขึ้นเป็นพลเมืองของประเทศโดยเต็มที่แล้ว ก็ เลยไม่ทราบว่า จะทําอย่างไร จึงจะเป็นประชาธิปไตย ดังนั้นผู้ที่เรียนทางวิชาการศึกษา จึงต้อง เรียนเกี่ยวกับประชาธิปไตยควบคู่กันไปด้วย ไม่มากก็น้อย เพื่อเป็นเครื่องมือที่จะไปอบรมกุลบุตร กุลธิดาสืบไป ด้ ว ยเหตุ นี้ เ อง จึ ง มี ค วามจํ า เป็ น ที่ จ ะต้ อ งพยายามทราบความหมายของ คํ า ว่ า “ประชาธิปไตย” ให้แจ่มแจ้งพอสมควร โดยเฉพาะในแง่ของปรัชญา ในแง่ของการปกครอง ประชาธิปไตยมักจะหมายถึงการปฏิบัติตามเสียงของคนส่วนมาก ดังนั้น คนส่วนมากจําเป็นจะต้องได้รับการศึกษาให้ดีและให้เหมาะสม มิฉะนั้นเสียงที่เรียกร้องออก มานั้น จะกลายเป็นเสียงมี่ไม่รอบคอบพอ และดังนั้นการปฏิบัติตามเสียงข้างมาก จึงกลายเป็นการ ปฏิบตั ทิ ผี่ ดิ พลาดไปหมด เหตุนเี้ องคนส่วนมากจะต้องเป็นคนทีไ่ ด้รบั การศึกษาพอเพียงและเหมาะ สมจึงจะปกครองแบบประชาธิปไตยได้ผลดี ในแง่ของการเศรษฐกิจ ประชาธิปไตยมักจะหมายถึงการผลิตและ การจําหน่ายอย่างเสรี ไม่มีใครผูกขาดแต่ผู้เดียว ถ้าจะมีการควบคุมหรือบังคับประการใด ก็เป็นการควบคุมหรือบังคับ ตัวของตัวเองเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม ทั้งนี้ โดยวิธีประชุมปรึกษาหารือกันเองเพื่อบังคับและ ควบคุมกันเอง สมกับคําที่กล่าวว่าเป็นการกระทําของประชาชนเอง เพื่อประชาชนเองและโดย ประชาชนเอง แต่ทั้งในแง่การปกครองและในแง่การเศรษฐกิจที่กล่าวมาแล้วนั้นย่อมจะอาศัยความคิดใน แง่ปรัชญาเป็นรากฐานทัง้ สิน้ ดังนัน้ ความคิดเกีย่ วกับประชาธิปไตยในแง่ปรัชญาจึงเป็นสิง่ ทีจ่ ะต้อง ทราบเอาไว้ เพือ่ จะได้เป็นแม่บท ในการทีจ่ ะนําไปใช้ในแง่ตา่ งๆ ของชีวติ จะเป็นในแง่ของการศึกษา การปกครอง หรือเศรษฐกิจก็ตาม
23 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ในแง่ของปรัชญา ประชาธิปไตยมีความหมายดั่งที่จะได้พยายามอธิบายดั่งต่อไปนี้ ในการอธิบายนี้ก็จําเป็นจะต้องสมมุติกันอีก จึงจะเกิดความแจ่มแจ้ง ในโลกนี้ถ้าสมมุติว่า มีคนอยู่คนเดียวก็ไม่ต้องสัมพันธ์กับใคร ไม่มีเรื่องราวเกี่ยวข้องกับผู้ใด นอกจากกับตัวเอง แต่ถ้ามีคนอยู่มากกว่าคนเดียวอย่างปัจจุบันนี้ ก็จําเป็นต้องติดต่อหรือสัมพันธ์กับคนอื่น เป็นการแน่นอน หลีกเลีย่ งไม่พน้ จะต้องมีสมั พันธภาพกับมนุษย์อนื่ (Human Relationship) อยูเ่ สมอ สัมพันธภาพดังกล่าวนี้คงมีมากมายหลายชนิด แต่ถ้าจะกล่าวอย่างง่ายๆ ก็พูดได้ว่ามี ๓ ชนิด คือ ๑. มีคนคนเดียวหรือคนกลุม่ หนึง่ เป็นผูค้ ดิ และสัง่ การไปยังคนอืน่ ๆ โดยทีค่ นอืน่ เหล่านัน้ ไม่ต้องมีส่วนคิดเลยแม้แต่น้อย คนๆเดียวหรือกลุ่มหนึ่งนั้นเป็น ผู้ทรงอํานาจ (authority) ในการคิด และสัง่ การเป็นการเด็ดขาด สัมพันธภาพชนิดนี้ เรียกว่า Authortarianism หรือ Autocracy ซึง่ จะแปล ว่าอัตตาธิปไตย ก็คงได้ ถ้าบังเอิญคนๆ เดียวหรือคนกลุม่ หนึง่ ดัง่ กล่าวนีเ้ ป็นคนดี มีนา้ํ ใจเป็นพ่อเมือง ก็คงจะพอดําเนินกันไปได้บ้างไม่ถึงกับล่มจม แต่ส่วนมากนั้นมักจะเป็นอย่างที่ Lord Acton กล่าว คือว่า “All power corrupts and absolute power corruptsabsolutely” (แปลว่าอํานาจทั้งปวงอาจ คตโกงได้ และอํานาจที่เด็ดขาดอาจ คตโกงอย่างเด็ดขาดเช่นกัน) ดังนั้น สัมพันธภาพแบบที่หนึ่งนี้ จึงค่อยๆ หายไป ๒. บางครัง้ บางยุค หรือบางสมัย มนุษย์ทกุ ๆคน ต่างคนต่างอยูไ่ ม่มใี ครรับผิดชอบ ไม่รว่ ม มือกัน ใครเก่งใครอยู่ ใครอ่อนก็ล้มไป ไม่มีใครช่วยเหลือและค้ําจุนใคร ไม่มีใครปรึกษาหารือหรือ เชือ่ ใจใครกันได้ ผูอ้ อ่ นกว่าย่อมมีความริษยาและคอยจองล้างผูท้ อี่ ยูใ่ นอํานาจ ต่างคนก็ตา่ งพาย จะ พายพร้อมกันหรือไม่พร้อมกันก็ชา่ ง ใครจะไม่พายก็ชา่ ง ตรงกับทีเ่ ขากล่าวว่า “Every man is on his own, and the devil takes the hind most” ซึ่งอาจแปลได้ว่า ตัวใครก็ตัวมัน ใครอยู่รั้งหลังก็ถูกผีป่า มันคร่าตัวไป สัมพันธภาพชนิดนี้เป็นอันตรายยิ่ง สังคมใดตกอยู่ในลักษณะเช่นนี้ก็คงจะสูญเสียแก่ ศัตรูโดยเร็วพลัน เขาเรียกสัมพันธภาพแบบที่สองนี้ว่า Laissez Faire (ปล่อยกันตามเรื่อง หรือตัว ใครตัวมัน) ๓. ทุกๆ คนร่วมกันรับผิดชอบ ต่างก็นบั ถือและให้เกียรติซงึ่ กันและกัน ต่างก็ใช้ปญ ั ญาเป็น หลักใหญ่ ใช้ปญ ั ญาเป็นเครือ่ งยึดรัง้ ไม่ให้รว่ มมือไปในทางเสีย หรือไม่ให้ไปหลงนับถือในเรือ่ งซึง่ เสีย หาย ทุกคนร่วมมือกัน แบ่งปันกันและประสานงานกันเพื่อแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปจนได้ และทําให้ ทุกคนได้เจริญเติบโตไปด้วยกันทั่วทุกคนตามอัตตภาพของตน สัมพันธภาพแบบที่สามนี้ เรียกว่า ประชาธิปไตย (Democracy) จากที่อธิบายมาแล้วทั้งสามข้อนั้น ก็อาจสรุปได้ว่าอัตตาธิปไตยก็ดี Laissez Faire “หรือตัว ใครตัวมัน” ก็ดี หรือประชาธิปไตยก็ดี ต่างก็เป็น สัมพันธภาพระหว่างมนุษย์ชนิดหนึ่ง (A Kind of human relationship) ด้วยกันทั้งสิ้น แต่ละชนิดก็มีลักษณะแตกต่างกันออกไป ดังนั้น ถ้าจะถามว่า “ประชาธิปไตยคืออะไร ก็อาจจะตอบอย่างง่ายๆ ที่สุดว่า “ประชาธิปไตยก็คือสัมพันธภาพระหว่าง มนุษย์ชนิดหนึ่ง” เท่านั้นเอง เนื่องจากเราจะต้องเข้าใจคําว่า “ประชาธิปไตย” ในแง่ของปรัชญาจึงจําเป็นจะต้องย�้ำ
24 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
สัมพันธภาพที่เรียกว่า ประชาธิปไตยนี้อีกครั้ง สัมพันธภาพที่เรียกว่าประชาธิปไตยนั้นมีลักษณะ สําคัญอยู่ ๓ ประการเป็นพิเศษ บุคคลที่อาศัยอยู่ในสังคมประชาธิปไตย จะต้องติดต่อกันหรือ สัมพันธ์กันตามแนวทาง ๓ ประการ ดังต่อไปนี้ ๑. มีการเคารพซึ่งกันและกันอย่างยิ่ง (Respect for Individuals) ถ้าพูดเป็นคําศัพท์ก็อาจ จะพูดได้ว่า คือ “คารวะธรรม” คือทุกคนจะต้องให้เกียรติซึ่งกันและกัน ทั้งกาย วาจา และความ คิดทุกคนย่อมจะเคารพในความคิดของผูอ้ นื่ ทุกคนย่อมแสดงความคิดเห็นออกมาได้โดยไม่ลว่ งเกิน ผู้อื่น ย่อมมีการให้โอกาสและเคารพแก่ความคิดของคนทุกคน นักปราชญ์ในเรื่องนี้กล่าวไว้ว่า “I may not agree with what you say; but I will fight to the death for the right for you to say it” ถ้าถือกันอย่างเคร่งครัดจริงๆ แล้ว การล่วงเกินผู้อื่น การทําร้าย ผู้อื่น การหมิ่นผู้อื่น การโกรธผู้อื่น ย่อมเป็นการไม่เคารพซึ่งกันและกัน และผิดหลักประชาธิปไตยทั้งสิ้น ๒. มีการแบ่งปัน ร่วมงานกัน และประสานงานกัน (Sharing, Participating, and Cooperating) ข้อนี้หมายความว่า ผู้ใดสามารถในทางใด ก็อาสารับแบ่งงานไปทํา ไม่บ่ายเบี่ยงและ หลีกเลี่ยง ร่วมมือกันทําหมดตาม อัตตภาพ และประสานงานกันหมด โดยทําตามที่ ได้ตกลงกัน ตามแผนซึ่งร่วมกันวางไว้แล้ว ไม่มีใครดื้อดึงกลั่นแกล้งเนื่องจากเห็นแก่ตัวเอง ถ้าพูดเป็นคําศัพท์ ลักษณะข้อนี้ก็คือ “สามัคคีธรรม” ๓. มีความเชื่อมั่น ในวิธีการแห่งปัญญา (Faith in the Method of Intelligence) พูดเป็นคํา ศัพท์กค็ อื “ปัญญาธรรม” การทีค่ นเรานับถือกันและร่วมมือสามัคคีกนั นัน้ บางทีอาจนับถือกันและ ร่วมมือไปในทางที่ผิด เช่นร่วมมือกันตั้งโรงเรียนสอนให้เป็นโจร เป็นต้น ดังนั้น จําต้องมี “ปัญญา” เป็นเครื่องเหนี่ยวรั้งและชี้ทางเป็นหางเสือ มิให้เขวไปได้ เรื่องนี้เป็นเรื่องสําคัญอย่างยิ่ง ทีเดียว ดัง นั้น ในสังคมประชาธิปไตยจึงมีการนับถือปัญญาธรรมอย่างยิ่ง คนตระกูลสูง คนร่ํารวย ฯลฯ จะ เป็นพลเมืองทีด่ ไี ด้กต็ อ่ เมือ่ มีปญ ั ญาและศีลธรรม ดังนัน้ คนในสังคมประชาธิปไตยจึงต้องเป็นผูท้ ไี่ ด้ รับการศึกษาดีพอควร เพื่อจะได้มีปัญญาธรรม ได้ อ ธิ บ ายความหมายของคํ า ว่ า “ประชาธิ ป ไตย” มาพอสมควรแล้ ว พอจะสรุ ป ขั้ น สุดท้ายอย่างง่ายๆ ได้ว่า ประชาธิปไตยคือมนุษยสัมพันธ์อย่างหนึ่ง ซึ่งยึดมั่นในคารวะธรรม สามัคคีธรรม และปัญญาธรรม ความคิดในแง่ปรัชญาประชาธิปไตย (Democratic Philosophy) ดั่งที่กล่าวมาง่ายๆ นี้ ควร จะนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวันอยู่เสมอ จนเป็นนิสัยในชีวิต หรือเป็นแนวทางแห่งชีวิต (A way of life) ของแต่ละคน คนทีม่ อี าชีพเป็นครูยอ่ มจะย�ำ้ แก่ศษิ ย์ของตนเสมอว่า ให้ยดึ ถือเอาประชาธิปไตย นี้ในฐานะที่เป็นแนวทางแห่งชีวิตประจําวัน คือ Democracy as a way of life เมื่อถือมั่นในด้าน ปรัชญาคือในทางคารวะธรรม สามัคคีธรรม และปัญญาธรรมได้แล้ว เมื่อจะขยายตีความให้กว้าง ไปในด้านการปกครองการเศรษฐกิจ หรือเรื่องของสังคมทั้งปวงรวมทั้งเรื่องการศึกษา ก็ย่อมจะมี แนวปฏิบัติหรือมีรากฐานที่จะวิวัฒนาการไปได้อย่างเป็นประชาธิปไตยเสมอไป อนึ่งพึงสังเกต ได้ว่าธรรมะใหญ่ๆ ในลัทธิประชาธิปไตยที่กล่าวแล้วนั้น ก็ตรงกับข้อธรรมะ
25 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ในพระพุทธศาสนาของเรานั้นเองด้วยเหตุนี้สําหรับบุคคลที่ยึดถือพระพุทธศาสนา เป็นแนวทาง ของชีวิต (Buddhism as a way of Life) อยู่แล้ว ก็จะพบว่าลัทธิประชาธิปไตยนั้นเป็นของธรรมดา พุทธศาสนิกชนปฏิบัติเป็นปรกติอยู่แล้ว เพียงแต่จะนําเอาหลักการไปดัดแปลงใช้ในการปกครอง การเศรษฐกิจ การศึกษาและอื่นๆ เท่านั้น ถ้าหากเราเข้าใจลึกซึ้งและยึดมั่นในหลักการจริงๆ แล้ว การนําไปดัดแปลง ก็ไม่ควรจะยากเกินไป เนือ่ งจากประเทศไทยเป็นประเทศทีย่ ดึ มัน่ ในพุทธศาสนา จึงทําให้รสู้ กึ มัน่ ใจว่าการทีจ่ ะปกครองแบบประชาธิปไตยนัน้ ไม่ควรจะยากเกินไปสําหรับประเทศไทยเรา เรื่องที่สาม วิธีสอนตามขั้นทั้งสี่ของอริยสัจ อาชีพต่างๆ ที่นับได้ว่าเป็นอาชีพระดับสูง (Profession) ย่อมจะมี วิธีการและ อุปกรณ์ เป็นเครื่องมือในการดําเนินงานทั้งสิ้น เป็นต้นว่า นายแพทย์ ก็ย่อมจะมีวิธีการรักษาต่างๆ สําหรับ รักษาคนไข้ และมีหยูกยาและเครื่องมือทางแพทย์ เป็นเครื่องดําเนินงาน นายช่าง หรือ วิศวกร ก็ ย่อมมีวธิ กี ารต่างๆ ในการสร้างหรือการก่อสร้าง และมีอปุ กรณ์ในทางวิศวกรรมมากมาย เป็นเครือ่ ง ดําเนินงาน ส่วนผู้ที่มีอาชีพเป็นครู อาจารย์นั้น ก็ทํานองเดียวกัน คือย่อมจะมีวิธีการสอนต่างๆ และมีอุปกรณ์การสอนมากมาย เป็นเครื่องดําเนินงาน วิธีการของครู หรือที่เรียกว่า วิธีสอน มีสองประเภท ประเภทที่หนึ่งคือ วิธีสอนทั่วไปซึ่ง เป็นแม่บทใหญ่ และเป็นแนวของการสอนทั้งปวง ประเภทที่สองคือวิธีสอนเฉพาะ ซึ่งกล่าวโดยเฉ พาะสําหรับแต่ละวิชาไป เช่น วิธีสอนให้อ่านออก วิธีสอนเลขคณิต และวิธีสอนสังคมศึกษาเป็นต้น วิธสี อนเฉพาะแต่ละ อย่างนีก้ ย็ อ่ มจะยึดแนวทางวิธสี อนทัว่ ไปเป็นหลักและทําการพลิกแพลงหรือ ดัดแปลง รายละเอียดต่างๆ ให้เข้ากับเนือ้ หาของวิชาแต่ละอย่างทีจ่ ะสอนเท่านัน้ เอง สําหรับในบาง วิชา เช่นวิชาสังคมศึกษา อาจนําเอาวิธีสอนทั่วไปทั้งดุ้นเข้าไปใช้โดยตรงเลย ก็อาจจะเป็นได้ ดังนั้น ต่อจากนี้ไปเมื่อพูดว่า วิธีสอน ก็ขอให้เป็นที่เข้าใจกันว่าหมายถึงวิธีสอนทั่วไป ซึ่งเป็นหลักใหญ่ หรือแม่บทใหญ่ ของการสอนทั้งปวง ในประเทศที่การศึกษาได้เจริญมานานแล้ว ครูหรือวงการศึกษาย่อมจะกําหนดวิธีสอนไว้ เป็นการแน่นอน เพื่อจะได้นําออกใช้เป็นเครื่องมือในการอบรมและการสอนนักเรียนเป็นการประ จําแน่นอน และอย่างเชื่อถือได้ อนึ่งเมื่อได้กําหนดไว้คราวหนึ่งแล้ว ต่อมาเมื่อวิทยาการทางการ ศึกษาได้ก้าวหน้าไปและได้ความรู้เพิ่มเติมมาอีกก็กําหนดกันใหม่อีก ซึ่งทําให้วิชาการศึกษาในด้าน ที่เกี่ยวกับวิธีการสอนได้ก้าวหน้าไปอยู่เรื่อยๆ และทําให้การสอนและการอบรมนักเรียนได้ผลดียิ่ง ขึ้นอยู่เสมอ จะเห็นได้ว่าเมื่อประมาณ ๖๐ ปีมาแล้ว ประเทศในทวีปยุโรปเช่นประเทศอังกฤษ และ ประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ เช่นประเทศสหรัฐ ครูทั่วๆ ไปกําหนดเอาวิธีสอนตามขั้นทั้งห้าของ แฮรบาท (The Herbartian Five Formal Steps) เป็นวิธีสอนทั่วไป และได้ใช้กันอย่างแพร่หลายมาก เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า วิธีสอนตามขั้นทั้งห้านี้ประกอบด้วย
26 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
๑. ขั้นเตรียม ๒. ขั้นสอน ๓. ขั้นย่อ ๔. ขั้นทวน ๕. ขั้นใช้ วิธสี อนตามขัน้ ทัง้ ห้านีย้ อมรับว่า อาจเหมาะสมในการทีจ่ ะมอบหมาย หรือหยิบยืน่ (impart) วิชาการหรือความรู้ให้แก่ผู้เรียน แต่อาจจะไม่เหมาะสมนักในการกระตุ้นเตือนให้ผู้เรียนได้คิดค้น หรือ สร้างสรรค์ ด้วยตนเอง ข้อบกพร่องอันนี้ทําให้ครูทั้งหลายใฝ่ใจพยายามแก้ไข และพยายาม หาลู่ทางใหม่กันอยู่เสมอ จนกระทั่งถึงเวลาประมาณเมื่อ ๓๐ ปีมาแล้วนี่เอง ครูหรือนักการศึกษาจํานวนมากได้มี ความเห็นว่า วิธีการคิดของมนุษย์ชนิดที่เรียกว่า Reflective Thinking นั้น อาจนํามาใช้เป็นวิธีสอน ได้เป็นอย่างดีทีเดียว (วิธีการคิด ที่ว่านี้ นักปราชญา เรียกว่า วิธีแห่งปัญญาหรือ The Mothod of Inteligence ส่วน นักวิทยาศาสตร์เรียกว่า วิธีวิทยาศาสตร์หรือ The Scientific Method ซึ่งที่จริง ก็คืออันเดียวกัน) วิธีการดังกล่าวนี้นักปรัชญา และนักวิทยาศาสตร์ได้นํามาใช้ใน การคิดค้น แก้ ปัญหา และไตร่ตรอง ซึ่งได้ผลอย่างมากมายตามที่ปรากฏชัดอยู่ทั่วไปแล้ว นักวิจัยจะเป็นนักวิจัย การศึกษา หรืออื่นๆ ก็ตาม ย่อมจะยึดวิธีการดั่งกล่าวเป็นแนวทางเช่นกัน ดังนั้นครูหรือนักการ ศึกษาจึงได้ทดลองเอามาใช้เป็นวิธีสอนดูบ้างโดยเฉพาะได้ทดลองก่อนในวิธีสอนสังคมศึกษา ก็ ปรากฏว่าได้ผลดียิ่ง วิธีการ ดั่งกล่าวนั้นว่า ที่จริงแล้วก็เป็นวิธีการสอน สําหรับใช้ในการแก้ปัญหา นัน่ เอง (Problem-Solving) ไม่วา่ ในแง่ใดของชีวติ ถ้ามีสถานการณ์ทเี่ ป็นปัญหาอยูด่ ว้ ยแล้ว วิธกี ารนี้ ย่อมจะเอามาใช้ได้เสมอ ในการสอนวิชาต่างๆ ย่อมจะมีสถานการณ์ที่เป็นปัญหาอยู่ทั้งสิ้น ดังนั้น การทดลองเอาวิธีการของ Reflective Thinking มาใช้จึงได้ผลในการสอนเป็นอันมาก และซ�้ำยัง เป็นการส่งเสริมให้เกิดการคิดค้น วิจัย และสร้างสรรค์อย่างมากอีกด้วย นับว่าเป็นการสมใจครู หรือนักการศึกษาอยู่ มากครูจงึ ได้เปลีย่ นวิธกี ารเดิมหันมายอมรับนับถือเอาวิธกี ารแห่งปัญญานีม้ า ไว้ เป็นวิธีสอน จนตราบเท่าทุกวันนี้ โดยย่อวิธกี ารแห่งปัญญานีป้ ระกอบด้วยวิธกี าร ๕ ขัน้ ต่อเนือ่ งกันและเกีย่ วพันกัน (บางท่าน อาจจะแบ่งซอยออกไปมากกว่า ๕ ขั้นก็ย่อมทําได้) คือ ๑. การกําหนดปัญหาให้ถูกต้อง (Location of Problems) ๒. การตั้งสมมุติฐาน (Setting up of Hypotheses) ๓. การทดลอง และ เก็บข้อมูล (Experimentation and Gathering of Data) ๔. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data) ๕. การสรุปผล (Conclusion) ซึ่งผลที่สรุปได้นี้ในโอกาสข้างหน้าก็อาจจะเปลี่ยนแปลงไป ได้อีก ไม่คงที่ คือเป็นอนิจจํ และเมื่อสรุปได้คราวหนึ่งแล้ว ก็อาจนําเอาไปเป็น Hypothesis สําหรับ กรณีอื่นๆ ก็ได้
27 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
วิธีสอนทั้งสองประการที่กล่าวมาแล้ว คือ The Herbartian Five Formal Steps และ The Method of Intelligence นี้ต่างก็ได้ถูกนํามาใช้ในเมืองไทยอย่างแพร่หลาย ในขั้นแรกโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ โรงเรียนฝึกหัดครูประถมและแผนกฝึกหัดครูมัธยม ใน มหาวิทยาลัยก็ได้ ใช้วิธีสอนตามขั้นทั้งห้าอย่างเคร่งครัดมาก นักเรียนฝึกหัดครูและนิสิตฝึกหัดครู ในสมัยโน้นเมื่อเตรียมการสอนจะต้องแสดงการสอนเป็นขั้นๆ ทั้ง ๕ ขั้นนั้นอย่างชัดเจนทีเดียว ในลําดับต่อมา เมื่อต่างประเทศได้รับนับถือเอาวิธีการแห่งปัญญามาเป็นวิธีสอนแล้ว คน ไทยรุ่นหลังๆ ก็ได้นําเอามาใช้ในโรงเรียนไทยของเราบ้างเหมือนกัน จนกระทั่งปัจจุบันนี้ ส่วนวิธี สอนตามทั้งห้าก็ค่อยๆ หายไป เท่าที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดนี้ จะเห็นได้ว่าในยุคปัจจุบัน ครูไทยได้ใช้วิธีการสอนซึ่งค้นพบ หรือกําหนดใช้กนั อยูใ่ นต่างประเทศทัง้ สิน้ ครูไทยเราเองหาได้ กําหนดวิธกี ารสอนของเราเองเอาไว้ ไม่ หรือถ้าจะมีการกําหนดกันไว้ในยุคก่อนๆ ก็มิได้มีปรากฏไว้ชัดแจ้ง และมิได้เป็นที่รู้หรือปรากฏ แก่ครูในยุคนี้เลย ถ้าจะพูดกันอย่างแรงๆ ก็คือว่า ครูไทยเราตั้งแต่ไหนแต่ไรมา หามีวิธีสอนของตัวที่ปรากฏ ชัดไม่ คอยแต่จะนําที่เขาคิดได้แล้วในต่างประเทศมาใช้เท่านั้นเอง แต่ที่กล่าวเช่นนี้ ฟังแล้วก็น่าสงสัย เพราะไทยเราเป็นชาติที่มีวัฒนธรรมมานานคนไทยมี ความเคารพสักการะในครูของตนอย่างยิง่ ในการทีค่ รูไทยเราได้รบั การเคารพนับถืออย่างมากมาย จากศิษย์นั้น คงจะต้องมีอะไรดีอยู่บ้างเป็นแน่ อาจจะเป็นเพราะทําการสอนดีกระมัง คงจะมีวิธี สอนที่ดีกระมัง ซึ่งเป็นเรื่องที่ น่าค้นคว้า และสอบถามดูเป็นอย่างยิ่ง โอกาสนี้จึงขอเชิญชวน ให้บรรดาครูหรือนักการศึกษาไทยทั้งหลายได้ช่วยกันคิดค้น และ สอบถามดูวา่ ไทยเรานัน้ ตัง้ แต่ดงั้ เดิมมาได้ใช้วธิ สี อนอะไร และ วิธสี อนดัง่ กล่าวนัน้ ตัง้ อยูบ่ นรากฐาน ของปรัชญาหรือจิตวิทยาประการใดบ้างหรือไม่ ซึ่งเรื่องนี้ก็คงจะเป็นเรื่องใหญ่อยู่ทีเดียว เพื่อเป็นการเริ่มต้นในงานด้านนี้ ข้าพเจ้าเองมีแนวคิดอยู่ดั่งต่อไปนี้ ๑. ครูไทยเราคงจะได้มี วิธีสอนอยู่แล้วแน่ๆ เพราะชาติเราเป็นชาติที่มีวัฒนธรรมมานาน แล้ว เป็นชาติที่รักษาเอกราชไว้ได้โดยตลอดมา และครูไทยก็ได้รับความเคารพนับถือจากนักเรียน หรือศิษย์เป็นอย่างมาก ผิดกับในประเทศอื่นๆ จนถึงกับมีการไหว้ครู และจัดให้มีวันไหว้ครูขึ้นเป็น พิเศษ ในสถานการศึกษาต่างๆ ๒. แต่เนื่องจาก วิธีสอน ของครูไทย มิได้เขียนไว้ให้ปรากฏ ก็จําจะต้องพยายามเสาะ แสวงหา หรือพยายามอนุมานเอาให้จงได้ ๓. ในวัฒนธรรมของชาติไทย เราได้ยอมรับนับถือว่า พระพุทธองค์ทรงเป็นพระบรมครู พระบรมครูย่อมจะต้องมีวิธีสอนที่ดีแน่ๆ ดังนั้นถ้าเราพบว่า วิธีสอนของพระพุทธองค์เป็นอย่างไร แล้ว ก็ถือได้ว่าเป็นวิธีสอนของครูไทยได้ ๔. วิธีสอนของพระพุทธองค์จะเขียนไว้ ณ ที่ใดบ้าง จะมีการอธิบายเกี่ยวกับ วิธีสอนที่ พระองค์ทรงใช้ทใี่ ดบ้าง ก็ไม่ทราบกันแพร่หลาย ดังนัน้ จึงจําเป็นต้องอนุมาน หรือคาดหมายเอาบ้าง
28 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
โดยมากสิง่ ทีเ่ ราทราบกันนัน้ ก็คอื พระธรรมคําสัง่ สอนของพระพุทธองค์ พระไตรปิฎกซึง่ รวบรวมสิง่ ทีส่ าํ คัญทัง้ หลายของพุทธศาสนาเอาไว้ ก็เป็นหนังสือทีม่ จี าํ นวนมากมายหลายเล่ม เรายังไม่มเี วลา ทีจ่ ะอ่านให้หมดได้จงึ ไม่มโี อกาสจะค้นพบได้วา่ จะมีคาํ อธิบายเกีย่ วกับวิธสี อน ของพระพุทธองค์ อยู่ ในพระไตรปิฎกเพียงใด ๕. แต่เพื่อความรวดเร็ว เราก็ควรที่จะสามารถคาดหมายหรืออนุมานเกี่ยวกับวิธีสอนของ พระพุทธองค์ได้บ้างตามสมควรจากคําสอนหรือจากพฤติการณ์ต่างๆ ของพระองค์ ๖. เนื่องจากอริยสัจสี่ เป็นคําสอนที่ถือได้ว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาประการหนึ่ง และพฤติการณ์ตา่ งๆ ทีน่ าํ ไปสูก่ ารได้มาซึง่ อริยสัจสีน่ กี้ เ็ ป็นทีน่ า่ สนใจยิง่ อีกประการหนึง่ เราจึงอาจ พยายามทําการคาดหมายหรืออนุมานเอาวิธีสอนออกมาจากอริยสัจสี่ และพฤติการณ์แวดล้อม ต่างๆ นั้น ได้บ้างไม่มากก็น้อย ๗. จากการอนุมาน ก็พอจะมองเห็น หรือพอที่จะอนุโลมได้ว่า วิธีการแห่งปัญญา หรือ วิธีการคิดแบบ Reflective Thinking นั้นคล้ายกับ วิธีการของอริยสัจสี่อย่างที่สุด ดั่งที่จะได้ พยายามเปรียบเทียบให้เห็นดังต่อไปนี้ ขั้นต่างๆ ของอริยสัจสี่
ขั้นต่างๆ ของวิธีการแห่งปัญญาหรือวิธี วิทยาศาสตร์ หรือ Reflective Thinking
๑. ทุกข์ ชีวิตนี้เป็นความทุกข์อย่างยิ่ง (ดัง นั้นปัญหาของเราก็คือทําอย่างไรจึงจะ ได้พ้นทุกข์)
๑. การกําหนดปัญหา ได้แก่ การพิจารณาเหตุการณ์ตา่ งๆ เพื่อกําหนดปัญหาให้ถูกต้องและเหมาะสม (ในกรณีนี้ เมือ่ พิจารณาเห็นว่าชีวติ เป็นความทุกข์อย่างยิง่ แล้ว ก็กาํ หนดปัญหาได้ว่า ทําอย่างไรจึงจะได้พ้นทุกข์นั่นเอง)
๒. สมุทยั สาเหตุใหญ่ทที่ าํ ให้เกิดทุกข์ ก็ได้ แก่ ตัณหา (ดังนั้นถ้าเผื่อหาทางกําจัด ตัณหาเสียได้ ทุกข์กค็ งจะไปหมดวิธกี าร ทีอ่ าจทดลองเพือ่ กําจัดตัณหา อาจมีดงั่ นี้ การอดอาหาร, การสมาธิ, การเข้าใจ ในสิ่งที่ถูกต้อง ฯลฯ)
๒. การตั้งสมมุติฐาน เมื่อเข้าใจปัญหาโดยรอบคอบแล้ว เช่น รู้ถึงสาเหตุของปัญหาแล้ว ก็อาจตั้งสมมุติฐานหรือ ลองกําหนดหลักการในการแก้ไขได้ (เช่นกําหนดว่าจะต้อง กําจัดตัณหาเสียให้สิ้นเชิง และกําหนดวิธีการย่อยลงไป อีกว่า อาจจะ อดอาหาร อาจทําสมาธิ เป็นต้น)
๓. นิโรธ การดับทุกข์ (ในการให้ได้มาซึ่ง สภาวะนี้จําต้องดําเนินการต่างๆ เพื่อ ให้ทุกข์ดับไปหรือเพื่อจะได้พ้นทุกข์ จึง ทําการอดอาหาร เมื่อเห็นว่าทํา ทํา ทุกรกิริยาไม่อาจพ้นทุกข์ได้ ก็ลองทํา อย่างอื่นต่อไปอีก)
๓. การทดลองและเก็บข้อมูล ลองทําตามทีต่ งั้ สมมุตฐิ าน ไว้แล้ว เช่น ลองอดอาหาร ลองทําสมาธิ ฯลฯ จดหรือ จด และจําผลของการปฏิบัติแต่ละอย่างไว้เพื่อจะได้ พิจารณาต่อไป
29 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ขั้นต่างๆ ของอริยสัจสี่ ๔. มรรค จากการปฏิบัติสิ่งต่างๆ ด้วย ตนเองแล้ว ก็ตกลงสรุปผลได้วา่ วิธกี าร ทีจ่ ะพ้นทุกข์ได้นนั้ มีทางเดียว คือทางที่ เรียกชื่อว่า “มรรคมีองค์แปด”
ขั้นต่างๆ ของวิธีการแห่งปัญญาหรือวิธี วิทยาศาสตร์ หรือ Reflective Thinking ๔. การวิเคราะห์ข้อมูล ๕. การสรุปผล ทําการวิเคราะห์ขอ้ มูลหรือผลต่างๆ ทีจ่ ดไว้ ในขั้นทดลองนั้น เพื่อจะได้รู้ว่าสิ่งใดแก้ปัญหาที่กําหนด ไว้ดั้งเดิมนั้นได้หรือไม่ได้ประการใด แล้สรุปให้เป็นหลัก เกณฑ์ หรือข้อความทีแ่ น่ชดั ว่า ได้แก้ปญ ั หาได้ดว้ ยวิธใี ด และได้แก้ปัญหาได้ด้วยวิธีใด และได้ผลประการใด (เช่น สรุปว่า วิธีทุกรกิริยานั้น ไม่ได้ผลในการดับทุกข์แต่การ ปฏิบัติตามแนวทางของ ”มรรคมีองค์แปด” นั้นเป็นทาง เดียวที่อาจพ้นทุกข์ได้ แต่จะพ้นได้ในระดับโลกียะ หรือ ระดับโลกุตตระ ก็ต้องแล้วแต่เหตุการณ์และบุคคล)
จากการเปรียบเทียบข้างบนนี้ ก็พอจะเห็นได้ว่า ขั้นต่างๆ ของอริยสัจสี่ และขั้นต่างๆ ของ วิธีวิทยาศาสตร์ หรือวิธีการแห่งปัญญานั้น คล้ายคลึงกันเต็มที จะกล่าวว่าคืออันเดียวกันก็ไม่ผิด คือต่างก็เป็นวิธีการหาเหตุผล และแก้ปัญหานั่นเอง ดังนั้นนับว่าเป็นสิ่งที่มหัศจรรย์ไม่ใช่น้อยที่โลก ตะวันออก และโลกตะวันตกได้ค้นพบวิธีการออกมาได้อย่างเดียวกัน โดยที่ไม่ได้ทราบของซึ่งกัน และกันเลยต่างคนต่างคิดออกมา แต่จะสังเกตว่า พระพุทธองค์ได้ทรงใช้วิธีการนี้มา ๒๕๐๗ ปีแล้ว ซึ่งเป็นการใช้มาก่อนโลกตะวันตกเป็นเวลาหลายร้อยปีทีเดียว ถ้าครูในโลกตะวันตกเอาวิธกี ารนีม้ าเป็นวิธสี อนได้ ครูในโลกตะวันออกเราก็ยอ่ มเอาวิธกี าร อริยสัจสี่ของพระองค์มาเป็นวิธีสอน ได้เช่นกัน และย่อมจะเป็น การเหมาะสมอย่างที่สุดที่เราควร จะทําเช่นนั้น เพราะว่าเป็นการนําเอาวิธีการของพระบรมครูมาใช้ เป็นการเจริญรอยตามพระพุทธ องค์ ไม่มีทางที่จะผิดพลาดไปได้ ดังนั้น จึงอาจพูดได้อย่างภาคภูมิใจยิ่งว่า วิธีสอนของครูไทยของเรานั้นก็คือวิธีสอนแบบ อริยสัจสี่เป็นวิธีสอน ประจําชาติไทยของเรา ชาติไทยเราเป็นชาติที่มีวิธีสอนมาแล้วตั้งแต่ดั้งเดิม เป็นหน้าทีข่ องครูไทยทุกคนจะได้ศกึ ษาให้ทราบ และนําไปปฏิบตั ใิ ห้แพร่หลาย และถ้ามีครูจากต่าง ประเทศมาถามว่าประเทศไทยมี วิธีสอนของตัวเองอย่างไรหรือไม่ ก็อาจตอบได้อย่างภาคภูมิใจ ที่สุดว่า เรามีวิธีสอนที่เรียกว่า “วิธีสอนตามขั้นทั้งสี่ของอริยสัจ” หรือพูดเป็นภาษาอังกฤษ ได้ว่า “The Four Formal Steps of the Noble Truth” และเมื่อครูของชาติอื่นเอาวิธีสอนแบบอริยสัจสี่ไป วิเคราะห์ดู และพบว่าช่างคล้ายกับวิธีการวิทยาศาสตร์เสียจริงๆ เขาก็จะได้รู้สึกอัศจรรย์ใจเสียบ้าง เขาจะได้รู้ว่าของเรามีมาก่อนของเขาเสียอีก ถ้าเผื่อเราตกลงกันว่า วิธีสอนของไทยเราในขณะนี้คือวิธีสอนแบบอริยสัจสี่ หรือวิธีสอน ตามขั้นทั้งสี่ของอริยสัจจริงๆ แล้ว เราก็ควรกําหนดชื่อของขั้นทั้งสี่เสียให้เหมาะสม ถ้าเรากล่าว
30 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ว่าการสอนของเรามีสี่ขั้น คือ ขั้นทุกข์ ขั้นสมุทัย ขั้นนิโรธ และขั้นมรรค ก็ยังขัดข้องใจในคําว่า “ขั้น ทุกข์” คําเดียวเท่านั้นเอง เพราะฟังดูไม่เหมาะสมและไม่เข้ากับเหตุการณ์แต่ถ้าเราตีความคําว่า “ทุกข์” นั้นว่าเป็น “ปัญหา” ใหญ่ของมนุษย์ และใช้คําว่า “ปัญหา” แทนก็อาจจะไปได้ คือเรียก วิธี สอนของเราว่า ประกอบด้วย ขั้นปัญหา ขั้นสมุทัย ขั้นนิโรธ และขั้นมรรค ที่จริงการใช้คําไทยว่า ปัญหา สมมุติฐาน เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล ก็ตรงกับคําของภาษาฝรั่งเขาพอดี เพราะ ว่าเราพยายามแปลจากของเขามาโดยตรงไม่ได้มีรากฐานอะไรในทางฝ่ายไทยเรา เป็นแต่เพียงคิด ศัพท์ขึ้นเท่านั้น แต่คําว่าสมุทัย นิโรธ และมรรคเหล่านี้ เป็นคําที่เป็นรากฐานในทางศาสนา เมื่อ ปรากฏว่าคําเหล่านีย้ งั มีความหมายเกีย่ วพันมาถึงขบวนการเรียนการสอนอีกด้วยแล้ว เราก็อาจรับ เข้ามาใช้ในวงการศึกษาปัจจุบันได้เลย ตอนแรกๆ อาจจะยังเรียกไม่ถนัดปาก แต่นานๆ ไปอาจจะ เรียกได้สบาย และเป็นการทําให้ศาสนาพุทธกับวิธีการของการศึกษาสมัยใหม่เข้ากันได้อย่าง กลมกลืนที่สุดอีกด้วย ถ้าตกลงรับขัน้ ทัง้ สีข่ องอริยสัจเข้ามาใช้เป็นวิธสี อนแล้ว เราก็อาจเตรียมหน่วยการสอนเรือ่ ง “การทําน้ําให้สะอาด” เพื่อเป็นตัวอย่างได้ดังนี้ ขั้นทั้งสี่ของอริยสัจ
ขั้นของการสอน
๑. ขั้นปัญหา
ในชุมนุมชนของเรามีนำ�้ ดืม่ ไม่เสียเลย ป่วยเจ็บกันบ่อยๆ ทําอย่างไร น�ำ้ ดืม่ นัน้ จึงจะสะอาด ได้?
๒. ขั้นสมุทัย
ถ้าเรากระทําสิ่งต่อไปนี้ จะได้น�้ำที่สะอาดไหม? ๑) แกว่งน�้ำด้วยสารส้ม ๒) ต้มน�้ำให้เดือด ๓) กรอง ๔) กลั่น
๓. ขั้นนิโรธ
นักเรียนทดลองทําสิ่งทั้ง ๔ ประการข้างบนนั้นในห้องปฏิบัติการของโรงเรียนและจดผล ของการทดลองนั้นๆ ไว้พิจารณาหรือวิเคราะห์ต่อไป
๔. ขั้นมรรค
๑) ทําการวิเคราะห์ผลของการทดลอง โดยใช้ กล้องจุลทัศน์หรือวิธีการอื่นๆ นักเรียนก็ จะพบว่า - น�้ำที่แกว่งด้วยสารส้มนั้นใสดี แต่ยังมีเชื้อโรคเยอะ - เชื้อโรคตายหมดเลย ในน�้ำต้ม แต่น�้ำขุ่นมาก - ยังมีเชื้อโรคอยู่มาก ในน�้ำกรอง - น�้ำกลั่นนั้นสะอาดมาก ๒) ดังนัน้ สรุปว่าการทําน�ำ้ ให้สะอาดโดยวิธที รี่ าคาถูกนัน้ คือ แกว่งน�ำ้ ด้วยสารส้มแล้วเอา ไปต้มให้เดือด ส่วนน�้ำกลั่นนั้นเป็นที่ต้องการของเราอย่างยิ่ง แต่ออกจะแพงมาก
31 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ในที่สุดนี้ขอ อนุมานเอาว่า ที่เรียกว่า The Scientific Method หรือ The Method of Intelligence นัน้ พระพุทธองค์ได้ทรงใช้มาก่อน แต่การแบ่งขัน้ อาจจะไม่ตรงกันนักกับของฝรัง่ เพราะ ต่างอาจารย์ก็ต่างแบ่งกันออกไปได้ แต่เนื้อหานั้นก็คืออันเดียวกัน ดังนั้น จึงเป็นการสมควรที่ครูอาจารย์ไทยเราจะได้ช่วยกันตริตรองในเรื่องนี้ การที่เรามีวิธี สอนซึ่งเป็นของเราเองนั้น ย่อมจะเป็นสิ่งที่สําคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงการศึกษา เท่าที่เป็นอยู่ ในขณะนีถ้ า้ ฝรัง่ มาถามว่า ครูไทยใช้วธิ สี อนอะไร เราก็ชกั อึกอักแล้วก็บอกว่า ก็ใช้วธิ กี ารแห่งปัญญา นัน่ แหละ ฝรัง่ เขาก็รวู้ า่ ไปลอกของเขามา แต่ถา้ เราบอกว่าเรามีวธิ สี อนตามขัน้ ทัง้ สีข่ องอริยสัจ เขา ก็คงตืน่ เต้นอยากรูว้ า่ เป็นอย่างไร และเมือ่ เขาวิเคราะห์ดู ปรากฏว่า เหมือนกันกับของเขาแต่ของเรา มีมาตั้ง ๒๕๐๐ ปีกว่าแล้ว เขาก็คงจะรู้สึกนิยมในครูไทย และศาสนาพุทธไม่น้อยทีเดียว
32 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยี....
จะเข้ามาแทนที่ครูได้หรือไม่ ? ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ
ในเรื่องนี้ก็มีความคิดเห็นไปต่างๆ นานา บางคนบอกว่าแทนที่ได้ บางคนบอกว่าแทนที่ไม่ได้ หรือบางคนบอกว่าจะคิดไปท�ำไม มีเรือ่ งอืน่ ๆ ทีค่ วร ท�ำยังมีอีกเยอะมาก แต่เมื่อมีประเด็นขึ้นมา ข้าพเจ้าในฐานะนักการศึกษาจึงขอแสดง ความคิดเห็นไว้ดังนี้เพื่อให้ผู้อ่านได้พิจารณาบ้าง ก่อนอื่นต้องท�ำความเข้าใจในบางประเด็นกล่าวคือ ค�ำว่า เทคโนโลยี หมายถึง การใช้เครื่องมือต่างๆ ที่เป็นครุภัณฑ์ (Hardware) และวัสดุ (Software) ตลอดจนวิธีการ (Technique) เช่น AI (Artificial Intelligence) และความก้ า วหน้ า ต่ า งๆ ทาง วิทยาศาสตร์ และอีกค�ำหนึ่งก็คือ หน้าที่ของครู ก็คือสอนเด็กให้เป็นคนดีและเป็นคนเก่งออกไป รับใช้สังคมอย่างมีความสุข นั่นก็คือเด็กมีรูปร่าง หน้าตา ซื่อสัตย์สุจริต เมตตากรุณา โอบอ้อมอารีย์ มีวนิ ยั อดทน ขยันหมัน่ เพียรและมีความรับผิดชอบ มีความคิดสร้างสรรค์ (ก็คือศีลธรรม คุณธรรม) นอกจากนั้นก็เป็นเรื่องวิชาการให้เด็กเชี่ยวชาญใน สิ่งที่เด็กชอบไปประกอบอาชีพได้ในอนาคต ตลอด จนมีความรูต้ า่ งๆ ทีจ่ ำ� เป็นจะมีชวี ติ อยูใ่ นสังคมอย่าง มีความสุข (ความรู้พื้นฐานต่างๆ) นี่คือหน้าตาเด็ก ที่ครูปั้นออกมาให้เป็นคนดี คนเก่งและอยู่ในสังคม
อย่ า งมี ค วามสุ ข ครู ทุ ก ชาติ ทุ ก ภาษาก็ ท� ำ เช่ น นี้ เหมือนกัน
เด็กจะเป็นคนดี คนเก่งและอยูอ่ ย่างมีความ สุขได้ ผูส้ อนก็ตอ้ งรอบรูใ้ นสาขาอาชีพของตน (วิชา เอกและโท) องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องต่อการสอนมี สิ่งที่ต้องค�ำนึงถึงหลักๆกล่าวคือ 1. ครูหรืออาจารย์ 2. นักเรียน 3. พ่อแม่ 4. สิ่งแวดล้อมทางการศึกษา 5. เนื้อหาวิชา 6. นโยบายของรัฐ ข้าพเจ้าขอขยายความสั้นๆ พอเข้าใจใน องค์ประกอบทั้ง 6 ประการเพราะทุกอย่างต้อง
33 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันเป็นอย่างดี การสอนจึง จะประสบความส�ำเร็จในการสร้างคนตามที่เรา ต้องการ 1. ครูหรืออาจารย์ ต้องเป็นครูดี ครูเก่งและ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขเป็นที่เคารพนับถือ ในสังคม ผู้สอนต้องเป็นแบบอย่างให้กับเด็กและ สังคมเช่นกัน ทุกอาชีพทีเ่ ก่งกาจสามารถก็ยอ่ มผ่าน การเรียนมาจากครูที่เก่งมาทั้งนั้น แต่เด็กที่เก่งหรือ ไม่เก่งส่วนหนึ่งมาจากสติปัญญาของพ่อแม่ที่ถ่าย ทอดพันธุกรรมให้กบั ลูกและมารับความรูจ้ ากครูอาจารย์ อีกทอดหนึ่ง ส่วนครูจะถ่ายทอดได้เก่งก็ต้องฝึกฝน การสอนมาเป็นอย่างดี ฝึกการสอนมาอย่างโชกโชน อาทิเช่นมีความรู้วิชาการดีตามวิชาเอกที่เลือกไว้ มี เทคนิคการสอนเป็นเยี่ยม (วิธีสอน) เข้าใจจิตวิทยา การศึกษา มีมนุษยสัมพันธ์กับพ่อแม่เด็ก เข้าใจ วัฒนธรรมทางบ้าน เข้าใจเทคโนโลยีทางการศึกษา เพือ่ น�ำมาใช้เป็นสือ่ การสอน เข้าใจการแนะแนวการ ศึกษา เข้าใจการวัดและการประเมินผลการศึกษา เข้าใจการบริหารคนทัง้ ครูและเด็ก และสุดท้ายต้อง ได้รับนโยบายจากรัฐบาลอย่างชัดเจน จะได้สนอง นโยบายเพือ่ ผลิตคนตามความต้องการของประเทศ ซึ่งจะได้กล่าวถึงรายละเอียดต่อไป
2. นักเรียน เด็กแต่ละคนก็มีวัฒนธรรมที่ ต่างกัน การใช้ภาษาสื่อสารก็ต้องเข้าใจตรงกันเด็ก แต่ละวัยก็ตอ้ งใช้จติ วิทยาทีต่ า่ งกัน สติปญ ั ญาก็แตก
34 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ต่างกัน การให้ค�ำชมหรือการท�ำโทษเด็กแต่ละคน ก็แตกต่างกันแม้ว่าจะเป็นกรณีเดียวกันก็ตามซึ่ง ล้วนเป็นเทคนิคที่หลากหลาย นอกจากนีฐ้ านะทางบ้านก็แตกต่างกัน เด็ก จะมีความพร้อมในการเรียนต่างกันมาก ท่านเคย เห็นเหตุการณ์เช่นนี้ไหม เด็กมีฐานะยืนกินขนม อย่างเอร็ดอร่อย แต่เด็กยากจนยืนมองดูอย่างน่า สงสารเพราะเขายากจนได้แต่กลืนน�้ำลายตนเอง
3. พ่อแม่ เป็นอีกองค์ประกอบหนึง่ ทีส่ ำ� คัญ ถ้ า พ่ อ แม่ ร�่ ำ รวยก็ ย ่ อ มได้ เ ปรี ย บเพราะเด็ ก จะมี ความพร้อมทุกๆ ด้าน ค่าเล่าเรียน อาหาร พาหนะ อุปกรณ์การเรียน เสื้อผ้าและอื่นๆ พ่อแม่สามารถ ให้การสนับสนุนได้อย่างสมบูรณ์ คนจนตรงกัน ข้ามแร้นแค้นไปทุกเรื่อง ต้องท�ำงานด้วยและเรียน ด้วย กลางวันต้องเดินกลับมาบ้านป้อนอาหารให้ แม่ที่นอนติดเตียง เห็นจากรายการทีวีบ่อยๆ ครูก็ ต้องดูแลเป็นพิเศษเพื่อให้เด็กได้เรียนหนังสือต่อไป อย่างมีคุณภาพ
นอกจากนีถ้ า้ พ่อแม่มคี วามรูด้ กี ย็ อ่ มช่วยลูก ได้มากเช่นถ้าลูกท�ำการบ้านไม่ได้พ่อแม่ก็จะชี้แนะ ให้ ส่วนพ่อแม่ทยี่ ากจนขาดความรูก้ ค็ งช่วยลูกไม่ได้ 4. สิ่งแวดล้อมทางการเรียน ท่านคงเคย เห็นห้องเรียนที่ว่างเปล่ามีแต่ฝาห้อง มีปฏิทินติดไว้ 1 ชุด กับห้องเรียนที่มีป้ายนิเทศ มีรูปภาพ มีแผนที่ มีมุมวิทยาศาสตร์ มุมสังคมศึกษา มีกระบะทราย และอื่นๆ อย่างไหนจึงจะเป็นห้องน่าเรียนกว่ากัน แถมยังมีคอมพิวเตอร์ให้ใช้เรียน on line ได้อีก โรงเรียนที่ไม่มีอะไรเลยเด็กจะเป็นอย่างไร ครูก็คง สงสารจับใจและจะต้องสอนเด็กให้ดีที่สุดในวิสัย ของการเป็นครู ยุคนี้ 4.0 แล้วและก�ำลังเข้า 5.0 อย่าคิดว่าปัจจุบัน เหตุการณ์ทวี่ า่ นีจ้ ะไม่มี เพราะประเทศไทย กว้างไกลมากป่าเขายังมีอีกเยอะ โรงเรียนครูคน เดียวก็ยังมี ความไม่เท่าเทียมทางการศึกษายังมีให้ เห็นได้
ตัวเด็กไม่ว่าจะสอนวิชาอะไรครูจะต้องสอดแทรก คุณธรรมเข้าไปทันทีอย่างแนบเนียน ได้พลเมืองดี ย่อมส�ำคัญกว่าพลเมืองเก่ง แต่ถ้าได้ทั้งดีและเก่งก็ เยีย่ มยอด แต่ละวิชาก็มวี ธิ สี อนทีแ่ ตกต่างกันไป อย่า คิดว่าทุกวิชาก็สอนเหมือนกันหมด มันจะมีเทคนิค การน�ำเสนอที่ต่างกัน
6. รัฐบาล เป็นตัวจักรส�ำคัญเพราะครูตอ้ ง สอนเด็กให้สนองนโยบายรัฐ เพื่อผลิตคนให้ตรง ตามความต้องการของรัฐ ต้องสนับสนุนทรัพยากร ให้โรงเรียนอย่างเต็มที่ ตัวอย่างเช่นที่เคยผ่านมา โรงงานต้องการช่างฝีมือในระดับกลางแต่โรงเรียน ก็สนองความต้องการไม่ได้ เพราะโรงเรี ย นไม่ มี เ ครื่ อ งมื อ ที่ ทั น สมั ย เหมือนโรงงาน เด็กจบไปก็ทำ� งานไม่ได้ตอ้ งเสียเวลา ฝึกอบรมอีกหนึง่ ปี จนในทีส่ ดุ บริษทั ใหญ่ๆ ก็เลยตัง้ โรงเรียนผลิตเด็กเข้าท�ำงานเอง ซึง่ จริงๆ แล้วบริษทั
5. เนื้อหาวิชา มีหลากหลายวิชา แต่ละ วิชาก็มเี นือ้ หามากมาย บางวิชาก็ตอ้ งใช้หอ้ งทดลอง บางวิชาก็ต้องท�ำจริง บางวิชาก็อ่านจากต�ำราได้ เช่นประวัติศาสตร์เรียกว่าพอรู้เรื่องการกีฬาต้อง ใช้สนามใช้อุปกรณ์จึงจะเกิดทักษะ ฝึกซ้อมจนเป็น แชมป์โลก และที่ส�ำคัญก็คือ ให้เด็กคิดเป็นท�ำเป็นสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ให้คิดสร้างสรรค์เป็น ปลูกฝังจริยธรรมให้อยู่ใน
35 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ต่างๆ ก็ไม่อยากจะท�ำเพราะต้องลงทุนมาก แต่ถ้า ไม่ทำ� ธุรกิจก็คงสูค้ นอืน่ ไม่ได้ ฉะนัน้ รัฐบาลต้องยอม ลงทุนอบรมครู ให้เครื่องจักรที่ทันสมัยเหมือนกับที่ โรงงานใช้อยู่ เด็กก็ไม่ตกงาน เอกชนก็ไม่ต้องลงทุน สร้างโรงเรียนดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ ที่ ส� ำ คั ญ มากก็ คื อ กระทรวง ศึ ก ษาธิ ก ารต้ อ งปฏิ รู ป การศึ ก ษาใหม่ ใ นระบบ บริหารและระบบการเรียนการสอน (ไม่ใช่กล้าๆ กลัวๆ ว่าคะแนนเสียงพรรคจะตก) ระบบบริหาร ต้องไม่ซ�้ำซ้อน กล้าที่จะเปลี่ยนโรงเรียนเพื่อเป็น โรงเรียนสอนเฉพาะทาง (ผูเ้ ขียนได้เขียนการปฏิรปู การศึกษาไว้ในวารสารเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา เล่มปี 2562 ของมูลนิธิ ศ.มล.ปิ่น มาลากุล) มีห้อง แลปทุกวิชา เด็กชอบอะไรต้องได้เรียน ก็จะได้คน เก่งและมีความคิดสร้างสรรค์เกิดนวัตกรรมใหม่ๆ ออกขายทั่วโลกประเทศไทยก็จะร�่ำรวย ในขณะ เขียนเรื่องนี้ก�ำลังเกิดโรคระบาดโควิด-19 รัฐบาล ก็สามารถแจกเงินให้ประชาชนได้โดยไม่ต้องคัด กรองด้วย AI เพราะAI เป็นปัญญาประดิษฐ์ทมี่ นุษย์ เขียนคุณสมบัติต่างๆใส่ไว้ให้ครบถ้วน แต่ถ้าใส่ไม่ ครบถ้วนมันก็จะปฏิเสธผู้นั้นก็จะไม่ได้เงิน ก็ต้อง มาขัดแย้งกันเองระหว่างคนไทย (ทะเลาะกันด้วย AI แท้ๆ) ทีนี้มาเข้าประเด็นว่า”เทคโนโลยีจะเข้ามา แทนที่ครูได้หรือไม่? “ข้าพเจ้าในฐานะครูอาวุโส (เอกวิทยาศาสตร์) เป็นครูอาจารย์มา 40 ปีเศษ มี ความเห็นว่าในช่วง 500 ปีต่อจากนี้ไปเทคโนโลยี ก็ไม่สามารถเข้ามาแทนทีค่ รูได้ เพราะการสอนเป็น ทัง้ วิทย์และศิลป (ทีเ่ รียกว่าเป็นทัง้ ศาสตร์และศิลป์) การสร้าง AI หรือปัญญาประดิษฐ์ให้เป็นสมองใส่ ไว้ในหุ่นยนต์ มนุษย์คิดใส่ข้อมูลให้จนครบสมบูรณ์ “ค�ำว่าครบสมบูรณ์” พูดง่ายแต่เวลาท�ำจริง (How to) มั น ยากเพราะตามที่แจกแจงมาตอนต้นว่า
36 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การสอนที่ดีมีองค์ประกอบ 6 ประการที่ครูจะต้อง บูรณาการออกมาเป็นวิธีสอนที่แยบยลจนง่ายต่อ ความเข้าใจของเด็ก ความแตกต่าง 6 ประการข้าง ต้นนั้นแต่ละข้อยังแตกย่อยได้อีกมากมาย สมมุติ ว่า (อย่างน้อย) 1. ครูอาจารย์ มีรายละเอียดปลีกย่อยอีก 200 อย่าง 2. นักเรียน “ “. 200 ” 3. พ่อแม่. “ “ 100 ” 4. สิ่งแวดล้อมทางการเรียน “ 400 ” 5. เนื้อหาวิชา “. “ 200 ” 6. รัฐบาล “ “ 20 ” เมื่ อ น� ำ ความคิ ด ที่ แ ตกย่ อ ยขององค์ ประกอบทั้ ง 6 ชนิ ด มาคู ณ กั น จะได้ เ ท่ า กั บ 32,000,000,000 สถานการณ์ ซึง่ จริงๆ มีมากกว่านี้ ผู้สร้าง AI คนแรกคิดยังไม่เสร็จก็คงตายไปแล้ว คน ต่อมาก็คิดต่อไปอีกและตายไปอีก เจ้าคนที่คิดคน แรกก็หวังรวยเป็นเศรษฐีโลกก็หมดโอกาสเพราะ ตายไปแล้ว คนต่อมาก็คงเป็นเช่นคนแรก คนที่จะ คิดท�ำต่อไปก็คงได้สติว่าจะเป็นเศรษฐีโลกคิดเรื่อง อื่นดีกว่า โอกาสที่จะเป็นเศรษฐีโลกก่อนตายน่า จะท�ำเรื่องอื่นดีกว่าแต่ถ้ามองตามทฤษฎีหรือหลัก การก็น่าจะเป็นไปได้เพราะจะท�ำต่อๆ กันไปและ จดบันทึกไว้จนครบข้อมูลที่จะใส่ใน AI อาจต้อง ใช้เวลาอีก 2,500ปี ถึงตอนนั้นโลกคงแตกสลาย ไปแล้วเพราะความเห็นแก่ตัวของมนุษย์ในแต่ละ ชาติของโลกนี้ นอกเสียจากทุกคนในโลกคิดว่าเป็น เชื้อชาติเดียวกัน เป็นพี่น้องกันไม่เอารัดเอาเปรียบ กัน รู้จักพอเพียง ความรวยความจนใกล้เคียงกัน แล้ว AI ก็พอจะมาช่วยครูได้บ้างแต่บุคลิกของเด็ก จะเหมือนหุ่นยนต์ จะยืน เดิน นั่ง นอนการยิ้มก็จะ แข็งกระด้างเหมือนหุ่นยนต์ ท่านลองจินตนาการ ดูก็แล้วกัน แล้วท่านต้องการลูกหลานแบบนี้ไหม
แต่นี่เป็นเพียงความคิดในอุดมคติคงยากที่จะเกิด ได้จริง ตัวอย่างที่เห็นเป็นรูปธรรมในปัจจุบันเช่น โลกร้อนขึ้นทุกวัน น�้ำแข็งขั้วโลกละลาย ไฟป่าไหม้ ทัว่ โลกเพราะโลกร้อนขึน้ ทุกวัน มีการประชุมระดับ โลกที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นเจ้าภาพเพื่อลงลายมือร่วม กันลดความร้อนในโลกแต่ก็มีเพียงประเทศเดียวที่ ลงลายมือไว้คือประเทศญี่ปุ่น แล้วจะหวังอะไรกับ เรื่องอื่นๆทั้งที่เห็นว่าหายนะของโลกคืบคลานเข้า มาแล้วก็ยังเห็นแก่ตัวของมนุษยชาติในโลกนี้
ข้ า พเจ้ า ขอกล่ า วไว้ เ ลยว่ า ไม่ มี วั น ที่ เทคโนโลยีที่จะเข้ามาท�ำการสอนแทนครูได้เต็มตัว อาจจะเข้ามาช่วยครูได้บ้าง ในปัจจุบันก็มีบางส่วน ในอุตสาหกรรมทีน่ ำ� มาใช้แทนแรงงานคนเท่านัน้ แต่ ก็ยงั ใช้คนคุมเครือ่ งอยูด่ ี ครูเก่าคนนีข้ อฟันธงเลยว่า เทคโนโลยีไม่สามารถเข้ามาแทนที่ครูได้แน่นอน
37 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
กรวยแห่งอนาคต: กลยุทธ์การออกแบบ นวัตกรรมการศึกษา Cone of Futures: A Design Innovation Strategy ผศ.ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร อาจารย์ประจ�ำ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ผลจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 อย่างรุนแรงไปทั่วโลก นักการศึกษา นักวิชาการ ต่างๆ ได้ออกมาพยากรณ์ว่า การศึกษาไทย และ การศึกษาของประเทศต่างๆ ยุคหลังโรคระบาดจะ เปลีย่ นแปลงไป บ้างกล่าวว่าจะไม่เหมือนเดิม จะว่า ไปแล้ว “อนาคต” คือสิ่งที่ยังมาไม่ถึง คนส่วนมาก มีความหวังเมื่อนึกถึงอนาคต เพราะอนาคตคือ “การเติบโต” คือการมีเป้าหมาย ดังนั้นจึงควรที่ จะเปลี่ยนวิกฤตนี้ให้เป็นโอกาสในการปรับและ เปลี่ยนให้การศึกษาดีมากขึ้น เป็นประโยชน์ต่อ มนุษย์มากขึ้น ในขณะที่ เ กิ ด การระบาดใหญ่ ไ ปทั่ ว โลก การเรียนการสอนออนไลน์กลายเป็นวิธีการสอน หลักแทนห้องเรียนปกติ ท�ำให้ผู้สอนต้องเรียนรู้ วิ ธี ก ารเรี ย นการสอนผ่ า นทางอิ น เทอร์ เ น็ ต มาก ยิ่งขึ้น เพราะเป็นทักษะที่จ�ำเป็นซึ่งจะต้องมีและ ต้องใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม เนื่องจากการ เรี ย นการสอนปกติ ใ นชั้ น เรี ย นอาจไม่ ป ลอดภั ย ตามสถานการณ์ของการระบาดใหญ่ เมื่อการเรียน การสอนทางออนไลน์กลายเป็นทางเลือกที่จะช่วย
38 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ลดการติดเชื้อของไวรัสโควิด-19 ที่มีประสิทธิภาพ มากที่สุดทางหนึ่ง การปรับเปลี่ยนครั้งใหญ่นี้ ไม่ใช่ เพียงแต่นักเทคโนโลยีการศึกษาที่ต้องรู้จัก ต้อง เข้าใจวิธีการลงมือปฏิบัติเพื่อออกแบบนวัตกรรม การศึกษาเท่านั้น แต่เป็นความท้าทายของนักการ ศึกษาทุกสาขาที่จะต้องเข้าใจการสร้างนวัตกรรม ด้วยกรวยแห่งอนาคต กลยุทธ์ของการคาดการณ์อนาคตนั้นแตก ต่างจากการวางแผน สิ่งที่ท�ำให้ต้องเข้าใจกลยุทธ์ ของการคาดการณ์นั้นเป็นเพราะอนาคตเป็นสิ่งที่ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วและง่ายดาย (Volatility) ไม่แน่นอน (Uncertainty) ซับซ้อน (Complexity) และ ไม่ชัดเจน (Ambiguity) (van Duijne & Bishop, 2018)
รูปที่ 1 ลักษณะของอนาคต (ปรับปรุงจาก van Duijne & Bishop (2018)
นอกจากนี้อนาคตศึกษายังให้ความส�ำคัญ ต่อธรรมชาติของระบบ ซึ่งถูกขับเคลื่อนโดยปัจจัย ที่แตกต่างกันได้แก่ ปัจจัยทางสังคม เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม การเมืองและคุณค่าหรือ วัฒนธรรม จึงเป็นการมองภาพที่รอบด้าน ด้วย คุณลักษณะดังกล่าวส่งผลให้อนาคตเป็นสิ่งที่คาด การณ์ไม่ได้ง่ายนัก ซึ่งอาจหมายรวมถึงการด�ำเนิน ตามแผนทีก่ ำ� หนดไว้อาจจะไม่นำ� มาซึง่ ผลทีค่ าดหวัง
ก็เป็นได้ การคาดการณ์เชิงกลยุทธ์ไม่ได้เป็นการคาด การณ์อนาคตทีด่ กี ว่าวิธอี นื่ แต่จะท�ำให้สามารถเห็น ภาพที่ชัดเจนดีกว่า การคาดการณ์เชิงกลยุทธ์จะ มุ่งเน้นที่การเตรียมพร้อมส�ำหรับอนาคตที่แตกต่าง ที่เป็นไปได้และที่น่าเชื่อถือ เพราะการละเลยที่จะ คาดการณ์อนาคตจะท�ำให้ไม่เห็นโอกาสและกลับจะ เป็นความเสีย่ ง (อนาคตคนไทย 4.0, 2562) ลักษณะ การคิดเพื่ออนาคตสามารถแสดงได้ดังรูป
รูปที่ 2 ลักษณะการคิดเพื่ออนาคต (ชัยธร ลิมาภรณ์วณิชย์, 2562)
39 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ชั ย ธร ลิ ม าภรณ์ ว ณิ ช ย์ (2562) แสดง ลักษณะการคิดเพือ่ อนาคตเป็น 2 รูปแบบ แบบที่ 1 คือ การท�ำนาย (Forecast) เป็นลักษณะของอนาคต ที่ถูกก�ำหนดด้วยอดีต แบบที่ 2 คือ การพยากรณ์ (Foresight) เป็นลักษณะของการสร้างอนาคต ทางเลือก การพยากรณ์เพือ่ อนาคต มีความสัมพันธ์ กั บ การคิ ด นอกกรอบ และความพยายามสร้ า ง นวัตกรรม ซึง่ สามารถเริม่ ต้นจากการจัดล�ำดับความ ส�ำคัญของปัญหา ความพยายามใช้ทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธิผล การสร้างวิสยั ทัศน์ สร้างเครือข่าย และ ที่ส�ำคัญยิ่งคือการเตรียมพร้อมแม้วิกฤตยังมาไม่ถึง ทั้งนี้จ�ำเป็นต้องสามารถตัดสินใจบนฐานข้อมูลที่ เป็นไปได้ จากการระบาดของไวรัสโควิด19 ครั้งนี้ นักการศึกษาน่าจะพิจารณาได้ว่า การเรียนแบบ ออนไลน์ที่ถูกน�ำมาแทนที่การเรียนในห้องเรียน ปกติ เป็นการคิดเพื่ออนาคตแบบการท�ำนาย หรือ การพยากรณ์
รูปที่ 3 ลักษณะเฉพาะของการพยากรณ์ ชุดภาพอนาคต และอนาคตย้อนกลับ Robinson (2011) (อ้างถึงใน van Bers et al., 2011)
จากปัจจุบันสามารถมองอนาคตได้หลาก หลายรูปแบบ เช่น แบบการพยากรณ์ (Forecasting) แบบชุดภาพอนาคต (Scenarios) และแบบอนาคต ย้อนกลับ (Backcasting) โดยที่การพยากรณ์จะมี เป้าหมายไปยังเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ส่วนชุด ภาพอนาคตจะแสดงถึงทางเลือกที่สามารถเกิดขึ้น
40 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ได้ในอนาคต และอนาคตย้อนกลับ คือการประเมิน ความเป็นไปได้ของอนาคตที่ต้องการ กัลยา ตันติยาสวัสดิกุล (2561) อธิบายว่า อนาคตย้อนกลับ (Backcasting) เป็นกระบวนการ ที่เชื่อมโยงวิสัยทัศน์อนาคต กับทางเลือกของการ บริหารจัดการในปัจจุบัน ซึ่งอาศัยการเรียงล�ำดับ
เหตุการณ์แบบย้อนกลับ โดย Backcasting แตก ต่างจาก Forecasting คือ ไม่ได้เป็นการท�ำความ เข้าใจสถานการณ์ปัจจุบันในมิติของอนาคต แต่ เป็นการหาเหตุและผลของชุดภาพอนาคตว่าจะมี โอกาสเกิดขึ้นหรือไม่ โดยการมองหาสัญญาณบอก เหตุที่น�ำไปสู่เหตุการณ์ในอนาคต ที่เผยให้เห็นถึง สมมติฐานนั้นๆ โดย Backcasting จะช่วยให้เข้าใจ ถึงสัญญาณทีม่ ผี ลต่อความเปลีย่ นแปลง และเพือ่ ให้ พิจารณาและเตรียมความพร้อม โดยกระบวนการ Backcasting เริ่มจากการก�ำหนดวิสัยทัศน์ของ อนาคตโดยใช้ชดุ ภาพอนาคตทีส่ ร้างขึน้ โดยจะต้อง เป็นภาพที่มีเหตุมีผลที่จะเกิดขึ้นได้ และระยะเวลา การเกิดภาพดังกล่าวเพียงพอทีจ่ ะท�ำ Backcasting โดยเริ่มกระบวนการด้วยค�ำถามที่ว่า เหตุการณ์ ลงเอยแบบนี้ได้อย่างไร เมื่อ…..ปีก่อนหน้านั้นป็น อย่างไร โดยค่อยๆ ท�ำ ย้อนกลับทีละ 5-8 ปี จาก ปีที่ก�ำหนด โดยตัวอย่างโจทย์ที่ถูกก�ำหนดในที่นี้ เช่ น สภาพชี วิ ต หลั ง วิ ก ฤตไวรั ส โควิ ด 19 ใน ประเทศไทยจะเป็นอย่างไร โดยควรเลือกพิจารณา หาความแตกต่างระหว่างแต่ละช่วงเวลาว่าอะไร ท�ำให้เกิดสภาวการณ์นนั้ ๆ มีสญ ั ญาณบอกเหตุอะไร บ้าง และวิเคราะห์วา่ กลยุทธ์ใด ทีค่ วรตอบสนองต่อ สัญญาณและเหตุกาณ์ดังกล่าวอย่างไร ย้อนหลังไปสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อนาคตศาสตร์เป็นกระบวนการที่น�ำมาประยุกต์ใช้ กันในอุตสาหกรรมการป้องกันประเทศ (ซาริตาส อ้างถึงใน อนาคตคนไทย 4.0, 2562) ต่อมาถูกน�ำ มาแพร่หลายในคริสต์ทศวรรษที่ 70 เนื่องจากเกิด วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ที่ต้องน�ำอนาคตศาสตร์ น�ำมาประยุกต์ใช้ในด้านการคาดการณ์เศรษฐกิจ จวบจนถึงในคริสต์ทศวรรษที่ 80 และ 90 เป็นยุค ทีน่ วัตกรรมเริม่ มีความส�ำคัญมากขึน้ อนาคตศาสตร์ น�ำมาใช้ประยุกต์ในการมองอนาคตเกี่ยวกับการ
สร้างนวัตกรรมและยุทธศาสตร์ด้านการวิจัยและ พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งแต่โลกเข้า สู่คริสต์ศตวรรษที่ 20 อนาคตศาสตร์เป็นที่แพร่ หลายมากขึ้ น และได้ น�ำ มาใช้ เ กี่ ย วกั บการคาด การณ์อนาคตเชิงยุทธศาสตร์ที่เป็นความท้าทายที่ ยิง่ ใหญ่ตา่ งๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ เกิดการระบาด ใหญ่ของไวรัสโควิด-19 ดังนั้นการศึกษาอนาคต เป็นศาสตร์ที่ประยุกต์ใช้การคิดอย่างมีระบบ ต้อง วิเคราะห์ปจั จัยทีม่ ผี ลเกีย่ วเนือ่ งกันทีซ่ บั ซ้อน มีการ วิเคราะห์ที่อาศัยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วน เสียและสามารถที่จะคาดการณ์อนาคตในความน่า จะเป็นระดับต่างๆ จนกระทั่งไปถึงการสร้างวิสัย ทัศน์ร่วมกัน อย่างไรก็ดีอนาคตศาสตร์ไม่ได้มอง อนาคตว่ามีเพียงมิติเดียว โจเซฟ โวโรส (Joseph Voros (2017) ได้ศึกษาพัฒนาแนวคิดของกรวย แห่งอนาคต ที่ได้ปรับปรุงและหลอมรวมกรวยแห่ง อนาคตจากอดีตของผูเ้ ขียนหลายท่าน มาเป็นกรวย แห่ ง อนาคตที่ เ หมาะสมกั บการน� ำ ไปปฏิ บัติ ซึ่ ง สามารถแสดงได้ดังรูปต่อไปนี้
41 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
รูปที่ 4 กรวยแห่งอนาคต (Voros, 2017)
โวโรส (2017) อธิบายว่าการก�ำหนดอนาคต ต้องเริม่ จากสภาพปัจจุบนั ทีม่ ศี กั ยภาพ หมายความ ว่าสภาพปัจจุบนั ต้องพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง ต้อง สามารถเปิดรับสิ่งใหม่ๆ และต้องเป็นปัจจุบันที่ไม่ หยุดอยู่กับที่ ทั้งนี้เป็นเพราะอนาคตเป็นสิ่งที่อยู่ บนพื้นฐานของความเป็นจริงที่ไม่ต้องพิสูจน์ ซึ่งจะ สามารถอธิบายแต่ละส่วนของกรวยแห่งอนาคตได้ ดังต่อไปนี้ 1. อนาคตที่เป็นไปไม่ได้ (Preposterous Futures) หรือวงรอบนอกสุดเส้นสีแดง หมายถึง อนาคตทีไ่ ม่ตงั้ อยูบ่ นพืน้ ฐานความเป็นจริงและไม่มี โอกาสเกิดขึน้ อาจจะถูกสร้างขึน้ มาจากการคิดนอก กรอบ แม้จะเป็นสิ่งที่ไม่มีโอกาสขึ้น ณ ปัจจุบัน แต่ต้องคาดการณ์เอาไว้ เพราะเมื่อเวลาเปลี่ยนไป อนาคตที่เป็นไปไม่ได้อาจจะเป็นไปได้ 2. อนาคตที่เป็นได้ (Possible Futures) หรือพื้นที่วงรอบด้านในเส้นสีด�ำ หมายถึง อนาคต ที่ “อาจ” เกิดขึ้นได้ (Might Happen) แต่ยังไม่มี
42 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ทฤษฎีหรือองค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับอย่าง กว้างขวางเพือ่ ยืนยันโอกาสทีอ่ นาคตนัน้ อาจจะเกิด ขึน้ ในส่วนนีอ้ าจจะเป็นจินตนาการทีไ่ ม่สมั พันธ์กบั ทฤษฎีก็ได้ 3. อนาคตทีส่ ามารถเกิดขึน้ ได้ (Plausible Futures) หรือพื้นที่สีเทา หมายถึง อนาคตที่คิดว่า อาจเกิดขึ้นได้ (Could Happen) เป็นสิ่งที่มีความ สัมพันธ์กบั ทฤษฎี และองค์ความรูท้ มี่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั มักเป็นส่วนขยายที่ได้จากการคาดการณ์ 4. อนาคตจากการคาดการณ์ (Projected Future) หรือจุดเล็กสีฟ้าเข้ม หมายถึง อนาคตที่มี สภาพเหมือนกับสถานการณ์ปจั จุบนั ซึง่ จะสามารถ คาดการณ์ได้จากข้อมูลในอดีตและปัจจุบนั อนาคต ณ จุดนีจ้ ะไม่เปลีย่ นแปลงไปจากปัจจุบนั จึงมีความ แน่นอน 5. อนาคตที่น่าจะเป็นไปได้ (Probable Futures) หรือพื้นที่สีฟ้า หมายถึง อนาคตที่มี ความเป็นไปได้สูงที่จะเกิดขึ้นจากการวิเคราะห์เชิง
ปริมาณหรือเชิงสถิติ แต่ระดับความเป็นไปได้ไม่สูง เท่ากับอนาคตจากการคาดการณ์ แต่เป็นผลทีน่ า่ จะ เกิดเพิ่มขึ้นจากการคาดการณ์ 6. อนาคตที่พึงปรารถนา (Preferable Futures) หรือพื้นที่วงรีสีเขียว ที่ครอบคลุม ตั้งแต่ อนาคตจากการคาดการณ์ อนาคตที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ อนาคตที่อาจเกิดขึ้นได้ และยังรวมถึงบางส่วนของ อนาคตที่เป็นไปไม่ได้ ดังนั้นจึงหมายถึง อนาคตที่ ต้องการให้เกิดขึ้น (Want to Happen, Should Happen) เป็นแนวคิดการออกแบบเชิงผสมผสาน แตกต่างจากแนวคิดอนาคตทีก่ ล่าวมาข้างต้น เพราะ เป็นแนวคิดทีเ่ กิดจากกกระบวนการคิด (Cognitive Process) เช่น เทคโนโลยีสง่ เสริมการเรียนการสอน (Technology Enhanced Learning) องค์ความรู้ ใหม่ของการเรียนออนไลน์ เป็นต้น อนาคตมี ร ากฐานมาจากสิ่ ง ที่ ค าดหวั ง (Expected Future) เนื่องจากในกรอบระยะเวลา แบบสัน้ นัน้ สิง่ ทีค่ าดหวังจะเกิดขึน้ ในอนาคตอันใกล้ โอกาสของการเปลีย่ นแปลงแบบสิน้ เชิงของอนาคต นัน้ เป็นไปได้นอ้ ย แต่เมือ่ กรอบระยะเวลาขยายออก ไปความไม่แน่นอนก็จะมีเพิ่มมากขึ้น จึงเป็นโอกาส
ที่อนาคตแบบทางเลือก (Alternative futures) สามารถเกิดขึน้ ได้มากยิง่ ขึน้ แต่กจ็ ะไม่ถงึ ขัน้ แน่นอน ทีส่ ดุ เพราะอนาคตแบบทางเลือกนัน้ มักจะมาพร้อม กับอนาคตที่หลากหลาย (Multiple futures) ที่ ครอบคลุมอนาคตในรูปแบบต่างๆ ที่แตกต่างจาก มาตรฐานของปัจจุบัน ดังนั้นอนาคตศาสตร์จึงเป็น สิง่ ทีจ่ ำ� เป็นต้องศึกษาเพราะทางเลือก ทีห่ ลากหลาย และคาดหวังนั้นมีโอกาสที่จะเกิดขึ้น และส่งผลกับ ความส�ำเร็จขององค์การ รูปแบบของกรวยแห่งอนาคตอีกแบบหนึ่ง คือ กรวยแห่งอนาคตที่สามารถเกิดขึ้นได้ (Cone of Plausibility) โดย แวน ดุยจน์ และ บีช๊อป (van Duijne & Bishop, 2018) เป็นการคาดการณ์ อนาคตทีแ่ สดงความสัมพันธ์จากอดีต ปัจจุบนั และ อนาคต ที่ค�ำนึงถึงความถูกต้องของการคาดการณ์ อนาคตตามหลักอนาคตศาสตร์ที่กรอบระยะเวลา ขนาดกลางคือ ประมาณ 6–10 ปี (Bye Love You, 2020) เนือ่ งจากช่วงระยะดังกล่าวสามารถใช้ทฤษฎี และองค์ความรูท้ มี่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั คาดการณ์ได้ อีกทัง้ น่าจะสามารถตรวจสอบความถูกต้องโดยเทียบเคียง กับทฤษฎีหรือองค์ความรู้ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ดังรูป
รูปที่ 4 กรวยแห่งอนาคต (Voros, 2017)
43 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ในรูปกรวยแห่งอนาคตที่สามารถเกิดขึ้น ได้นี้แสดงความสัมพันธ์ของ อดีต (Past) ปัจจุบัน (Present) ขีดจ�ำกัดของความเป็นไปได้ (Limit of plausibility) ฐาน (Baseline) วิสัยทัศน์ (Vision) สิง่ ทีค่ าดหวัง (Implications) และอนาคตทางเลือก (Alternative futures) การประยุกต์ใช้กรวยแห่ง อนาคตทีส่ ามารถเกิดขึน้ ได้ควรจะเริม่ จากการตอบ ค�ำถาม ดังนี้ 1. อะไรก�ำลังจะเกิดขึน้ หรือ อะไรคือสิง่ ที่ คาดหวัง (Implications) 2. อะไรที่อาจเกิดขึ้นแทนที่ หรือ อนาคต ทางเลือก (Alternative futures) 3. อะไรที่ต้องการให้เกิดขึ้น หรือ อนาคต ที่ต้องการ (Vision) วิสัยทัศน์ (Vision) คือ อนาคตที่ต้องการ เป็นสิ่งที่พึงปรารถนา (Preferred future) ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของอนาคตแบบทางเลือก (Alternative futures) วิสัยทัศน์จึงเป็นแผนส�ำหรับอนาคต ทาง เลือกและแผนเป็นสิ่งที่จะน�ำไปสู่อนาคต อย่างไร ก็ตามแผนทีต่ งั้ ไว้ตอ้ งรองรับการเปลีย่ นแปลงทีค่ าด คิดไม่ถึงด้วยเช่นกัน เหมือนกับที่คาดคิดไม่ถึงว่า จะเกิดการระบาดใหญ่ของไวรัสโควิด-19 ครั้งนี้ นอกจากนี้กลยุทธ์ที่จะส่งเสริมให้วิสัยทัศน์ปรากฎ เป็นจริงได้คอื การสร้างแผนงานทีป่ รับเปลีย่ นไปตาม สถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งอาจจะล�้ำหน้าไป กว่าแผนระดับมาตรฐานที่ตั้งไว้แล้ว (Grim, 2020) การคาดการณ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพจะครอบคลุมความ แตกต่างของอนาคต 3 รูปแบบหลักคือ 1) อนาคต ที่คาดหวัง (Expected future) เพราะแม้หน่วย งานต่างๆ จะมีการตั้งเป้าส�ำหรับอนาคตที่คาดหวัง แต่ก็มีความเป็นไปได้ที่จะไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง 2) อนาคตทางเลือก (Alternative futures) แม้ อนาคตทางเลือกคือสิ่งที่เป็นไปได้ที่ค่อยๆ เกิดขึ้น
44 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ซึง่ อธิบายได้ในรูปของกรวยแห่งอนาคตทีส่ ามารถ เกิดขึ้นได้ โดยจะแสดงว่าอนาคตมีโอกาสเกิดขึ้น ตามการคาดการณ์ และ 3) อนาคตที่พึงปรารถนา (Preferred future) ดังนั้นหน่วยงานต่างๆ และ นักวิชาการจะต้องมีวสิ ยั ทัศน์ถงึ อนาคตทีพ่ งึ ปรารถ นาและมุ่งจะสร้างงานดังกล่าวให้ส�ำเร็จ สรุป การก� ำ หนดอนาคตต้ อ งค้ น หาให้ ไ ด้ ว ่ า ต้อง “เปลี่ยน” อะไร และเป้าหมายคืออะไร เมื่อ ใช้ ก ารคาดการณ์ ก็ ต ้ อ งก� ำ หนดให้ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ จ ริ ง ต้ อ งพยายามระบุ จุ ด ที่ จ ะต้ อ งพั ฒ นาจากสิ่ ง ที่ มี แนวโน้มจะเกิดขึ้น ซึ่งต้องไม่ละเลยการพิจารณา ผลกระทบจากภายนอก ยิ่งไปกว่านั้นต้องเข้าใจ ความซับซ้อน เพราะวิธีการคาดการณ์ที่ดีที่สุดคือ การพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างแนวโน้มที่เป็น เป้าหมายและศักยภาพในการท�ำงาน องค์กรต่างๆ ต้องเร่งค้นหาจุดอ่อนและ จุดแข็งของตนเอง เพราะการคาดการณ์เป็นเสมือน เครื่องมือที่ท�ำให้ค้นพบความสัมพันธ์ของแนวโน้ม และศักยภาพของการท�ำงาน ที่แสดงให้เห็นโอกาส ใหม่ๆ และความท้าทาย ทีส่ ำ� คัญทีจ่ ะน�ำไปสูอ่ นาคต ทีพ่ งึ ปรารถนาภายใต้หลักการพัฒนาเพือ่ เพิม่ ความ สามารถในการตัดสินใจ ด้วยการเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ถึงอนาคตที่เกิดขึ้นได้ และสิ่งที่เกี่ยวข้องต่างๆ ซึ่ง จะน�ำไปสูก่ ารสร้างกลยุทธ์ทดี่ ี เพราะเป้าหมายหลัก คือการสร้างนวัตกรรม ที่เป็นทั้งโอกาสและความ ท้าทายที่จะส่งผลให้เกิดศักยภาพที่ยิ่งใหญ่
บรรณานุกรม กั ลยา ตั น ติ ย าสวัสดิกุล. (2561). Training of Trainers on Foresight Management for Strategic Planning Specialists (Training of Trainers No. 18-RP-49-GE-TRC-B). มูลนิธิส่งเสริมการออกแบบอนาคตประเทศไทย. https://www.ftpi.or.th/wp-content/ uploads/2019/02/18RP49TRCHOFOR-KallayaT10Nov18.pdf ชัยธร ลิมาภรณ์วณิชย์. (2562). ออกแบบยุทธศาสตร์ด้วยการมองอนาคต. http://bps.moph.go.th/ new_bps/sites/default/files/forsight.pdf อนาคตคนไทย 4.0. (2562). ท�ำไมเราจึงต้องมองไปในอนาคต | อนาคตคนไทย 4.0 [กรุงเทพธุรกิจ]. https://www.bangkokbiznews.com/. https://www.bangkokbiznews.com/blog/ detail/647299 Bye Love You. (2020, April 12). ความถูกต้องของอนาคต ขึ้นอยู่กับ “กรอบระยะเวลา” (Time Frame). Medium. https://medium.com/@byeloveyou/ความถูกต้องของอนาคต-ข้ึนอ ยู่กับ-กรอบระยะเวลา-time-frame-25dbc3e687c7 Grim, T. (2020). What Is Foresight? Foresight Alliance. http://www.foresightalliance.com/ resources/foresight-maturity-model/what-is-foresight/ van Bers, C., Bakkes, J., & Hordijk, L. (2011). Building Bridges from the Present to Desired Futures: Evaluating Approaches for Visioning and Backcasting (Workshop TIAS Report 2016/1). Central European University. https://doi.org/10.13140/RG.2.2.27914.47048 van Duijne, F., & Bishop, P. (2018, January). Introduction to Strategic Foresight. Future Motion. https://www.futuremotions.nl/wp-content/uploads/2018/01/ FutureMotions_introductiondoc_January2018.pdf Voros, J. (2017, February 24). The Futures Cone, use and history. The Voroscope. https:// thevoroscope.com/2017/02/24/the-futures-cone-use-and-history/
45 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ท่านทราบหรือไม่ ประเทศใดจัดการศึกษาดีที่สุดในโลก รศ.ดร.บุญเลิศ ส่องสว่าง
ไม่น่าเชื่อว่าประเทศเล็ก ๆ ในซีกโลกเหนือ ซึ่งอยู่ระหว่างประเทศนอรเวย์ สวีเดน รัสเซีย และ ทะเลบอลติ ก จะได้ รั บ การประเมิ น จาก PISA (Program for International Student Assessment) ซึ่งเป็นองค์กรในการประเมินผลการศึกษา ของนักเรียนระหว่างประเทศ ให้ประเทศฟินแลนด์ เป็นประเทศที่จัดการศึกษาได้ดีที่สุดในโลก ประเทศฟินแลนด์เป็นประเทศเล็ก ๆ ใน กลุ่มประเทศนอร์ดิก มีพื้นที่ประมาณ 338,145 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 5.5 ล้านคน ซึ่งมีรายได้ต่อหัวประมาณ 48,450 ดอลลาต่อปี สกุลเงินที่ใช้คือ สกุลเงินยูโร มีภูมิอากาศค่อนข้าง หนาว ฟินแลนด์มีอัตราการรู้หนังสือถึง 100% มี ความก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ขัน้ สูง เป็นแหล่งคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ และมีความ ก้าวหน้าทางด้านการศึกษามาก ประเทศฟิ น แลนด์ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ว่ า จั ด การศึ ก ษาได้ ดี ที่ สุ ด ในโลกดี ก ว่ า ประเทศ มหาอ�ำนาจหลายประเทศ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะเป็น ประเทศไม่ใหญ่โตกว้างขวางมากนัก ประชาชนมี พื้นฐานความเป็นอยู่ดี มีระบอบการปกครองแบบ ประชาธิปไตย ระบบรัฐสภา และมีประธานาธิบดี
46 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เป็นประมุข ประเทศมีความสมบูรณ์มนั่ คง ประชาชน มีความเหลื่อมล�้ำทางความเป็นอยู่และเศรษฐกิจ น้อยมาก ตลอดจนมีการพัฒนาการศึกษาอย่างจริงจัง การจัดการศึกษาในประเทศฟินแลนด์นั้น ก�ำหนดให้เด็กทุกคนได้เรียนการศึกษาภาคบังคับถึง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (เกรด 9) โดยรัฐบาล สนับสนุนงบประมาณให้ 85% โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เรียนต่อ ตัง้ แต่ เกรด 10 - 12 เหมาะส�ำหรับนักเรียนทีต่ อ้ งการ เรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัยในสายวิชาการ เช่น แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ นิตศิ าสตร์ ครุศาสตร์ เป็นต้น โรงเรียนสายอาชีพ เหมาะส�ำหรับนักเรียน ทีต่ อ้ งการศึกษาอาชีพเฉพาะทาง คล้ายกับการเรียน ปวช. ในบ้านเรา เมือ่ เรียนจบชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ โรงเรียนสายอาชีพแล้ว นักเรียนก็มีทางเลือกอยู่ 2 ทาง คือ เข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือโรงเรียน โพลีเทคนิค ผูเ้ ข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัย เมือ่ เรียนจบ ปริญญาตรีแล้ว จะออกไปท�ำงานหรือเรียนต่อใน ระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอกได้ ส่วนโพลีเทคนิค จะใช้เวลาเรียน 3 - 4 ปี คล้ายกับ ปวส. ในเมืองไทย
ประเทศฟินแลนด์มีมหาวิทยาลัยของรัฐ ประมาณ 20 แห่งและโรงเรียนโพลีเทคนิคอีกประมาณ 30 แห่ง ซึ่งด�ำเนินการโดยรัฐบาลและเอกชน สิ่งที่น่าสังเกตว่าท�ำไมประเทศฟินแลนด์ จึงจัดว่าเป็นประเทศทีม่ รี ะบบการศึกษาทีด่ ที สี่ ดุ ใน โลกนั้น อาจเนื่องมาจากสาเหตุต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. การเรียนทีป่ ระเทศฟินแลนด์เน้นทีก่ าร เล่นเป็นส�ำคัญ เพราะคิดว่าเด็กสามารถเรียนรู้ได้ดี โดยผ่านการเล่นและการค้นพบประสบการณ์ด้วย ตัวเอง ครูจึงไม่เพียงแต่อนุญาตให้เด็กเล่นได้แต่ยัง สนับสนุนให้เด็กเล่นด้วย 2. การสอบไม่ได้เป็นไปแบบเอาเป็นเอา ตายเพราะหากเด็กต้องเตรียมตัวอ่านหนังสือมาก เกินไปจะท�ำให้ไม่มีเวลาคิดอย่างอิสระ แต่จะมีการ ประเมินด้านการเรียนการสอนและความรับผิดชอบ ของเด็กแทน โดยการจัดการศึกษาตั้งอยู่รากฐาน ของการวิจัย
3. โรงเรียนแต่ละโรงไม่แข่งขันกันเอง ไม่มี การจัดล�ำดับโรงเรียน โดยเชือ่ ว่าทุกโรงเรียนดีเท่ากัน 4. การคัดเลือกครูมาสอนนั้นเข้มงวดมาก โดยผูท้ จี่ ะมาเป็นครูนนั้ จะต้องเป็นคนระดับหัวกะทิ เท่านัน้ จึงจะได้เป็นครูโดยครูจะต้องจบการศึกษาถึง ระดับปริญญาโท และต้องผ่านการสัมภาษณ์ด้าน ศีลธรรมและแรงบันดาลใจในการอยากมาเป็นครู อีกด้วย และครูจะมีรายได้ค่อนข้างสูง 5. การเรียนของเด็กนัน้ จะเรียนแค่ 45 นาที พัก 15 นาที เพราะเชื่อว่าการเรียนรู้จะส�ำเร็จได้ดี ต่อเมื่อได้รับการพักผ่อนตามช่วงเวลาที่เพียงพอ เด็กจะมีการบ้านน้อยมาก 6. เด็กจะเข้าเรียนประถมศึกษา เมื่ออายุ ถึง 7 ขวบ และวันหนี่งเรียนประมาณ 4 – 5 ชั่วโมง เท่านั้น 7. การสอนของครู มีชั่วโมงสอนประมาณ 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ เพื่อให้ครูได้มีเวลาศึกษาและ
47 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เตรียมการสอนให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ และคุณภาพตลอดจนครูมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมี ความสุขในอาชีพการเป็นครู 8. เด็กสามารถเลือกเรียนสายสามัญหรือ สายอาชีพก็ได้ เมื่อเรียนจบอายุครบ 16 ปีแล้ว เด็ก สามารถเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยได้ทั้งสองสาย 9. ครูจะสอนตามหลักสูตรที่มีระบบการ ศึกษามาตรฐานเดียวกัน ซึง่ แล้วแต่ครูจะสร้างสรรค์ โดยยังอยู่ในมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ 10. การเรียนจะไม่มกี ารตัดสินเกรดจนกว่า จะถึง ป.4 เพราะต้องการเน้นการเรียนรู้มากกว่า การให้เกรด แต่ละห้องมีนกั เรียนประมาณ 12 – 20 คนเท่านั้น 11. จะมีการสอนจริยธรรมตัง้ แต่เด็กยังเล็ก ส�ำหรับนักเรียนทีไ่ ม่ได้นบั ถือศาสนาก็ตอ้ งเข้าเรียน จริยธรรมจากห้องเรียนสอนศาสนาด้วย 12. ห้องเรียนแต่ละห้องอาจมาเรียนร่วม กัน เพือ่ แลกเปลีย่ นกัน รวมทัง้ ครูยงั รวมกันช่วยเป็น ที่ปรึกษาให้แก่เด็กเหล่านั้นอีกด้วย 13. ประเทศฟิ น แลนด์ ไ ม่ ใ ช้ ข ้ อ สอบ มาตรฐานมาวัดเด็กทั้งประเทศ เขาให้โรงเรียน ก�ำหนดข้อสอบเอง ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ของโรงเรียน 15. รัฐบาลของประเทศฟินแลนด์ให้ความ เชื่อมั่นในเขตปกครองย่อย ๆ ของตนเอง และเขต ปกครองย่อยก็เชื่อมั่นในโรงเรียนของตน ตลอดจน ครู นักเรียน และผู้ปกครอง ต่างก็มีความเชื่อมั่น ซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ประเทศฟินแลนด์ยังน�ำวิธีการ เรียนการสอนแบบใหม่ที่เรียกว่า Phenominal Based Learning หรือ หน่วยการเรียนการสอน ตามพืน้ ฐานปรากฏการณ์ ซึง่ เป็นการเรียนการสอน แบบองค์รวม ไม่ต้องเรียนแยกเป็นรายวิชา แต่จะ
48 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ใช้หน่วยปรากฏการณ์นี้ในการน�ำวิชาสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการเรียนการสอนและตลอดจน ทักษะในการสื่อสารมาใช้ การเรียนแบบนี้อาจจะ เป็นแบบตัวต่อตัว ออนไลน์ อินเตอร์เน็ต โดยผ่าน กระบวนการ e – learning ซึ่งนักเรียนจะท�ำงาน ร่วมกันกับเพื่อนนักเรียนและครูในการส�ำรวจและ แบ่งปันข้อมูล ซึ่งน�ำไปสู่การแก้ปัญหาการเรียนรู้ และน�ำไปสู่การปฏิบัติจริง ซี่งเป็นรูปแบบการเรียน การสอนที่น่าสนใจ ส�ำหรับประเทศไทยแล้ว เราเริ่มจัดการ ศึกษาอย่างจริงจังเป็นระบบในสมัยรัตนโกสินทร์ ในสมัยรัชกาลที่ 5 และมีการปฏิรูปการศึกษามา หลายครั้ง จนปัจจุบัน (พ.ศ.2562) มีอัตราการรู้ หนังสือมากถึงประมาณ 93.5 เปอร์เซ็นต์ แต่เมื่อ เปรียบด้านคุณภาพในการจัดการศึกษากับประเทศ ต่าง ๆ ในโลกแล้ว เรายังอยู่ล�ำดับท้าย ๆ แม้แต่ ประเทศในอาเซียนด้วยกัน ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ ประเทศไทยมีพื้นที่ค่อนข้างกว้างขวาง มีลักษณะ ภูมิประเทศ วัฒนธรรม ประเพณี ตลอดจนภาษา พูดแตกต่างกันไปบ้างตามภูมิภาคจากภาคเหนือ จรดภาคใต้ บางภาคยังเป็นพหุวัฒนธรรมมีความ เหลื่อมล�้ำด้านเศรษฐกิจ อาชีพ และความเป็นอยู่ ค่อนข้างมาก แม้ว่ารัฐบาลไทยได้พยายามส่งเสริม การจัดการศึกษาเป็นอย่างมาก แต่การจัดการศึกษา ยังมีการตกหล่นไม่ทวั่ ถึงอยูบ่ า้ ง เราสามารถจัดการ ศึกษาทั้งด้านปริมาณและคุณภาพได้ระดับหนึ่ง ซึ่ง ยังห่างไกลจากความเป็นเลิศทางด้านการศึกษาอยู่ ดังนั้นการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการศึกษาของ ไทยจึงเป็นเรื่องที่ควรท�ำโดยเร่งด่วน รู ป แบบการจั ด การศึ ก ษาของประเทศ ฟินแลนด์ ก็เป็นแบบหนึ่งที่ประเทศไทยอาจจะน�ำ มาดัดแปลง ปรับปรุงใช้ได้ เช่น การคัดเลือกครูชั้น หัวกะทิที่มีทั้งคุณธรรม จริยธรรม และคุณภาพสูง
มาเป็นครูปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนตลอด จนการวัดผล โดยลดเวลาการเรียนภาควิชาการ ให้น้อยลงมาเพิ่มภาคปฏิบัติและประสบการณ์ให้ มากขึ้น ปรับปรุงเวลาเรียนต่อวันและสัปดาห์ให้ เหมาะสม ไม่มากเกินไป น�ำเทคโนโลยีในปัจจุบนั มา ประยุกต์ใช้ในกระบวนการเรียนการสอนให้มากขึน้ จัดให้มีการอบรมศีลธรรม จริยธรรม ตลอดจนการ มีวินัยให้แก่เด็กมากขึ้น ให้แต่ละภูมิภาคการศึกษา ได้คดิ ค้นกระบวนการเรียนการสอนสายสามัญและ
การศึกษาด้านอาชีพให้เหมาะสมกับแต่ละภูมิภาค และความต้องการของตลาดแรงงาน โดยเน้นให้เด็ก มีความคิดสร้างสรรค์ อดทน รักชาติ และมีความคิด ก้าวหน้า เราต้องพัฒนาการศึกษาและนักเรียนไทย ให้เติบโตอย่างมีคณ ุ ภาพโดยเร่งด่วนเพือ่ ตามให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงและการพัฒนาการของโลกยุค ดิจิทัล และในยุคของโรคระบาดไวรัสโควิด 19 ได้ อย่างเหมาะสมและเท่าทัน
อ้างอิง สุรยิ า ฆ้องเสนาะ ฟินแลนด์กบั ความส�ำเร็จทางด้านการศึกษา ส�ำนักวิชาการ ส�ำนักวิชาการ ส�ำนักเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร 2560 ฟินแลนด์ ท�ำไมจึงมีระบบการศึกษาที่ดีที่สุดในโลก จาก tripsm.WIXSITF .COM สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2563 การศึกษาไทยกับฟินแลนด์ SCHOLAR google.co.th สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2563 อัตราการรู้หนังสือของไทย ปี 2562 google.com/search สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2563 ประเทศที่มีการรู้หนังสือมากที่สุดในโลก บทความออนไลน์ ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จาก google.com/news.NPRU.ac.th สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2563 ประเทศฟินแลนด์ google.co/Wikipedia.org สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2563 13 ข้อทีก่ ารศึกษาของฟินแลนด์ประสบความส�ำเร็จ blog eduzone.com kloyjaiiphuttaraporn/155170
49 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การจัดการเรียนการสอน ในสภาพแวดล้อมเสมือนจริง รศ.ดร.สาโรช โศภีรักข
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนจริง ย่อมาจาก Virtual learning environment (VLE) มีการเรียกชื่อที่แตกต่างกัน เช่นใน อเมริกาตอน เหนือเรียก VLE ว่าระบบการจัดการเรียนการสอน (Learning Management System: LMS) (Rouse, 2011) และมีการใช้ค�ำที่แตกต่างกันไปโดยแบ่ง ลักษณะของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือน จริงตามลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารซึ่งท�ำให้มีสภาพหลายแบบและท�ำให้กลาย เป็นนวัตกรรมทาง การศึกษาทีส่ ำ� คัญต่อการจัดการ เรียนรู้ให้กับผู้เรียนในยุคปัจจุบัน ซึ่งมีผู้ให้ค�ำจ�ำกัด ความของ สภาพแวดล้อมการเรียนรูแ้ บบเสมือนจริง ดังนี้ อ้ า งถึ ง สารานุ ก รมออนไลน์ วิ กิ พี เ ดี ย ได้ ให้ความหมายของ VLE หมายถึง ระบบที่สร้าง สภาพแวดล้อมทีถ่ กู ออกแบบให้ เอือ้ ต่อการบริหาร จัดการหลักสูตรการศึกษาของผู้สอนและผู้เรียน โดยโดยมีระบบคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการ เรียนทางไกล Wilson (1996) นิยาม VLE ไว้ว่าเป็น สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ระบบคอมพิวเตอร์ หรือ เทคโนโลยีเป็นระบบเปิดโดยมีการสื่อสารและการ
50 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้เรียนและผู้สอนด้วยเข้าถึง ทรัพยากรหลากหลาย Hill & Hannifin (1997) ได้อธิบายลักษณะ ส�ำคัญของ VLE ต้องมีความสามารถทีท่ ำ� ให้เกิดการ เรียนรูท้ กุ ทีแ่ ละ ทุกเวลา เช่น การเรียนรูใ้ นลักษณะ ไม่ประสานเวลา หลักการของ VLE คือ เน้นการ ควบคุมตนเองและรูปแบบ ของการกระจายความ คิด มุมมองที่มีความหลากหลาย และการคิดอย่าง อิสระ Hodhod (2010) กล่ า วว่ า VLE คื อ ซอฟต์ แ วร์ ที่ ถู ก ออกแบบมาให้ ช ่ ว ยผู ้ ส อนสร้ า ง และส่งมอบหลักสูตร ให้กับผู้เรียน เช่น ระบบ e-learning หรือบางครั้งถูกเรียกว่า ระบบบริหาร การจัดการสอน Learning Management System (LMS), หรื อ ระบบ Course Management System (CMS) Rouse (2011) นิยามว่า VLE คือ กลุ่มของ เครือ่ งมือส าหรับการเรียนการสอนทีใ่ ช้พฒ ั นาความ สามารถ ของผู้เรียนผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ตในกระบวนการเรียนรู้ และ ดังนัน้ จากลักษณะและคุณสมบัตขิ องสภาพ แวดล้ อ มแสมื อ นจริ ง จะสามารถอ� ำ นวยความ
สะดวกให้กับสถาบันการศึกษาสามารถออกแบบ การจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมการเรียนรู้ ให้กบั ผูเ้ รียน เพือ่ ช่วยให้กจิ กรรมการเรียนรูป้ ระสบ ความส าเร็จ จึงสรุปได้ว่า สภาพแวดล้อมการเรียน รู้แบบเสมือนจริง หรือ VLE คือ สภาพแวดล้อมการ เรียนรูท้ ถี่ กู ออกแบบและพัฒนาอย่างเป็นระบบเพือ่ เอื้อต่อการบริหารจัดการหลักสูตรการศึกษาของ ผูส้ อนบนพืน้ ฐานของการน�ำเทคโนโลยีมาใช้อำ� นวย ความสะดวกโดยมีกจิ กรรม เครือ่ งมือสือ่ สาร แหล่ง ทรัพยากรสนับสนุน การวัดและการประเมินผล ส�ำหรับการเรียนรู้ของผู้เรียน ได้เสมือนการเรียนรู้ แบบเผชิญหน้าในชั้นเรียนหรือแหล่งเรียนรู้นอก ห้องเรียนโดยสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลาผ่าน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบเสมือนจริง การเตรียมความพร้อมในระบบการเรียน การสอนสภาพแวดล้อมเสมือนจริง (VLE: Virtual Learning Environment for Online teaching and learning system Support) การจัดการเรียน การสอนโดยใช้สภาพแวดล้อมเสมือนจริง เป็นการ สนับสนุนการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนการ สอน โดยการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ ผ่าน ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือ ระบบออนไลน์ เป็นนวัตกรรมทางการศึกษา การจั ด การเรี ย นการสอนแบบสภาพ แวดล้อมเสมือนจริงต้องอาศัย องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญ คือ ผู้สอน ผู้เรียน ระบบและเทคโนโลยี ที่จะน�ำ มาสนับสนุนการท�ำงานของสภาพแวดล้อมเสมือน จริง (Seewungkum & et al., 2012) ทั้งนี้การ เรียนรู้เสมือนจริง (virtual learning) ภายในสถาน ที่ที่เรียกว่า สภาพแวดล้อมเสมือนจริง (virtual classroom) เป็นการออกแบบและจ�ำลองสภาพ แวดล้อมภายในระบบ หรือเว็บไซต์ให้มีลักษณะ คล้ายกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในการเรียนการ
สอนในชัน้ เรียน โดยใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา (anywhere anytime) ผู้เรียนมีความสะดวก เข้า ถึงได้ง่าย โดยไม่จ�ำเป็นต้องไปนั่งเรียนในห้องเรียน จริง (สิวาภรณ์ เจริญวงศ์ และคณะ, 2561) การ จัดการเรียนการสอนแบบ VLE จึงเป็นการจัดการ เรียนการสอนที่สอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนใน ยุคสื่อและเทคโนโลยี ทั้งนี้ผู้สอนจ�ำเป็นต้องมีการ เตรียมความพร้อมในการจัดเตรียมดังต่อไปนี้ 1. การเตรียมพร้อมห้องเรียน ผูส้ อนมีการ ออกแบบห้องเรียน (Design) สอดคล้องกับหัวข้อ การสอนและรายวิชา ทั้งนี้ห้องเรียนต้องง่ายต่อ การเข้าใช้ มีความเหมาะสมกับการมองเห็น มีช่อง ทางในการสืบค้น ช่องทางในการติดต่อกับผูส้ อนใน รายวิชา ช่องทางการส่งงานรายกลุ่ม ช่องทางการ ส่งงานรายเดี่ยว ช่องทางข้อเสนอแนะ (เว็บบอร์ด) ส�ำหรับการสะท้อนข้อมูล ผลการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างผู้เรียน เป็นต้น 2. การเลือกใช้ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่ได้มาตรฐานมีความเสถียร ผู้เรียนสามารถเข้าถึง ได้ทุกที่ ทุกเวลา เมื่อเลือกที่จะเข้าใช้งาน 3. การจัดเตรียมและคัดสรรหัวข้อสอน หรือเนื้อหารายวิชาที่เหมาะสมกับการเรียนรู้โดย ต้องมีระบบ การออกแบบบทเรียน การจัดล�ำดับ ความต่อเนื่องของบทเรียน ต้องมีความต่อเนื่อง สนุก ง่ายต่อความเข้าใจ เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รียน นั่นคือการจัดเตรียมบทเรียนต้องสามารถดึงดูด ความสนใจของนักศึกษาพยาบาลได้ ทั้งนี้เนื้อหา ในสภาพแวดล้อมเสมือนจริง ต้องมีความครอบคลุม และสอดคล้ อ งตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ร ายวิ ช าและ สามารถวัดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ รายวิชา และหลักสูตร 4. การจัดเตรียมผูส้ อนส�ำหรับการใช้สภาพ
51 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
แวดล้อมเสมือนจริง ผู้สอนจะมีการทดสอบระบบ ก่อนด�ำเนินการสอนจริง 5. การเตรี ย มพร้ อ มผู ้ เ รี ย นส� ำ หรั บ การ เรียนการสอนแบบออนไลน์ - ผู ้ ส อนปฐมนิเ ทศรายวิชาและมอบ คู่มือแก่ผู้เรียน - ผู้สอนด�ำเนินการแนะน�ำวิธีการใช้ การเรียนการสอนแบบออนไลน์ ขั้นตอนการเข้าไป เรียน การมอบรหัสผ่าน (password) แก่ผู้เรียน ส�ำหรับน�ำไปใช้ในการเข้าไปเรียน (log-in) ในสภาพ แวดล้อมเสมือนจริง - ผู้สอนด�ำเนินการให้ผู้เรียนได้ทดลอง ระบบ โดยจะต้องผ่านขั้นตอนการเข้าไป - ใช้สภาพแวดล้อมเสมือนจริงทุกคน เพื่อที่จะได้สร้างความคุ้นเคยกับระบบการเรียน การสอนแบบออนไลน์ และรับทราบช่องทางต่าง ๆ ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง - ผู ้ ส อนต้ อ งให้ ค วามใส่ ใ จในทั ก ษะ และประสบการณ์เดิมของ ผู้เรียน ในด้านการ - ใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต เนื่องจาก พื้นฐานของผู้เรียนย่อมมีความแตกต่างกันออกไป ดังนั้นผู้สอนจึงต้องทบทวนวิธีการใช้ วิธีการเข้าถึง และการให้คำ� อธิบายถึงประโยชน์ของการใช้สภาพ แวดล้อมเสมือนจริงให้ผู้เรียนได้เกิดความเข้าใจ เพื่อปรับพื้นฐานให้แก่ผู้เรียนให้มีความสามารถ ในการใช้การเรียนการสอนแบบออนไลน์ได้ และ ป้ อ งกั น ปั ญ หาด้ า นความสามารถในการเข้ า ถึ ง การเรียนการสอนแบบออนไลน์ของผู้เรียน (User ability) - ผูส้ อนมีการตรวจสอบ ปัญหา อุปสรรค ของผูเ้ รียนในสภาพแวดล้อมเสมือนจริงเป็นระยะ ๆ โดยผูส้ อนมีการออกแบบสภาพแวดล้อมเสมือนจริง ให้มีช่องทางส�ำหรับผู้เรียนสามารถติดต่อผู้สอนได้
52 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
โดยตรง ช่องทางนี้สามารถให้นักศึกษาพยาบาลได้ มีอสิ ระในการติดต่อกับผูส้ อน และสามารถให้ผสู้ อน รับทราบปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสภาพ แวดล้อมเสมือนจริงได้ โดยผ่านระบบออนไลน์ เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ในสภาพแวดล้อมเสมือนจริง ในปัจจุบันเทคโนโลยีที่สามารถใช้เป็นเครื่ อมือในการจัดการเรียนการสอนในสภาพแวดล้อม เสมือนจริงนั้นมีความหลากหลายตามคุณลักษะ และคุณสมบัติของระบบที่มีใช้งานที่หลากหลาย เช่นเว็บไซต์เครือข่ายทางสังคม เว็บไซต์การบริหาร จัดการการเรียนการสอน และเครือ่ งมือทีใ่ ห้บริการ ในการจัดการเรียนการสอนผ่านโปรแกรมต่างๆ เช่น Moodle, Blackboard Edmodo รวมถึงเครือ่ งมือ บริ ห ารจั ด การการเรี ย นรู ้ บ นเว็ บ ผ่ า นเว็ บ แอปพลิแคชั่น เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีเครื่องมืออื่นๆ ดังจะกล่าว รายละเอียดดังนี้ การจั ด การเรี ย นการสอนผ่ า นสภาพ แวดล้ อ มเสมื อ นจริ ง ในโลกเสมื อ นจริ ง สามมิ ติ (Virtual World) เป็นนวัตกรรมที่ได้รับความนิยม ในสังคม ของโลกออนไลน์อย่างมากในปัจจุบันซึ่ง ท�ำให้เปรียบได้ว่าเสมือนเป็นโลกที่สองโดยผู้เรียน และผู้สอนสามารถท�ำกิจกรรมและมีปฏิสัมพันธ์ ผ่านระบบกับผู้ใช้คนอื่นผ่านตัวแทนที่เรียกว่า ตัว ตนเสมือน (Avatar) การสร้างตัวตนเสมือนจึงเป็น สิ่งแรกที่ผู้เรียนต้อง สร้างก่อนเริ่มต้นใช้งานเพื่อ เป็นตัวแทนที่ใช้ติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้คนอื่นในโลก โลกเสมือนจริงโดยเครื่องมือที่เป็นที่นิยมมากที่สุด ในปัจจุบันคือ Second life ที่พัฒนาโดยบริษัท ลินเดนแล็บ จ�ำกัด โดยได้แรงบันดาลใจจากนิยาย แนววิทยาศาสตร์ ในการเข้าใช้งานผู้ใช้สามารถ สมั ค รเป็ น สมาชิ ก ผ่ า นเว็ บ ไซต์ http://www.
secondlife.com และต้องดาวน์โหลดโปรแกรม Secondlife viewer มาติดตัง้ บนเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกใช้งานโดยการสมัครเป็นสมาชิกสามารถ เป็นแบบไม่มีค่าใช้จ่ายและแบบเสีย ค่าใช้จ่าย รายเดือน รายสามเดือน หรือ รายปีโดยสมาชิกที่ เสียค่าใช้จา่ ยจะสามารถใช้สทิ ธิซ์ อื้ ทีด่ นิ หรือเกาะได้ ซึ่งเราจะเรียกสมาชิกว่าผู้อาศัย ส�ำหรับสกุลเงินที่ ใช้ ใ นโลกเสมื อ นจะมี ส กุ ล เงิ น เรี ย กว่ า Linden Dollar : L$ ท�ำให้สามารถใช้เพื่อแลกเปลี่ยนเป็น เงินจริงได้ ส�ำหรับ Second life นั้นได้ถูกน�ำมาใช้ ในการเรียนการสอนและกิจกรรมวิชาการได้หลาย ลักษณะตัวอย่างการน�ำมาใช้เพื่อพัฒนาเป็นห้อง สมุดแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Library) โดย มีฐานข้อมูลรวบรวมความรู้เกี่ยวกับการศึกษา เช่น หลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ข้อมูลสถิติแหล่ง เรียนรู้ นอกจากนีย้ งั สามารถใช้ในการแสดงบทบาท สมมติในสถานการณ์จำ� ลองต่างๆทีไ่ ม่สามารถท�ำได้ ในโลกแห่งความเป็นจริง ยกตัวอย่างเช่น การแสดง บทบาทเป็นนักธุรกิจ หรืออาชีพต่างๆ ซึ่งบางครั้ง ผู้เรียนไม่กล้าแสดงออกในโลกความเป็นจริงแต่ กล้าแสดงออกในโลกเสมือนจริงก็จะท�ำให้สร้าง ความมั่นใจในการเรียนรู้มากขึ้น ทั้งยังสามารถ ก�ำหนด สภาพแวดล้อมและสถานการณ์ได้ตาม ความต้องการในโลกเสมือนจริงซึง่ จะเป็นไปได้ยาก ในโลกแห่งความเป็นจริง การใช้โลกเสมือนจริงมาจัดประชุมสัมมนา ก็สามารถจัดการประชุมสัมมนาแบบเสมือนได้โดย ลดต้นทุนด้านการเดินทาง ที่ผู้เข้าร่วม ประชุมมา จากต่างสถานที่กันทั่วโลกได้การจัดประชุมสัมมนา อาจมีการก าหนดตารางกิจกรรมเพื่อให้สมาชิก ได้ ทราบล่วงหน้าเพื่อลดข้อจ�ำกัดเรื่องสถานที่และ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง การจัดนิทรรศการ งาน
เทศกาล แสดงผลงานที่เกิดจากการเรียนรู้ในโลก เสมือนจริง ผู้เข้าชม สามารถเข้ามาให้ความคิด เห็นและข้อเสนอแนะได้จากทั่วโลก รวมถึงการ สร้างภาพยนตร์โดยใช้ฉากและผู้อาศัยสร้างเรื่อง ราวในโลกเสมือน เรียกว่า Machinima ยิ่งไป กว่านั้นสามารถใช้เป็นแหล่งการฝึกฝนทักษะด้าน ภาษา เนื่องจาก Second life เป็นบริการบนเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้เรียน สามารถใช้จุดเด่นด้าน การสื่อสาร และการไร้ขอบเขตด้านสถานที่ฝึกฝน ทักษะการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้แต่นอกจาก นี้การจัดการเรียนรู้ใน Second life ของสถาบัน การศึกษา สามารถท�ำได้2 ลักษณะ คือ (ธนกร หวังพิพัฒน์วงศ์, 2553) 1) การรู้แบบประสานเวลา (Synchronous learning) คือ การเรียนรู้ที่ผู้เรียน กับผูส้ อนอยูร่ ว่ มกันใน บริเวณโลกเสมือนทีเ่ ดียวกัน เวลาเดียวกัน การจัดการเรียนการสอนเป็นแบบเรี ยลไทม์โดยมีการก�ำหนดนัด ตารางเวลาและสถานที่ กัน การเรียนรูเ้ ป็นกิจกรรมทีค่ ล้ายคลึงกับการเรียน ในชัน้ เรียนปกติเพียงแต่ผเู้ รียนกับ ผูส้ อนร่วมกันท�ำ กิจกรรมโลกเสมือน 2) การเรียนรู้แบบไม่ประสาน เวลา (Asynchronous Learning) การเรียนรู้ไม่ได้ เกิดขึน้ ในเวลา เดียวกัน ขึน้ อยูก่ บั ความต้องการหรือ ความสะดวกของผูเ้ รียน โดยผูส้ อนจะสร้างกิจกรรม การเรียนรู้ที่มีการก�ำหนดระดับความยากง่าย และ ก�ำหนดให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมที่เกิดขึ้นจนครบ ตามตารางหรือระดับการ เรียนรู้ที่วางแผนไว้ ข้อสรุปในการการเรียนการสอนในสภาพ แวดล้อมเสมือนจริงมีการให้คำ� นิยามทีม่ คี วามหลาก หลายตามลักษณะและคุณสมบัติของเทคโนโลยีที่ น�ำมาใช้ในการออกแบบการเรียนการสอนมีองค์ ประกอบที่ส�ำคัญคือผู้เรียนผู้สอนและเทคโนโลยีที่ สนับสนุนการเรียนรู้ โดยการใช้งานต้องมีการเตรียม ความพร้อมในด้านต่างๆ และเครื่องมือที่ใช้ในการ
53 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
จัดการเรียนการสอนในสภาพแวดล้อมเสมือนจริง นั้นมีความหลากหลายโดยการน�ำระบบการจัดการ เรียนการสอน ทีม่ คี ณ ุ ลักษณะทีท่ ำ� ให้ผเู้ รียนเกิดการ เรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งการเรียนรู้แบบประสาน เวลาและไม่ประสานเวลาโดยสามารถน�ำเครื่องมือ ในโลกเสมือนเช่นระบบบริหารการจัดการเรียน การสอนและโลกเสมือนสามมิติมาออกแบบสภาพ แวดล้อมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนผ่านกิจกรรมและ ช่องทางการสื่อสารโดยมีวิธีวัดและประเมินผลให้ สอดคล้องเป็นขั้นตอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
เอกสารอ้างอิง Hakverdi Can & Sonmez. (2012). Learning how to design a technology supported inquirybased learning environment. Science Education International. 23 (4): 338-352. Hannafin, Michael & Hannafin, Kathleen & Land, Susan & Oliver, Kevin. (1997). Grounded practice and the design of constructivist learning environments. Educational Technology Research and Development. 45. 101-117. 10.1007/BF02299733. Matsubara, M. D. G. S., & De Domenico, E. B. L. (2016). Virtual learning environment in continuing education for nursing in oncology: an experimental study. Journal of Cancer Education, 31(4), 804-810. T.M.Duffy, J. Lowyck, D.H. Jonassen, and T.M.Welsh. (1992). Designing Environments for Constructive Learning. Environments: Implications for Instructional Design and the Use of Technology, held at the Catholic University Leuven, Belgium
54 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การสอนออนไลน์ด้วย Google Classroom และ Google Hangouts Meet รศ.ดร.สมภพ ทองปลิว ภาควิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์และสังคม วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ 1518 ถนนประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สว่างเขตวงศ์สว่าง กรุงเทพมหานคร 10800
จากการระบาดของไวรั ส โควิ ด -19 ส่ ง ผลต่อทุกสาขาอาชีพ ซึ่งปัจจุบันก็ยังไม่มีวัคซีน ป้องกันการระบาดนีท้ ำ� ให้การใช้ชวี ติ ของเราทุกคน เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ต้องมีการเว้นระยะห่าง ทางสังคม จ�ำกัดการรวมกลุ่ม เมื่อเกิดขึ้นแล้วเราก็ ต้องปรับตัวให้ได้ การเรียนการสอนก็เช่นเดียวกัน ถึงแม้ไม่มีรายงานว่ามีนักเรียนในประเทศไทยที่ติด เชือ้ ไวรัสโควิด-19 ก็ตอ้ งไม่ประมาท ท�ำให้ชว่ งทีผ่ า่ น มาการเรียนแบบออนไลน์มีการกล่าวถึงเป็นอย่าง มากตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนกระทั้งการเรียนการ สอนในมหาวิทยาลัยทัว่ ไป และทางผูผ้ ลิตซอฟต์แวร์ (Software) หลายบริษัทก็ได้สนับสนุนการเรียน การสอนเป็นอย่างมากให้ ครู นักเรียนใช้งานได้ สะดวกขึ้นพร้อมทั้งเพิ่มฟังก์ชันต่างๆ มาให้ครบ เสมือนนัง่ เรียนในห้องเรียนปกติ ในทีน่ จี้ ะขอแนะน�ำ ผลิตภัณฑ์จากกูเกิล้ (Google) ซีง่ เป็นแอปพลิเคชัน เพือ่ การศึกษาอยูใ่ นกลุม่ Google Apps for Education นั่ น คื อ กู เ กิ้ ล คลาสรู ม (Google Classroom) ซึ่งความพิเศษมากขึ้นในปี 2020 ทาง Google Classroom ได้เพิ่มฟังก์ชั่นกูเกิ้ล แฮ้งเอ้า มีท
(Google Hangouts Meet) ติดตั้งเข้ามาเป็น ส่วนหนึ่งใน Google Classroom ท�ำให้การสอน ออนไลน์สามารถเก็บคลิปที่สอนได้และส่งลิงค์ใน ห้องเรียนบน Google Classroom ซึง่ ท�ำให้นกั เรียน สามารถมาดูคลิปการเรียนการสอนได้ตลอดเวลา ในการเรียนการสอน Google Classroom ต้องมีการเตรียมส่วนประกอบหลายอย่างประกอบ ด้วย 1. เนือ้ หาบทเรียน (Content) เป็นการน�ำ เนื้อหามาท�ำเป็นไฟล์ในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม กับเนื้อหาวิชาแต่ละวิชาและควรท�ำล�ำดับการสอน ให้เรียบร้อยเพื่อการสอนจะได้ไม่มีการผิดพลาด ในการสอน เพราะจะท�ำให้เสียเวลา เนื่องจากถ้า สอนผิดพลาดจะไม่เหมือนกับการสอนในห้องเรียน ที่ ส ามารถแก้ ไ ขได้ ทั น ที เช่ น การสอนในวิ ช า คณิตศาสตร์ถ้ามีการค�ำนวณผิดพลาด ถ้าเรียนใน ห้องเรียน นักเรียนจะสามารถทักท้วงได้ทันที แต่ การเรียนออนไลน์จะไม่มีนักเรียนทักท้วงในทันที เพราะฉะนั้นควรจะท�ำเฉลยและตรวจเช็คให้แน่ใจ ก่อนการสอนออนไลน์
55 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
2. ห้องที่ใช้ในการสอน (Studio) ถ้าครู ที่สอนออนไลน์มีการแสดงหน้าผู้สอนสด การจัด ห้องมีความส�ำคัญโดยต้องมีแสงไฟที่พอดีหรือต้อง ใช้ไฟช่วย ที่นิยมในปัจจุบันใช้ไฟไลฟ์สด (Ring Lights) เพื่อที่จะได้เห็นหน้าครูผู้สอนได้ชัดเจน ท�ำให้นกั เรียนสนใจครูผสู้ อน ไม่สนใจสิง่ ทีอ่ ยูร่ อบๆ ตัวครูผสู้ อน ถ้าต้องสอนในทีม่ ขี องรอบตัวเยอะควร ใช้ฉากด้านหลัง (Background) ท�ำให้นกั เรียนสนใจ ที่ครูผู้สอน ไม่สนใจในสิ่งรอบๆ พร้อมกับห้องที่ใช้ นั้นต้องมีเสียงรบกวนจากภายนอกให้น้อยที่สุด 3. สร้างกลุ่มผู้เรียน (social media) การ ตัง้ กลุม่ นักเรียนไว้ใช้ในการส่งข้อความนัดหมายการ เรียนพร้อมทั้งส่งลิ้งค์ที่ใช้ในการเข้าเรียนและแจ้ง ปัญหาต่างๆ หรือการโต้ตอบระหว่างเรียน เพราะ บางครั้งนักเรียนไม่สามารถที่จะเปิดกล้องหรือไม่ สามารถเปิดเสียงได้ 4. สัญญาณอินเตอร์เน็ต เพราะทุกอย่าง ในการสอนออนไลนต้องพึง่ พาสัญญาณอินเตอร์เน็ต ครูผู้สอนที่จะสอนด้วย Google Classroom ควร ใช้คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะหรือโน้ตบุ๊ค ถ้าใช้ระบบ สายสัญญาณอินเตอร์เน็ต หรือใช้แบบสัญญาณ อินเตอร์เน็ต(ไวไฟ) จะใช้ระบบใดครูผู้สอนควร เตรียมให้พร้อม เช็คสัญญาณว่าใช้ได้ไม่มปี ญ ั หาและ สิง่ ทีย่ ากในการสอนออนไลน์คอื ฝ่ายนักเรียนมีความ พร้อมเกี่ยวกับระบบอินเตอร์เน็ตมากน้อยเพียงใด ขั้นตอนการสอนออนไลน์ด้วย Google classroom 1. ครูผสู้ อนต้องมีบญ ั ชีผใู้ ช้งาน (Account) ของ Gmail ก่อนจึงจะสามารถใช้งานผ่าน Google application ได้ แต่ในสถานศึกษาส่วนใหญ่จะมี บัญชีผู้ใช้งานของ Google อยู่แล้ว
56 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
2. เลือก Google Classroom พร้อมทั้ง สร้างชัน้ เรียนให้ตงั้ ชือ่ วิชาและรายละเอียดของวิชา
3. เมื่ อ สร้ า งชั้ นเรี ย นเรี ย บร้ อ ยแล้ วราย ละเอียดจะปรากฏในหน้าแรกพร้อมทัง้ รหัสการเข้า ชั้นเรียนเพื่อใช้ส�ำหรับส่งให้นักเรียน
4. ในหน้านีจ้ ะมีลงิ้ ค์ของโปรแกรม Google Hangouts Meet ทีจ่ ะสามารถใช้ในการสอนออนไลน์ ได้ ครูผู้สอนส่งลิ้งค์นี้ไปยังกลุ่มของนักศึกษาเพื่อ เปิดใช้งานเวลาที่ต้องสอน
7. เมื่อเริ่มเรียนออนไลน์จากไฟล์ที่เตรียม ไว้แล้ว ควรกดบันทึกการสอนด้วยเพือ่ ทีจ่ ะได้นำ� มา ให้นักเรียนทบทวนซ�้ำ เพราะการสอนออนไลน์ครู ผู้สอนไม่สามารถเห็นพฤติกรรมนักเรียนได้ทุกคน
5. เมือ่ เข้าไปในโปรแกรม Google Hangouts Meet แล้ว ครูผสู้ อนรอนักเรียนเข้ามาร่วมชัน้ เรียน ใน 8. เริ่มการสอนด้วยการกดที่ “น�ำเสนอ การเข้าร่วมชัน้ เรียน ครูตอ้ งอนุญาตให้นกั เรียนเข้าเรียน หน้าจอ” แล้วเลือกที่หน้าจอทั้งหมด จากนั้น กด เป็นรายบุคคล นักเรียนถึงจะสามารถเข้าชัน้ เรียนได้ “แชร์” นักเรียนทุกคนจะเห็นหน้าจอของครูผู้สอน ครูผู้สอนต้องตรวจสอบนักเรียนด้วยว่าเห็นหน้าจอ ของครูผู้สอนที่แชร์ให้หรือไม่ ถ้าไม่เห็นให้นักเรียน ออกจากชั้นเรียนแล้วเข้ามาในชั้นเรียนใหม่ 6. เมือ่ เริม่ การสอนครูผสู้ อนต้องให้นกั เรียน ปิดไมค์ในระหว่างการสอนเพราะหากนักเรียนเปิดเสียง จะท�ำให้เกิดเสียงรบกวนระหว่างที่ครูผู้สอนก�ำลัง สอนท�ำให้นกั เรียนฟังครูผสู้ อนไม่รเู้ รือ่ ง แต่ครูผสู้ อน สามารถควบคุมการสอนหรือซักถามได้โดยการเปิด ไมค์ที่ชื่อนักเรียนรายบุคคลเพื่อให้ตอบค�ำถามได้
57 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
11. โดยในการโพสต์คลิป เมื่อครูผู้สอน 9. การมีการเตรียมการสอนที่ดีจะท�ำให้ ครูผสู้ อนสามารถก�ำหนดเวลาในการสอนให้กระชับ สอนเสร็จแล้วให้เข้าไปที่หน้าแรกของ Google และสามารถท�ำเป็นคลิปเพื่อให้นักเรียนดูซ�้ำได้ Classroom เพื่อสร้างประกาศวิชาเรียน อีกครั้ง
12. เมื่อเขียนหัวข้ออธิบายแล้วให้ท�ำการ 10. การสอนออนไลน์ โ ดย Google เลือกคลิปที่อยู่ใน Google Dive เพื่อโพสต์ให้ Hangout Meet เมื่อผู้สอนกดบันทึก โปรแกรม นักเรียนสามารถทบทวนได้ตลอดเวลา จะบันทึกโดยอัตโนมัติควรจะก�ำหนดเวลาด้วยว่า คลิปแต่ละคลิปจะใช้เวลาเท่าไหร่ ซึง่ ไม่ควรเกิน 20 นาที และหากมีส่วนที่ไม่จ�ำเป็นควรจะยกเลิกการ อัดคลิปเป็นช่วงๆ เพื่อที่จะได้เฉพาะคลิปที่ส�ำคัญที่ ต้องการใช้ และคลิปจะถูกเก็บใน โฟลเดอร์ Meet Recordings โดยแยกเป็นไฟล์ให้อัตโนมัติ เพื่อที่ ครูผู้สอนสามารถเลือกคลิปไปโพสต์ให้นักเรียน ทบทวนได้ในภายหลัง 13. จากนั้ น เพื่ อ เป็ น การทดสอบความ เข้าใจ โดยการสร้างแบบฝึกหัดในการเรียนแต่ละ บทเรียนให้เหมาะสมกับรายวิชา โดยใน Google Classroom สามารถสร้างแบบฝึกหัดได้ทั้งแบบ ตัวเลือกหรือแบบบรรยาย
58 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
14. ทั้งนี้การก�ำหนดงานหรือแบบฝึกหัด 17. ก่ อ นสอบครู ผู ้ ส อนควรจะสรุ ป ครูผู้สอนควรก�ำหนดวันเวลาส่งงานให้ชัดเจนเพื่อ คะแนนแจ้งให้นักศึกษาทราบอีกครั้ง โดย Google ให้นักเรียนได้ส่งงานตามก�ำหนด Classroom มีระบบการรวบรวมคะแนนเพื่อสรุป ให้ทราบในแต่ละงานที่นักเรียนส่งมา หรือหากจะ ดูคะแนนเฉพาะรายบุคคลสามารถเลือกไปที่ชื่อ นักเรียนเป็นรายบุคคลได้
15. การส่งแบบฝึกหัดนักเรียนจะส่งในหน้า แบบฝึกหัดของนักเรียนแต่ละคนและจะมีก�ำหนด เวลาในการส่งแบบฝึกหัด ถ้าส่งแบบฝึกหัดเลย เวลาที่ก�ำหนดจะมีการแจ้งเตือนพร้อมทั้งมีการส่ง ข้อความถึงครูผสู้ อน (ตัวอย่างหน้าเพจของนักเรียน)
18. วิธีการสื่อสารระหว่างเรียนออนไลน์ ควรจะใช้การสื่อสารผ่านโปรแกรมไลน์ (Line) ซึ่ง เป็นโปรแกรมที่ใช้กันมากในประเทศไทย เพื่อให้ นักเรียนได้สอื่ สารกับครูผสู้ อนได้สะดวกมากขึน้ และ ใช้ในการสื่อสารหรือแจ้งข่าวสารต่างๆ ให้นักเรียน ทราบ
16. เมื่อถึงก�ำหนดเวลาส่งงานครูผู้สอน สามารถตรวจและให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้และ นักเรียนจะได้ทราบถึงคะแนนที่ครูผู้สอนให้
59 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
บทสรุป การสอนออนไลน์จะมีปัญหาหลายอย่าง ในการสอนเพราะปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ อาทิเช่น อุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียน ระบบอินเทอร์เน็ต หรือ แอปพลิเคชั่นที่ครูผู้สอนเลือกใช้ ซึ่งครูไม่สามารถ ควบคุมได้วา่ ระบบจะมีประสิทธิภาพตลอดการสอน ออนไลน์หรือไม่ ดังนั้นระหว่างการเรียนการสอน ตลอดในรายวิชานั้น สิ่งที่ดีในการเรียนออนไลน์ จะท�ำให้การเรียนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ถ้า นั ก เรี ย นฝึ ก ท� ำ แบบฝึ ก หั ด และทบทวนบทเรี ย น อย่างสม�่ำเสมอเพราะในการเรียนออนไลน์จะมี สมาธิมากกว่าการเรียนในห้องเรียนปกติเนื่องจาก การเรียนออนไลน์เป็นการเรียนแบบรายบุคคล
ไม่มีเพื่อน ท�ำให้มีสมาธิมากขึ้นกว่าการเรียนใน ห้องเรียนปกติ ในการสอนออนไลน์หากครูผู้สอนจะใช้ เครื่องมือประเภทแทบเลต หรือไอแพด (iPad) ต้องใช้คู่กับโน็ตบุ๊คร่วมด้วยมิฉะนั้นจะไม่สามารถ บันทึกคลิปวิดโี อได้ ดังนัน้ การเตรียมความพร้อมใน การเรียนการสอนออนไลน์ต้องเตรียมความพร้อม มากกว่าการเรียนการสอนแบบปกติในห้องเรียน เพื่อจะท�ำให้เกิดข้อผิดพลาดน้อยที่สุดและต้อง ทดลองใช้แอปพลิเคชัน่ ให้คนุ้ เคยก่อน และระหว่าง การเรียนการสอนควรเรียกชือ่ นักเรียนเพือ่ ถามบ้าง เป็นการกระตุน้ ให้นกั เรียนมีปฏิสมั พันธ์ในการเรียน การสอนแบบออนไลน์มากยิ่งขึ้น
เอกสารอ้างอิง จิรภา อรรถพร และประกอบ กรณีกิจ. (2557). การพัฒนารูปแบบการสอนเชิงรุกออนไลน์เพื่อส่งเสริม พฤติกรรมการเรียนรู้ ของนิสิตปริญญาบัณฑิต. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 9 (4), ตุลาคม-ธันวาคม 2557. ธนรัตน์ แต้วัฒนา, สมยศ เจตน์เจริญรักษ์ และธีรพงษ์ วิริยานนท์. (2555). ทฤษฎีการช่วยเสริมศักยภาพ การเรียนรู้ส�ำหรับการสนับสนุนผู้เรียนในการเรียนรู้ออนไลน์. วาราสารวิชาการอุตสาหกรรม ศึกษา, 6 (1), มกราคม - มิถุนายน 2555. วิทัศน์ ฝักเจริญผล และคณะ. (2563). PISA 2021 กับการประเมินความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : บริษัทซัดเซสพับลิเคชั่น จ�ำกัด. สินนี ชุ สุวรรณาภิชาติ และกิตศิ าอร เหล่าเหมมณี. (2563). ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนภายใต้ การระบาดไวรัส Covid-19. วารสารศาสตร์การศึกษาและการพัฒนามนุษย์, 4 (1), มกราคมมิถุนายน 2563. Munni, B. E. and Hasan, S. M. (2020). Teaching English during COVID-19 Pandemic Using Facebook Group as an LMS. A Study on Undergraduate Students of a University in Bangladesh, 20 (6), 76-94.
60 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
หน้าต่างงานวิจัย โดย...ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไพโรจน์ เบาใจ
......................................................................................................
ปัจจุบันงานวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษาจากมหาวิทยาลัยต่างๆ มีอยู่จ�ำนวนมาก และไม่ได้น�ำไปใช้ ให้เป็นประโยชน์เท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเนื่องจากผู้ใช้ไม่ทราบผลงานวิจัยที่มีอยู่ ฉะนั้นคอลัมน์นี้จึงรวบรวม ผลการวิจยั ด้านเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสือ่ สาร มาให้ทา่ นได้นำ� ไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป ซึง่ ในฉบับนี้ ขอเสนอผลงานวิจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 : ขัตติยา วงค์ษาแก่นจันทร์, พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง 2. การพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์เพือ่ เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบตั งิ าน ส�ำหรับนิสติ สาขา วิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา : ธนทรัพย์ โกกอง, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง, สุขมิตร กอมณี 3. การศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถมศึกษาที่จบสาขาวิชาชีพ ครูกบั ทีไ่ ม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน : ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย สุธาสิโนบล, อาจารย์ ดร.ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล 4. การสร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ : เนติพงษ์ ประเสริฐศรี, ดร.สิริกานต์ ไชยสิทธิ์ 5. การออกแบบกลยุทธ์การใช้งานแอพลิเคชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ พือ่ การสนับสนุนการเรียน การสอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรูแ้ บบสร้างสรรค์เป็นฐาน : รัฐสภา แก่นแก้ว, ณรงค์ สมพงษ์
61 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 THE DEVELOPMENT OF E-BOOK ON USING PAINT.NET FOR PRATHOMSUKSA 2 STUDENTS
ขัตติยา วงค์ษาแก่นจันทร์1, พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ2, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง3
บทคัดย่อ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 = 80/80 2) ศึกษาความก้าวหน้าในการเรียนด้วยหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เครื่องมือใน การวิจัย ได้แก่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบทดสอบ ก่อนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จ�ำนวน 25 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม ผลการวิจัย พบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ E1/ E2 = 80.60 / 81.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด
และมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค�ำส�ำคัญ: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์, โปรแกรม Paint. Net Abstract The aims of this research were: 1) to develop a Paint.NET manual in the form of an electronic book (e-book) for students in Prathomsuksa 2 to find the E1/E2 = 80/80 criterion; and 2) to compare the pre-test and post-test scores after using this e-book. The instruments used in this research were an e-book, a pre-test, and a post-test. The samples were 25 Prathomsuksa 2 students
นิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา M.Sc. Student, Major: Educational Technology, Faculty of Education, Burapha University. 2 อาจารย์ รศ.ดร., ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 2 Lacturer, Department of Educational Technology and Innovation, Faculty of Education, Burapha University. Advisor. 3 อาจารย์ ดร., ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม 3 Lacturer, Department of Educational Technology and Innovation, Faculty of Education, Burapha University. Co-Advisor. Corresponding Author E-mail: khattiya_tomtam@hotmail.com 1 1
62 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
Academic Year 2019 selected using cluster sampling method. The research found that the use of this Paint.NET manual e-book with Prathomsuksa 2 students had an efficiency of 80.60 / 81.33 which met the set standard, and the post-test score was higher than the pre-test score with the significance level of .05. KEYWORDS: Electronic book (e-Book)/ Paint. net program บทน�ำ ในยุ ค ปั จ จุ บั น โลกของเราก้ า วไปอย่ า ง รวดเร็ว ในยุคของข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในชีวิตประจ�ำวันของ มนุษย์ในหลาย ๆ ด้าน ท�ำให้การพัฒนาด้านการ ศึกษาก้าวไกลไปตามเทคโนโลยีด้วย จึงจ�ำเป็น ต้องพัฒนาการสอนโดยใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ทั้ง หลักสูตรการสอนต่าง ๆ ก็ออกแบบให้มีการน�ำ เทคโนโลยี เ ข้ า มาเพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพในการเรี ย น ของนักเรียน เป็นการเตรียมและพัฒนานักเรียน ให้มีความรู้ ความสามารถ ให้เหมาะสมกับสังคม ยุคใหม่ ที่จ�ำเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วย ในการศึกษา และสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่ม เติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ก�ำหนดให้การ ศึกษาภาคบังคับ คือ ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 1 ถึ ง ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ของกระทรวง ศึกษาธิการ มีนโยบายในการส่งเสริมการเรียนรู้ ทางด้านคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ และได้มี การปรับปรุงหลักสูตร เพื่อช่วยให้เยาวชนสามารถ
เรียนรู้และใช้เทคโนโลยีได้ตามความสามารถ ตาม การเรียนรู้แต่ละระดับชั้น การน�ำเอาวิชาการทาง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมาให้เยาวชนได้เรียนรู้ เร็วขึน้ จึงเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ และเพิม่ ความ สามารถในการเรียนรูใ้ ห้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ และ ยังเป็นส่วนหนึง่ ของแนวทางการพัฒนาคุณภาพของ มนุษย์ ที่จะช่วยพัฒนาประเทศในอนาคตอีกด้วย การจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการ จัดการศึกษาทีม่ งุ่ พัฒนาผูเ้ รียนให้เป็นคนดี มีปญ ั ญา มีความสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบ อาชีพ เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว ผู้เรียนยัง ต้องมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบตั ติ นตามหลัก ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี มีทักษะชีวิต มีสุขภาพกายและ สุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัยและมีจิตสาธารณะที่มุ่งท�ำ ประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วม กันในสังคมอย่างมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, หน้า 3-4) กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ และเทคโนโลยีเป็นกลุม่ สาระทีช่ ว่ ยพัฒนาให้ผเู้ รียน มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จ�ำเป็นต่อ การด� ำ รงชี วิ ต และรู ้ เ ท่ า ทั น การเปลี่ ย นแปลง สามารถน� ำ ความรู ้ เ กี่ ย วกั บ การด� ำ รงชี วิ ต การ อาชี พ และเทคโนโลยี มาใช้ ป ระโยชน์ ใ นการ ท�ำงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เห็นแนวทาง ในการประกอบอาชีพ รักการท�ำงานและมีเจตคติ ที่ดีต่อการท�ำงาน สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ครูในฐานะผู้ใช้เทคโนโลยีก็จะต้องเตรียมความ พร้อมของตนเอง ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
63 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ของเทคโนโลยี เพื่อสามารถสร้างสื่อต่าง ๆ ที่เป็น ประโยชน์ต่อการเรียนการสอน ครูจะต้องเป็นผู้ ที่พัฒนาตนเองอยู่เสมอ ในการที่จะหาความรู้ใน การจัดการเรียนการสอนให้มีความทันสมัย ย่อม ท� ำ ให้ ค วามรู ้ นั้ น เกิ ด ประโยชน์ แ ละสามารถน� ำ ไปใช้ในการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี ผู้เรียน เองก็ จ ะเกิ ด ความเข้ า ใจได้ รั บ ความรู ้ ที่ ทั น สมั ย ได้รจู้ กั กับเทคโนโลยีใหม่ ๆ และไม่จำ� เจในการเรียน การสอน จะท�ำให้ผู้เรียนอยากเรียนรู้และสนใจใน การเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เป็นสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ที่มีประสิทธิภาพ และมีประโยชน์ อย่ า งมากที่ ใ ช้ ใ นการเรี ย นการสอน หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ ป็ น สื่ อ ที่ ร วมเอาจุ ด เด่ น ของสื่ อ แบบต่าง ๆ มารวมอยู่ในสื่อตัวเดียว คือ สามารถ แสดงภาพ แสง เสียง ภาพเคลื่อนไหว และการมี ปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดพัฒนาการ เรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาได้เร็วขึ้น ครูสามารถใช้ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในการชักจูงผู้เรียนให้อ่าน ได้ มีการออนไลน์ผ่านเครือข่าย และเชื่อมโยงไป ยังจุดต่าง ๆ มีความทนทานและสะดวกต่อการ เก็บบ�ำรุงรักษา ลดปัญหาการจัดเก็บเอกสารย้อน หลัง ซึ่งต้องใช้เนื้อที่หรือบริเวณกว้างในการจัด เก็ บ สามารถรั ก ษาหนั ง สื อ ที่ ห ายากไม่ ใ ห้ เ สื่ อ ม คุณภาพ อีกทั้ งยังส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วย ตนเอง และการใช้ เ วลาอย่ า งสร้ า งสรรค์ รวม ทั้ ง มี ค วามยื ด หยุ ่ น ที่ ส นองความต้ อ งการของผู ้ เรียนได้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ส่งเสริมการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างมีคุณค่า น่าสนใจ เข้าใจง่ายและกระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ ใหม่ ๆ จากที่กล่าวข้างต้น ผู้วิจัยซึ่งปฏิบัติหน้าที่ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
64 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เทคโนโลยี วิชาคอมพิวเตอร์ระดับประถมศึกษา ได้ส�ำรวจข้อมูลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสิรศาสตร์ศึกษา (อมตะ) ทั้งจากประเมิน ด้วยแบบวัดผลสัมฤทธิ์และการประเมินตามสภาพ จริง จากแผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ พบว่า ผู้เรียนมีศักยภาพที่แตกต่างกัน การรับรู้ เนือ้ หาของแต่ละคนไม่เท่ากัน ประกอบกับการสอน ในชั่วโมงที่มีเวลาจ�ำกัด ผู้เรียนไม่สามารถเรียนรู้ เนื้อหาได้อย่างครบถ้วนเท่าเทียมกัน จึงยากที่จะ สอนให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาได้ทั้งหมดทุกคน ส่ง ผลต่อความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาของผู้เรียนและ ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ เนื่องจากการจัดการ เรียนการสอนเน้นเนื้อหาตามหนังสือเรียน สื่อที่ มีอยู่ไม่สามารถอธิบายให้เห็นภาพจริง จากการ สอนเนื้อหาเรื่องการใช้โปรแกรม Paint.Net รุ่น ใหม่จะแตกต่างกับรุ่นเก่า ซึ่งต�ำแหน่งจ�ำนวนของ เครื่องมือและเมนูค�ำสั่งของโปรแกรมเปลี่ยนไป จากเดิม การสอนด้วยการอธิบายให้ปฏิบัติตาม จึง เป็นเรื่องที่ใช้เวลานานมาก เพราะต้องคอยดูแล ช่วยเหลือตลอดเวลา เนื่องจากการน�ำเสนอที่มีอยู่ ไม่เอื้อต่อการเรียนการสอน เช่น ไม่มีโปรเจคเตอร์ เป็นต้น จึงได้ศึกษาการสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ พบว่า การเรียนรูจ้ ากการศึกษาและปฏิบตั จิ ริงด้วย ตนเองจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สามารถสร้าง องค์ความรู้ให้แก่ผู้เรียนและได้เรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถ เรื่อง การใช้งาน โปรแกรม Paint.Net ได้อย่างมีทักษะ ถูกต้อง คล่องแคล่ว และมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือ่ พัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรือ่ ง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/ E2 = 80/ 80 2. เพื่อศึกษาความก้าวหน้าในการเรียน โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรือ่ ง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/ E2 = 80/ 80 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียน จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 คะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 4
สมมติฐานของการวิจัย 1. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้ โปรแกรม ส�ำหรับกนัษาป กเรียทนชั 2. นัPaint.Net กเรียนชั้นประถมศึ ี่ 2 ้นทีประถม ่เรียนจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง การใชโปรแกรม Paint.Net สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 คะแนนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กรอบแนวคิดในการวิ ดในการวิจัยจัย กรอบแนวคิ หลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โปรแกรม Paint.Net หนังสืออิเล็กทรอนิกส นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2
การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง การใชโปรแกรม Paint.Net สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 1. ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส 2. ความแตกตางของคะแนน จากการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
ขอบเขตของการวิจัย ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย ภาพที กรอบแนวคิ ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใช่ ใ1นการวิ จัย ดในการวิจัย 1. ประชากรที ย นักเรีษาประถมศึ ยนชั้นประถมศึ กษาป ี่ 2 ป1การศึ กษา 12562 ขอบเขตของการวิ จัย่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบดวการศึ กษาชลบุ รี ทเขต จ�ำนวน ประชากรและกลุ ่มตัวอย่ากงที ่ใช้ในการ สํา นักงานเขตพื ้นที่การศึกษาประถมศึ ษาชลบุ รี เขต 1 ห้องเรียน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม วิจัย 2. กลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาป (Cluster ที่ 2 จํrandom านวน 25sampling) คน ปการศึกษา 2562 โรงเรียน ประชากรที นการวิ จ้นั ยทีครั ้ ง นีก้ ษาประถมศึ เนืก้อษาชลบุ หาที่ใช้รใี นการวิ สิร ศาสตร1. ศึกษา (อมตะ) สํา่ ในัช้กใงานเขตพื ่การศึ เขต 1 จจํัยานวน 1 หองเรียน ไดมา ประกอบด้ กเรีางแบบกลุ ยนชัน้ ประถมศึ กษาปีทrandom ี่ 2 ปีการ sampling) เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย คือ หนังสืออิเล็กโดยวิ ธีการสุมวยตัวนัอย ม (Cluster ศึกษา 2562 ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ทรอนิกส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net กลุ่ม เนื้อหาที่ใชในการวิจัย ศึกษาชลบุรี เขต 1 สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น เนื ้ อ หาที ่ ใ ช ใ นการวิ จ ั ย คื อ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ กส เรื่อกงษาปี การใช Paint.Net 2. กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถม ประถมศึ ที่ 2โซึปรแกรม ง่ ประกอบด้ วยเนือ้ หาย่อยกลุ ดังมนีสาระ ้ การเรี ย นรู ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี ชั น ้ ประถมศึ ก ษาป ท ่ ี 2 ซึ ง ่ ประกอบด ว ยเนื อ ้ หาย อ ย ดั ง นี ้ ศึกษาปีที่ 2 จ�ำนวน 25 คน ปีการศึกษา 2562 โรงเรียน หน่วยที่ 1 เรื่อง การเปิดใช้งานและส่วน หนวศยที ่ 1 เรื(อมตะ) ่อง การเปส�ดำใชนังกานและส วนประกอบของโปรแกรม Paint.Net สิ ร ศาสตร์ ึ ก ษา งานเขตพื ้ น ที่ ประกอบของโปรแกรม Paint.Net หนวยที่ 2 เรื่อง การสรางผลงานจากโปรแกรม Paint.Net 65 หนวยที่ 3 เรื่อง การบันทึกและการออกจากโปรแกรม Paint.Net นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา ตัวแปรที่ใชในการศึกษา
หน่ ว ยที่ 2 เรื่ อ ง การสร้ า งผลงานจาก โปรแกรม Paint.Net หน่วยที่ 3 เรื่อง การบันทึกและการออก จากโปรแกรม Paint.Net ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา 1. ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรียนการ สอนโดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้ โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 2 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.1 ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2.2 ความแตกต่างของคะแนนจาก การทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ขั้นตอนด�ำเนินการวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ด� ำ เนิ น การศึ ก ษาโดยใช้ รูปแบบของการวิจัยและพัฒนา (Research & Development: R&D) โดยผู้วิจัยได้ศึกษาตาม รูปแบบแนวคิด ADDIE Model โดยมีรายละเอียด การด�ำเนินงาน ดังนี้ 1. ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) การศึกษาเอกสารและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้อง เพือ่ น�ำมาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงประกอบการออกแบบ และพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้ โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 2 โดยศึกษาประเด็นที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศักราช 2551 2) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี 3) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 4) ทฤษฎี การเรี ย นรู ้ กั บ การพัฒนาหนังสืออิเ ล็ก ทรอนิก ส์ 5) สื่อการเรียนการสอน 6) โปรแกรม Paint.Net 7) คุณลักษณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
66 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
2 และ 8) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตลอดจนงาน วิจัยที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษาโดยภาพรวม พบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพือ่ การจัดการเรียนการสอน เป็นการจัดท�ำสื่อการเรียนการสอนประเภทหนึ่ง ที่ พัฒนาขึ้นเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนให้เกิด ความตื่นตัวในการเรียนรู้ ซึ่งการออกแบบหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ ควรค�ำนึงถึงการจัดวางรูปแบบ และโครงสร้างเนือ้ หาของการน�ำเสนอ การออกแบบ ทัศนศิลป์และแนะน�ำขั้นตอนในการเรียนรู้ให้กับ ผู้เรียนอย่างเหมาะสม เป็นล�ำดับขั้นตอน สื่อความ หมายที่เข้าใจได้ง่าย มีความเหมาะสมกับผู้เรียน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้ า ใจ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง รายวิชา จากนัน้ จึงน�ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทพี่ ฒ ั นา ขึ้น ไปด�ำเนินการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพตาม ขั้นตอนของวิธีการหาประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิด ความมัน่ ใจได้วา่ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทพี่ ฒ ั นาขึน้ มีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จริง มี ความเหมาะสมและง่ายต่อการเข้าใจ ซึง่ ในงานวิจยั ครั้งนี้ ผู้วิจัยเลือกผลการทดสอบประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 และใช้แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนประเมินผลความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียน ซึ่งงานวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยสร้างแบบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนแบบเลือกตอบ เนื่องจากเป็นแบบ วัดผลสัมฤทธิ์ที่สามารถวัดพฤติกรรมทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจ การน�ำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และการประเมินค่าได้อย่างครบถ้วน 2. ขั้นการออกแบบ (Design) เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ประกอบด้วย 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 และ 2) แบบ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนแบบปรนัย 3 ตัว
เลือก จ�ำนวน 15 ข้อ (ค่าความยากง่าย = 0.56-0.62 และมีค่าอ�ำนาจจ�ำแนก = 0.41-0.57) รายละเอียดของบทเรียนและจ�ำนวนชั่วโมงที่ใช้ในการเรียนรู้ ผู้วิจัยแบ่งเนื้อหาบทเรียนออกเป็น 6 3 หน่วยการเรียนรู้ ดังรายละเอียดในตารางที่ 1 6 ตารางที่ 1่ 1รายละเอี รายละเอียยดของหน่ ดของหนววยงานการเรี ่วโมง ตารางที ยงานการเรียยนรูนรูแ้และจํ ละจ�านวนชั ำนวนชั ่วโมง
ตารางที่ 1 รายละเอียดของหนวยงานการเรียนรูและจํานวนชั่วโมง หนวยที่ ชื่อหนวยการเรียนรู หนว1ยที่ การเปดใชงานและสวนประกอบของโปรแกรม ชื่อหนวยการเรียนรู Paint.Net 12 การเป งานและสวนประกอบของโปรแกรม การสรดาใชงผลงานจากโปรแกรม Paint.Net Paint.Net 23 การสร Paint.Net การบันางผลงานจากโปรแกรม ทึกและออกจากโปรแกรม Paint.Net 3 การบันทึกและออกจากโปรแกรม Paint.Net
จํานวนชั่วโมง จํานวนชั่วโมง 3 3 3 3 1 1
3. ขั้นการพัฒนา (Development) 3.โครงสร ขัขั้น้นการพั ฒฒนานา (Development) 3. การพั (Development) างองค ประกอบของหนั งสืออิเล็กทรอนิกส ประกอบดวย 1) หนาปกหนังสืออิเล็กทรอนิกส โครงสร า งองค ป ระกอบของหนั ง สื ส ประกอบด วย 1) หนวยยาปกหนั งสืาอปกหนั อิเ่ ล็1)กทรอนิ างองค์ อทรอนิ อิวเล็ยการเรี กกทรอนิ กส์ (ตามรายละเอี ประกอบด้ 1) หน้ งสืออิกเสล็ก2) คําแนะนํโครงสร้ าในการใช งาน ป3)ระกอบของหนั สารบัญ และออิ4)เงล็สืกหน ยนรู ดในตารางที 2) คํากแนะนํ 3) สารบังาน ญ และ 4) หนญวยการเรี นรู ว(ตามรายละเอี ดในตารางที่ 1) ยดในตารางที่ 1) ทรอนิ ส์ 2)าค�ในการใช ำแนะน�งำาน ในการใช้ 3) สารบั และ 4)ยหน่ ยการเรียนรูย้ (ตามรายละเอี
ภาพที่ 2 หน้าปก หน้าค�ำแนะน�ำในการใช้งาน และหน้าสารบัญของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ภาพที่ 2่ 2หน หนาปก าปกหนหนาคําาคํแนะนํ าแนะนํ าในการใช และหน าสารบั ญของหนั เล็กทรอนิ ภาพที าในการใช งานงาน และหน าสารบั ญของหนั งสืออิงสืเล็อกอิทรอนิ กส กส
67 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ภาพที่ 2 หนาปก หนาคําแนะนําในการใชงาน และหนาสารบัญของหนังสืออิเล็กทรอนิกส
77
ภาพที แสดงตั อย งหน หนววยที ยที่ ่ 11 การเปิ การเปดดดใช้ใช ใชงงงานและส่ านและสวววนประกอบของโปรแกรม นประกอบของโปรแกรมPaint.Net Paint.Net ภาพที่ ่ ่333 แสดงตั แสดงตัวววอย อย่าางหน งหน้าาหน หน่ ภาพที การเป านและส นประกอบของโปรแกรม Paint.Net
68
ภาพที่ 4 แสดงตัวอย่างหน้าการสร้างผลงานจากโปรแกรม Paint.Net ภาพที่ ่ 44 แสดงตั แสดงตัววอย อยาางหน งหนาาการสร การสราางผลงานจากโปรแกรม งผลงานจากโปรแกรม Paint.Net Paint.Net ภาพที
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ภาพที่ 4 แสดงตัวอยางหนาการสรางผลงานจากโปรแกรม Paint.Net
8
่ 5 แสดงตั างหน้ าการบั กและออกจากโปรแกรม Paint.Net ภาพทีภาพที ่ 5 แสดงตั วอยวาอย่ งหน าการบั นทึนกทึและออกจากโปรแกรม Paint.Net
สําหรับกระบวนการจัดการเรียนการสอน ประกอบดวย ส�ำหรับกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3. ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมสรุปการ 1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน โดยการสนทนาพูดคุย การทดสอบกอนเรียน การทบทวนความรูเดิม การแจง ประกอบด้วย เรียนการสอน การทดสอบหลังเรียน คะแนนการทดสอบ 1. ขั้นน�ำเข้าสู่บทเรียน โดยการสนทนา 4. ขัน้ การน�ำไปใช้ (Implementation) ้นสอน ปฏิบัตอิตนเรี ามกิยจนกรรมที ่ระบุไวในแผนการจั พูดคุ2.ย ขัการทดสอบก่ การทบทวนความรู ้ ดการเรี ยนรูผู้ว ิจัยน�ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ขั้นสรุงปคะแนนการทดสอบ ครูและนักเรียนรวมสรุปการเรียนการสอน การทดสอบหลั งเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ เดิม3.การแจ้ การใช้ โปรแกรม Paint.Net ้นการนํ าไปใช 4. ขั2. ขัน้ สอน ปฏิบ(Implementation) ตั ติ ามกิจกรรมทีร่ ะบุไว้ใน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 แผนการจั ไปทดสอบประสิ ตามเกณฑ์ ทธิภาพพ ผูวิจัยนํดาการเรี หนังสืยอนรู อิเ้ ล็กทรอนิกส เรื่อง การใชโปรแกรม Paint.Net ทกลุธิภมาพ สาระการเรี ยนรูปกระสิ ารงานอาชี รายละเอีประสิ ยดดัทงตารางที ่ 2 80 โดยมี และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ไปทดสอบประสิ80/ ท ธิ ภ80าพโดยมี ตามเกณฑ ธิ ภาพ 80/ รายละเอียดดังตารางที่ 2 69 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ตารางที่ 2 ผลการศึกษาประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส
และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึ กษาปที่ 2 ไปทดสอบประสิท ธิ ภาพ ตามเกณฑประสิ ทธิ ภาพ 80/ 80 โดยมี รายละเอียดดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2่ 2ผลการศึ ผลการศึกกษาประสิ ษาประสิททธิธิภภาพของหนั าพของหนังงสืสือออิอิเเล็ล็กกทรอนิ ตารางที ทรอนิกกสส์ ผลการเรียน 1. ผลการทดลองใชเบื้องตนแบบเดี่ยว 1: 1 (One to one testing) 2. ผลการทดลองใชเบื้องตนแบบกลุม 1: 10 (Small group testing) 3. ผลการทดลองใชจริง (Trial run) กับกลุมตัวอยาง จํานวน 25 คน
กระบวนการ (E1) 72.50 75.84 80.60
หลังเรียน (E2) 71.67 75.56 81.33
9
5. ขั้นการประเมิ นผล (Evaluation) ห้องเรียนเรียนจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าว 5. ขั้นการประเมิ นผล (Evaluation) สถิตสถิ ใช้ในการวิ จัย้งครั า โดยใช้ 1 กลุ่มทดลอง ที่มี ิที่ใตชิทใี่นการวิ จัยครั นี้ ้งไดนีแ้ ได้ ก คแาก่รอค่ยละ คาเฉลีร่ยูปแบบการทดลองแบบ คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ ร้อยละทธิค่ภาาพ เฉลีE1/ ่ย ค่าE2 ความเบี งเบนมาตรฐาน และ การทดลองก่ อนเรียนและหลั ยน ่ง(One-group ประสิ ในสว่ยนของการประเมิ นผลการใช งาน โดยทดลองให นักเรีงยเรีนหนึ หองเรียนเรียนจาก การทดสอบประสิทธิภาพ E1/ E2 ในส่วนของการ pretest-posttest design) มีลักษณะดังนี้ หนังสืออิเล็กทรอนิกสดังกลาว โดยใชรูปแบบการทดลองแบบ 1 กลุมทดลอง ที่มีการทดลองกอนเรียนและหลัง ประเมินผลการใช้งาน โดยทดลองให้นักเรียนหนึ่ง เรียน (One-group pretest-posttest design) มีลักษณะดังนี้
ตารางที ตารางที่ ่ 33 แบบแผนการทดลองแบบ แบบแผนการทดลองแบบ (One-group (One-group pretest-posttest pretest-posttest design) design) กลุมทดลอง E
กอนเรียน T1
ทดลอง X
หลังเรียน T2
ผลการวิจัย ผลการวิการวิ จัย จัยครั้งนี้ สรุปไดเปน 2 ประเด็น ดังนี้ อภิปรายผลการวิจัย การวิ จัยครั้งนีฒ้ สรุ ปได้งเป็สืนออิ2เล็ประเด็ น ดักงสนี้ เรื่อ งการใช1. ผลการพัPaint.Net ฒนาหนังสืออิเสํล็ากหรั ทรอนิ 1. ผลการพั นาหนั กทรอนิ โปรแกรม บนักกเรีส์ยนชั้น 1. ผลการพั ฒนาหนั ่องทการใช้ นักเรียน81.33 ประถมศึ กษาป ที่ 2 พบว า หนังงสืสือออิอิเเล็ล็กกทรอนิ ทรอนิกกส์สมีปเรืระสิ ธิภาพโปรแกรม ตามเกณฑPaint.Net E1/E2 เทส�าำกัหรับบ80.60/ เรื่องการใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียน ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เปนไปตามเกณฑที่กําหนด ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ของกระบวนการและ 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนจากการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนโดยใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ E1/E2 เท่ากับ 80.60/ ผลลัพธ์ E1/ E2 = 80.60/ 81.33 เป็นไปตามเกณฑ์ เรื81.33 ่อง การใช โปรแกรม Paint.Net ที่ 2 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี เป็นไปตามเกณฑ์ ที่ก�ำหนด สําหรับนักเรียนชั ที่ก้น�ำประถมศึ หนดทั้งนีก้ ษาป เป็นเพราะการออกแบบและพั ฒนา ยน หลั กเรียนสูงยกวบเที ากยอบคะแนนจากการ นเรียนอยางมีนัยสําคัญหนั ทางสถิ บ .05ก ส์ เ ป็ น ไปตามขั้ น ตอนการ งเรียนของนั 2. ผลการเปรี ง สื อตอิิทเ ล็ี่ระดั ก ทรอนิ ทดสอบก่ อ นเรี ยจนและหลั ง เรี ย นโดยใช้ ห นั ง สื อ พัฒนาอย่างมีระบบ ด้วยการน�ำข้อความ รูปภาพ อภิ ปรายผลการวิ ัย อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net และเสียงมาเป็นสื่อในการน�ำเสนอเนื้อหาท�ำให้บท 1. ผลการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง การใชโปรแกรม Paint.Net สําหรับนักเรียนชั้น ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ผล เรียนมีความน่าสนใจ และมีการจัดล�ำดับขั้นตอน ประถมศึ ษาปที่ ย2นหลั พบวงเรีา ยหนั งสืออิกเเรีล็ยกนสู ทรอนิ ประสิ าพตามเกณฑ ของกระบวนการและผลลั สัมฤทธิ์ทกางการเรี นของนั งกว่กา สมีเนื ้อหาทท�ธิ ภำให้ ผู้เรียนมีความเข้ าใจเกี่ยวกับบทเรียน พธ Eก่1อ/นเรี E2ย=นอย่ 80.60/ เป น ไปตามเกณฑ างมีนัย81.33 ส�ำคัญทางสถิ ติที่ระดับ .05ที่ กํ า หนด เพิ่มทัขึ้น้ ง นีท�้ ำเป ให้นผเพราะการออกแบบและพั ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึฒ้นนาหนั ตาม ง สื อ อิเล็กทรอนิกสเปนไปตามขั้นตอนการพัฒนาอยางมีระบบ ดวยการนําขอความ รูปภาพ และเสียงมาเปนสื่อใน 70 การนําเสนอเนื้อหาทําใหบทเรียนมีความนาสนใจ และมีการจัดลําดับขั้นตอนเนื้อหา ทําใหผูเรียนมีความเขาใจ นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา เกี่ยวกับบทเรียนเพิ่มขึ้นทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นตามไปดวย สอดคลองกับแนวคิดทางการวิจัย
ไปด้วย สอดคล้องกับแนวคิดทางการวิจัย เมื่อเกิด การเรียนรูแ้ ละปฏิบตั แิ ล้ว ผูเ้ รียนจะมีความสุขและ รู้สึกสนุกสนาน สามารถเลือกเรียนซ�้ำ ๆ ในเนื้อหา ที่ผู้เรียนยังไม่เข้าใจกี่ครั้งก็ได้ จนเกิดความเข้าใจ เนื้ อ หาในบทเรี ย น สอดคล้ อ งกั บ ทฤษฎี ค วาม สัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง คือ กฎแห่งการฝึกหัด (Law of exercise) ของธ อร์นไดค์ (Thorndike) (แสงเดือน ทวีสิน, 2545, หน้า 136-138) คือ การกระท�ำซ�้ำ ๆ ท�ำบ่อย ๆ จะก่อให้เกิดความช�ำนาญ การฝึกปฏิบัติซ�้ำ ๆ จะ ท�ำให้เกิดการเรียนรู้ สามารถฝึกท�ำบ่อย ๆ จากการ ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นี้ และยังส่งผลให้ผู้เรียน เรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองอีกด้วย การพัฒนาหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ในครั้งนี้ มี จุดแข็ง คือ ผู้เรียนสามารถใช้งานได้ที่ทุกที่ โดยไม่ ต้องเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ ด้วยตนเองอย่างละเอียด จะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียน มีก�ำลังใจในการเรียนมากขึ้น 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนจากการ ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนที่เรียน ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของ นักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .05 ทัง้ นี้ เป็นไปตามเกณฑ์ทตี่ งั้ ไว้ เนือ่ งจาก ผู ้ วิ จั ย ได้ น� ำ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ม าใช้ ใ นการ จัดการเรียนการสอน จึงช่วยกระตุน้ ความสนใจของ ผู้เรียนด้วยข้อความ ภาพ เสียงดนตรี คุณสมบัติที่ สามารถเชือ่ มโยงเนือ้ หาสาระภายใน มีแบบทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียนที่มีประสิทธิภาพ สามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้มากขึ้น ซึ่งสอดคล้อง กับงานวิจัยของ ระเบียบ บังคมเนตร (2554, หน้า
93-97) ได้ศึกษาการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผลการศึกษา พบ ว่า 1) คุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ความ รู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ผู้เชี่ยวชาญมีความ คิ ด เห็ น โดยรวมอยู ่ ใ นระดั บ เหมาะสมมาก (ค่ า เฉลี่ย= 4.60, SD = 0.50) 2) ประสิทธิภาพของ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยว กับคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.33/ 81.67 3) ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของผู ้ เ รี ย น หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .05 4) ดัชนีประสิทธิผลมีคา่ เท่ากับ 0.6796 คิดเป็นร้อยละ 67.96 และ 5) ความพึงพอใจของ ผูเ้ รียนโดยรวมอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ (ค่าเฉลีย่ = 4.61, SD = 0.51) ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการวิจัย 1. การน�ำหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรื่อง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ไปใช้ ควรบันทึกลงในแผ่น ซีดี หรือโทรศัพท์ เพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน 2. การเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรือ่ ง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2 ควรจั ด เตรี ย ม อุปกรณ์ให้พร้อมก่อนการจัดการเรียนการสอน 3. การเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรือ่ ง การใช้โปรแกรม Paint.Net ส�ำหรับ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 2 ควรศึ ก ษาราย ละเอียดต่าง ๆ ในบทเรียนพร้อมกับศึกษาข้อมูลใน ทรัพยากรการเรียนรูอ้ นื่ ๆ เพิม่ เติมด้วย ซึง่ จะท�ำให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ควรใช้ความสามารถของอินเทอร์เน็ตให้เต็มความ
71 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
สามารถ ทั้งในด้านการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่บนอินเทอร์เน็ตให้เกิด ประโยชน์ ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการออกแบบเนือ้ หาเพิม่ เติม โดย การเพิ่มกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ มากขึ้น
2. ควรมีการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ในรูปแบบของสื่อออนไลน์ ในรูปแบบ e-Learning เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่งเนื้อหาข้อมูลบนเว็บไซต์ อืน่ ๆ เพือ่ เป็นการเผยแพร่บทเรียน ผูเ้ รียนสามารถ เข้าถึงได้ง่ายและสะดวกมากขึ้น
เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ระเบียบ บังคมเนตร. (2554). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรือ่ ง ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. แสงเดือน ทวีสิน. (2545). จิตวิทยาการสอน. กรุงเทพฯ: ไทยเส็ง.
72 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา
DEVELOPMENT OF ONLINE TRAINING PACKAGE ON PREPARATION FOR INFORMATION STUDIES PRACTICUM STUDENT BURAPHA UNIVERSITY ธนทรัพย์ โกกอง1, ด�ำรัส อ่อนเฉวียง2, สุขมิตร กอมณี3 Thanasrap Kokong1, Damras Onchawiang2, Sukhamit Komanee3
บทคัดย่อ การวิจยั ครัง้ นี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ 1) พัฒนา ชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อน การฝึกปฏิบตั งิ าน ส�ำหรับนิสติ สาขาวิชาสารสนเทศ ศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ให้มปี ระสิทธิภาพเป็นไป ตามเกณฑ์ 90/ 90 (The standard 90/ 90) 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ของนิสิตหลังการใช้ชุดฝึกอบรม ออนไลน์ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติ งาน และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนิสติ ทีม่ ตี อ่ การ ใช้ชดุ ฝึกอบรมออนไลน์ เพือ่ เตรียมความพร้อมก่อน การฝึกปฏิบัติงาน และกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นิสิต ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 3 สาขาสารสนเทศศึกษา ปีการศึกษา 2562 จ�ำนวน 30 คน ใช้วธิ กี ารคัดเลือก โดยความสมัครใจของนิสติ เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั
ได้แก่ ชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อม ก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา แบบทดสอบก่อนหลังเข้ารับการฝึกอบรม และแบบสอบถามความ คิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการใช้ชุดฝึกอบรมออนไลน์ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยง เบนมาตรฐาน และสถิติ t-test ผลการวิจัย พบว่า 1. ชุ ด ฝึ ก อบรมออนไลน์ เ พื่ อ เตรี ย ม ความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิต สาขาสารสนเทศศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา มี ประสิทธิภาพเท่ากับ 91.08/93.33 เป็นไปตาม เกณฑ์มาตรฐาน 90/ 90 2. ผลสัมฤทธิ์ของนิสิตหลังการใช้ชุดฝึก อบรมออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึก
นิสิตหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา M.Sc. Student, Major: Educational Technology, Faculty of Education, Burapha University. 2 อาจารย์ ดร., ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 2 Lacturer, Department of Educational Technology and Innovation, Faculty of Education, Burapha University. Advisor. 3 อาจารย์ ดร., ภาควิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม 3 Lacturer, Department of Educational Technology and Innovation, Faculty of Education, Burapha University. Co-Advisor. Corresponding Author E-mail: chutimak@buu.ac.th 1 1
73 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา หลังฝึกอบรมสูงกว่าก่อนฝึก อบรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความคิดเห็นของนิสติ ทีม่ ตี อ่ การใช้ชดุ ฝึก อบรมออนไลน์ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึก ปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.06, SD = 0.81) ค�ำส�ำคัญ: ชุดฝึกอบรมออนไลน์, การฝึกปฏิบตั งิ าน, สารสนเทศศึกษา Abstract The purposes of this research were; 1) to develop of an online training package on preparation for information studies practicum student Burapha University to meet the standard 90/ 90 criteria, 2) to compare the difference of the learning achieving scores earned before and after studying through the online training package on preparation for information studies practicum student, and to study the students’ satisfaction towards the learning. The population consisted of 30 students. The research instruments were the online training package on preparation for information studies practicum student Burapha University, learning achievement test, and questionnaire on satisfaction. The statistics used for the data analysis were percentage, mean, standard deviation, and t-test.
74 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
The results of the research showed that; 1. The efficiency of by the online training package on preparation for information studies practicum student Burapha University was at 91.08/93.33 2. The achievement scores of the student after studying through the efficiency of by the online training package on preparation for information studies practicum student Burapha University was higher than the pre-test one with statistical significance at the level of .05. 3. The students’ satisfaction toward the online training package on preparation for information studies practicum student Burapha University at a high level ( = 4.06, SD = 0.81 KEYWORDS: Online Training Package, Practicum, Information Studies บทน�ำ การจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ ประเทศไทยในปัจจุบัน ด�ำเนินการภายใต้กรอบ ของเกณฑ์ ม าตรฐานหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี พ.ศ. 2558 มีการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าว ส�ำหรับการผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษาทีเ่ หมาะสม กับพลวัตของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยมี เ จตนารมณ์ ใ ห้ เ กณฑ์ ม าตรฐานหลั ก สู ต ร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 รองรับการบริหาร จัดการหลักสูตรที่มีลักษณะที่แตกต่างตามจุดเน้น ของสาขาวิชาการและวิชาชีพต่าง ๆ ตอบสนอง
การผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ สอดคล้องกับกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตลาด แรงงาน ความก้าวหน้าของศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทัง้ บริบททางสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป (กระทรวง ศึกษาธิการ, 2558) ทั้งนี้ ตามประกาศของกระทวง ศึกษาธิการ ระบุว่า บัณฑิตระดับอุดมศึกษาต้อง เป็นผูท้ มี่ คี วามรู้ มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม ความสามารถ ทีจ่ ะเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเอง ประยุกต์ใช้ความรูท้ มี่ ี อยู่เพื่อการด�ำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งร่างกายและจิตใจ รวมถึงการมีสามัญส�ำนึกและ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในฐานะพลเมื อ งและพลโลก ซึ่ ง เป็ น มาตรฐานหลั ก ของคุ ณ ภาพบั ณ ฑิ ต ตาม ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ นอกจากนี้ กรอบ มาตรฐานการอุดมศึกษา ยังก�ำหนดให้สถาบันการ ศึกษาต้องพัฒนาบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ที่ประกอบ ด้วย 6 ด้าน คือ 1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์ตวั เลข และ 6) การสือ่ สาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งมาตรฐาน ดังกล่าว ยังเป็นหนึ่งในตัวบ่งชี้ส�ำหรับการประเมิน ตนเองในระดั บ หลั ก สู ต ร (Self-assessment report) เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นในการผลิตบัณฑิต เมือ่ ส�ำเร็จการศึกษาแล้ว บัณฑิตจะเป็นผูท้ มี่ ผี ลการ เรียนรู้ (Learning outcomes) และมีคุณภาพเป็น ไปตามมาตรฐานที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษาก�ำหนด ปั จ จุ บั น เป็นยุคแห่งการด�ำเนินชีวิตใน แบบดิจิทัลผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ การสื่อสาร ท�ำให้วิถีการด�ำรงชีวิตเปลี่ยนแปลงไป เกิดการแข่งขันทางปัญญาโดยการใช้สารสนเทศ และความรู้ใหม่ ๆ ด้วยวิธีการที่ทันสมัยมากยิ่งขึ้น
บุคคลทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการแสวงหาความรู้ การ ปรับประยุกต์เครื่องมือในการแสวงหาสารสนเทศ และความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ย่อมได้เปรียบใน การด�ำเนินชีวิต การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่ อ สาร จึ ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ส� ำ คั ญ ที่ ช ่ ว ยเสริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ง าน การแสวงหา สารสนเทศและความรู้ ดังนัน้ ทักษะด้านสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงเป็น สิ่งที่จ�ำเป็นกับการเป็นบุคคลแห่งยุคการเรียนรู้ ของศตวรรษที่ 21 ภาควิ ช าสารสนเทศศึ ก ษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา เล็งเห็นถึงความส�ำคัญและความจ�ำเป็นใน การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ความรู้และทักษะความสามารถของบัณฑิต ให้เป็น บุคคลในศตวรรษที่ 21 อย่างสมบูรณ์ (ภาควิชา สารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2529) ประกอบกับในปี พ.ศ. 2560-2561 เกิดการปฏิรูปการศึกษาครั้งส�ำคัญ ที่น�ำไปสู่การสร้างผู้น�ำเพื่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อ รองรับการเป็นประเทศไทย 4.0 และเพื่อสร้าง ทั ก ษะความเป็ น มื อ อาชี พ ให้ กั บ ผู ้ เ รี ย นให้ เ ท่ า ทันกับยุคการเปลี่ยนแปลงด้า นดิจิทัล (Digital tech transformation) ซึ่งภาควิชาสารสนเทศ ศึ ก ษา คณะมนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เห็นว่า การปรับปรุงหลักสูตร ในแต่ละครั้ง จ�ำเป็นต้องศึกษาคุณภาพของบัณฑิต ที่เป็นผลผลิตของหลักสูตรนั้น ๆ จากผู้ใช้บัณฑิต ว่า มีความพึงพอใจกับบัณฑิตที่ภาควิชาฯ ผลิต มากน้ อ ยเพี ย งใด ซึ่ ง ผลการศึ ก ษาที่ ไ ด้ จะเป็ น สารสนเทศส�ำคัญต่อการพัฒนาบัณฑิตที่มีคุณภาพ และมี คุ ณ สมบั ติ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ การพั ฒ นาของ ศาสตร์ทางบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ รวมถึงความต้องการของตลาดวิชาชีพบรรณารักษ์/
75 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
นักสารสนเทศ ที่มุ่งเน้นคุณภาพระดับสากลตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ศรีหทัย เวลล์ส, 2557) ภาควิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ ตระหนักถึงประโยชน์ดังกล่าว จึงได้มีการพัฒนา หลักสูตรส�ำหรับการเรียนการสอนในรายวิชาการ ฝึ ก ปฏิบัติง าน เป็ น รายวิ ชาบั งคั บและเป็ น ส่ วน หนึ่ ง ของการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี หลั ก สู ต ร 4 ปี ซึ่งในชั้นปีที่ 4 นิสิตต้องออกฝึกปฏิบัติการ ตามโครงสร้ า งหลั ก สู ต รของภาควิ ช าฯ การขอ เข้าฝึกปฏิบัติงานของนิสิตนั้น จะมีอาจารย์ผู้รับ ผิ ด ชอบดู แ ลนิ สิ ต และหั ว หน้ า ภาควิ ช าฯ เป็ น หลักในการด�ำเนินงาน โดยจะมีการนัดพบนิสิต เพื่ อ ให้ นิ สิ ต สามารถเลื อ กสถานที่ ฝ ึ ก งานตาม ข้ อ มู ล การเลื อ กสถานที่ ฝ ึ ก งานของนิ สิ ต แต่ ล ะ รุ่นที่ผ่านมา โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบจะแนะน�ำ สถานที่ที่เหมาะสมกับนิสิตแต่ละคน เช่น สถาน ที่ฝึกงานบางแห่งก�ำหนดว่า ต้องการนิสิตฝึกงาน ที่สามารถสื่อสารภาษาต่างประเทศได้ บางสถาน ที่ต้องการนิสิตเพศชาย บางสถานที่ต้องการนิสิต ที่มีความสามารถสอดคล้องกับลักษณะการท�ำงาน ของหน่วยงานนั้น ๆ แต่ถ้าหากนิสิตไม่พึงพอใจ กับสถานที่ฝึกงานจากข้อมูลที่ภาควิชาฯ ก�ำหนด นิสิตสามารถค้นหาสถานที่ประกอบการ/ หน่วย งาน/ สถาบันที่นิสิตสนใจ แล้วน�ำเสนอกับอาจารย์ ผู้ดูแลเรื่องการฝึกงาน เพื่อให้อาจารย์พิจารณาถึง ความเหมาะสมและภาระงานที่นิสิตจะได้ไปฝึก ปฏิบัติการ และหลังจากที่จัดหาสถานที่ฝึกงาน เรียบร้อยแล้ว ภาควิชาฯ จะด�ำเนินการอบรมแก่ นิสติ ดังกล่าว เพือ่ ชีแ้ จงข้อมูลการฝึกงานการเตรียม ความพร้อมและแนวปฏิบัติที่ถูกต้องในระหว่าง ฝึกงาน เพือ่ ให้การฝึกงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
76 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
และสอดคล้องกับความต้องการของสถานทีฝ่ กึ งาน ซึง่ ทีผ่ า่ นมา ภาควิชาฯ ด�ำเนินการอบรมแบบเผชิญ หน้า (Face to face) ในห้องประชุมขนาดใหญ่ โดยผู้วิจัยได้สัมภาษณ์นิสิตชั้นปีที่ 3 ที่เข้าร่วม อบรม เมื่อปีการศึกษา 2561 พบว่า การประชุม ดังกล่าว มีประโยชน์ส�ำหรับนิสิต เพื่อเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติตนที่ถูกต้องในสถานที่ฝึกงาน ซึ่งข้อ เสนอแนะที่น่าสนใจของนิสิต คือ ควรจะมีการ ฝึกอบรมในรูปแบบออนไลน์ร่วมด้วย เพื่อให้นิสิต รุ่นน้องได้มีโอกาสในการเรียนรู้เพื่อเตรียมตัวก่อน การฝึกงานในปีต่อไป และเพื่อให้นิสิตที่ไม่สามารถ เข้าร่วมการอบรมได้มีโอกาสศึกษาความรู้ได้ด้วย ตนเอง ด้วยข้อเสนอแนะดังกล่าว จึงท�ำให้ผู้วิจัย เห็ น ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการพั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรม ออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติ งาน ส�ำหรับนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ให้อยู่ ในระดับมาตรฐานก่อนออกไปฝึกปฏิบัติงานจริง ทัง้ นี้ การเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา ได้มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง กล่าวคือ เน้นให้ ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติกิจกรรมการค้นคว้าหาความรู้ ด้วยตนเอง และมุ่งให้ผู้เรียนใช้กระบวนการสร้าง ความรู้ด้วยตนเอง โดยผู้สอนเป็นผู้ประสานงาน ให้ค�ำแนะน�ำปรึกษาและช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา ซึ่ง แนวทางการจัดการเรียนการสอนดังกล่าว จะน�ำไป สู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียน สามารถเรียนรูด้ ว้ ยตนเองอย่างมีอสิ ระ ดังที่ ศรีหทัย เวลล์ส (2557) อธิบายว่า ระบบการเรียนการ สอนเพื่อการพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้ใฝ่การเรียนรู้ ตลอดชีวิตนั้น เป็นบทบาทส�ำคัญประการหนึ่งของ ทุกสถาบันการศึกษา ซึ่งจะเห็นได้ว่า สถาบันแต่ละ แห่งมุง่ สอนให้ผเู้ รียนคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ คิดเป็น ท�ำเป็นและฝึกการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ดังนั้น การรู้สารสนเทศ จึงเป็นกุญแจส�ำคัญที่จะน�ำไป
สู่จุดมุ่งหมายนี้ สอดคล้องกับพิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2557) กล่าวว่า การที่ผู้เรียน จะสร้างความรู้ได้นั้น ผู้เรียนต้องใช้ทักษะการคิด และกระบวนการคิดเป็นเครื่องมือในการสร้างองค์ ความรู้ ซึ่งถือเป็นขั้นตอนส�ำคัญในกระบวนการ เรียนรู้ของผู้เรียน นอกจากนี้ การออกแบบการ เรียนรู้และวางแผนการเรียนการสอนของผู้สอนมี ความสัมพันธ์กันทุกองค์ประกอบอย่างเป็นระบบ และสามารถตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอน จะส่งผล ให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และประสิทธิผล (Effectiveness) โดยอาศัยหลัก การ แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบการสอนเชิง ระบบและแนวคิดการออกแบบระบบการสอน ตาม หลักทฤษฎี ADDIE Model ซึ่งมนต์ชัย เทียนทอง (2545) อธิบายรูปว่า รูปแบบการสอน ADDIE Model เป็นหลักการออกแบบกระบวนการเรียน รู้และพัฒนาอย่างเป็นระบบที่ได้รับการยอมรับทั่ว โลก มีจุดมุ่งหมายในการออกแบบให้ประหยัดเวลา และค่าใช้จา่ ย ด้วยการวิเคราะห์ทสี่ าเหตุของปัญหา คิดค้นขึน้ โดย Florida State University’s Center for Educational Technology ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นการวิเคราะห์ (Analysis) เป็น ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล ที่ต้องระบุปัญหา ที่มา และก�ำหนดแนวทางแก้ไข 2) ขั้นการออกแบบ (Design) เป็นขั้นตอนการออกแบบที่เกี่ยวข้อง กั บ การใช้ ผ ลจากระยะวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ในการ พัฒนาการเรียนการสอน ซึ่งจะต้องร่างวิธีการเพื่อ ให้บรรลุเป้าหมายการเรียนการสอน อาจรวมถึง การเขียนค�ำอธิบายกลุ่มเป้าหมาย การด�ำเนินการ การวิเคราะห์การเรียนรู้ การเขียนวัตถุประสงค์ และรายงานการทดสอบ การเลือกระบบการจัดส่ง และการหาล�ำดับการเรียนการสอน 3) ขั้นการ พัฒนา (Develop) เป็นขั้นตอนของสร้างแผนการ
สอนอุปกรณ์การเรียน สื่อที่ใช้ในการเรียนการสอน และเอกสารสนับสนุนต่าง ๆ 4) ขัน้ การน�ำไปใช้งาน (Implement) หมายถึ ง การเรี ย นการสอนใน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ หรือคอมพิวเตอร์ ซึ่ง จะต้องส่งเสริมผู้เรียนที่มีความเข้าใจเนื้อหาและ ตรวจสอบว่าผู้เรียนได้เรียนตามวัตถุประสงค์และ 5) ขั้นการประเมินผล (Evaluation) ในขั้นตอนนี้ การประเมินผลจะเกิดขึ้นจริงตลอดการออกแบบ กระบวนการเรียนการสอนทั้งหมดภายในระยะ ระหว่างขั้นตอน และหลังจากที่การด�ำเนินงานเพื่อ ปรับปรุงการเรียนการสอน ซึ่งการด�ำเนินกิจกรรม ทั้ง 5 ขั้นดังกล่าวนั้น จะเป็นประโยชน์ต่อการ ออกแบบการเรียนการสอนเพื่อให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของการพัฒนาต่อไป ทั้งนี้ ผู้วิจัยได้เล็งเห็นความส�ำคัญในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การศึกษา และเป็นโอกาส ที่จะพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อเตรียมความ พร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิตสาขา วิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อเป็น เครื่องมือให้นิสิตสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองตาม ขั้ น ตอนอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยเรี ย นรู ้ ผ ่ า น เครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ ทุกเวลา ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ต่อนิสิตที่ต้องเตรียมความพร้อมส�ำหรับ การฝึกงานต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อ เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับ นิสติ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ให้มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 90/ 90 (The standard 90/ 90) 2. เพือ่ ศึกษาผลสัมฤทธิข์ องนิสติ หลังการ ใช้ชดุ ฝึกอบรมออนไลน์เพือ่ เตรียมความพร้อมก่อน
77 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา 7 3. เพือ่ ศึกษาความคิดเห็นของนิสติ ทีม่ ตี อ่ การใช้ชดุ ฝึกอบรมออนไลน์ เพือ่ เตรียมความพร้อมก่อน การฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย การพัฒนาชุดฝกอบรมออนไลน เพื่อเตรียมความพรอม กอนการฝกปฏิบตั ิงาน สําหรับนิสติ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา 1. หลักสูตรการฝกปฏิบตั ิงาน ของภาควิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา 2. แนวคิดเกี่ยวกับการฝกอบรม 3. แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนา ชุดฝกอบรม 4. การออกแบบและพัฒนา บทเรียน/ ชุดฝกอบรมออนไลน 5. การหาประสิทธิภาพ ของชุดฝกอบรม
ชุดฝกอบรมออนไลนเพื่อ เตรียมความพรอมกอน การฝกปฏิบัติงาน สําหรับนิสิตสาขาวิชา สารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา
1. ผลสัมฤทธิ์ของนิสิต หลังการใชชุดฝก อบรมออนไลน เพื่อเตรียมความพรอม กอนการฝกปฏิบัติงาน 2. ความคิดเห็นของนิสติ ที่มีตอการใชชุดฝก อบรมออนไลน เพื่อเตรียมความพรอม กอนการฝกปฏิบัติงาน
รูปที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย
วิธีด�ำเนินการวิจัย ให้ดผในการวิ เู้ ข้ารับการอบรมมี การเรียนรูใ้ ห้เข้าใจอย่างเป็น รูปที่ 1 กรอบแนวคิ จัย วิธีดําเนินงานวิ การวิจจัยัยนี้ ด�ำเนินการศึกษาโดยใช้รูปแบบ ระบบ โดยเรียนรู้จากง่ายไปหายาก ซึ่งการจัดการ ของการวิจงานวิ ัยและพั & developเรียนการสอนของภาควิ ชาสารสนเทศศึ กษา คณะ จัยฒ นี้ นา ดําเนิ(Research นการศึกษาโดยใช รูปแบบของการวิ จัยและพัฒนา (Research & development) ment) ้ วิ จั ย ได้ปศแบบแนวคิ ึ ก ษาตามรูดปADDIE แบบแนวคิ ด มีรมนุ ษยศาสตร์ และสั โดยผูวิจัยโดยผู ไดศึกษาตามรู Model ายละเอี ยดการดํ าเนิงนคมศาสตร์ งาน ดังนี้ มหาวิทยาลัยบูรพา ADDIE Model มีรายละเอี ดการด�ำเนินงาน ดังนี้ จากเดิมใช้การสอนผ่านสื่อที่อยู่ภายในห้องเรียน ขั้นการวิ เคราะห ย(Analysis) ขั้น1.การวิ น การฉายแผ่ น ใส ที่ ต ้ อ งมี อุ ป กรณ์ ที่ ร องรั บ การวิเคราะห์ เคราะหเ(Analysis) นื้อหาและวัตถุ ประสงคการเรีเช่ ยนรู 1. รูการวิ เคราะห์กอบรมโดยทั เนื้อหาและวั่วไปมี ตถุปคระสงค์ และต้อโดยการประยุ งเข้าชั้นเรียนกตมาถึ งการใช้ ปแบบการฝ วามหลากหลาย ทักษะต าง ๆ คเพือมพิ ่อพัฒวเตอร์ นาให การเรี ย นรู ้ สนั บ สนุ น การเรี ย นการสอน เช่ น การใช้ โ ปรแกรม ผูเขารับการอบรมมี การเรียนรูใหเ ขา ใจอยา งเปน ระบบ โดยเรีย นรูจ ากงายไปหายาก ซึ่งการจัด การเรีย น การสอนของภาควิ รูปแบบการฝึ กอบรมโดยทั ่วไปมีความ Power เป็นมหาวิ สื่อในการน� ้อหาสู ชาสารสนเทศศึ กษา คณะมนุ ษยศาสตร และสังpoint คมศาสตร ทยาลัยบูำรเสนอเนื พา จากเดิ มใช่ หลากหลาย โดยการประยุ กต์ทองเรี กั ษะต่ อ่ พัฒนา นใสผู้เทีรี่ตยอนงมีเป็อุปนกรณ ต้น ททัี่ร้งองรั นี้ ปับจและต จุบันอความก้ ของง การสอนผานสื ่อที่อยูภายในห ยนาเชง ๆนเพืการฉายแผ งเขาชั้นาเรีวหน้ ยน ามาถึ
78 คอมพิวเตอรสนับสนุนการเรียนการสอน เชน การใชโปรแกรม Power point เปนสื่อในการนําเสนอ การใช
นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สารเป็นอย่างมีประสิทธิภาพ มนุษย์สามารถ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้สะดวก รวดเร็ว ผ่านการใช้ งานบนอุปกรณ์เคลือ่ นทีอ่ จั ฉริยะ เช่น Smartphone คอมพิวเตอร์แบบพกพา หรือ Tablet เป็นต้น ซึ่ง สามารถใช้งานได้ทุกที่ ทุกเวลาดังนั้น ภาควิชา สารสนเทศศึกษา จึงเล็งเห็นความส�ำคัญของการ จัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์มากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเข้าถึงองค์ความรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา ประกอบกับผู้เรียนสามารถศึกษาหาความรู้และ ทบทวนบทเรียนได้ด้วยตนเองตลอดเวลา ดังนั้น การพัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อเตรียมความ พร้อมก่อนการฝึกปฏิบตั งิ าน ส�ำหรับนิสติ สาขาวิชา สารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา จึงเป็นอีกทาง เลือกหนึ่ง ที่ช่วยส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน ของภาควิชาสารสนเทศศึกษาให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ทัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ได้วเิ คราะห์เนือ้ หาของหลักสูตร การฝึกปฏิบัติงานของภาควิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา เพือ่ คัดเลือกเนือ้ หาและกิจกรรมให้สอดคล้อง กับความต้องการของนิสิตฝึกปฏิบัติงานและสถาน ประกอบการที่รับนิสิตเข้าร่วมฝึกปฏิบัติงาน 2. การวิเคราะห์คุณลักษณะสื่อ สื่ อ ที่ ใ ช้ ใ นการเรี ย นพั ฒ นาบทเรี ย น ออนไลน์ เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ สนั บ สนุ น การจั ด กระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะ กระบวนการและคุณลักษณะตามมาตรฐานของ หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดหาสื่อการ สอนต้องค�ำนึงถึงผู้เรียนและผู้สอนให้สามารถจัด ท�ำและพัฒนาสื่อด้วยตนเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้ อย่างมีคุณภาพจากสื่อต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อ น�ำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่ง
เสริมและสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับธรรมชาติการเรียนรู้ ของผู้เรียน และความแตกต่างระหว่างบุคคลของ ผู้เรียน โดยค�ำนึงถึงความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนและเนื้อหา มีความถูกต้องและทันสมัย ซึ่งในการวิจัยนี้ ผู้วิจัย เลือกใช้โปรแกรม Google site เป็นเครือ่ งมือในการ พัฒนาชุดฝึกอบรมออนไลน์ ซึ่ง Google sites เป็น โปรแกรมของ Google ทีใ่ ห้บริการสร้างเว็บไซต์โดย ไม่เสียค่าใช้จ่าย สามารถสร้างเว็บไซต์ได้ง่าย ปรับ แต่งรูปลักษณ์ได้อย่างอิสระ และสามารถรวบรวม ความหลากหลายของข้อมูลไว้ในที่เดียว เช่น วิดีโอ ปฏิ ทิ น เอกสาร และอื่ น ๆ อี ก ทั้ ง ยั ง ใช้ ง านได้ ง่าย ช่วยอ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับผู้ที่ต้องการมี เว็บไซต์เป็นของตนเองได้อย่างสะดวก 3. การวิเคราะห์องค์ประกอบของชุดฝึก อบรมออนไลน์ ชุดฝึกอบรมออนไลน์ที่จัดท�ำขึ้นเพื่อ เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับ นิสติ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา มีองค์ประกอบดังนี้ 3.1 ผู้วิจัยใช้แอพพลิเคชั่น Google site เป็นหน้าจอหลักในการน�ำเสนอข้อมูลสู่ผู้เรียน 3.2 การทดสอบก่อนเข้าสูบ่ ทเรียน เพือ่ วัดระดับความรู้ของนิสิตก่อนการฝึกอบรม 3.3 ผู้วิจัยใช้แอพพลิเคชั่น YouTube น�ำเสนอคลิปวีดิทัศน์ และแชร์ URL มายัง Google site ซึ่งเป็นหน้าจอหลัก 3.4 เนื้ อ หาที่ ใ ช้ ใ นการศึ ก ษาเรี ย นรู ้ ประกอบด้วย 1) ความรูด้ า้ น Tip & Trick Microsoft Excel 2) ความรูด้ า้ นการใช้ ICT อย่างปลอดภัย 3) การ ใช้โปรแกรมพื้นฐานในส�ำนักงาน และ 4) ความรู้ใน
79 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การปฏิบัติงานในส�ำนักงาน (Soft skills) 3.5 ผู้วิจัยใช้แอพพลิเคชั่น Google form เป็นส่วนจัดการทดสอบท้ายบทเรียนและ สอบหลังเรียน เพื่อวัดระดับความรู้ของนิสิตหลัง เรียนรู้จากชุดฝึกอบรมออนไลน์ 3.6 การเลื อ กใช้ คู ่ สี ที่ ท� ำ ให้ ผู ้ เ ข้ า รั บ การฝึกอบรมอ่านข้อความได้ชัดเจนและสวยงาม ขั้นการออกแบบ (Design) 1. ก�ำหนดองค์ประกอบของชุดฝึกอบรม ออนไลน์ ซึง่ ประกอบด้วย 1) วัตถุประสงค์การเรียน รู้ของชุดฝึกอบรมออนไลน์ 2) การน�ำเสนอเนื้อหา และ 3) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดย นิสติ จะได้เรียนรูเ้ นือ้ หาต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเต รียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบตั งิ านผ่าน Google sites โดยไม่ก�ำหนดเวลาเรียน 2. การออกแบบและพัฒนาชุดฝึกอบรม ออนไลน์ ทีม่ เี นือ้ หาเป็นสือ่ เสียง สือ่ วีดทิ ศั น์ สือ่ ภาพ และเว็บไซด์ มีรายละเอียดและขั้นตอน ดังนี้ 2.1 การศึ ก ษาคุ ณ ลั ก ษณะวิ ธี ก าร ออกแบบการสร้างชุดฝึกอบรมออนไลน์จากต�ำรา ทางวิชาการ แล้วน�ำมาวิเคราะห์ ก�ำหนดของเขต เนือ้ หา วัตถุประสงค์ และการศึกษาหลักสูตรการฝึก ปฏิบตั งิ านของภาควิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อ วิเคราะห์เนื้อหาที่ใช้น�ำเสนอผ่านชุดฝึกอบรมออนไลน์ 2.2 การก�ำหนดผลการเรียนรูต้ ามวัตถุประสงค์ที่ได้ หลังจากการใช้ชุดฝึกอบรมออนไลน์ 2.3 การออกแบบและพั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรมออนไลน์ โดยการออกแบบผั ง งาน (Flowchart) และการออกแบบการด�ำเนินเรื่อง (Storyboard) โดยผ่านความเห็นชอบจากอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และด�ำเนินการพิจารณา ความเหมาะสมของชุ ด ฝึ ก อบรมออนไลน์ โ ดย
80 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ผู้เชี่ยวชาญ ขั้นการพัฒนา (Development) 1. สร้างชุดฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง การ เตรียมพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงานส�ำหรับนิสิต สาขาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา จากนัน้ จึงน�ำบทเรียนดังกล่าวตรวจสอบหาคุณภาพโดย ผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 6 ท่าน พบว่า ชุดฝึกอบรม ออนไลน์ดังกล่าว มีค่าความสอดคล้องระหว่าง 0.80-1.00 มีคุณ ภาพที่อ ยู่ในระดั บที่เหมาะสม สามารถน�ำไปใช้ในการวิจัยได้ 2. สร้างแบบทดสอบที่สอดคล้องกับจุด ประสงค์การเรียนรู้ของแต่ละหัวเรื่องเป็นข้อสอบ ปรนัย 3 ตัวเลือก จ�ำนวน 40 ข้อ ผ่านการตรวจ สอบความสอดคล้องของผู้เชี่ยวชาญ มีค่าเฉลี่ย 0.80-1.00 มีคา่ ความยากง่ายอยูร่ ะหว่าง 0.25-0.75 มีคา่ อ�ำนาจจ�ำแนกอยูร่ ะหว่าง 0.47-0.94 และมีคา่ ความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.71 สามารถน�ำไปใช้ ในงานวิจัยได้ 3. สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นของ นิสิตที่มีต่อการใช้ชุดฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อเตรียม ความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบตั งิ าน จากนัน้ จึงน�ำบท เรียนดังกล่าวตรวจสอบหาคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ จ�ำนวน 6 ท่าน พบว่า แบบสอบถามดังกล่าว มีค่า เฉลี่ยระหว่าง 0.80-1.00 ผู้วิจัยจึงน�ำไปใช้เก็บ ข้อมูลต่อไป ขัน้ ตอนการทดลอง (Implementation) ผู้วิจัย น�ำชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อเตรียม ความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ พัฒนาขึน้ ไปทดสอบประสิทธิภาพกับกลุม่ ตัวอย่าง ได้แก่ นิสติ ระดับปริญญาตรี สาขาสารสนเทศศึกษา ปีการศึกษา 2562 จ�ำนวน 30 คน โดยมีขนั้ ตอนตาม รูปที่ 2
สารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ที่พัฒนาขึ้น ไปทดสอบประสิทธิภาพกับกลุมตัวอยาง ไดแก นิสิตระดับ ปริญญาตรี สาขาสารสนเทศศึกษา ปการศึกษา 2562 จํานวน 30 คน โดยมีขั้นตอนตามรูปที่ 2 เริ่มตน
แนะนําการใชชุดฝกอบรมออนไลน แบบทดสอบกอนเรียน ฝกอบรม จบแตละหนวย แบบทดสอบหลังฝกจบแตละหนวย ฝกอบรม
ไมผา น
จบทุกหนวย ทําแบบทดสอบหลังฝกอบรม ทําแบบประเมินความคิดเห็นตอชุดฝกอบรม สิ้นสุด
รูปที่ 2 แผนผังขั้นตอนการเรียนรู้ของชุดฝึกอบรมออนไลน์
รูปที่ 2 แผนผังขั้นตอนการเรียนรูของชุดฝกอบรมออนไลน ขั้นการประเมินผล (Evaluation) นผล (Evaluation) น�ำข้ขัอ้นมูการประเมิ ลที่รวบรวมจากแบบทดสอบและ แบบประเมินความพึงพอใจของนิสติ ต่อชุดฝึกอบรม ออนไลน์ มาวิเคราะห์ด้วยวิธีทางสถิติและแปลผล เพื่อสรุปผลการวิจัย โดยใช้ค่าเฉลี่ย ( ) ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และสถิติ t-test
สารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ประกอบด้วย 1) ค�ำชี้แจงเพื่ออธิบายการเรียนรู้ของชุดฝึกอบรม ออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติ งาน 2) แบบทดสอบก่อนเข้าสูบ่ ทเรียนเพือ่ วัดระดับ ความรูข้ องนิสติ ก่อนการฝึกอบรม 3) เนือ้ หาทีใ่ ช้ใน การศึกษาเรียนรูแ้ ละ 4) แบบทดสอบหลังเรียน เพือ่ วัดระดับความรูข้ องนิสติ หลังเรียนรูจ้ ากชุดฝึกอบรม ผลการวิจัย ออนไลน์ โดยมีตัวอย่างของชุดฝึกอบรมออนไลน์ 1. ชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อเตรียมความ ดังกล่าว ดังรูปที่ 3 พร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิตสาขา
81 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การฝกอบรม 3) เนื้อหาที่ใชในการศึกษาเรียนรู และ 4) แบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดระดับความรูของนิสิต หลังเรียนรูจากชุดฝกอบรมออนไลน โดยมีตัวอยางของชุดฝกอบรมออนไลนดังกลาว ดังรูปที่ 3
รูปที่ 3 ตัวอยางชุดฝกอบรมออนไลนเพื่อเตรียมความพรอมกอนการฝกปฏิบัติงาน รูปที่ 3 ตัวอยางชุรูดปฝทีก่ อบรมออนไลน พื่อเตรียมความพร อนการฝอกมก่ ปฏิอนการฝึ บัติงานกปฏิบัติงาน 3 ตัวอย่างชุดฝึกเอบรมออนไลน์ เพื่อเตรีอมก ยมความพร้
2. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของชุดฝกอบรมออนไลน เรื่อง การเตรียมความพรอมกอนการฝก ผลการทดสอบประสิ าพของชุ ฝกกอบรมออนไลน์ อบรมออนไลน การเตรี ยยมความพร ออมก ปฏิบัติงานของนิ 2. 2.ผลการทดสอบประสิ ททธิธิภกภษา าพของชุ เรื่อยงดดั การเตรี มความพร้ มก่ออนการฝ นการ ก สิตสาขาสารสนเทศศึ มหาวิดทดฝึยาลั ยบูรพา มีรายละเอี งตารางที ่1
ปฏิ สิตสาขาสารสนเทศศึ กษา กมหาวิ ทยาลัทยยาลั บูรพายบูมีรรพา ายละเอี ยดดังตารางที ่1 ่1 ฝึกบปฏิัติงบานของนิ ัติงานของนิ สิตสาขาสารสนเทศศึ ษา มหาวิ มีรายละเอี ยดดังตารางที
ตารางที่ 1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของชุดฝกอบรมออนไลน
ตารางที ดฝดกฝึอบรมออนไลน ตารางที่ ่ 11ผลการทดสอบประสิ ผลการทดสอบประสิทธิทภธิาพของชุ ภาพของชุ กอบรมออนไลน์
การทดสอบ
การทดสอบ 90 ตัวแรก 90 ตัวแรก 90 ตัวหลัง 90 ตัวหลัง
หนวยที่ 1
หนวยที่ 2
หน90.43 วยที่ 1 90.43 90.00 90.00
หน94.67 วยที่ 2 94.67 93.33 93.33
หนวยที่ 3
หน94.00 วยที่ 3 94.00 86.67 86.67
หนวยที่ 4 หน93.67 วยที่ 4 93.67 93.33 93.33
แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลั 91.08 งเรียน 91.08 93.33 93.33
13
จากตารางที ่ 1่ 1พบว่ า าชุดชุฝึดกฝอบรมออนไลน์ จากตารางที พบว กอบรมออนไลนเรืเรื่อง่องการเตรี การเตรียมความพร้ ยมความพรออมก่มกออนการฝึ นการฝกกปฏิปฏิบบัตัติงาน ิงาน จากตารางที่ 1 พบวา ชุดฝกอบรมออนไลน เรื่อง การเตรียมความพรอมกอนการฝกปฏิบัติงาน ของนิสิตสาขาสารสนเทศศึ สาขาสารสนเทศศึ กษายมหาวิ มหาวิ ทยาลั ยพา รมีพา มีกปอบรบและหลั ทธิภ91.08/93.33 าพงฝ91.08/93.33 นไปตามเกณฑ์ ษา มหาวิ ยาลั มีปประสิ ททระสิ ธิธิภภาพ เป 3. ผลการเปรียกกบเที บคะแนนสอบก อบูนการฝ กอบรมของนิ สเป็ ิต โดยใช ชมุดมาตรฐาน ฝาตรฐาน กอบรม ของนิสิตตสาขาสารสนเทศศึ ษา ททยาลั ยยบูบูรรพา ระสิ าพ 91.08/93.33 เปนนไปตามเกณฑ ไปตามเกณฑ มาตรฐาน 90/ 90 90/ 90 เรื่อง การเตรียมพรอมกอนการฝกปฏิบัติงานสําหรับนิสิตสาขาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา 90/ 90 ออนไลน
พบวา คะแนนหลั 3. ผลการเปรี บเทียบคะแนนสอบก่ อนการฝึ สิต โดยใช้ ชุดยด งฝกยอบรมสู งกวากอนฝกอบรมอย างมีกนอบรบและหลั ัย สําคัญทางสถิงฝึตกิทอบรมของนิ ี่ระดับ .05 โดยมี ร ายละเอี ฝึดักงอบรมออนไลน์ เรื่อง การเตรียมพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงานส�ำหรับนิสิตสาขาสารสนเทศศึกษา ตารางที่ 2 มหาวิทยาลัยบูรพา พบว่าคะแนนหลังฝึกอบรมสูงกว่าก่อนฝึกอบรมอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ตารางที ่ 2 ผลการเปรี ยบเทีย่ บคะแนนสอบก อนการฝกอบรบและหลังฝกอบรมของนิสิต โดยใชชุดฝกอบรม โดยมี รายละเอี ยด ดังตารางที 2 ออนไลนฯ
ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนสอบก่อนการฝึกอบรบและหลังฝึกอบรมของนิสติ โดยใช้ชดุ ฝึกอบรมออนไลน์ฯ คะแนนทดสอบ กอนฝกอบรม หลังอบรม * P < 0.05
82
N 30 30
� 𝒙𝒙 29.07 36.43
SD 1.964 1.455
t
df
sig
28.296
29
0.00*
4. ความคิ ด เห็ น ของนิ สิ ต ที่ ใ ช ชุ ด ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง การเตรี ย มความพร อ มก อ นการฝ ก นวัปฏิ ตกรรมการสื ่อสารและเทคโนโลยี การศึกษาก ษา มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา โดยรวมอยู ใ นระดั บ มาก ( X� = 4.06, บัติ งานของนิ สิต สาขาสารสนเทศศึ SD = 0.81) โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 3
4. ความคิดเห็นของนิสติ ทีใ่ ช้ชดุ ฝึกอบรมออนไลน์ เรือ่ ง การเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบตั ิ งานของนิสิตสาขาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.06, SD = 0.81) โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 3 14
ตารางที่ 3 ผลความคิดเห็นของนิสิตที่ใช้ชุดฝึกอบรมออนไลน์ เรื่อง การเตรียมความพร้อมก่อนการฝึก ปฏิบัติงานของนิสิตสาขาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ขอ
รายการประเมิน
ดานเนื้อหา 1 เนื้อหาของชุดฝกอบรมออนไลนเปนประโยชนตอการนําไปใชในการฝก ปฏิบัติงาน 2 เนื้อหาของชุดฝกอบรมออนไลนสามารถเขาใจไดงาย ดานการนําเสนอ 3 ความสะดวกในการใชงาน 4 ความนาสนใจของชุดฝกอบรมบนเว็บ 5 รูปแบบตัวอักษร ขนาดและสีตัวอักษร พื้นหลัง มีความชัดเจนอานงาย 6 ภาพและวิดีโอที่นําเสนอในชุดฝกอบรมออนไลนมีความชัดเจน ในการ สื่อความหมาย 7 บทเรียนมีการใชสีเปนมิตรกับสายตาผูใช ดานการใชงานชุดฝกอบรมออนไลน 8 ชวยใหผูเรียนทบทวนบทเรียนและเรียนรูดวยตนเอง 9 การเขาถึงเนื้อหาของชุดฝกอบรมออนไลน และการลําดับเนื้อหา สามารถทํา ไดงาย 10 ไมพบความผิดพลาด (bug) ของระบบ รวม
N = 30 � X SD
ระดับ คุณภาพ
3.90 0.99 4.13 0.86
มาก มาก
4.07 0.91 มาก 3.03 0.93 ปานกลาง 4.43 0.63 มาก 4.50 0.57 4.53 0.51
มาก มากที่สุด
4.27 0.74
มาก
4.07 0.94 3.67 0.99 4.06 0.81
มาก มาก มาก
อภิปรายผล รายผล การประเมินคุณภาพของเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ 1. ชุ ด ฝ ก อบรมออนไลน เ พื ่ อ เตรี ย มความพร อ มก กปฏิทบดลองกั ัติงาน สํบาหรั สาขาสารสนเทศ 1. ชุ ด ฝึ ก อบรมออนไลน์ เ พื่ อ เตรี ย ม ก่ออนการฝ นน�ำไปใช้ กลุบ่มนิตัสวิตอย่ างจริง ซึ่งใน ศึกษา มหาวิ ยบูรพากปฏิ มีปบระสิ มาตรฐาน 90/ 90 (The standard) ความพร้ อมก่ทยาลั อนการฝึ ัติงทานธิภาพเป ส�ำหรันบไปตามเกณฑ นิสิต ขั้นตอนของการทดลอง ผู้วิจัย90/ ได้ส90ังเกตการเรี ยนรู้ เนื่องจากผูวิจัยไดกําหนดองค ประกอบที าเนินการพั ฒนาชุ ดังกลาวยอย สาขาสารสนเทศศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั่เหมาะสม ย บู ร พา และดํ มี ของนิ สิต พบว่ านิดสฝิตกมีอบรมออนไลน ความสนใจในการเรี นเพิาง่ม เปนระบบ มีการประเมิ นคุณภาพของเครื อโดยผู นนําไปใชอทรืดลองกั บกลุมตัยวนรู อยา้ และรู งจริง ้สซึ่ึกงใน ประสิ ทธิภาพเป็ นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน่องมื90/ 90เชี่ยวชาญก ขึ้น มีคอวามกระตื อร้นในการเรี ตื่น ขั(The ้นตอนของการทดลอง ผู ว จ ิ ย ั ได ส ง ั เกตการเรี ย นรู ข องนิ ส ิ ต พบว า นิ ส ิ ต มี ค วามสนใจในการเรี ย นเพิ ่ ม ขึ ้ น มี ค วาม 90/ 90 standard) เนือ่ งจากผูว้ จิ ยั ได้กำ� หนด ตัวเมือ่ มีการทดสอบความรูห้ ลังจากศึกษาแต่ละบท กระตืปอระกอบที รือรนในการเรี ยนรู และรู สึกตืำ่นเนิตัวนเมืการพั ่อมีการทดสอบความรู หลังจากศึกษาแต้ผลลการทดสอบได้ ะบทเรียน เพราะสามารถ องค์ ่เหมาะสม และด� ฒนา เรียน เพราะสามารถรู ทันที ดังที่ รูชุผดลการทดสอบได ท ั น ที ดั ง ที ่ ถนอมพร เลาหจรั ส แสง (2545) ที ่ อ ธิ บ ายว า บทเรี ย นออนไลน ท ่ ี ด ี ต งมีการ ฝึกอบรมออนไลน์ดังกล่าว อย่างเป็นระบบ มี ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545) ทีอ่ ธิบายว่าอบทเรี ยน ปฏิสัมพันธ (Interaction) ระหวางบทเรียนกับผูเรียน กลาวคือ ตองมีการเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธ กับเนื้อหา หรือผูที่มีความตองการเขาถึงขอมูลอื่นได อีกทั้งชุดฝกอบรมออนไลนควรมีการออกแบบกิจกรรม 83 ซึ่ง นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ออนไลน์ที่ดี ต้องมีการปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างบทเรียนกับผู้เรียน กล่าวคือ ต้องมีการ เปิ ด โอกาสให้ ผู ้ เ รี ย นได้ มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ เนื้ อ หา หรือผู้ที่มีความต้องการเข้าถึงข้อมูลอื่นได้ อีกทั้ง ชุดฝึกอบรมออนไลน์ควรมีการออกแบบกิจกรรม ซึ่งผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับเนื้อหา รวมทั้งมีการ จัดเตรียมแบบฝึกหัดและแบบทดสอบให้ผู้เรียน สามารถตรวจสอบความเข้าใจด้วยตนเองได้ อีกทั้ง เมื่อผู้เรียนท�ำแบบทดสอบ ชุดฝึกอบรมออนไลน์ก็ สามารถตอบสนองแบบทันทีทันใด (Immediate response) สามารถให้ผลตอบกลับโดยทันทีแก่ ผู ้ เ รี ย น ประกอบกั บ ชุ ด ฝึ ก อบรมออนไลน์ เ พื่ อ เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับ นิสิตสาขาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา ออกแบบให้มีสีสันสวยงาม ประกอบด้วยภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอประกอบการสอนต่าง ๆ ซึ่ง ช่วยกระตุน้ ความสนใจของผูเ้ ข้ารับการอบรม ท�ำให้ มีความคงทนในการเรียนรู้มากขึ้น ดังที่ Doherty (1998) อธิบายว่า บทเรียนออนไลน์ ควรน�ำเสนอ ข้อความ ภาพนิง่ ภาพเคลือ่ นไหวและเสียงร่วมด้วย เพื่อกระตุ้นความสนใจและง่ายต่อการจดจ�ำของ ผู้เรียน ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมุ่งมั่นท�ำกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง ซึ่งผู้เรียนสามารถเรียนรู้บทเรียน ได้ด้วยตนเอง ตามความสามารถและความถนัด ในการเรียนรู้ จึงท�ำให้ชุดฝึกอบรมออนไลน์เพื่อ เตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับ นิสิตสาขาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา มี ประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด สอดคล้อง กับงานงานวิจัยของ ผกาทิพย์ นันทไชย (2557) ที่ ไ ด้ พั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรม เรื่ อ ง การพั ฒ นางาน ประจ�ำสู่งานวิจัยส�ำหรับบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การ
84 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
พัฒนางานประจ�ำสู่งานวิจัยส�ำหรับบุคลากรสาย สนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล ให้มีประสิทธิภาพ 80/80 2) เพื่อเปรียบ เทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการอบรมด้วยชุดฝึก อบรม และ 3) เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของบุคลากร สายสนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล ที่มีต่อชุดฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัย คือ พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2558 จ�ำนวน 30 คน ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพ ของชุดฝึกอบรมเรื่องการพัฒนางานประจ�ำสู่งาน วิจัย มีประสิทธิภาพ 80.33/ 84.11 เป็นไปตาม เกณฑ์ที่ตั้งไว้ และ 2) ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนด้วยชุด ฝึกอบรมสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ทีร่ ะดับ .05 และสอดคล้องกับงานวิจยั ของ ศิรภิ ทั ร์ รุง่ เรืองสินงาม (2560) ทีไ่ ด้พฒ ั นาบทเรียนออนไลน์ โดยใช้โปรแกรมเอ็ดโมโด กลุ่มสาระการเรียนรู้การ งานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยี 3 เรื่อง การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยใช้โปรแกรม เอ็ดโมโด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยี เรื่อง การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 90/ 90 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนน ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนบท เรียนออนไลน์ และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนอัส สัมชัญศรีราชา จังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2558 ใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster sampling) จ�ำนวน 1 ห้อง 30 คน ผลการวิจัย พบ
ว่า 1) การพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยใช้โปรแกรม เอ็ดโมโด เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ 96.53/ 93.33 เป็นไปตามเกณฑ์ ที่ก�ำหนดไว้ 2) คะแนนจากการทดสอบหลังเรียน สูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนที่เรียนจากบทเรียน ออนไลน์โดยใช้โปรแกรมเอ็ดโมโด เรือ่ ง การสือ่ สาร ข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีความพึงพอใจ อยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ (ค่าเฉลีย่ = 4.78, SD = 0.77) 2. ผลสัมฤทธิ์ของนิสิตหลังการใช้ชุดฝึก อบรมออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึก ปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา พบว่า คะแนนหลังฝึกอบรม สูงกว่าก่อนฝึกอบรม อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 เนื่องจากชุดฝึกอบรมออนไลน์ดังกล่าว ได้ผ่านกระบวนการหาประสิทธิภาพหลายขั้นตอน จนมีความเหมาะสม ท�ำให้นสิ ติ มีความเข้าใจเนือ้ หา มากขึ้น อีกทั้ง ผู้วิจัยได้ออกแบบบทเรียนโดยค�ำนึง ถึงธรรมชาติในการเรียนรู้ของนิสิต ซึ่งเป็นผู้เรียน ระดับอุดมศึกษา ที่มีความรับผิดชอบต่อการเรียน รู้ด้วยตนเอง ให้ความสนใจกับความรู้ที่ได้รับการ เรียบเรียงเนื้อหาเป็นขั้น เป็นตอน เข้าใจง่าย มี ความชั ด เจนในเนื้ อ หาที่ น� ำ เสนอ ดั ง ที่ ชั ย ยงค์ พรหมวงศ์ (2556) อธิบายว่า การพัฒนาชุดฝึกอบรม รูปแบบใดก็ตามต้องค�ำนึงถึงความต้องการ ความ ถนัดและความสนใจของผู้เรียนเป็นส�ำคัญ เพราะ ความแตกต่างระหว่างบุคคลมีหลายด้าน คือ ความ สามารถ สติปัญญา ความต้องการ ความสนใจใน ร่างกาย สังคม อารมณ์ เป็นต้น ซึ่งชุดฝึกอบรม ออนไลน์เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติ งาน ส�ำหรับนิสติ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ทีผ่ วู้ จิ ยั พัฒนาขึ้นนั้น นิสิตสามารถเรียนซ�้ำในเนื้อหาที่ยัง
ไม่เข้าใจได้อย่างมีอิสระ และหลังจากเรียนจบแต่ ละเนื้อหา นิสิตจะได้ท�ำแบบทดสอบทันที เพื่อ ทบทวนและทดสอบความรู้ในแต่ละบทเรียน ซึ่ง ท� ำ ให้ นิ สิ ต มี ค วามตื่ น เต้ น และให้ ค วามสนใจกั บ ผลคะแนนที่ได้รับ มีความกระตือรือร้นที่จะท�ำให้ คะแนนของตนเองสู ง ขึ้ น สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ ผกาทิพย์ นันทไชย (2557) ที่ได้พัฒนาชุดฝึก อบรม เรือ่ ง การพัฒนางานประจ�ำสูง่ านวิจยั ส�ำหรับ บุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การพัฒนางานประจ�ำ สู ่ ง านวิ จั ย ส� ำ หรั บ บุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น คณะ วิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ให้ มี ประสิทธิภาพ 80/ 80 2) เพื่อเปรียบเทียบผล สัมฤทธิ์ก่อนและหลังการอบรมด้วยชุดฝึกอบรม และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสาย สนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล ที่มีต่อชุดฝึกอบรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัย คือ พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2558 จ�ำนวน 30 คน ผลการวิจัย พบว่า 1) ประสิทธิภาพ ของชุดฝึกอบรมเรื่องการพัฒนางานประจ�ำสู่งาน วิจัย มีประสิทธิภาพ 80.33/ 84.11 เป็นไปตาม เกณฑ์ที่ตั้งไว้ และ 2) ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนด้วยชุด ฝึกอบรมสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และสอดคล้องกับงานวิจัยของ บุษรา สังวาลย์เพ็ชร (2548) พัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง ไอซีทเี พือ่ การเรียนการสอน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ 1) พัฒนาชุดฝึกอบรม เรือ่ ง ไอซีทเี พือ่ การเรียนการ สอนให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/ 80 2) ศึกษา ผลสัมฤทธิ์จากการใช้ชุดฝึกอบรม เรื่อง ไอซีทีเพื่อ การเรียนการสอน ก่อนและหลังใช้ชดุ ฝึกอบรม และ 3) ศึกษา
85 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ความคิดเห็นของผูอ้ บรมทีม่ ตี อ่ ชุดฝึกอบรม เรือ่ ง ไอ ซีที เพื่อการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจยั ได้แก่ ผูเ้ ชีย่ วชาญทีเ่ ข้าร่วมสนทนากลุม่ จ�ำนวน 10 คน และครูโรงเรียนท่าม่วงราษฎร์บ�ำรุง อ�ำเภอ ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จ�ำนวน 60 คน ซึง่ ปฏิบตั ิ งานอยูใ่ นภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2548 โดยใช้วธิ ี เลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่อง มือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง เพื่อใช้สอบถามผู้เชี่ยวชาญ 2) ประเด็นสนทนากลุ่ม 3) ชุดฝึกอบรม เรื่อง การ เรียนการสอน 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์จาก การใช้ชุดฝึกอบรม เรื่อง ไอซีทีเพื่อการเรียนการ สอน และ 5) แบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่ มีต่อการใช้ชุดฝึกอบรมดังกล่าว ผลการวิจัย พบว่า 1) ชุดฝึกอบรม เรือ่ ง ไอซีทเี พือ่ การเรียนการสอน มี ประสิทธิภาพ 82.16/ 81.72 สูงกว่าเกณฑ์ 80/ 80 ทีก่ ำ� หนดไว้ 2) ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผูอ้ บรม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และ 3) ความคิดเห็นของครูที่มีต่อ การใช้ชุดฝึกอบรม เรื่อง ไอซีทีเพื่อการเรียนการ สอน อยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ย = 4.43, SD = 0.56) 3. ความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการใช้ชุด ฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการ ฝึกปฏิบัติงาน ส�ำหรับนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศ ศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา พบว่า โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก เนื่องจากชุดฝึกอบรมออนไลน์ดังกล่าว เน้นให้นิสิตได้ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ่านการใช้ เทคโนโลยีที่ทันสมัยและสอดคล้องกับทักษะของ นิสติ ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการหาความรูผ้ า่ นเครือ่ ง มืออันทันสมัย เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่อัจฉริยะ คอมพิวเตอร์แบบพกพา เป็นต้น ท�ำให้นิสิตมีความ สะดวกในการเข้าถึงข้อมูล และสามารถเรียนรู้ได้ ทุกที่ ทุกเวลา ประกอบกับ ชุดฝึกอบรมออนไลน์
86 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ได้ รับการออกแบบให้มีสีสันสวยงาม มีภาพนิ่ง ภาพ เคลื่อนไหว วิดีโอประกอบการสอนต่าง ๆ ซึ่งช่วย กระตุ้นความสนใจของนิสิต ท�ำให้มีความคงทนใน การเรียนรู้มากขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัยของบุษรา สังวาลย์เพ็ชร (2548) พัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง ไอซีทเี พือ่ การเรียนการสอน โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ 1) พัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง ไอซีทีเพื่อการเรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/ 80 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์จากการใช้ชุดฝึกอบรม เรื่อง ไอ ซีทีเพื่อการเรียนการสอนก่อนและหลังใช้ชุดฝึก อบรม และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้อบรม ที่ มี ต ่ อ ชุ ด ฝึ ก อบรม เรื่ อ ง ไอซี ที เพื่ อ การเรี ย น การสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้ เชี่ยวชาญที่เข้าร่วมสนทนากลุ่ม จ�ำนวน 10 คน และครูโรงเรียนท่าม่วงราษฎร์บ�ำรุง อ�ำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จ�ำนวน 60 คน ซึ่งปฏิบัติงาน อยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2548 โดยใช้วิธี เลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เครื่อง มือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้าง เพื่อใช้สอบถามผู้เชี่ยวชาญ 2) ประเด็นสนทนากลุ่ม 3) ชุดฝึกอบรม เรื่อง การ เรียนการสอน 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์จาก การใช้ชุดฝึกอบรม เรื่อง ไอซีทีเพื่อการเรียนการ สอน และ 5) แบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่ มีต่อการใช้ชุดฝึกอบรมดังกล่าว ผลการวิจัย พบว่า 1) ชุดฝึกอบรม เรื่อง ไอซีทีเพื่อการเรียนการสอน มีประสิทธิภาพ 82.16/ 81.72 สูงกว่าเกณฑ์ 80/ 80 ที่ก�ำหนดไว้ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ผูอ้ บรมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .05 และ 3) ความคิดเห็นของครูทมี่ ี ต่อการใช้ชดุ ฝึกอบรม เรือ่ ง ไอซีทเี พือ่ การเรียนการ สอน อยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ย = 4.43, SD = 0.56)
และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ผกาทิพย์ นันทไชย (2557) ที่ได้พัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การพัฒนา งานประจ�ำสูง่ านวิจยั ส�ำหรับบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การ พัฒนางานประจ�ำสู่งานวิจัยส�ำหรับบุคลากรสาย สนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล ให้มีประสิทธิภาพ 80/ 80 2) เพื่อเปรียบ เทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการอบรมด้วยชุด ฝึกอบรม และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ บุ ค ลากรสายสนั บ สนุ น คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ทีม่ ตี อ่ ชุดฝึกอบรม กลุม่ ตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานมหาวิทยาลัยสาย สนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล พ.ศ. 2558 จ�ำนวน 30 คน ผลการวิจัย พบ ว่า 1) ประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมเรือ่ งการพัฒนา งานประจ�ำสูง่ านวิจยั มีประสิทธิภาพ 80.33/ 84.11 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ และ 2) ผลสัมฤทธิ์หลัง เรียนด้วยชุดฝึกอบรมสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัย ส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ 1. ชุ ด ฝึ ก อบรมออนไลน์ ท� ำ ให้ นิ สิ ต มี ความสนใจและมีสมาธิในการเรียนรู้มากขึ้น ดังนั้น จึงควรน�ำไปใช้กับการน�ำเสนอเนื้อหาหรือกิจกรรม ในหลักสูตรอื่น ๆ ร่วมด้วย เพื่อให้นิสิตได้รับความ รู้ในเนื้อหาด้านอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของการฝึกปฏิบัติงาน และนิสิตสามารถทบทวน เนื้อหาได้ด้วยตนเอง 2. ชุดฝึกอบรมออนไลน์ เพือ่ เตรียมความ พร้อมก่อนการฝึกปฏิบตั งิ าน มีหน้าจอการน�ำเสนอ โดยใช้สที เี่ ป็นมิตรกับสายตาของผูใ้ ช้งาน มีรปู แบบ
ตัวอักษร ขนาดและสีตัวอักษร รวมถึงพื้นหลังมี ความชัดเจน อ่านง่าย ดังนั้น จึงควรเพิ่มสื่อในรูป แบบที่หลากหลาย เช่น ภาพ วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว จะท�ำให้ช่วยเพิ่มความน่าสนใจและการท�ำความ เข้าใจในเนื้อหาได้มากขึ้น 3. ชุดฝึกอบรมออนไลน์ เพือ่ เตรียมความ พร้อมก่อนการฝึกปฏิบัติงาน ต้องมีความพร้อมใน เรื่องระบบเครือข่ายอินเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อ ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งมีความจ�ำเป็นส�ำหรับการฝึก อบรมออนไลน์ ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. จากการศึกษาความคิดเห็นของนิสติ ที่ มีต่อชุดฝึกอบรมออนไลน์ เพื่อเตรียมความพร้อม ก่อนการฝึกปฏิบตั งิ าน พบว่า วิธกี ารใช้ชดุ ฝึกอบรม ออนไลน์ไม่ซับซ้อน นิสิตมีความพึงพอใจน้อยที่สุด ดังนั้น ชุดฝึกอบรมออนไลน์จึงควรพัฒนาโดยน�ำ เสนอเนื้อหาที่มีความเชื่อมโยงจากง่ายไปยาก น�ำ เสนอเนื้อหาที่กระชับ เข้าใจง่าย และสรุปความ ให้ชัดเจน ตรงประเด็น เช่น การสรุปผลในรูปแบบ Infographic หรือแผนภูมิ เป็นต้น 2. การพั ฒ นาชุ ด ฝึ ก อบรมออนไลน์ ใ น เนื้อหาอื่น ๆ เช่น การเตรียมความพร้อมส�ำหรับ การเข้าศึกษาต่อชัน้ ปีที่ 1 ภาควิชาสารสนเทศศึกษา หรือการแนะน�ำภาควิชาสารสนเทศศึกษา เป็นต้น 3. เนื่ อ งจากงานวิ จัย นี้ เป็ นการใช้ กั บ นิ สิ ต ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ซึ่ ง จะให้ ค วามสนใจกั บ สื่อที่สามารถมีปฏิสัมพันธ์ได้ทันที ดังนั้น ควรมี การน�ำเสนอชุดฝึกอบรมออนไลน์ในรูปแบบ Real time เช่น การน�ำเสนอแบบ Live สด โดยมีการ ประชาสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ นั ด หมายเวลาในการรั บ ชม เป็นต้น
87 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: กระทรวง ศึกษาธิการ. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน Developmental testing of media and instructional package. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 7-20. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Designing e-learning หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อการ เรียนการสอน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุษรา สังวาลเพ็ชร. (2548). การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง ไอซีทีเพื่อการเรียนการสอนส�ำหรับครูโรงเรียน ท่าม่วงราษฎร์บ�ำรุง จังหวัดกาญจนบุรี. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ผกาทิพย์ นันทไชย. (2557). การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การพัฒนางานประจ�ำสู่งานวิจัยส�ำหรับ บุคลากรสายสนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. การค้นคว้าอิสระศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสขุ . (2557). การจัดการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (2561). หลักสูตรการฝึกปฏิบัติงาน ของภาควิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี: ภาควิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา. มนต์ชัย เทียนทอง. (2545). การออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์ส�ำหรับบทเรียน. พิษณุโลก: คณะศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ศรีหทัย เวลล์ส. (2557). การพัฒนามาตรฐานและตัวชี้วัดการรู้สารสนเทศของนิสิตสาขาวิชาสารสนเทศ ศึกษา ตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของภาควิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุร:ี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. ศิริภัทร์ รุ่งเรืองสินงาม. (2560). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยใช้โปรแกรม EDMODO กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยี 3 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ ส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. Doherty, A. (1998). The Internet: Destined to become a passive surfing technology. Educational Teachnology, 38(5), 61-63.
88 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอน ระดับประถมศึกษา ที่จบสาขาวิชาชีพครูกับที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน The Comparative Study for Professional Competencies of the Elementary Education Teachers between Professional teacher and Unprofessional teacher under the Office of Basic Education Commission ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย สุธาสิโนบล, อาจารย์ ดร.ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล
บทคัดย่อ งานวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะวิชาชีพครูของครู ผู้สอนในระดับประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 2) เพือ่ เปรียบเทียบ สมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถม ศึ ก ษาที่ จ บสาขาวิ ช าชี พ ครู กั บ ที่ ไ ม่ ไ ด้ จ บสาขา วิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และ 3) เพื่อจัดทําขอเสนอแนะในการ พัฒนาสมรรถนะของครูระดับประถมศึกษา สังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง เป็นครูผู้สอนระดับประถม ศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้น พื้นฐานในเขตกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2560 – 2561 จ�ำนวน 135 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือก แบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์
ข้อมูลเชิงปริมาณโดยเปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างค่าเฉลี่ย (t-test) และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) และ วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนือ้ หา (Content Analysis) ส�ำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ข้อ เสนอแนะเชิงนโยบาย ใช้การสนทนากลุ่มและการ สัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาระดับสมรรถนะวิชาชีพ ครู ข องครู ผู ้ ส อนในระดั บ ประถมศึ ก ษา สั ง กั ด ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบ ว่า สมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถม ศึ ก ษาที่ จ บสาขาวิ ช าชี พ ครู กั บ ที่ ไ ม่ ไ ด้ จ บสาขา วิชาชีพครูสงั กัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐานอยูใ่ นระดับ ปานกลาง ( x 1= 3.58, S.D. = .886; x 2= 3.46, S.D. = 1.027)
89 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
2. ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะวิชาชีพครู ของครูผู้สอนระดับประถมศึกษาที่จบสาขาวิชาชีพ ครูกับที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พบว่ า สมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถม ศึ ก ษาที่ จ บสาขาวิ ช าชี พ ครู กั บ ที่ ไ ม่ ไ ด้ จ บสาขา วิชาชีพครูสงั กัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทาง สถิตทิ รี่ ะดับ .05 ทุกสมรรถนะ โดยทีค่ รูผสู้ อนระดับ ประถมศึกษาที่จบสาขาวิชาชีพครูมีค่าเฉลี่ยสูงกว่า ครูกับที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู ส�ำหรับผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน ของค่าเฉลีย่ สมรรถนะหลักทัง้ 5 ด้าน และสมรรถนะ ประจ� ำ สายงานของครูผู้สอนทั้ ง 6 ด้ า น พบว่ า ค่าเฉลี่ยคะแนนสมรรถนะหลักทั้ง 5 ด้าน และ สมรรถนะประจ�ำสายงานของครูผสู้ อนทั้ง 6 ด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3. ขอเสนอแนะในการพัฒนาสมรรถนะ ของครูระดับประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า รัฐบาลควร เร่งพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับ ประถมศึกษาส�ำหรับครูผู้สอนทั้งที่จบสาขาวิชาชีพ ครูและที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานให้รเู้ ท่าทันการ เปลี่ยนแปลงของสังคมในยุคดิจิทัล โดยให้สถาบัน ผลิตครูได้กำ� หนดมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์สำ� หรับผูท้ จี่ ะ ไปท�ำหน้าที่สอนในระดับประถมศึกษาให้มีความ พร้อมก่อนที่จะเข้าไปอยู่ในสังกัดส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการเป็นผู้สอน ระดับประถมศึกษา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของ โลกที่เป็นพลวัติ และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ดิจทิ ลั ซึง่ กระทบต่อการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของ
90 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
มนุษย์ ดังนั้น จึงต้องเน้นที่การเพิ่มพูลสมรรถนะ ของครูผู้สอนในระดับประถมศึกษาให้มีความทัน สมัย ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และ การเรียนรูใ้ นโลกดิจทิ ลั เพือ่ เตรียมความพร้อมและ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจ�ำ การให้มีความรู้และ มีสมรรถนะทางวิชาชีพ เป็นผู้ ยึดมัน่ ในค่านิยม อุดมการณ์ มีจติ วิญญาณความเป็น ครู และสมรรถนะทางวิชาชีพครู โดยเน้นเป้าหมาย การสร้างก�ำลังคนที่มีคุณภาพ เป็นคนเก่งและคนดี มีขดี ความสามารถในการแข่งขันและความสามารถ ในการสร้างนวัตกรรม ให้เป็นครูมืออาชีพ ตอบ สนองยุทธศาสตร์ชาติ ส่งเสริมการจัดท�ำหลักสูตร รายวิชาที่ทันสมัยตามสากล มีการจัดการเรียนการ สอนที่ใช้สื่อ เทคโนโลยีซึ่งสอดคล้องกับการเรียน รู้ในโลกดิจิทัล ให้สามารถบริหารจัดการหลักสูตร การเรียนการสอน การปฏิบัติการสอนที่ท�ำให้ผู้ผุ้ สอนมีสมรรถนะทางวิชาชีพครู มีจิตวิญญาณและ อุดมการณ์ความเป็นครู และคุณสมบัติที่สอดคล้อง กับมาตรฐานวิชาชีพครูที่เข้มข้นเพื่อให้ผู้เรียนมี คุณลักษณะตามเป้าหมายของหลักสูตร Abstract This research objectives: 1) to study level of teacher professional competencies at elementary level under the Office of the Basic Education Commission (OBEC) 2) to compare teachers’ professional competencies between professional and unprofessional teachers 3) to propose suggestions for developing teacher’s competencies. Respondents were 135 elementary teachers under OBEC in Bangkok by
purposive sampling. Data analysis used descriptive statistics, compared competencies difference using t-test and one-way ANOVA. Focus group discussions, in-depth interviews were implied to discuss for suggestion. Research Findings: 1. The professional competencies level of primary teachers under OBEC were at moderate level. 2. The professional competencies comparison between professional and unprofessional teachers under OBEC were found significantly different all competencies at level .05. While professional teachers had a higher competencies than unprofesessional teachers. There were significant differences at the level of .05 when compared core competencies and functional competencies by analysis of variance. 3. Suggestions guide for developing competencies of both professional and unprofessional teachers to cope with dynamic change and technology advancement affecting human learning in the 21st century. Teacher education institutes and faculties have to set the standards for preparing competencies readiness before graduation, be modernized, serve country developing strategies, learning in digital world. Teachers production and development agents have to implement both knowledge and competencies, raise
up values, ideology, spirit, emphasized on quality manpower, intelligence, morality, competitiveness, innovation-driven, modern and international curriculum- courses, applying new instructional media for digital environment, encourage management skills to administrate curriculum, prepare qualified professional teachers with competent characteristics as desire. ความส�ำคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 50 บัญญัติไว้ว่าบุคคลย่อมมีเสรีภาพ ในทางวิชาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจยั และการเผยแพร่งานวิจยั ตามหลักวิชาการ ย่อมได้รับความคุ้มครอง ทั้งนี้ เท่าที่ไม่ขัดต่อหน้าที่ ของพลเมื อ งหรื อ ศี ล ธรรมอั น ดี ข องประชาชน ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีแนวคิดหลักส�ำคัญ คือ หลักสิทธิเสรีภาพ หลัก ความ เสมอภาค หลักนิติธรรม หลักการใช้เหตุผล และหลักการยอมรับเสียงข้างมากทีต่ อ้ งเคารพสิทธิ ของเสียงข้างน้อย ประเทศไทยมีระบบการเมือง การปกครองแบบประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหา กษัตริย์ทรงเป็นประมุข คนไทยจึงต้องเข้าใจเรื่อง สิท ธิเ สรีภ าพให้ ถ่ องแท้ จึ งจะสามารถด� ำ รงตน เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยได้ (ส�ำนัก วิชาการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2554) การศึ ก ษามี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาให้ เกิ ด สมรรถนะวิ ช าชี พ ครู ข องผู ้ บ ริ ห ารและครู ผู ้ สอนและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มี ความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายความรู้ คุณธรรม
91 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
มีจิตส�ำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลเมือง โลก ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข มีความรู้ และทักษะพืน้ ฐานและเจตคติทจี่ ำ� เป็นต่อการศึกษา การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดย มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญบนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตาม ศักยภาพ ซึ่งตามมุมมองของหลายๆ คนยังเห็นว่า การพัฒนากระบวนการทางคุณธรรมในบริบทของ คุณลักษณะและสมรรถนะวิชาชีพครูของผู้บริหาร และครูผู้สอน ซึ่งถือว่าเป็นจุดอ่อนในระบบการ ศึกษาของไทยเพราะยังยึดติดกับเนื้อหาสาระทาง วิชาการตามที่หลักสูตรก�ำหนดมากกว่าการเรียน รู้ผ่านกิจกรรม ที่เสริมสร้างจิตส�ำนึกความเป็นครู และคุ ณ ลั ก ษณะและสมรรถนะวิชาชีพ ครูของผู ้ บริหารและครูผสู้ อน สถาบันฝึกหัดครูตา่ งๆ จึงควร ปลูกฝังด้วยการให้นิสิตนักศึกษาได้เรียนรู้ทฤษฎี แนวคิดในความเป็นครูให้เป็นผู้มืคุณลักษณะและ สมรรถนะที่ดีในวิชาชีพครูควบคู่ไปกับการปฏิบัติ ในชี วิต จริง เพื่ อพัฒนาให้ผู้เรียนให้มีความเป็น ความประพฤติที่ถูกต้องดีงาน และมีปัญญาที่เฉียบ แหลม สามารถด�ำรงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข อันเป็นการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนเป็นผู้ใหญ่ ที่ดีในอนาคตและเป็นพื้นฐานส�ำคัญในการน�ำไปใช้ ในสังคมและชุมชน (ส�ำนักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา. 2554: 1) การพัฒนาวิชาชีพครูในระบบการศึกษา เป็นหัวใจของชาติ เป็นอนาคตของประเทศ การ ศึก ษาเป็ น บ่ อ เกิ ดของปัญญา แต่ยังคงมีปัญหา ส�ำคัญส�ำหรับคนไทย หากการศึกษาไม่สร้างคน ครอบครัวไม่มีเวลา ขาดความอบอุ่น ครูไม่มีก�ำลัง ใจในการสอน ไม่มีประสิทธิภาพ ก็จะได้นักเรียน นักศึกษา หรือผู้ที่จบไปเป็นคนที่คิดไม่ทัน ไม่มีวิสัย
92 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ทัศน์ รับมือกับภัยคุกคามทัง้ รูปแบบเก่าและใหม่ไม่ ได้ ก้าวไม่ทันตามวิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงของ โลก ประเทศไทยจะไปอยู่ตรงไหน ต้องกลายเป็น ประเทศด้วยพัฒนาในโลกใบนี้อยู่ตลอดเวลาถอย หลังไปเรื่อยๆ เพราะความขัดแย้ง ความเห็นแก่ตัว ไม่สจุ ริต แบ่งฝักแบ่งฝ่าย (ส�ำนักงานเลขาธิการสภา การศึกษา. 2558: 2) แต่ วิ ก ฤติ คุ ณ ภาพการศึ ก ษาไทย พบว่ า ประเทศไทยให้ความส�ำคัญกับการศึกษาอย่างมาก และมีความต่อเนื่อง โดยสนับสนุนงบประมาณเพื่อ การศึกษาในปี พ.ศ. 2558 สูงกว่า 5 แสนล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP: Gross Domestic Product) นับเป็นชาติ ที่ลงทุนด้านการศึกษาสูงเป็นอันดับต้นๆ ของโลก แต่การศึกษาไทยยังคงมีปัญหาในด้านคุณภาพที่ ยังไม่สามารถแข่งขันได้ในเวทีระดับนานาชาติ ทั้ง ปัญหาที่ประจักชัดและปัญหาซับซ้อน การศึกษา ที่ไม่มีคุณภาพจึงก่อให้เกิดความด้อยคุณภาพของ ประชากรในประเทศ ปัญหาการศึกษาไทยไม่ใช่การ ขาด “ทรัพยากร” แต่เป็นการขาด “ประสิทธิภาพ” ในการใช้ทรัพยากร อันเนือ่ งมาจากการขาด “ความ รับผิดชอบ” (Accountability) ของระบบการ ศึกษาต่อนักเรียนและผู้ปกครอง หนึ่งในปัจจัยซึ่ง ต้องรับผิดชอบต่อการแก้ไขปัญหาการศึกษาไทย คือ “ครู” ซึ่งเป็นบุคลากรส�ำคัญในการยกระดับ และพัฒนาคุณภาพการศึกษา การปฏิรูปคุณภาพ การศึกษาจะเป็นไปไม่ได้เลยหากปราศจากการยก ระดับคุณภาพครูซึ่งถือเป็นองค์ประกอบที่สุดอย่าง หนึง่ ในระบบการศึกษา การไม่ให้ความส�ำคัญกับครู จึงเป็นผลต่อคุณภาพการศึกษาของประเทศโดยรวม (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2558: ข) วิชาชีพครูถือเป็นวิชาชีพชั้นสูง มีความ ส� ำ คั ญ ต่ อ การยกระดั บ คุ ณ ภาพการศึ ก ษา เป็ น
วิชาชีพที่ใช้วิธีการแห่งปัญญาและมีลักษณะเฉพาะ ในการให้บริการแก่สังคมที่ต่างจากวิชาชีพอื่น เป็น กลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา เป็นด่านหน้าในการพัฒนาคุณภาพประชากรของ ชาติให้มีคุณภาพ มีความสามารถในการแข่งขันใน เวทีนานาชาติ โดยเฉพาะการก้าวให้ทนั ความเปลีย่ น แปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สั ง คม การเมื อ ง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี กอปรกับในปี พ.ศ. 2559 เป็นปีที่จะมีการเปิด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) อย่างเต็มรูปแบบโดยมีเป้า หมายของการรวมกลุม่ เศรษฐกิจเป็นตลาดและฐาน การผลิตเดียว โดยมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุนและแรงงานฝีมือภายในอาเซียนอย่าง เสรี ซึง่ ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องมีการแข่งขัน ในหลายด้าน หลายมิติ วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพหนึ่ง ที่จ�ำเป็นต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ ของโลกในยุคศตวรรษที่ 21 และการเปิดเสรีของ ประชาคมอาเซียนได้อย่างมีศักดิ์ศรี สมารถอยู่ร่วม กับสังคมโลกได้อย่างมีความสุข “ครู” คือ บุคลากรซึง่ ประกอบวิชาชีพหลัก ทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริมการ เรียนรู้ของผู้เรียน เป็นบุคลากรที่มีบทบาทส�ำคัญ ในกระบวนการจัดการศึกษา เพราะเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ ชิดผู้เรียนมากที่สุด พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กำ� หนดความมุง่ หมายและหลักการใน การจัดการศึกษาว่า ต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการด�ำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข โดยมุง่ หวังให้ผเู้ รียนมีคณ ุ ลักษณะเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข และในหมวด 4 มาตรา 22
บัญญัติไว้ว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส�ำคัญที่สุด” ภารกิจของ ครูจึงถือเป็นภารกิจที่ส�ำคัญ สังคมส่วนใหญ่จึงมุ่ง หวัง ให้ ครูพัฒ นาเด็ก ไทยให้ มีคุณ ภาพเทียบเท่ า นานาชาติ โดยหน้าทีส่ ำ� คัญคือ การจัดกระบวนการ เรียนรู้ อบรม สั่งสอนผู้เรียนให้เกิดความเจริญ งอกงาม ให้เป็นผูม้ คี วามรู้ มีทกั ษะความสามารถใน การเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ครูจึงมีบทบาทส�ำคัญ อย่างยิง่ ในการพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ทสี่ มบูรณ์ทงั้ ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการด�ำรงชีวติ สามารถ อยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข (ส�ำนักงาน เลขาธิการสภาการศึกษา. 2558: 4-5) สมรรถนะวิชาชีพครูที่มีคุณภาพของครูผู้ สอนเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเฉพาะครูผู้สอนใน ระดับประถมศึกษา เพราะมีข้อค้นพบจากงาน วิจัยหลายฉบับของกลุ่มประเทศองค์กรเพื่อความ ร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ และการพั ฒ นา (OECD: Organization for Economic and Co-operation Development) ซึ่ ง มี ผ ลการวิ จั ย ส� ำ คั ญ ในรั ฐ เทนเนสซี สหรัฐอเมริกา โดยให้นักเรียนอายุ 8 ปี ที่ เรียนอยูใ่ นระดับปานกลาง 2 คน คนหนึง่ เรียนกับครู ที่สอนเก่ง (high-performance teacher) ส่วนอีก คนเรียนกับครูที่สอนไม่เก่ง (Low-performance teacher) พบว่า ภายใน 3 ปี ผลการเรียนของ นั ก เรี ย นทั้ ง สองคนจะมี ค วามแตกต่ า งกั น อย่ า ง มากกว่า 50 เปอร์เซนไทล์ นอกจากนีย้ งั มีการศึกษา ประเด็นดังกล่าวที่ดัลลัสในช่วงเวลาเดียวกันก็พบ ว่าสอดคล้องกัน คือ นักเรียนที่มีโอกาสได้เรียนกับ ครูที่สอนเก่งจะมีพัฒนาการที่ก้าวหน้ามากกว่า นักเรียนที่เรียนกับครูที่สอนไม่เก่งถึง 3 เท่า และ
93 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
พบว่า นักเรียนระดับประถมศึกษาที่เรียนกับครูที่ สอนไม่เก่งติดกันหลายปีจะมีความล้าหลังทางการ ศึกษาไปอย่างที่สามารถจะหวนกลับคืนมาได้ โดย เฉพาะในช่วงแรกของการศึกษา เนือ่ งจากครูผสู้ อน ขาดคุณภาพมีโอกาสน้อยมากที่จะแก้ไขในสิ่งที่สูญ เสียไปจากการขาดโอกาสเหล่านั้น แม้ว่าจะได้กลับ มาเรียนในโรงเรียนที่มีคุณภาพในภายหลังก็ตาม (ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2558 : 5) ดังนั้น ครูผู้สอนในระดับประถมศึกษา จึง เป็นบุคคลส�ำคัญในกระบวนการยกระดับคุณภาพ การศึ ก ษา ซึ่ ง ยั ง ไม่ มี ค วามชั ด เจนในเรื่ อ งของ การศึ ก ษาสมรรถนะวิ ช าชี พ ครู ข องครู ผู ้ ส อนที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเท่ า ที่ ค วร ขาดเอกภาพและมี ความคลาดเคลื่อนในการก�ำหนดสมรรถนะวิชาชีพ ครู ข องครู ผู ้ ส อนในระดั บ ประถมศึ ก ษาที่ ชั ด เจน เป็ น ที่ ย อมรั บ ของคนในแวดลงการศึ ก ษา และ ขาดความต่อเนื่องและทันสมัย นอกจากนี้ ผลการ ศึกษาระบบโรงเรียนคุณภาพชั้นน�ำระดับโลก ของ บริษัท Mckinser and company พบว่า ปัจจัย ส�ำคัญที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการเรียนรู้ ของนักเรียนในระดับโรงเรียน คือ “คุณภาพของ ครูผู้สอน” โดยเซอร์ไมเคิล บาร์เบอร์ พบว่า การ ที่ โรงเรี ย นมี คุ ณ ภาพระดั บ โลกมี ป ั จ จั ย ส� ำ คั ญ 3 ประการ คือ 1) การคัดคนที่เหมาะสมเพื่อเป็นครู 2) การพัฒนาให้ครูเป็นผูส้ อนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และ 3) การประกันระบบการจัดการเรียนการสอนที่ดี ส�ำหรับนักเรียนทุกคน (Barber, 2008 อ้างถึงใน ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2555) และ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (2556) ได้ กล่าวถึงความส�ำคัญของคุณภาพครูว่า การปฏิรูป คุณภาพการศึกษาจะเป็นไปไม่ได้เลยหากปราศจาก การยกระดับคุณภาพครูซึ่งถือว่าเป็นองค์ประกอบ ส�ำคัญอย่างหนึ่งในระบบการศึกษา ดังนั้น บทสรุป
94 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ส�ำคัญซึ่งเป็นแนวคิดในการพัฒนาและปฏิรูปการ ศึกษา 2 ประการ คือ 1) การปฏิรูปการศึกษาไม่มี วันส�ำเร็จ ถ้าไม่มกี ารปฏิรปู ครู คณาจารย์และบุคคล ากรทางการศึกษา และ 2) คุณภาพการศึกษาขึ้น อยู่กับคุณภาพครู คณาจารย์และบุคลากรทางการ ศึกษา (สมศ. ผลิตดอกออกผล 9 ปีแห่งหารปฏิรูป การศึกษา, 2551 อ้างถึงใน ส�ำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา, 2558 : 6) จากความส�ำคัญดังกล่าว สิ่งที่ส�ำคัญที่เป็น ผลของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และคุณภาพ ครูผู้สอน คือ คุณภาพ การก่อเกิดขุณภาพของผู้ที่ อยู่ในวิชาชีพครูซึ่งมีลักษณะส�ำคัญของการจัดการ ศึกษาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยใช้วิธีการแก้ ปัญหาและช่วยพัฒนามนุษย์ให้เข้าใจธรรมชาติ และตนเอง ท�ำให้มนุษย์สามารถพัฒนาวิธีการและ กระบวนการคิดแก้ปัญหาได้เป็นอย่างดี สามารถ น�ำองค์ความรู้ไปใช้เป็นพื้นฐานในการด�ำรงชีวิต และแก้ปญ ั หาในชีวติ ประจ�ำวัน ซึง่ คุณลักษณะและ สมรรถนะวิชาชีพครูของผู้บริหารและครูผู้สอนมี บทบาทส�ำคัญยิง่ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และประเทศชาติในทุกมิติ (กิตติชัย สุธาสิโนบล, 2559) แนวทางการพั ฒ นาวิ ช าชี พ ครู นั้ น ครู ผู ้ สอนในระดับประถมศึกษาควรมีบริบทในมิติของ สมรรถนะวิชาชีพครูที่ดี ผู้ที่อยู่ในแวดวงวิชาชีพ ครูที่ครูผู้สอนต้องได้รับการฝึกฝนทักษะที่จะน� ำ ไปสู่การมีทัศนคติค่านิยม เจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู ดังนั้น ถ้าครูผู้สอนในระดับประถมศึกษาสามารถ เรียนรูแ้ ละเข้าใจเกีย่ วกับคุณลักษณะและสมรรถนะ วิชาชีพครูของผู้บริหารและครูผู้สอนที่ดี ทันยุค สมัยและการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคปัจจุบัน และ สามารถวิเคราะห์องค์ประกอบของคุณลักษณะและ สมรรถนะวิชาชีพครูของผู้บริหารและครูผู้สอนที่ดี
และเป็ น แนวทางในการพัฒนาวิชาชีพ ครูและผู ้ บริหารดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นสิ่งที่ สะท้อนได้จากคุณภาพของผูท้ อี่ ยูใ่ นวิชาชีพครู สิง่ ที่ เป็นผลทีต่ ามมาก็คอื คุณภาพทีป่ รากฏในตัวผูเ้ รียน นิสติ นักศึกษา ซึง่ จะมีลกั ษณะทีแ่ สดงออกซึง่ ความมี คุณลักษณะและสมรรถนะวิชาชีพครูทดี่ ี และทีเ่ ป็น ลักษณะที่เสริมสร้างได้อย่างแท้จริงในตัวผู้เรียนได้ อย่างมีคณ ุ ภาพ ตามอุดมการณ์ในการจัดการศึกษา ชาติที่ได้เสนอแนะไว้และสามารถพัฒนาคุณภาพผู้ เรียน และท�ำให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าประสงค์ที่ตั้ง ไว้ อีกทั้งเป็นผลที่เกิดจากการพัฒนาคุณภาพของ ครูผู้สอนในการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ จากการด�ำเนินการประชุมสัมมนาเครือ ข่ายการวิจัยทางการศึกษาระดับเขตพื้นที่ด�ำเนิน การที่ 3 ภาคกลางตอนล่างกลุม่ ที่ 3 ทีแ่ บ่งตามความ เห็นชอบของส�ำนักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา ต่างให้ข้อมูลสอดคล้องกันในเรื่องคุณลักษณะและ สมรรถนะวิชาชีพครูของผู้บริหารและครูผู้สอนที่ ยังไม่มีคุณภาพ ไม่สามารถพัฒนาตนเองให้เป็นผู้มี คุณลักษณะและสมรรถนะวิชาชีพครูของผู้บริหาร และครูผู้สอนที่ดีตามที่สังคมคาดหวัง ไม่สามารถ แสดงความเคารพในสิทธิหน้าที่ซึ่งกันและกัน ขาด ความสามัคคีกัน ไม่สามารถใช้ปัญญาในการแสดง ความคิดเห็นและแก้ปญ ั หาต่างๆ โดยใช้เหตุผลของ ตนในเชิงความคิดเห็นมากกว่าสภาพความเป็นจริง ทัง้ หมดนีเ้ ป็นปัญหาในเรือ่ งของคุณภาพการจัดการ เรียนรู้ของครู จึงเป็นผลให้การพัฒนาคุณภาพของ การจัดการศึกษาไม่สมบูรณ์ และส่งผลกระทบต่อ คุณภาพการศึกษา ซึ่งการวิเคราะห์ให้เห็นความ ชัดเจนเกี่ยวกับคุณลักษณะและสมรรถนะวิชาชีพ ครูของผู้บริหารและครูผู้สอนที่ดีจึงเป็นค�ำตอบที่ ส�ำคัญในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อแก้ปัญหา ดังกล่าว (กิตติชัย สุธาสิโนบล. 2558)
ด้วยเหตุนี้ คณะวิจัยซึ่งเป็นอาจารย์ประจ�ำ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ได้ตระหนักและเห็นความส�ำคัญและความจ�ำเป็น ที่จะต้องพัฒนาคุณภาพวิชาชีพครูในเรื่องเกี่ยวกับ สมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนในระดับประถม ศึกษาทีด่ ี จึงได้จดั ท�ำโครงการวิจยั เรือ่ ง “การศึกษา เปรี ย บเที ย บสมรรถนะวิ ช าชี พ ครู ข องครู ผู ้ ส อน ระดับประถมศึกษาที่จบสาขาวิชาชีพครูกับที่ไม่ได้ จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน” ด้วยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้ที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพครูและครูผู้สอนใน ระดับประถมศึกษาจะสามารถน�ำหลักการ แนวคิด และองค์ความรู้ในการศึกษาสมรรถนะวิชาชีพครู ของครูผสู้ อนในระดับประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ไปพั ฒ นา คุณภาพวิชาชีพครู ในการท� ำหน้าที่ครูผู้สอนใน ระดับประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และแสดงถึงความเสมอภาค ทางการศึกษา ผลทีต่ ามมาและเป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือการพัฒนาคุณภาพครูผสู้ อนให้มคี ณ ุ ลักษณะและ สมรรถนะวิชาชีพครูทดี่ ี และต่อยอดเป็นการพัฒนา อนาคตของผู้เรียนให้เป็นคนไทยที่เป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ สามารถอยูร่ ว่ มกับคนในสังคมโลกได้อย่าง ภาคภูมิและมีความสุข วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะวิชาชีพครู ของครูผสู้ อนในระดับประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะวิชาชีพครู ของครูผู้สอนระดับประถมศึกษาที่จบสาขาวิชาชีพ ครูกับที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
95 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
3. เพื่อจัดทําขอเสนอแนะในการพัฒนา ดังนี้ สมรรถนะของครู ร ะดั บ ประถมศึ ก ษา สั ง กั ด 1) สมรรถนะหลัก ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1) สมรรถนะมุ่งผลสัมฤทธิ์ในด้าน การปฏิบัติงานในด้านความมุ่งมั่นในการปฏิบัติ ระเบียบวิธีด�ำเนินการวิจัย หน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนมีค่าเฉลี่ยสูง คณะผู้วิจัยได้ก�ำหนดขอบเขตของการวิจัย ที่สุด ( x = 3.76, S.D. = .924) รองลงมา คือ ใฝ่ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ ( x = 3.73, S.D. โดยด�ำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ = .901) ระยะที่ 1 การวิ จั ย และเก็ บ ข้ อ มู ล เชิ ง 1.2) สมรรถนะการบริการที่ดีในด้าน ปริมาณ และวิเคราะห์ข้อมูลระยะที่ 1 การให้บริการด้วยความยิ้มแย้ม เอาใจใส่ เห็นอก 1) ศึกษาระดับสมรรถนะวิชาชีพครูของครู เห็นใจ ผู้มารับบริการมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( x = 3.96, ผู้สอนในระดับประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะ S.D. = .827) รองลงมา คือ ให้บริการอย่างมีความ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เคารพยกย่อง อ่อนน้อมให้เกียรติผู้รับบริการ ( x = ระยะที่ 2 เป็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ 3.92, S.D. = .939) ส�ำหรับตรวจสอบผลการศึกษาและเปรียบเทียบ 1.3) สมรรถนะการพั ฒ นาตนเองใน สมรรถนะครูผู้สอนระดับประถมศึกษา ด้านศึกษาค้นคว้าหาความรู้ มุง่ มัน่ และแสวงหาโอกาส 2) เปรียบเทียบสมรรถนะวิชาชีพครูของครู พัฒนาตนเองด้วยวิธีการที่หลากหลายมีค่าเฉลี่ยสูง ผู้สอนในระดับประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะ ทีส่ ดุ ( x =3.70, S.D.=.847) รองลงมา คือ ศึกษา กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ค้นคว้าหาองค์ความรูใ้ หม่ๆ และนวัตกรรมทางวิชาการ 3) จั ด ทํ า ข อ เสนอแนะในการพั ฒ นา ในการพัฒนาองค์กรและวิชาชีพ ( x =3.67, S.D.= สมรรถนะของครู ร ะดั บ ประถมศึ ก ษา สั ง กั ด .689) ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.4) สมรรถนะการท�ำงานเป็นทีมใน ด้านท�ำงานร่วมกับผู้อื่นตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับ ผลการวิจัย มอบหมายมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( x = 3.87, S.D. = 1. ผลการศึกษาระดับสมรรถนะวิชาชีพ .929) รองลงมา คือ ช่วยเหลือเพือ่ นร่วมงานเพือ่ สู่ ครู ข องครู ผู ้ ส อนในระดั บ ประถมศึ ก ษา สั ง กั ด เป้าหมายความส�ำเร็จร่วมกัน ( x = 3.85, S.D. = .910) ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบ 1.5) สมรรถนะจริยธรรม และจรรยา ว่า สมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถม บรรณวิชาชีพครูในด้านเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือ ศึ ก ษาที่ จ บสาขาวิ ช าชี พ ครู กั บ ที่ ไ ม่ ไ ด้ จ บสาขา และไม่เบียดเบียนผูอ้ นื่ มีคา่ เฉลีย่ สูงทีส่ ดุ ( x = 4.08, วิชาชีพครูสงั กัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา S.D. = .923) รองลงมา คือ มีความเป็นกัลยาณมิตร ขั้นพื้นฐานอยู่ในระดับปานกลาง ( x 1= 3.58, S.D. ต่อผู้เรียน เพื่อนร่วมงานและผู้รับบริการ ( x = = .886; x 2= 3.46, S.D. = 1.027) 4.06, S.D. = .929) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน สามารถสรุปได้ 2) สมรรถนะประจ�ำสายงาน
96 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
1.1) สมรรถนะการบริ ห ารจั ด การ หลั ก สู ต ร และการจั ด การเรี ย นรู ้ ใ นด้ า นใช้ ห ลั ก จิตวิทยาในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่าง มีความสุข และพัฒนาเต็มศักยภาพมีค่าเฉลี่ยสูง ที่สุด ( x = 3.87, S.D. = .767) รองลงมา คือ ใช้สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีหลากหลายและเหมาะสม กับเนือ้ หาและกิจกรรมการเรียนรู้ ( x = 3.81, S.D. = .728) 1.2) สมรรถนะการพั ฒ นาผู ้ เรี ย นใน ด้านจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้ แก่ผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผน กิจกรรมมีคา่ เฉลีย่ สูงทีส่ ดุ ( x = 3.84, S.D. = .932) รองลงมา คือ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมแก่ผู้ เรียนในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน ( x = 3.81, S.D. = 1.026) 1.3) สมรรถนะการบริหารจัดการชั้น เรียนในด้านให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการก�ำหนดกฎ กติกา ข้อตกลงในชั้นเรียนมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( x = 3.74, S.D. = 1.051) รองลงมา คือ ส่งเสริมการมี ปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับผู้เรียนและผู้เรียนกับ ผูเ้ รียน ( x = 3.71, S.D. = 1.057) 1.4) สมรรถนะการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจยั เพือ่ พัฒนาผูเ้ รียนในด้านส�ำรวจปัญหา เกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่อวางแผน การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( x = 3.61, S.D. = .837) รองลงมา คือ มีการประมวล ผลหรือสรุปข้อมูลสารสนเทศทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การ แก้ไขปัญหาในชัน้ เรียนโดยใช้ขอ้ มูลรอบด้าน ( x = 3.50, S.D. = .880) 1.5) สมรรถนะภาวะผู้น�ำครูในด้าน ปรับเปลี่ยนบทบาทและการปฏิบัติงานของตนเอง ให้เอื้อต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยสูง ที่สุด ( x = 3.68, S.D. = .928) รองลงมา คือ มี
ทักษะการฟัง การพูด และการตัง้ ค�ำถามเปิดใจกว้าง ยืดหยุ่น ยอมรับทัศนะที่หลากหลายของผู้อื่น เพื่อ เป็นแนวทางใหม่ๆ ในการปฏิบัติงาน ( x = 3.67, S.D. = 1.043) 1.6) สมรรถนะการสร้างความสัมพันธ์ และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ ในด้านมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครองและชุมชน ในการติดต่อสื่อสารเพื่อการจัดการเรียนรู้ และ ประสานงานกับผู้ปกครองและชุมชนให้เข้ามามี ส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดปี การศึกษา มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด ( x = 3.57, S.D. = 1.004), ( x = 3.57, S.D. = .997) ตามล�ำดับ รอง ลงมา คือ สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและ เอกชน ในการแลกเปลีย่ นข้อมูลสารสนเทศเพือ่ การ จัดการเรียนรู้ ( x = 3.49, S.D. = .999) 2. ผลการเปรียบเทียบสมรรถนะวิชาชีพครู ของครูผสู้ อนระดับประถมศึกษาทีจ่ บสาขาวิชาชีพครู กับที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า สมรรถนะ วิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถมศึกษาที่จบ สาขาวิชาชีพครูกับที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครูสังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมี ความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกสมรรถนะ โดยที่ครูผู้สอนระดับประถม ศึกษาที่จบสาขาวิชาชีพครูมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าครูกับ ที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู ส�ำหรับผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน ของค่าเฉลีย่ สมรรถนะหลักทัง้ 5 ด้าน และสมรรถนะ ประจ�ำสายงานของครูผสู้ อนทั้ง 6 ด้าน พบว่า ค่า เฉลี่ยคะแนนสมรรถนะหลักทั้ง 5 ด้าน และและ สมรรถนะประจ�ำสายงานของครูผสู้ อนทั้ง 6 ด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
97 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
แสดงว่า สมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจ�ำสาย งานของครูผส้ ู อนอย่างน้อย 1 คู่มีความแตกต่างกัน ผูว้ จิ ยั จึงได้ทำ� การเปรียบเทียบรายคูใ่ นสมรรถนะทัง้ 2 ด้านต่อไป 3. ขอเสนอแนะในการพัฒนาสมรรถนะ ของครูระดับประถมศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า รัฐบาลควร เร่งพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับ ประถมศึกษาส�ำหรับครูผู้สอนทั้งที่จบสาขาวิชาชีพ ครูและที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานให้รเู้ ท่าทันการ เปลี่ยนแปลงของสังคมในยุคดิจิทัล โดยให้สถาบัน ผลิตครูได้ก�ำหนดมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญา ตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์สำ� หรับ ผู้ที่จะไปท�ำหน้าที่สอนในระดับประถมศึกษาให้มี ความพร้อมก่อนที่จะเข้าไปอยู่ในสังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานในการเป็นผูส้ อน ระดับประถมศึกษา เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของ โลกที่เป็นพลวัติ และความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ดิจทิ ลั ซึง่ กระทบต่อการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของ มนุษย์ ดังนัน้ จึงต้องเน้นทีก่ ารเพิม่ พูลสมรรถนะของ ครูผู้สอนในระดับประถมศึกษาให้มีความทันสมัย ตอบสนองยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และ การเรียนรูใ้ นโลกดิจทิ ลั เพือ่ เตรียมความพร้อมและ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนประจ�ำ การให้มีความรู้และมีสมรรถนะทางวิชาชีพ เป็นผู้ ยึดมัน่ ในค่านิยม อุดมการณ์ มีจติ วิญญาณความเป็น ครู และสมรรถนะทางวิชาชีพครู โดยเน้นเป้าหมาย การสร้างก�ำลังคนที่มีคุณภาพ เป็นคนเก่งและคนดี มีขดี ความสามารถในการแข่งขันและความสามารถ ในการสร้างนวัตกรรม ให้เป็นครูมืออาชีพ ตอบ สนองยุทธศาสตร์ชาติ ส่งเสริมการจัดท�ำหลักสูตร รายวิชาที่ทันสมัยตามสากล มีการจัดการเรียนการ
98 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
สอนที่ใช้สื่อ เทคโนโลยีซึ่งสอดคล้องกับการเรียน รู้ในโลกดิจิทัล ให้สามารถบริหารจัดการหลักสูตร การเรียนการสอน การปฏิบัติการสอนที่ท�ำให้ผู้ผุ้ สอนมีสมรรถนะทางวิชาชีพครู มีจิตวิญญาณและ อุดมการณ์ความเป็นครู และคุณสมบัติที่สอดคล้อง กับมาตรฐานวิชาชีพครูที่เข้มข้นเพื่อให้ผู้เรียนมี คุณลักษณะตามเป้าหมายของหลักสูตร ข้อสังเกตที่ได้จากการท�ำการวิจัย ในการท�ำการวิจัย เรื่องการศึกษาเปรียบ เที ย บสมรรถนะวิ ช าชี พ ครู ข องครู ผู ้ ส อนระดั บ ประถมศึกษาที่จบสาขาวิชาชีพครูกับที่ไม่ได้จบ สาขาวิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐานครั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อสังเกตที่ได้จาก การด�ำเนินการวิจัย ดังนี้ 1. ในเรื่องของการเก็บข้อมูลวิจัย พบว่า ครูผู้สอนในระดับประถมศึกษาที่เป็นผู้ให้ข้อมูลมี ความกังวลในการให้ข้อมูลวิจัย เนื่องจากกระแส ของการเปลี่ยนแปลงทางด้านกฏเกณฑ์ หลักการ จัดการศึกษา การบรรจุและแต่งตั้งผู้ที่จะเข้าสู่ ระบบราชการมีนโยบายที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จึงท�ำให้ผู้ให้ข้อมูลเกิดความกังวลใจฝนการตอบ แบบสอบถามการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บสมรรถนะ วิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถมศึกษาที่จบ สาขาวิชาชีพครูกบั ทีไ่ ม่ได้จบสาขาวิชาชีพครู สังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย เฉพาะผูท้ ไี่ ม่จบสาขาวิชาชีพครู ซึง่ ผูว้ จิ ยั ต้องใช้เวลา ในการท�ำความเข้าใจก่อนตอบแบบสอบถามมาก ผู้ ให้ข้อมูลจึงคลายความกังวลใจและให้ข้อมูลต่อไป 2. ในกระบวนการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ครูในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล การจัดการศึกษาที่มีการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นส�ำคัญ ดังนั้น การ จัดการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนความรู้ความสามารถและ
ประสบการณ์ให้คับครูผู้สอนระดับประถมศึกษา จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการพัฒนาใหม่ ให้เสริมสร้างครูผู้สอนให้รู้เท่าทันการจัดการศึกษา ในปัจจุบันและอนาคต ต้องเตรียมทรัพยากรการ เรียนรู้ที่จะเป็นสิ่งที่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ใน สภาพแวดล้อมทางการศึกษาแบบใหม่ ทักษะแห่ง อนาคตใหม่ เป็นทักษะที่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิต ของผู้เรียนในฐานะการเป็นพลเมืองโลก ที่มีการ ด�ำรงชีวิตท่ามกลางโลกแห่งเทคโนโลยี
ไปใช้ประกอบในการศึกษาและพัฒนาระบบและ กลไกในการผลิตและพัฒนาครูผู้สอนระดับประถม ศึ ก ษา ให้ มี ส มรรถนะวิ ช าชี พ ครู ต ามมาตรฐาน วิชาชีพครูในยุคปัจจุบัน 2. ควรน� ำ ผลการวิ จั ย ที่ ไ ด้ ไ ปพั ฒ นา กระบวนการรับครูเข้าปฏิบตั ริ าชการในสถานศึกษา ซึง่ ต้องรับผูท้ จี่ บการศึกษาทีม่ คี ณ ุ วุฒวิ ชิ าชีพครู เพือ่ ประโยชน์สูงสุดในการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนให้ กับผู้เรียนและเป็นการสร้างเสริมสมรรถนะวิชาชีพ ครู ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย 3. ควรน�ำผลการวิจยั ทีไ่ ด้ไปใช้ในการพัฒนา 1. ผู้วิจัยได้บทเรียนจากการด�ำเนินการ จัดตั้งสถาบันหลักสูตรและการเรียนรู้แห่งชาติเพื่อ วิจยั โดยรัฐบาลโดยเฉพาะกระทรวงศึกษาธิการและ ยกระดับวิชาชีพครู ให้มคี ณ ุ ภาพการผลิตและพัฒนา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะครู ครูอย่างแท้จริงและยั่งยืน ผู้สอนในระดับประถมศึกษา อาทิ สภาการศึกษา คุรุสภา ต้องหันกลับมาก�ำหนดนโยบาย และเป้า ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการท�ำวิจัย หมายในการพัฒนาครูให้ชัดเจน ก�ำหนดแผนการ 1. ครูผู้สอนในระดับประถมศึกษา ซึ่งเป็น พัฒนาผู้ที่จะเข้ามาสู่ระบบการเป็นครูผู้สอนใน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล มีความกังวลในการตอบแบบสอบ ระดับประถมศึกษาที่ต้องมีคุณวุฒิที่ต้องมีความรู้ ถามและประเมินสมรรถนะวิชาชีพครู เนื่องจาก และประสบการณ์ในวิชาชีพครูพร้อมทั้งพัฒนาครู คิดว่าจะเกิดผลกระทบต่อระบบงานในสถานศึกษา เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของชาติ ซึ่งผู้วิจัยต้องท�ำความเข้าใจถึงประโยชน์ที่จะได้รับ 2. ควรน� ำ สมรรถนะหลั ก 10 ด้ า น ที่ จากข้อมูลที่ครูผู้สอนจะน�ำเสนอ จึงท�ำให้งานวิจัย กระทรวงศึกษาธิการโดยคณะกรรมการอิสระเพื่อ ด�ำเนินได้ต่อไปอย่างราบรื่น การปฏิรูปการศึกษา มาจัดท�ำเป็นกรอบสมรรถนะ 2. ในระหว่างการด�ำเนินการวิจัย เป็นช่วง หลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน และด� ำ เนิ น การ ทีร่ ฐั บาลโดยเฉพาะกระทรวงศึกษาธิการ และ คุรสุ ภา พัฒนาสมรรถนะของครูเพือ่ พัฒนาผูเ้ รียนตามความ มีการปรับเปลีย่ นนโยบายในการผลิตและพัฒนาครู ต้องการของยุคสมัยและแนวโน้มอนาคต เพื่อลด ฐานสมรรถนะค่อนข้างมาก และเป็นช่วงระยะเวลา ปัญหาที่เป็นอุปสรรคส�ำคัญในการเพิ่มคุณภาพ ทีม่ กี ารโยกย้ายอัตราก�ำลังของบุคลากรครูในสถาน การศึกษาของครูผู้สอนและผู้เรียนในระดับประถม ศึกษา รวมถึงการเกษียณอายุราชการ ดังนั้น จึงส่ง ศึกษาต่อไป ผลกระทบต่อช่วงเวลาในการส่งแบบสอบถามทีเ่ ป็น เครื่องมือวิจัยที่ส�ำคัญ ซึ่งต้องเพิ่มระยะเวลาในการ การน�ำผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้ เก็บข้อมูลวิจัยมากขึ้น 1. ควรน�ำข้อมูลพื้นฐานที่ได้จากการวิจัย
99 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 1. รัฐบาลควรเร่งพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ครูของครูผสู้ อนระดับประถมศึกษาส�ำหรับครูผสู้ อน ทั้งที่จบสาขาวิชาชีพครูและที่ไม่ได้จบสาขาวิชาชีพ ครู สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมใน ยุคดิจิทัล 2. ด้านมาตรฐานประสบการณ์วชิ าชีพ ครู ผู้สอนต้องผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเป็นเวลาไม่ น้อยกว่าหนึ่งปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบัติ การสอนตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทีค่ ณะ กรรมการคุรุสภาก�ำหนด กล่าวคือต้องฝึกปฏิบัติ วิชาชีพระหว่างเรียน และปฏิบัติการสอนในสถาน ศึกษา 3. ครูผสู้ อนต้องมีมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ในหน้าที่ครู โดยต้องมีความมุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียน ด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู ประพฤติตนเป็นแบบ อย่างที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความเป็น พลเมืองทีเ่ ข้มแข็ง ส่งเสริมการเรียนรู้ เอาใจใส่ และ ยอมรับความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละบุคคล สร้าง แรงบันดาลในผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ และผู้สร้าง นวัตกรรม พัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง 4. ด้านการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนจะต้อง เสริ ม สร้ า งสมรรถนะการพั ฒ นาหลั ก สู ต รสถาน ศึกษา การจัดการเรียนรู้ สื่อ การวัดและประเมิน ผลการเรียนรู้ บูรณาการความรูแ้ ละศาสตร์การสอน
100 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ในการวางแผนและจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนา ผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด และมีความเป็นนวัตกรรม สามารถดูแล ช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียนเป็นราย บุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ จัดกิจกรรมและ สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ปฏิบัติ งานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์และมีส่วนร่วมใน กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพ 5. ด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและ ชุ ม ชน ครู ผู ้ ส อนในระดั บ ประถมศึ ก ษาต้ อ งมี สมรรถนะทีส่ ามารถสร้างความร่วมมือกับผูป้ กครอง ในการพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ ปกครองและชุมชน เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ที่มี คุณภาพของผู้เรียน ศึกษา เข้าถึงบริบทของชุมชน และสามารถอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ทางวัฒนธรรม (ข้อบังคับคุรุสภา. 2562) ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมา เป็นข้อเสนอโดย เร่งด่วนที่รัฐบาลต้องให้ความส�ำคัญในการพัฒนา สมรรถนะวิชาชีพครูของครูผู้สอนระดับประถม ศึ ก ษาที่ จ บสาขาวิ ช าชี พ ครู แ ละที่ ไ ม่ ไ ด้ จ บสาขา วิชาชีพครู สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ให้มีสมรรถนะในวิชาชีพครูให้เป็นไป ตามมาตรฐาน และควรเร่งพัฒนาผู้ที่ไม่จบวิชาชีพ ครูที่อยู่ในระบบให้มีสมรรถนะด้านความรู้ ความ สามารถและเจตคติที่ดีในตนเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู อย่างเร่งด่วน
การสร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทน ในภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญ
CREATED SHORT FILM ABOUT THE INSIDE CASE STUDY OF MAKING MOOD AND TONE IN HORROR MOVIE เนติพงษ์ ประเสริฐศรี, ดร.สิริกานต์ ไชยสิทธิ์ NETIPONG PRASERDSRI, SIRIKAN CHAIYASIT, Ph.D
บทคัดย่อ การสร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้าง ใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อ สร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน กรณี ศึกษาการสร้าง มูด้ แอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภท หนังสยองขวัญ 2) เพื่อศึกษาการรับรู้ของกลุ่ม ตัวอย่างจากการใช้ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ ข้างใน 3) เพือ่ ศึกษาความพึงพอใจของกลุม่ ตัวอย่าง จากการใช้ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้าง มีกลุ่ม ตัวอย่าง คือ นักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยี มัลติมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ปี ก ารศึ ก ษา 2562 จากการเลื อ กแบบจ� ำ เพาะ เจาะจง (Purposive sampling) จ�ำนวน 30 คน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย ได้ แ ก่ 1) ภาพยนตร์สนั้ เรือ่ ง “มัน”อยูข่ า้ งใน กรณีศกึ ษาการ
สร้าง มูด้ แอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยอง ขวัญ 2) แบบประเมินคุณภาพภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้าง ส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบประเมิน การรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง หลังชม ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน 4) แบบส�ำรวจความพึง พอใจของกลุ่มตัวอย่างหลังชมภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน ผลการวิ จั ย พบว่ า 1) ผลการประเมิ น คุณภาพของภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ อยู่ในระดับดี ที่ค่าเฉลี่ย 3.99 2) ผลการรั บ รู ้ ข องกลุ ่ ม ตั ว อย่ า งหลั ง ชม ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษา การสร้ า งมู ้ ด แอนด์ โ ทนในภาพยนตร์ ประเภท หนังสยองขวัญ อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 78.88 3) ผลความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างหลัง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY ISAN NAKHONRATCHASIMA
101 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ชมภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน กรณีศึกษา ในการเล่าเรื่อง และดึงประเด็นให้คนดูสนใจสารที่ การสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนัง ผู้วิจัยต้องการน�ำเสนอได้อย่างน่าสนใจและไม่ใช้ สยองขวัญอยู่ในระดับมาก คิดเป็นค่าเฉลี่ยที่ 4.41 เวลานานเกินไป (Guy MuvNim, 2556) Mood and Tone เป็นหนึง่ ในองค์ประกอบ ค�ำส�ำคัญ: ภาพยนตร์สั้น, ภาพยนตร์, มู้ดแอนด์ การสร้างสรรค์รูปแบบหนึ่ง ที่มีอยู่กับงานศิลปะ หลาย ๆ แบบ รวมถึงภาพยนตร์ทเี่ ต็มไปด้วย ดนตรี โทน, หนังสยองขวัญ งานออกแบบงานสร้าง การแสดง การเล่าเรื่องและ Keywords: Short Film, Film, Mood and Tone, รูปแบบการเล่าเรื่องที่เด่นชัดคือ การก�ำหนดโทน ของภาพยนตร์ ซึ่งมีเรื่อง แสงเงา สี มุมกล้อง ฉาก Horror Movie หรืออุปกรณ์ประกอบฉากเพื่อสร้างสรรค์ให้งาน ไม่หลุดกรอบ และยังท�ำให้ผู้ชมเข้าใจอารมณ์ของ บทน�ำ ภาพยนตร์ เ ป็ น สื่ อ ที่ มี ค วามสามารถใน ภาพยนตร์ที่ต้องการสื่อได้ชัดเจนยิ่งขึ้น สาขาวิชา การเล่าเรื่องและมีประสิทธิภาพด้านการถ่ายทอด เทคโนโลยีมัลติมีเดีย เป็นสาขาหนึ่งที่มีความหลาก อารมณ์ผ่านภาพและเสียงและองค์ประกอบหลาย หลายในการเรียนและการสอน ซึง่ ส่งผลต่อข้อจ�ำกัด ส่วนทัง้ เรือ่ งของ การแสดง ฉาก อุปกรณ์ประกอบฉาก ด้านเวลาเรียนในบางวิชา หนึ่งในนั้นได้แก่ รายวิชา และอืน่ ๆ รวมถึงการใช้เทคนิคพิเศษ เพือ่ ช่วยในการ ภาพดิจทิ ลั และปฏิบตั กิ ารภาพดิจทิ ลั โดยในรายวิชา เล่าเรื่องให้น่าสนใจ (พิพิษณ์ สิทธิศักดิ์, 2555) โดย นี้เป็นรายวิชาที่มีการสอนเกี่ยวกับหลักการผลิตที่ ในภาพยนตร์จะมี 3 ส่วนในการผลิตหลัก ๆ คือ ขั้น หลากหลาย ส่งผลให้นักศึกษาไม่สามารถเรียนและ ตอนก่อนผลิต (Pre-Production) ขัน้ ตอนการผลิต เข้าในเนื้อหาบางเรื่องได้ทันเวลา โดยเฉพาะเรื่อง (Production) และสุดท้ายคือ ขัน้ ตอนหลังการผลิต หลักการสร้างภาพยนตร์ อาจารย์จะสามารถมีเวลา (Post-Production) ซึ่ง 3 ส่วนนี้มีการท�ำงานตาม สอนนักศึกษาได้เพียงเบื้องต้นเท่านั้น แต่นักศึกษา ล�ำดับอีกทั้งยังเป็นโมเดลในการท�ำสื่อภาพยนตร์ที่ ในสาขาวิชาส่วนใหญ่ชอบและสนุกกับการเรียน นิยมใช้ (วชิระ อินทร์อุดม, 2539) โดยครั้งนี้ผู้วิจัย เรื่องหลักการสร้างภาพยนตร์ ซึ่งในหลักการสร้าง ได้สร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณี ภาพยนตร์จะมีเรื่องส�ำคัญที่นักศึกษาต้องใช้เวลา ศึกษาการใช้มู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ประเภท ในการท�ำความเข้าใจอย่างยิ่ง ได้แก่ เรื่องของการ สยองขวัญ เพื่อเป็นสื่อความรู้เสริมเพื่อช่วยในการ ออกแบบ มู้ดแอนด์โทนในการสร้างภาพยนตร์ ทั้ง ประกอบการเรียนการสอนในหลักสูตรวิชาหลัก ในเรือ่ ง แสงและเงา สี มุมกล้อง ฉากสถานที่ เสือ้ ผ้า การผลิตสื่อ ซึ่งเนื้อหาในภาพยนตร์สอนเรื่อง มุม หน้าผม อุปกรณ์ประกอบฉาก จากความเป็ น มาและความส� ำ คั ญ ของ กล้อง แสงสีและเงา เสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สถานที่ อุปกรณ์ประกอบฉาก ดังที่กล่าวมา โดยใช้การน�ำ ปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะสร้างภาพยนตร์ เสนอผ่านรูปแบบภาพยนตร์สั้นที่มีความยาว 15 - สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน เพื่อบอกถึงลักษณะ 25 นาที โดยเหตุผลในการเลือกใช้เป็นภาพยนตร์ การสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ที่เป็นประเภท รูปแบบภาพยนตร์สั้นเพราะต้องการความกระชับ สยองขวัญและจากการส�ำรวจด้วยแบบสอบถามพบ
102 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ว่านักศึกษาชัน้ ปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีมลั ติมเี ดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ในหลักสูตร การเรียนการสอนในด้านวิชาหลักการผลิตสื่อและ ยังได้ศึกษาเกี่ยวกับการผลิตสื่อ แต่ปัญหาทางด้าน อาจารย์ผสู้ อนมีเวลาจ�ำกัด ไม่สามารถลงลึกได้เนือ่ ง จาก ทางผูว้ จิ ยั เล็งเห็นติดธุระทางราชการไม่สามารถ ให้ความรูไ้ ด้เต็มที่ ผูว้ จิ ยั เล็งเห็นถึงปัญหาทีเ่ กิดขึน้ นี้ จึงได้สร้างภาพยนตร์ทมี่ จี ดุ ประสงค์เพือ่ เสริมความรู้ และอธิบายถึงเรือ่ งของมูด้ แอนด์โทนในรูปแบบภาพยนตร์สนั้ เรือ่ ง “มัน” อยูข่ า้ งใน เพือ่ เป็นสือ่ ความรูเ้ สริม ในรายวิชาภาพดิจิทัลและปฏิบัติการภาพดิจิทัล วัตถุประสงค์การวิจยั /RESEARCH OBJECTIVES 1. เพื่อสร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ ข้ า งใน กรณี ศึ ก ษาการสร้ า งมู ้ ด แอนด์ โ ทนใน ภาพยนตร์ ประเภทหนั ง สยองขวั ญ ส� ำ หรั บ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 2. เพือ่ ศึกษาการรับรูข้ องกลุม่ ตัวอย่างหลัง ชมภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน กรณีศึกษา การสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนัง สยองขวัญ 3. เพื่ อ ศึ ก ษาความพึ ง พอใจของกลุ ่ ม ตัวอย่างหลังชมภาพยนตร์สนั้ เรือ่ ง “มัน”อยูข่ า้ งใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ ประโยชน์การวิจัย ได้ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ ส�ำหรับเสริมความรู้มู้ด แอนด์โทนในการสร้างภาพยนตร์ กรณีการสร้างมูด้ แอนด์โทนภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญ
วิธีด�ำเนินการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยในรูปแบบการวิจัย และพัฒนา (Research and Development: R&D) มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทน ในภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญ เพื่อศึกษา การรับรู้และความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างหลัง ชมภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน กรณีศึกษา การสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนัง สยองขวัญ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ 2. แบบประเมินคุณภาพของภาพยนตร์สนั้ เรือ่ ง “มัน” อยูข่ า้ งใน กรณีศกึ ษาการสร้างมูด้ แอนด์ โทนในภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญ ส�ำหรับ ผู้เชี่ยวชาญ 3. แบบประเมินการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง หลังชมภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณี ศึกษาการสร้างมูด้ แอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภท หนังสยองขวัญ 4. แบบส� ำ รวจความพึ ง พอใจของกลุ ่ ม ตัวอย่างหลังชมภาพยนตร์สั้นเรื่อง “มัน” อยู่ข้าง ใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ด�ำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลการ สร้างภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน กรณี ศึกษาการสร้างมูด้ แอนด์โทนในภาพยนตร์ประเภท หนังสยองขวัญทั้งหมด 2 ขั้นตอนดังนี้
103 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
1. การเก็บรวบรวมแบบประเมินคุณภาพ ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษา การสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ประเภทหนัง สยองขวัญ 1.1 เรี ย นเชิ ญ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ ท� ำ การ ประเมินคุณภาพของสื่อจ�ำนวน 12 ท่าน โดยแบ่ง การประเมินออกเป็น 4 ด้าน คือด้านแบบสอบถาม และวัดประเมินผล 3 ท่าน เนื้อหาจ�ำนวน 3 ท่าน ออกแบบจ�ำนวน 3 ท่าน และเทคนิคจ�ำนวน 3 ท่าน 1.2 ผู ้เ ชี่ยวชาญรับชมสื่อภาพยนตร์ สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ด แอนด์โทนในภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญทาง ออนไลน์และน�ำสื่อไปเปิดกับตัวเอง 1.3 หลั ง จากที่ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญรั บ ชมสื่ อ ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษา การสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ประเภทหนัง สยองขวัญ 1.4 ด� ำ เนิ น การเก็ บ รวบรวมแบบ ประเมินคุณภาพของสื่อภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนใน ภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญ และจากทาง ออนไลน์ 1.5 รวบรวมข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ค่า ทางสถิติต่อไป 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบประเมิน ผลการรับรู้และแบบส�ำรวจความพึงพอใจของกลุ่ม ตัวอย่างจากการรับชมภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนใน ภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญ 2.1 จั ด เตรี ย มสถานที่ และอุ ป กรณ์ อ�ำนวยความสะดวก ในระหว่างที่ผู้วิจัย ได้ให้กลุ่ม ตัวอย่างศึกษาภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้าง ใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์
104 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ประเภทหนังสยองขวัญ 2.2 ให้ ก ลุ ่ ม ตั ว อย่ า งท� ำ การศึ ก ษา ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษา การสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ประเภทหนัง สยองขวัญ 2.3 ผู้วิจัยชี้แจง และสร้างความเข้าใจ ในการท�ำงานแบบประเมินผลการรับรู้และแบบ ส�ำรวจความพึงพอใจจากการใช้ภาพยนตร์สนั้ เรือ่ ง “มัน” อยูข่ า้ งใน กรณีศกึ ษาการสร้างมูด้ แอนด์โทน ในภาพยนตร์ประเภทหนังสยองขวัญ 2.4 กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งท� ำ การด� ำ เนิ น การ ท�ำแบบประเมินการรับรู้และแบบส�ำรวจความพึง พอใจจากการใช้ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้าง ใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ 2.5 ผู้วิจัยเก็บรวบรวมแบบประเมิน ผลการรับรู้และแบบส�ำรวจความพึงพอใจจากใช้ ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษา การสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ประเภทหนัง สยองขวัญ จากกลุ่มตัวอย่าง 30 ชุด พร้อมท�ำการ ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบประเมิน 2.6 รวบรวมข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จากการเก็ บ รวบรวมข้อมูลของแบบประเมินการรับรู้และแบบ ส�ำรวจความพึงพอใจไปวิเคราะห์ค่าทางสถิติต่อไป สรุปผลการวิจัย จากการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล การสร้ า ง ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษา การสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ประเภทหนัง สยองขวัญ และได้เผยแพร่ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (https://youtu.be/Jf4jeW_Oik0) สามารถสรุป ผลการวิจัยได้ ดังนี้ 1. ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน
กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญที่ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ โดยรวมอยู่ในระดับดี ที่ค่าเฉลี่ย 3.99 ซึ่งด้านที่ มีผลการประเมินคุณภาพระดับสูงที่สุดก็คือ ด้าน ออกแบบ ทีค่ า่ เฉลีย่ 4.08 รองลงมาคือ ด้านเทคนิค ที่ค่าเฉลี่ย 3.99 มีคุณภาพอยู่ในระดับดี และด้าน เนื้อหา ที่ค่าเฉลี่ย 3.93 มีคุณภาพอยู่ระดับดี 2. จากการศึกษาการรับรูข้ องกลุม่ ตัวอย่าง ที่มีต่อภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณี ศึกษาการสร้างมูด้ แอนด์โทนในภาพยนตร์ประเภท หนังสยองขวัญพบว่าการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่าง อยู่ ในระดับการรับรู้โดยรวมระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 78.88 โดยมีคะแนนการประเมินผลรับรู้ ดังนี้ มาก ที่สุดได้แก่ ข้อที่ 1 เสื้อผ้าเป็นองค์ประกอบของมู้ด แอนด์โทนใช่หรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 100 ข้อ 3 มุม กล้องมีความส�ำคัญเป็นอันดับแรกขององค์ประกอบ ของการสร้างมู้ดแอนด์โทนใช่หรือไม่ ข้อ 7 มู้ด แอนด์โทนหรืออีกเรียกอีกแบบว่า Preset ของหนัง ใช่หรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 86.66 อยู่ในระดับมาก ที่สุด ข้อที่ 2 มู้ดแอนด์โทนคือการย้อมสีใช่หรือไม่ ข้อ 9 แสงและเงาอยู่ในองค์ประกอบแรกของมู้ด แอนด์โทนหรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 76.66 ข้อที่ 5 มูด้ แอนด์โทนมี 5 ประเภทใช่หรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 73.33 อยู่ระดับมาก ข้อ 8 การเกรดสีอยู่ขั้นตอน ท้ายของกระบวนการ Post-Production ใช่หรือ ไม่ คิดเป็นร้อยละ 66.66 และข้อ 5 เลือดปลอม ที่ใช้ในฉากเป็นองค์ประกอบของหนังสยองขวัญ หรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 60 อยู่ในระดับปานกลาง 3. จากการศึกษาความพึงพอใจของกลุ่ม ตัวอย่างที่มีต่อภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้าง ใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ ความพึงพอใจโดยรวมอยู่ ในระดับดีคา่ เฉลีย่ 4.41 โดยมีผลรวมค่าเฉลีย่ ความ
พึงพอใจในแต่ละด้านมากที่สุด คือ ด้านเนื้อหา ค่า เฉลีย่ 4.48 รองลงมาคือด้านออกแบบ ค่าเฉลีย่ 4.44 อยู่ในระดับดี และน้อยสุด คือด้านเทคนิค ค่าเฉลี่ย 4.32 อยู่ในระดับดี อภิปรายผล การวิจยั ครัง้ นีเ้ ป็นการพัฒนาภาพยนตร์สนั้ เรือ่ ง “มัน” อยูข่ า้ งใน กรณีศกึ ษาการสร้างมูด้ แอนด์ โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ ซึ่งจาก ผลการวิจัยจึงน�ำมาอภิปรายผล ดังนี้ 1. จากการศึกษาคุณภาพของภาพยนตร์ สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ด แอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ โดยรวมอยู่ในระดับดี ที่ค่าเฉลี่ย 3.99 ซึ่งด้านที่ มีผลการประเมินคุณภาพระดับสูงที่สุดคือ ด้าน ออกแบบ ที่ค่าเฉลี่ย 4.08 รองลงมา ด้านทคนิค ที่ ค่าเฉลี่ย 3.99 อยู่ในระดับดี และด้านเนื้อหา ที่ค่า เฉลี่ย 3.93 มีคุณภาพอยู่ในระดับดี ผู้วิจัยได้พัฒนา ภาพยนตร์สนั้ เรือ่ ง “มัน”อยูข่ า้ งใน กรณีศกึ ษาการ สร้างมูด้ แอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยอง ขวัญ เนื่องจากเป็นสื่อที่ให้ความรู้และช่วยพัฒนา ศักยภาพของผู้ที่ต้องการท�ำงานในด้านโปรดักชั่น เพื่อให้ผู้ชมได้เข้าถึงเนื้อหาได้ง่ายยิ่งขึ้น ผู้วิจัยจึง ใช้เทคนิคการเล่าเรื่องสลับไปมาในการเล่าระหว่าง ห้องตัดต่อกับหนังในเรือ่ ง และล�ำดับให้เกิดความน่า สนใจ และน�ำเสนอสื่อในรูปแบบที่กระชับและใส่ เนือ้ หาความรูส้ อดแทรกเข้าไป และได้นำ� มาพัฒนา ขึ้นจากการปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องจากการ วิเคราะห์จากภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน”อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ เพื่อให้มีคุณภาพในตัวสื่อ มากยิง่ ขึน้ โดยมีเนือ้ หาสอดคล้องกับ ณัฐพล วงศ์ชนื่ (2552) ปริญญานิพนธ์เรือ่ ง ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการรับรู้
105 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
มู้ดแอนด์โ ทนของผู้ชมในภาพยนตร์ไทยในการ ออกแบบงานสร้างภาพยนตร์สยองขวัญ การวิจัย ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิดเกี่ยว กับการสร้างสรรค์ “มู้ดแอนด์ โทน” (Mood and Tone) ในงานออกแบบงานสร้างในภาพยนตร์ไทย แนวสยองขวัญ 2) ศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อการรับ รู้ “มู้ดแอนด์โทน” (Mood and Tone) ของผู้ ชม ในการออกแบบงาน สร้างภาพยนตร์ไทยแนว สยองขวั ญ โดยดํ า เนิ น การวิ จั ย แบบผสมผสาน เชิงคุณภาพและเชิง ปริมาณ เก็บข้อมูลโดยการ สัมภาษณ์เชิงลึกจากฝ่ายผู้สร้าง การสนทนากลุ่ม และการใช้ แบบสอบถาม ในการเก็บข้อมูลจาก ฝ่ายผู้ชม ภาพยนตร์ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้ง นี้ ได้แก่ ภาพยนตร์เรื่อง “เด็กหอ” และเรื่อง “เป็น ชู้กับผี” ผลการวิจัยพบว่า ผู้ชมมีการรับรู้มู้ดแอนด์ โทนของภาพยนตร์สอดคล้องกับแนวคิด ของฝ่าย ผูส้ ร้าง โดยมีระดับการรับรูจ้ ากปัจจัยงานออกแบบ งานงานสร้างแต่ละปัจจัยมากน้อย แตกต่างกัน ซึ่ง แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปัจจัยงานออกแบบ งานสร้ า งที่ มี ผ ลต่ อ การรั บ รู ้ มู ้ ด แอนด์ โ ทนมาก ที่สุด คือ มุมกล้อง กลุ่มปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ อันดับที่สอง ได้แก่ สีและ ฉากสถานที่ กลุ่มปัจจัย ที่ มี ผลต่ อ การรั บรู ้ อัน ดั บที่ ส าม ได้ แ ก่ อุ ป กรณ์ ประกอบฉาก แสงเงา และเวลา ส่วนกลุ่มปัจจัย ที่มีผลต่อการรับรู้มู้ดแอนด์โทนน้อยที่สุด ได้แก่ การแต่งหน้าทรงผม และเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ผู้ ชมที่มีอายุน้อยมีการรับรู้มู้ดแอนด์โทนได้ดีกว่า ผู้ชมอายุมาก และ ผู้ชมเพศชายกับหญิงมีการ รับรู้ไม่แตกต่างกัน นอกจากนี้ยังพบอีกว่า การ ออกแบบงานสร้าง ภาพยนตร์ไทยแนวสยองขวัญ ที่มีประสิทธิภาพมีหัวใจสําคัญอยู่ 3 ประการ อัน ได้แก่ 1) ความ สมจริงและกลมกลืนไปกับเรื่องราว 2) การสนับสนุนบทภาพยนตร์และส่งเสริมการ
106 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เล่าเรื่อง 3) การออกแบบงานสร้างภาพยนตร์ เพื่ อ นํ า อารมณ์ ผู ้ ช มไปสู ่ แ นวทางมู ้ ด แอนด์ โ ทน ที่กําหนดไว้ 2. จากผลการศึ ก ษาการรั บ รู ้ ข องกลุ ่ ม ตัวอย่างที่มีต่อภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้าง ใน กรณีศกึ ษาการสร้างมูด้ แอนด์โทนใน ภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญพบว่าการรับรู้ของกลุ่ม ตัวอย่าง อยูใ่ นระดับการรับรูโ้ ดยรวมระดับมาก คิด เป็นร้อยละ 78.88 โดยมีคะแนนการประเมินผลรับรู้ ดังนี้ มากทีส่ ดุ ได้แก่ ข้อที่ 1 เสือ้ ผ้าเป็นองค์ประกอบ ของมูด้ แอนด์โทนใช่หรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 100 ข้อ 3 มุมกล้องมีความส�ำคัญเป็นอันดับแรกขององค์ ประกอบของการสร้างมูด้ แอนด์โทนใช่หรือไม่ ข้อ 7 มู้ดแอนด์โทนหรืออีกเรียกอีกแบบว่า Preset ของ หนังใช่หรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 86.66 อยู่ในระดับ มากทีส่ ดุ ข้อที่ 2 มูด้ แอนด์โทนคือการย้อมสีใช่หรือ ไม่ ข้อ 9 แสงและเงาอยู่ในองค์ประกอบแรกของ มู้ดแอนด์โทนหรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 76.66 ข้อที่ 5 มูด้ แอนด์โทนมี 5 ประเภทใช่หรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 73.33 อยู่ระดับมาก ข้อ 8 การเกรดสีอยู่ขั้นตอน ท้ายของกระบวนการ Post-Production ใช่หรือ ไม่ คิดเป็นร้อยละ 66.66 และข้อ 5 เลือดปลอมที่ ใช้ในฉาก เป็นองค์ประกอบของหนังสยองขวัญหรือ ไม่ คิดเป็นร้อยละ 60 อยู่ในระดับปานกลาง Mr. Shayang Xiong (2015) ได้ศึกษา ภาพยนตร์ เรื่อง “แก๊งม่วนป่วนไทยแลนด์” เพื่อ ศึกษาความเชือ่ มโยง ระหว่างเนือ้ เรือ่ งของภาพยนตร์ และสถานที่ ถ ่ า ยทํ า ภาพยนตร์ เ รื่ อ งนี้ ซึ่ ง ก็ คื อ ประเทศไทย โดยในงานวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์หลัก 2 ประการ ที่เกี่ยวข้องกับฉากในภาพยนตร์ ที่ ถ่ายทอด “ภาพลักษณ์ความเป็นไทย” และ องค์ ประกอบของภาพยนตร์ซงึ่ เป็นจุดดึงดูดความสนใจ จากผู้ชมภาพยนตร์ชาวจีนที่ได้รับชมภาพยนตร์
เรื่องนี้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นําทฤษฎีของการสื่อสาร ระหว่างวัฒนธรรมมาประยุกต์ใช้เพื่อวิเคราะห์ว่า ภาพยนตร์เรื่อง “แก๊งม่วนป่วนไทยแลนด์” ได้นํา เสนอภาพลักษณ์ความเป็นไทยสู่สายตาของผู้ชม ชาวจีนอย่างไร และในภาพลักษณ์ความเป็นไทย ซึ่งถูกถ่ายทอผ่านทางภาพยนตร์เรื่องนี้ มีผลต่อ การดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวจีนให้ เข้ามาท่องเที่ยว ในประเทศไทยได้อย่างไร งานวิจัยนี้ได้นําผลการ ตอบแบบสอบถามของนักท่องเที่ยวชาวจีนที่เข้า มาท่องเที่ยวในประเทศไทย จํานวนทั้งสิ้น 103 คน และประชาชนชาวไทยที่ได้รับชมภาพยนตร์ เรื่ อ งนี้ จํ า นวน ทั้ ง สิ้ น 117 คน แบบสอบถาม ดังกล่าวถูกออกแบบมาเพื่อวัดความพึงพอใจโดย รวมของนักท่องเที่ยวชาวจีนและ ผู้ชมภาพยนตร์ ชาวไทยต่อภาพยนตร์เรื่องนี้ โดยกลุ่มผู้ที่ให้ข้อมูล ในแบบสอบถาม ยอมรับเป็นเสียงเดียวกันว่า ภาพ ลักษณ์ความเป็นไทยในภาพยนตร์เรือ่ งนี้ มีแรงผลัก ดันต่อการท่องเที่ยวในประเทศไทยเป็นอย่างมาก โดยในเนื้อหาของภาพยนตร์เรื่อง “แก๊งม่วนป่วน ไทยแลนด์” มีฉากต่าง ๆ ซึ่งแทนความเป็นไทยใน หลายๆฉาก โดยมีฉากสําคัญที่แสดงถึงความเป็น ไทย ประมาณ 14 ฉาก โดยสําคัญเหล่านี้สามารถ แบ่งได้ 7 ประเภท ได้แก่ 1) ภาพของที่สถานที่ท่อง เที่ยวและสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับนักท่อง เที่ยว 2) เพศที่สาม 3) สปาและการนวดแผนไทย 4) พระพุทธศาสนาแบบไทย 5) ทิวทัศน์ธรรมชาติ 6) มวยไทย 7) ธุรกิจทาง เพศ โดยผลสํารวจได้ถึง ความพึงพอใจโดยรวมของนักท่องเทีย่ วชาวจีนและ ผูช้ มภาพยนตร์ชาวไทยทีม่ ี ต่อภาพยนตร์ “แก๊งม่วน ป่วนไทยแลนด์” ดังต่อไปนี้ นักท่องเที่ยวชาวจีน ได้ประเมินคะแนนโดยรวมของภาพยนตร์ ไว้ที่ 35.5%. ภาพของที่ ส ถานที่ ท่ อ งเที่ ย วและสิ่ ง อํานวยความสะดวกสําหรับนักท่องเที่ยว สถาน
ที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติและ พระพุทธศาสนา แบบไทย ซึ่งทั้ง 3 อันดับ เป็นสิ่งที่ประทับใจนัก ท่องเทีย่ วชาวจีทไี่ ด้รบั ชมภาพยนตร์เรือ่ งนีม้ ากทีส่ ดุ และเป็นแรง บันดาลใจให้ผชู้ มชาวจีนมาท่องเทีย่ วใน ประเทศไทย ผลสํารวจของผู้ชมภาพยนตร์ชาวไทย ให้คะแนนโดยเฉลีย่ ของภาพยนตร์อยูท่ ี่ 63.5% โดย ผูช้ มชาว ไทยเชือ่ ว่า ภาพของทีส่ ถานทีท่ อ่ งเทีย่ วกับ สิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับนักท่องเที่ยว และ ทิวทัศน์ธรรมชาติ ทาํ ให้นกั ท่องเทีย่ วชาวจีนเห็นสิง่ ที่พวกเขาจะได้พบเมื่อมาท่องเที่ยวในประเทศไทย 3. จากผลการศึ ก ษาความพึ ง พอใจของ กลุ่มตัวอย่างที่มีต่อภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน กรณีศึกษาการสร้างมู้ดแอนด์โทนใน ภาพยนตร์ ประเภทหนังสยองขวัญ พบว่าความพึง พอใจโดยรวมอยู่ในระดับดีค่าเฉลี่ย 4.41 โดยมีผล รวมค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในแต่ละด้านมากที่สุด ตัวหนังสือเห็นชัดอ่านง่าย มีค่าเฉลี่ยที่ 4.66 การ ใช้ภาษามีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ยที่ 4.56 เนื้อหา มีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ยที่ 4.55 ความชัดเจน ของภาพและเสียง เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้ชม มี ค่าเฉลี่ยที่ 4.46 ระยะเวลาในการน�ำเสนอเรื่อง มีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ยที่ 4.43 ระยะเวลาใน การน�ำเสนอเรื่องมีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ยที่ 4.36 คุณภาพของภาพและเสียงมีความสมบูรณ์ เสียง ดนตรีประกอบมีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ยที่ 4.26 สี ในภาพยนตร์ที่มีความสวยงาม ค่าเฉลี่ยที่ 4.23 ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัย พิชชาพร วิธีเจริญ (2556) ปริญญานิพนธ์เรื่อง กลวิธีการเล่าเรื่องและการ สร้างบุคลิกลักษณะตัวละครสมเด็จพระสุริโยทัย ในบันเทิงคดีอิงประวัติศาสตร์ไทยการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีการเล่าเรื่องและ บุคลิกลักษณะของสมเด็จ พระสุรโิ ยทัยทีป่ รากฏใน สื่อบันเทิงคดีอิงประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสมเด็จพระ
107 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
สุริโยทัย โดยใช้แนว ทางการวิจัยเชิงคุณภาพด้วย การวิเคราะห์ตวั บท, จากสือ่ ทีไ่ ด้รบั เผยแพร่แล้วมา ศึกษา แบ่ง ออกเป็นบทประพันธ์ร้อยกรองจํานวน 2 เรื่อง นวนิยายอิงประวัติศาสตร์จํานวน 3 เรื่อง หนังสือ การ์ตูน ภาพยนตร์ ละครโทรทัศน์ ละคร วิทยุ ละครเวที อย่างละ 1 เรื่อง รวมถึงรวบรวม ข้อมูล จากเอกสาร และการสัมภาษณ์บุคคลที่มี ความเกีย่ วข้องกับการสร้างสือ่ บันเทิงคดีของสมเด็จ พระสุริโยทัย ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษาวิจัย พบว่า กลวิธีเล่าเรื่องในบันเทิงคดีอิงประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับสมเด็จพระสุริโยทัย และบุคลิกลักษณะตัว ละครสมเด็จพระสุรโิ ยทัยทีป่ รากฏในสือ่ ต่างๆ มีรปู แบบการเล่าเรือ่ ง และสร้างตัวละครของสมเด็จพระ สุรโิ ยทัย ทีม่ คี วามเปลีย่ นแปลงเล็กน้อย ตามยุคสมัย แต่แก่นของเรื่องเล่าคือเพื่อสดุดีพระวีรกรรมของ สมเด็จพระสุริโยทัย ความเสียสละ ของพระองค์ ที่สละชีพเพื่อพระสวามีและเพื่อแผ่นดิน ยังคงเดิม ในทุกฉบับส่วนบุคลิกตัวละคร ของสมเด็จพระสุริ โยทัย ก็มีความเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย แต่ลักษณะ เด่นคือ ความกล้าหาญแบบ นักรบ ควบคู่ไปกับ ความอ่อนโยนในแบบสตรีผู้เป็นภรรยาและมารดา พร้อมด้วยอุดมการณ์ความ เสียสละและรักชาติ บ้านเมือง ยังคงเด่นชัดเหมือนเดิมทุกฉบับเช่น กัน สมเด็จพระสุริโยทัย ทรงมี ความเป็นอุดมคติ 4 ประการ คือ ความกตัญญู การตระหนักรู้ในอํา นาจและหน้าที่ การรักษา เกียรติ และ การเสีย สละเพื่อแผ่นดิน โดยรวมแล้ว พระองค์ถูกสร้างให้ มีความโดดเด่นมากขึ้นตาม ยุคสมัย วีรกรรมของ พระองค์ นอกจากความเป็นนักรบที่สละชีพเพื่อ แผ่นดินแล้ว การต่อสู้เพื่อ ปกป้องอํานาจทางการ เมืองของพระองค์ก็โดดเด่นมากขึ้น มีการเพิ่มเติม ภูมิหลัง ที่ทําให้พระองค์ กลายเป็นสตรีที่เกี่ยวข้อง กับการปกป้องแผ่นดินในทุกแง่มุม และการกระทํา
108 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ทั้งในทางการเมืองและทางการรบ และยังไม่ทิ้ง ความเป็นแม่ที่ดี สมเด็จพระสุริโยทัย จึงเป็นพระ ราชินี ในอุดมคติ ในคติความเชื่อของสังคมไทย ในปัจจุบัน จากการศึกษางานวิจัยในประเทศพบ ว่า การใช้ภาพยนตร์เป็นภาษาเล่าเรื่องสามารถ ท�ำให้เข้าถึงได้ได้ง่าย และยังได้ความรู้เรื่อง การ ล�ำดับ เรือ่ งราว หรือรวมถึงออกแบบงานสร้างต่าง ๆ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.1 การผลิ ต ภาพยนตร์ สั้ น หากมี การเล่าเรื่องด้วยบทพูดเยอะเกินไป อาจท� ำให้ ภาพยนตร์เกิดความน่าสนใจน้อยลง ควรเน้นการ ใช้ภาพสื่อความหมายแทนบทพูด 1.2 การจั ด แสงในงานภาพยนตร์ แนวสยองขวั ญ เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ อย่ า งมากในการ ส่งอารมณ์ให้กับผู้ชม ดังนั้นหากมีความละเอียด รอบคอบในการจัดแสงมากขึ้น จะท�ำให้ภาพยนตร์ ที่สร้างมีความน่าติดตาม และมีอารมณ์ร่วมมากขึ้น 1.3 การสร้างภาพยนตร์ บท เป็นอีก ส่วนที่มีความส�ำคัญ หากในภาพยนตร์สั้นสามารถ สร้ า งจุ ด วิ ก ฤตภายในเรื่ อ งให้ น ่ า ค้ น หาและน่ า ติดตามจะส่งผลให้งานน่าสนใจและน่าติดตามไป จนจบเรื่อง 2. ข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัยครั้งต่อไป ภาพยนตร์สั้น เรื่อง “มัน” อยู่ข้างใน เป็นเพียงการศึกษาการสร้างมูด้ แอนด์โทนในภาพยนตร์ ประเภทสยองขวัญ หากมีการสร้างภาพยนตร์สั้น เพื่อให้ความความรู้ เรื่อง มู้ดแอนด์โทนในงาน ภาพยนตร์อกี สามารถศึกษาประเภทของภาพยนตร์ ประเภทอื่น นอกเหนือจากประเภทสยองขวัญ เช่น ประเภทตลก ประเภทแฟนตาซี เป็นต้น หรือจัดท�ำ เป็นสื่อประเภทอื่นที่ไม่ใช่ภาพยนตร์สั้น
เอกสารอ้างอิง/REFERENCES กันยา สุวรรณแสง. (2532). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์บ�ำรุงสาส์น โกสุม สายใจ. (2540). สีและการใช้ส.ี ครัง้ ทีพ่ มิ พ์พมิ พ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิง่ ณัฐพล วงษ์ชื่น. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้มู้ดแอนด์โทนของผู้ชมภาพยนตร์ไทยในการออกแบบ งานสร้างภาพยนตร์แนวสยองขวัญ. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา การภาพยนตร์ ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิง่ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โดม สุขวงศ์. (2533). ประวัติภาพยนตร์ไทย. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของคุรุสภา. ทฤษฎี เสมา. (2541). วิเคราะห์กลวิธีการแต่งเรื่องสั้นแนวสยองขวัญของ เหมเวชกร. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปะศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปิยกุล เลาวัณย์ศิริ. (2529). ใครเป็นใครในกระบวนการผลิตภาพยนตร์. กรุงเทพฯ : สามัคคีสาส์น ปิยะดนัย วิเคียน. (2555). หลักการในการเขียนบทภาพยนตร์. สืบค้นเมือ่ 8 ก.พ 2562 จาก krupiyadanai. wordpress.com/computer4เทคโนโลยีสื่อประสม/การเขียนบทวีดีทัศน์/#respond พิชชาพร วิธเี จริญ. (2556). กลวิธกี ารเล่าเรือ่ งและการสร้างบุคลิกลักษณะตัวละครสมเด็จพระสุรโิ ยทัย ในบันเทิงคดีอิงประวัติศาสตร์ไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา นิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาพยนตร์. (2562). ภาพยนตร์. สืบค้นเมิื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2562, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/ ภาพยนตร์. วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง. ผู้ก�ำกับภาพยนตร์เรื่อง “เปนชู้กับผี” (2549). สัมภาษณ์, .26 ก.ค 2552 ศักดิ์สิทธิ์ ทวีกุล, ฐณยศ โล่ห์พัฒนานนท์, และวรลักษณ์ กล้าสุคนธ์. (2561). ภาพยนตร์กับทฤษฎีแห่ง ความบันเทิง. สุพิชชา วิมลโสภารัตน์. (2556). บทบาทของวรรณกรรมที่มีต่อตัวละครเอกในนวนิยายและภาพยนตร์. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
109 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
JI EUN LEE. (2010). Monsters in Contemporary Thai Horror Film: Image, Representation and Meaning. Faculty of Arts Chulalongkorn University Mr. Shayang Xiong. (2016). Representing The “THAI” In Lost in Thailand: Analysis of attraction for Chinese Tourists. Chinese. Faculty of Arts Chulalongkorn University Norihiko Yoshioka. (2008). The Internationalization of The THAI MOVIE Industry: An Analysis of The Export Competitiveness to the Japanese Market. Economics and Finance Faculty of Economics Chulalongkorn University Sargent, W. (1964). The Enjoyment and Use of Color. New York, NY: Dover Publications
110 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
การออกแบบกลยุทธ์การใช้งานแอพลิเคชันมูเดิลบนโทรศัพท์ เคลื่อนที่เพื่อการสนับสนุนการเรียนการสอนในรูปแบบห้องเรียน กลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน DESIGNING STRATEGY OF USING MOODEL MOBILE APPLICATION TO SUPPORT FLIPPED CLASSROOM TEACHING BY USING CREATIVITY-BASED LEARNING
รัฐสภา แก่นแก้ว, ณรงค์ สมพงษ์ RATTASAPA KANKAEW, NARONG SOMPONG
บทคัดย่อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนา ระบบการเรียนการสอนโดยใช้มูเดิลแพลตฟอร์ม ตามรูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการ เรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานในรายวิชาการผลิต รายการวิทยุโทรทัศน์ 2) ออกแบบกลยุทธ์ในการ ใช้งานแอพลิเคชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อ การสนับสนุนการเรียนการสอนในรูปแบบห้องเรียน กลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ เป็นฐาน ผลการศึกษาพบว่าการใช้งานแอพลิเค ชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถสนับสนุน การเรียนการสอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้าน ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้บนมือถือได้รวดเร็วยิ่ง ขึ้น สอดรับกับสถานการณ์และความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีในปัจจุบัน ผู้เรียนสามารถลงทะเบียน การเข้าเรียนด้วยตัวเองจากสมาร์ทโฟน ดาวน์โหลด ส่วนของหลักสูตรทั้งหมด เรียกดูรายการอภิธาน ศัพท์ และศึกษารายละเอียดของหลักสูตรได้อย่าง
รวดเร็ว สามารถเข้าถึงกิจกรรมที่ผู้สอนก�ำหนด และตรวจสอบก�ำหนดการส่งงาน ท�ำแบบทดสอบ บนโทรศัพท์เคลื่อนที่เชื่อมต่อกับผู้เรียนด้วยกันเอง ตลอดจนการสนับสนุนการปฐมนิเทศ และการแก้ ปัญหาต่าง ๆ และตรวจสอบความก้าวหน้าและ สถานะการเสร็จสิ้นของกิจกรรม ผู้สอนสามารถให้ คะแนนและบันทึกคะแนนเก็บให้ผู้เรียนทราบ อัป โหลดไปยังไฟล์ส่วนตัวของผู้เรียน ในขณะที่ผู้เรียน สามารถรับการแจ้งเตือน และสนทนาตอบกลับไป ยังผู้สอนได้ง่ายมากขึ้น ค�ำส�ำคัญ: แอพลิเคชัน โทรศัพท์เคลื่อนที่ มูเดิล ห้องเรียนกลับด้าน การเรียนรูแ้ บบสร้างสรรค์เป็นฐาน ABSTRACT The objectives of this research were 1) Develop a learning manage system by using a Moodle platform to support flipped classroom teaching by using creativity-based
111 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
Learning and 2) Design strategy to use Moodle’s mobile application for learning in a flipped classroom teaching by using creativity-based learning style. The results of this studied showed that the use of Moodle’s mobile application on mobile phones could support the teaching and learning in the flipped classroom teaching by using creativity-based learning that allows the learner to be able to learn on mobile learning style in the current situation and technological advancements. Student can be enrol themself from their smartphone, download all course sections, browse glossary entries, see the courses at glance, view and access activities which are due, take quizzes on mobile, connect with course participants, orientation and resolution support and recheck an activity completion. Instructor can be grading and send message to student. Student can get faster notifications, submit workshops assiggnment from the app and easier feedback to their instructor. Keywords: Application, Mobile, Moodle, Flipped-Classroom, Creativity-Based Learning หลักการและเหตุผล การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันนี้ มุ่ง เน้นการจัดการเรียนการสอนให้ผเู้ รียนให้เกิดความ คิดสร้างสรรค์ดว้ ยแนวทางการเรียนรูจ้ ากการกระท�ำ
112 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
(Rasmussen & Sörheim, 2006, pp. 185–194) อีกทั้งมีความพยายามที่จะส่งเสริมและออกแบบ แนวทางให้ผเู้ รียนได้เรียนรูจ้ ากประสบการณ์ (R.G. & MacMillan, 2000, p. 340) เพิ่มพูนทักษะการ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทัศนคติในการตัดสินใจ ให้แก่ผเู้ รียน (Solomon et al., 2002, pp. 65-66) การเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านสามารถ น�ำมาใช้แทนการสอนแบบดั้งเดิม ช่วยให้ผู้สอนใช้ เวลาในห้องเรียนมุ่งเน้นไปที่การเรียนรู้ที่สนับสนุน ให้ ผู ้ เ รี ย นกระตื อ รื อ ร้ น และร่ ว มมื อ กั น มากขึ้ น (Roach, 2014, pp. 74-75) ในขณะที่การสอน แบบสร้ า งสรรค์ เ ป็ น ฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) เป็นหนึ่งในวิธีการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส� ำคัญ โดยโครงสร้าง หลักของการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน พัฒนา มาจากโครงสร้างการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหา เป็นฐาน (Problem-based learning : PBL) และ แนวทางการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์แบบความ คิดแนวขนาน (Parallel Thinking) ของ เอ็ดเวิร์ด เดอ โบโน (Edward de Bono) ซึ่งเป็นแนวทางใน การจัดการเรียนรู้ส�ำหรับศตวรรษที่ 21 ในขณะที่ การใช้กระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน ช่วยผลักดันประสบการณ์การเรียนรู้ ส่งเสริมการ ท�ำงานเป็นทีม การค้นคว้าและคิด ก่อให้เกิดทักษะ ที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารระหว่างบุคคล ผ่านการ แก้ไขปัญหารายบุคคล ร่วมมือกันท�ำโครงงานและ การท�ำงานเป็นทีม ซึ่งผู้เรียนจะเปลี่ยนจากการฟัง และการอ่านเนื้อหาบทเรียน ไปสู่การท�ำงานกับ เพื่อนร่วมทีมเพื่อแก้ไขปัญหาในโลกแห่งความจริง (Michaelsen et al., 2014, p. 232) ซึ่งการใช้ กระบวนการเรียนรูแ้ บบสร้างสรรค์เป็นฐาน จะช่วย ท�ำให้ผเู้ รียนเกิดความเป็นอิสระและสามารถตัดสิน ใจได้อย่างเหมาะสม (วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์,2558)
ในการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านด้วย กระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน ผู้สอน สามารถน�ำเนื้อหาเผยแพร่บนเครือข่าย เพื่อให้ ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองก่อนเข้า ห้องเรียน หรือใช้ทบทวนเนื้อหาภายหลังจากที่ เรียนเสร็จแล้วด้วยตนเองได้อย่างสะดวกทุกที่ ทุก เวลา ทุกอุปกรณ์ อีกทั้งยังสามารถน�ำเทคโนโลยี มาช่วยผลักดันในการจัดการเรียนการสอน เช่น ใช้งานระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ที่มีช่องทาง และ เครื่องมือในการเรียนการสอนที่หลากหลาย บรรจุ เนื้อหาต่าง ๆ ที่ใช้ในการเรียนรู้แบบออนไลน์เพื่อ ก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนและ ระหว่างผูเ้ รียนด้วยกัน โดยร่วมกันสร้างบรรยากาศ ของห้องเรียนทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนได้ (อนุ ศร หงษ์ขนุ ทด,2558) โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากน�ำแอ พลิเคชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Moodle App) มาใช้งานกับนักศึกษาในระดับปริญญาตรีเพือ่ เชือ่ ม โยงการงานระบบบริหารจัดการการเรียนรูใ้ นอยูใ่ น โทรศัพท์เคลื่อนที่ สามารถสนับสนุนการเรียนการ สอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการ เรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานให้ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้ไ ด้บนมือ ถื อได้ ร วดเร็ วยิ่ งขึ้ น สอดรั บกับ สถานการณ์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใน ปัจจุบัน วัตถุประสงค์การศึกษา 1) เพือ่ พัฒนาระบบการเรียนการสอนโดย ใช้มเู ดิลแพลตฟอร์มตามรูปแบบห้องเรียนกลับด้าน ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานใน รายวิชาการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 2) ออกแบบกลยุทธ์ในการใช้งานแอพลิ-เค ชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ พือ่ การสนับสนุนการ
เรียนการสอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วย กระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน วิธีด�ำเนินการศึกษา การด� ำ เนิ น การในครั้ ง นี้ มุ ่ ง ศึ ก ษาการ ออกแบบกลยุทธ์ในการใช้งานแอพลิเคชันมูเดิลบน โทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อการสนับสนุนการเรียนการ สอนในรูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการ เรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานโดย มีวิธีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 : พัฒนาระบบการเรียนการสอน โดยใช้มเู ดิลแพลตฟอร์มตามรูปแบบห้องเรียนกลับ ด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็น ฐานในรายวิชาการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 1) พัฒนาระบบการเรียนการสอน ผลิตสือ่ การสอน และออกแบบแผนกิจกรรมการเรียนการ สอนตามรูปแบบฯ ด้วยการออกแบบวิธีการสอน เนื้อหา เพื่อใช้เป็นโครงสร้างพื้นฐานในการพัฒนา เนื้อหา และรูปแบบการส่งผ่านเนื้อหา ตลอดจน กิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชา “การผลิต รายการวิทยุโทรทัศน์” 2) พัฒนาระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ใน รายวิชา “การผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์” บน Moodle Platform Version 3.8 3) ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย ที่เป็นแบบวัดและแบบประเมินทั้งหมด โดยการ หาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาด้วยการหาค่าความ สอดคล้องหรือดัชนีของความสอดคล้องกันระหว่าง ข้อค�ำถามแต่ละข้อกับจุดประสงค์ (Index of Item-Objective Congruence หรือ IOC) โดย ผู ้ เ ชี่ ย วชาญทางด้ า นเทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา การ ออกแบบการสอน วัดและประเมินผลการสอน และ
113 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ด้านนิเทศศาสตร์ จ�ำนวน 3 คน ระยะที่ 2 : ออกแบบกลยุทธ์ในการใช้ งานแอพลิเคชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อการ สนับสนุนการเรียนการสอนในรูปแบบห้องเรียน กลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ เป็นฐาน 1) ออกแบบกลยุทธ์การใช้งาน แอพลิเค ชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ซึ่งเชื่อมโยงกับระบบ บริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ของรายวิชา “การผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ 1” ภาคเรียนที่ 2/2563 คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2) ทดลองใช้แอพลิเคชันมูเดิลบนโทรศัพท์ เคลื่อนที่เพื่อการสนับสนุนการเรียนการสอนใน รูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการเรียน รู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานในรายวิชา “การผลิต รายการวิทยุโทรทัศน์ 1” ภาคเรียนที่ 2/2563 กับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์
114 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีปทุม ชั้นปีที่ 3 ด้วยการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างจ�ำนวน 30 คน จากผูเ้ รียนทีม่ คี ณ ุ สมบัตติ าม เกณฑ์การใช้สื่อตามที่ก�ำหนดและมีความพร้อมใน การใช้งานอุปกรณ์โทรศัพท์เคลือ่ นทีท่ ใี่ ช้เป็นเครือ่ ง มือในการเรียนการสอนตามรูปแบบห้องเรียนกลับ ด้าน และ มีพนื้ ฐานการเรียนรูใ้ นเรือ่ งของเครือ่ งมือ และอุปกรณ์การผลิตสื่อดิจิทัล ผลการศึกษา 1. ผลการพัฒนาระบบการเรียนการสอน ตามรูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการ เรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานในรายวิชาการ ผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ ผูว้ จิ ยั ได้นำ� องค์ประกอบของห้องเรียนกลับ ด้าน สังเคราะห์ได้เป็นขั้นตอน และแนวทางการ ออกแบบโมดูลส�ำหรับการเรียนแบบห้องเรียนกลับ ด้าน แสดงได้ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 สรุปขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนและการออกแบบโมดูลในระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ส�ำหรับการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านในรายวิชาการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ 1 ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน
การออกแบบโมดูลในระบบบริหารจัดการเรียนรู้
1) ผู ้ ส อนบั น ทึ ก วิ ดี โ อการสอนของ ผู้สอนไว้ล่วงหน้า บรรจุในระบบ บริหารจัดการเรียนรู้ 2) ก่ อ นเข้ า ขั้ น เรี ย น ผู ้ เ รี ย นศึ ก ษา หาความรู้ได้ด้วยตนเองจากที่บ้าน หรื อ นอกห้ อ งเรี ย น โดยผู ้ ส อน สนั บ สนุ น ให้ ผู ้ เ รี ย นสามารถใช้ เทคโนโลยีที่ผู้เรียน มีอยู่ เพื่อตอบ สนองความต้องการในการเรียน 3) เมื่อผู้เรียนมาเข้าชั้นเรียน ผู้สอนจัด กิจกรรม การเรียนรู้ ด้วยวิธีการฟัง บรรยายแบบสั้นๆ ที่เน้นใจความ ส�ำคัญแล้วให้ผู้เรียนรู้จากการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ
1) โมดูลการสอนด้วยวิดีโอ (Video lecture module) ทีผ่ สู้ อนจะผลิตและด�ำเนินการอับโหลดไฟล์วดิ โี อการ บรรยายให้ผู้เรียนรับชม 2) โมดู ล การอภิ ป รายผ่ า นระบบออนไลน์ (Online discussion module) โดยมีฟอรัม่ (Forum) ส�ำหรับ ให้ผเู้ รียนได้ใช้เป็นช่องทางในการสือ่ สารและปรึกษา หารือกันในกลุ่มเกี่ยวกับปัญหาที่พบในวิดีโอการ บรรยายหรือในการท�ำแบบฝึกหัด และเป็นช่องทาง ที่จะช่วยผู้สอนมีส่วนร่วมในการอภิปราย 3) โมดูลการฝึกปฏิบัติผ่านระบบออนไลน์ (Online practice module) โดยผู้สอนใช้เครื่องมือในระบบ LMS ส�ำหรับการท�ำกิจกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนออกแบบกลยุทธ์การใช้งานแอพลิ เคชันมูเดิลบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ซึ่งเชื่อมโยงกับระบบ บริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) ของรายวิชาดังกล่าวทุกโมดูล
รู ป แบบการเรี ย นการสอนในรู ป แบบ ห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ สร้างสรรค์เป็นฐานในรายวิชาการผลิตรายการวิทยุ โทรทัศน์ 1 มุง่ เน้นให้ผเู้ รียนสามารถใช้เทคโนโลยีที่ มีอยู่เพื่อตอบสนองความต้องการในการเรียนของ ตนเองที่มีมากกว่าในห้องเรียนหรือสามารถศึกษา ย้อนหลังเพื่อหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองและ อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับผู้เรียนที่มีความแตก ต่างระหว่างบุคคลในการเรียนเป็นหลัก จัดการ เรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีด้วยวิธีการต่างๆ ทั้ง
ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน เช่น การเรียนรู้ ผ่านระบบบริหารจัดการเรียนรู้ วิธีการสอนด้วยวิธี การบรรยายแบบสั้นๆ ที่เน้นใจความส�ำคัญ แล้ว ให้ผู้เรียนรู้แบบร่วมกัน การจัดท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน โดยที่ผู้เรียนได้รับชมการบันทึกวิดีโอ การสอนในห้องเรียนของผู้สอนไว้ล่วงหน้า แล้วให้ ผู้เรียนสามารถน�ำกลับไปศึกษาได้ด้วยตนเองจาก นอกห้องเรียน (Bergmann, J. and A. Sams, 2012, pp. 55-58)
115 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
องค์ ป ระกอบของการเรี ย นรู ้ แ บบสร้ า ง สรรค์เป็นฐานประกอบขึ้นเป็นแนวทางการจัดการ เรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน ผู้สอนจะเปลี่ยน บทบาทจากการเป็นผู้บรรยายเนื้อหาต่าง ๆ อย่าง ละเอียด มาเป็นผู้อ�ำนวยการให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ (Ruechaipanit, 2015, pp. 26-30) โดย มีแนวทางการจัดกิจกรรมการสอน คือ 1) มุ่งสร้าง แรงบันดาลใจ กระตุ้นความอยากรู้ 2) เปิดโอกาส ให้ผู้เรียนค้นหา รวบรวมข้อมูล แยกแยะ และน�ำ มาสร้างเป็นความรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง 3) ลักษณะ การสอนมุ่งสอนแบบรายคนหรือรายกลุ่ม และมัก จะท�ำเมื่อผู้เรียนมีค�ำถาม 4) เปิดโอกาสให้ผู้เรียน
ได้มีโอกาสคิดหาทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง 5) ใช้ เกมเพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนมีส่วนในการเรียนรู้ใน ห้องเรียน 6) ใช้วธิ กี ารแบ่งกลุม่ ท�ำโครงงาน 7) มอบ หมายให้ผู้เรียนน�ำเสนอผลงานด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์ และ 8) ใช้การวัดผลที่เป็นการ วัดผลด้านต่าง ๆ ในหลายมิติ ทัง้ ในด้านความรู้ และ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เป้าหมายการสอนและ กิจกรรมการสอน ในขณะทีผ่ ลการสังเคราะห์การเรียนรูแ้ บบ สร้างสรรค์เป็นฐาน ได้เป็นขั้นตอน แนวทางการจัด กิจกรรม บรรยากาศการสอน สรุปได้ดังนี้ 6
ตารางที่ 2 การจัดกิจกรรมการสอนตามกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐาน ขั้นตอนที่ 1 กระตุนความสนใจ
การจัด กิจกรรม การสอน
ผูสอน มีหนาที่ จัดการใหเนื้อหา นั้นเกี่ยวของกับ ชีวิตของผูเรียน เนนเรื่องใกลตัว ลดการมุงเนน การจดจํา
ขั้นตอนที่ 2 ตั้งปญหาและแบงกลุม ตามความสนใจ
ขั้นตอนที่ 3 คนและคิด
ขั้นตอนที่ 4 นําเสนอ
ขั้นตอนที่ 5 ประเมินผล
ผูสอน ไมไดเปนผู กําหนดคําถามให ตั้งแตแรก แตจะเปน การปลอยใหผูเรียน คนหาปญหาที่ตนเอง สงสัย โดยปญหาที่ เกิดขึ้นนั้นจะเปน ปญหาที่ผูเรียนสนใจ ในบทเรียน
1) ผูสอนเปนผูให คําปรึกษา ชีแ้ นะ และตอบคําถาม ดวยคําถาม 2) ผูสอนจําเปนตอง แนะนําใหผูเรียนหา ความรูไดถูกแหลง แนะนําใหผูเรียนรูจัก เลือกขอมูลความรูได อยางถูกตอง
1) ผูสอนควบคุม คําถามและ ขอคิดเห็นตางๆใหอยู ในประเด็น 2) ผูสอนอาจเปนผู เริ่มถาม เพื่อใหเกิด บรรยากาศของการ ซักถามในชั้นเรียน
1) ผูสอนประเมิน กิจกรรมการเรียน การสอนในหลายมิติ 2) ประเมินความรู จากขอสอบ และ ประเมินคุณลักษณะ ที่พึงประสงค จาก แบบวัดที่สอดคลอง กับวัตถุประสงค การสอน
การจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบหองเรียนกลับดานดวยกระบวนการเรียนรูแบบสรางสรรคเปนฐานใน รายวิชาการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน การนําหลักการแนวคิด และ ทฤษฎี ที่เกี่ยวของกับลักษณะ คุณสมบัติ ขั้นตอนและกระบวนการเรียนรู ดวยการเรียนแบบหองเรียนกลับดาน กระบวนการเรียนรูแบบสรางสรรคเปนฐาน และคุณลักษณะของผลงาน สรางสรรคสังเคราะหขอมูลประมวลและกําหนดออกมาเปนองคประกอบ และ กระบวนการ ของรูปแบบการเรียน แบบหองเรียนกลับดานดวยกระบวนการเรียนรูแบบสรางสรรคเปนฐานในการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน 116 การเรียนตามรูปแบบฯ นี้ ผูเรียน (Learner) จะไดรับการสนับสนุนใหมีความรูที่เกี่ยวของจากเนื้อหา ชาในเบื้อ่องต นจากการรั บชมวิการศึ ดี โอบรรยายที ่ผู เรี ยนได เรี ยนรูที่บ าน (Homework) โดยมุ งใหค วามรู ใน นวัรายวิ ตกรรมการสื สารและเทคโนโลยี กษา ขณะเดียวกันก็กระตุนใหผูเรียนเกิดขอสงสัยตางๆ เมื่อผูสอนและผูเรียนมาพบกันในชั้นเรียน (Classroom) จะทํา หนาที่เปนผูจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยกิจกรรมสรางสรรค (Creativity activity) ดวยกระบวนการเรียนรูแบบ
การจั ด การเรี ย นการสอนตามรู ป แบบ ห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ สร้างสรรค์เป็นฐานในรายวิชาการผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ การน�ำหลักการแนวคิด และ ทฤษฎี ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ลั ก ษณะ คุ ณ สมบั ติ ขั้ น ตอนและ กระบวนการเรียนรู้ด้วยการเรียนแบบห้องเรียน กลั บ ด้ า น กระบวนการเรี ย นรู ้ แ บบสร้ า งสรรค์ เป็นฐาน และคุณลักษณะของผลงานสร้างสรรค์ สังเคราะห์ข้อมูลประมวลและก�ำหนดออกมาเป็น องค์ ป ระกอบ และ กระบวนการ ของรู ป แบบ การเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการ เรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานในการผลิตรายการ วิทยุโทรทัศน์ การเรียนตามรูปแบบฯ นี้ ผูเ้ รียน (Learner) จะได้รับการสนับสนุนให้มีความรู้ที่เกี่ยวข้องจาก เนื้ อ หารายวิ ช าในเบื้ อ งต้ น จากการรั บ ชมวิ ดี โ อ บรรยายทีผ่ เู้ รียนได้เรียนรูท้ บี่ า้ น (Homework) โดย มุง่ ให้ความรู้ ในขณะเดียวกันก็กระตุน้ ให้ผเู้ รียนเกิด ข้อสงสัยต่างๆ เมือ่ ผูส้ อนและผูเ้ รียนมาพบกันในชัน้ เรียน (Classroom) จะท�ำหน้าที่เป็นผู้จัดกิจกรรม การเรียนรู้ด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์ (Creativity activity) ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ เป็นฐานเพื่อมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ จนน�ำ ไปสู่ทักษะการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบการ ผลิตรายการโทรทัศน์ โดยแบ่งกิจกรรมออกเป็น 2 ส่วนหลัก 1. กิจกรรมการเรียนนอกห้องเรียนหรือ การบ้าน (Homework) กิ จ กรรมการเรี ย นนอกห้ อ งเรี ย นหรื อ การบ้าน (Homework) ตามรูปแบบ FCBL Model ประกอบไปด้วยองค์ประกอบและกระบวนการ จ�ำนวน 3 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
ขัน้ ตอนที่ 1 ศึกษาจากวิดโี อประกอบการ สอน (Video lecture) 1) ผู้สอนจัดท�ำวิดีโอการบรรยาย (Video Lecture) ให้ผู้เรียนได้รับชมโดยบรรจุเนื้อหาบท เรียนในระบบบริหารจัดการเรียนรู้ (LearningManagement System: LMS) ได้แก่ เนื้อหา เกี่ ย วกั บ การออบแบบการถ่ า ยท� ำ (Shooting) การสร้างสรรค์เทคนิคในการผลิต (Production Techniques) การสื่อสารด้วยศาสตร์ของการเล่า เรื่อง (Storytelling) 2) ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนรับชมวิดีโอ การบรรยาย (Video Lecture) บทเรียน ในระบบ บริหารจัดการเรียนรู้ ซึ่งเป็นส่วนของกิจกรรมการ เรียนนอกห้องเรียนหรือการบ้าน ก่อนเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นให้ผู้ เรียนศึกษาหาความรูจ้ ากการเรียนรูด้ ว้ ยตนเองตาม สภาพความพร้อมหรืออัตราการเรียนรูข้ องแต่ละคน และกระตุน้ ให้เกิดความสงสัยอยากค้นหาความรูใ้ น เรื่องต่าง ๆ เพิ่มเติม 3) ผู ้ ส อนใช้ สื่ อ สั ง คมออนไลน์ (Social Media) อันได้แก่ กลุม่ เฟซบุก๊ (Facebook Group) รายวิชา ในการติดต่อสือ่ สารกับผูเ้ รียน กระตุน้ เตือน เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาล่วงหน้าก่อนเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน ประกาศแจ้งเตือน และสื่อสารกับผู้เรียนในเรื่องต่าง ๆ โดยมุ่งสร้าง แรงบันดาลใจ กระตุ้นความอยากรู้ (Inspiration) ผู้เรียนด้วยค�ำถาม กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจอยากรู้ ด้วยการ Post ภาพ ข้อความ หรือ ใช้โพลส�ำรวจ ความคิดเห็นโดยก�ำหนดประเด็นจากสถานการณ์ ปัจจุบนั หรือข่าวสารทีใ่ กล้ตวั ทีผ่ เู้ รียนมีความสนใจ
117 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ขั้ น ตอนที่ 2 การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ้ ออนไลน์ (Online Discussion) 1) ผู้สอนจัดการอภิปรายออนไลน์ โดย ใช้กลุ่มเฟซบุ๊ก และ ระบบบริหารจัดการเรียน รู้เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ส� ำหรับการท�ำกิจกรรมต่างๆ ที่ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ กระตุน้ ความ คิดสร้างสรรค์ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ทบทวนค�ำถาม ค้นหาค�ำตอบ ศึกษาค้นคว้า และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2) ผู้เรียนใช้ช่องทางออนไลน์ ในการแลก เปลี่ยนประสบการณ์กับเพื่อนได้โดยอิสระ ผ่าน กระดานข่าวและ ระบบบริหารจัดการเรียนรู้ได้ ตลอดเวลา ขั้นตอนที่ 3 การท�ำแบบฝึกหัดออนไลน์ (Online Practice) 1) ผู ้ ส อนจั ด ท� ำ แบบฝึ ก หั ด ออนไลน์ (Online Practice) ในระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ออกแบบให้เป็นการทดสอบเแบบคู่ขนานส�ำหรับผู้ เรียนทีส่ ามารถแสดงผลการทดสอบก่อนเรียนแบบ ทันที 2) ผู้สอนจัดท�ำฐานข้อมูลเพื่อจัดเก็บผล จากการท�ำแบบทดสอบและกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถตรวจสอบกิจกรรมต่างๆ ทั้งแบบฝึกหัดก่อนเรียน แบบฝึกหัดหลังเรียนโดย ผู้เรียนสามารถส่งค�ำตอบออนไลน์ และสามารถ รับทราบผลการประเมินของค�ำตอบได้จากระบบฯ ผู้สอนสามารถตรวจสอบผลการใช้งานของผู้เรียน แล้วน�ำผลคะแนนมาใช้ในการประเมินผลการเรียน รู้ได้ 2. กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ใ นชั้ น เรี ย น (Classroom) ผู้สอนจัดสภาพแวดล้อมในการเรียน โดย มีแนวทางส่งเสริมให้ผู้เรียนท�ำกิจกรรมสร้างสรรค์
118 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ร่วมกัน ตามขั้นตอนต่อไปนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Getting Attention) 1) ผูส้ อนจัดกิจกรรมในการทบทวนเนือ้ หา ทีไ่ ด้เรียนนอกชัน้ เรียนด้วยการทบทวนและทดสอบ ผ่าน Application Kahoot! และ Mentimeter ทบทวนความรู้ที่มีมาก่อนของผู้เรียน มุ่งกระตุ้น ความสนใจเพือ่ เตรียมเข้าสูก่ ระบวนการจัดกิจกรรม ต่อไป 2) ผู้สอนใช้สื่อมัลติมีเดียในการกระตุ้น ความสนใจของผูเ้ รียนโดยการใช้รปู ภาพ เสียง และ ข้อความต่างๆ ซึ่งผู้สอนจ�ำเป็นจะต้องเลือกสื่อที่ เกีย่ วข้องกับเนือ้ หาทีจ่ ะสอน โดยสือ่ นัน้ ๆ ต้องเป็น สือ่ ทีก่ ระตุน้ ให้ผเู้ รียนอยากหาค�ำตอบ หรือสร้างแรง บันดาลใจ (Inspiration) ในบทเรียนนั้นๆ 3) ผูส้ อนใช้เกม หรือกิจกรรมกลุม่ ก�ำหนด ให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วม และกระตุน้ ให้ผเู้ รียนมีสว่ นร่วม ในการเรียนรู้ในห้องเรียน ขั้นตอนที่ 2 ตั้งปัญหาและแบ่งกลุ่มตาม ความสนใจ (Identify Problems and Group by Student Interests) 1) ผู ้ ส อนก� ำ หนดกิ จ กรรมให้ ผู ้ เ รี ย นแก้ ปัญหาด้วยตนเอง (Individual problem solving) โดยก� ำ หนดประเด็ น ปั ญ หาที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ ออกแบบการถ่ายท�ำ การสร้างสรรค์เทคนิคในการ ผลิต และการสื่อสารด้วยศาสตร์ของการเล่าเรื่อง แล้วกระตุน้ ให้ผเู้ รียนตัง้ ปัญหาทีเ่ กีย่ วข้องกับหัวข้อ การเรียนการสอน 2) ผู้สอนใช้ปัญหาเป็นตัวน�ำโดยปล่อยให้ ผูเ้ รียนค้นหาปัญหา ทีต่ นเองสงสัยซึง่ เป็นปัญหาทีผ่ ู้ เรียนสนใจในบทเรียนนั้นๆ ด้วยตนเอง เมื่อผู้เรียน ค้นพบปัญหาที่ตนเองสงสัยแล้ว จึงแบ่งกลุ่มผู้เรียน ออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ตามความสนใจ
3) ผูส้ อนส่งเสริมให้ผเู้ รียนท�ำกิจกรรมร่วม กันเป็นทีม (Team project) มุง่ เน้นผูเ้ รียนเกิดความ อยากรู้ ด้วยตนเอง 4) ผู ้ ส อนท� ำ หน้ า ที่ ใ นลั ก ษณะของการ จัดการฝึกสอน (Coaching) โดยมีบทบาทเป็นผู้ สนับสนุนให้ ผู้เรียนแต่ละกลุ่มให้เกิดความสงสัย และเกิดความอยากรู้ด้วยตนเอง ซึ่งผู้สอนต้อง พยายามหักห้ามใจไม่ให้สอน (Teach) โดยเปลี่ยน หน้าที่จากการสอนทั่วไปที่คอยบอกต่อเนื้อหาค�ำ ตอบ เป็นผู้ให้ค�ำปรึกษา ชี้แนะ และตอบค�ำถาม ด้วยค�ำถาม เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิด ขั้นตอนที่ 3 ค้นและคิด (Research and thinking) 1) ผูส้ อนก�ำหนดให้ผเู้ รียนค้นและคิดเสนอ ทางออกในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่ผู้เรียนเป็น ผูค้ ดิ ขึน้ 2) ผูส้ อนมีหน้าทีเ่ ดินให้คำ� ปรึกษาตามกลุม่ ให้คำ� ปรึกษาเวลาทีผ่ เู้ รียนมีปญ ั หา โดยมุง่ เน้นความ สนใจของผู้เรียนเป็นหลัก ขั้นตอนที่ 4 น�ำเสนอ (Presentation) 1) ผู้สอนก�ำหนดให้ผู้เรียน น�ำเสนอสิ่ง ที่คิดค้นได้ด้วยวิธีการสร้างสรรค์ตามความสนใจ ของผู้เรียน โดยก�ำหนดให้ผู้เรียนน�ำเสนอผลงาน ด้ ว ยวิ ธี ก ารต่ า งๆ อย่ า งสร้ า งสรรค์ (Creative presentation) เช่น ใช้กระดาษวาดภาพ หรือ น�ำ เสนอในรูปแบบของอินโฟกราฟิก หรือใช้อุปกรณ์ อัจฉริยะ เช่น Smartphone ส่วนตัวของผู้เรียนใน การน�ำเสนอ 2) หลังจากผู้เรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอแล้ว ผู้สอนจะเป็นผู้เปิดประเด็นให้มีการซักถามในชั้น เรียนซึ่งผู้ที่มีหน้าที่หลักในการแสดงความคิดเห็น และซักถามเป็นผูเ้ รียนร่วมชัน้ เรียนด้วยกันเอง โดย ผู้สอนจะท�ำหน้าที่คอยควบคุมค�ำถามและข้อคิด
เห็นต่างๆ ให้อยู่ในประเด็น 3) ผู้สอนจะท�ำหน้าที่คอยควบคุมค�ำถาม และข้อคิดเห็นต่างๆให้อยู่ในประเด็นไม่หลุดจาก เนื้อหา ขั้นตอนที่ 5 ประเมินผล (Evaluation) 1) ผูส้ อนประเมินผลกิจกรรมการเรียนรูใ้ น 2 ด้านหลัก คือ การประเมินความรู้ในเนื้อหาเกี่ยว กับการผลิตผลงานสร้างสรรค์ โดยใช้แบบทดสอบ ในระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ และ การประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านพฤติกรรมการ เรียนในหลากหลายมิติ 2) ในการประเมินผล ผู้สอนเป็นผู้ก�ำหนด หัวข้อ หรือประเด็นในการประเมินคุณลักษณะที่ ผู้สอนอยากให้เกิดขึ้นในผู้เรียน และรายละเอียด ส�ำหรับการประเมินที่สอดคล้องกัน 2. การพัฒนาระบบตามรูปแบบห้องเรียน กลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ เป็นฐานในรายวิชาการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ ผูว้ จิ ยั ได้พฒ ั นาระบบการเรียนการสอนตาม รูปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยกระบวนการเรียน รู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการ สร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษาด้านนิเทศศาสตร์ ในระดับปริญญาตรี ดังนี้ 1) ผู้สอนออกแบบระบบบริหารจัดการ เรียนรู้ (LMS) และเช่าพื้นที่ (Host) ส�ำหรับสร้าง และพัฒนาระบบ โดยการใช้ Moodle Learning platform version 3.8 ใช้งานร่วมกับ Moodle official app for mobile version 3.8.0 ส�ำหรับ ผู้ใช้โทรศัพท์ระบบปฏิบัติการ iOS และ Android 2) พัฒนาแผนกิจกรรมการสอน รายวิชา “การผลิตรายการโทรทัศน์” จ�ำนวน 8 ครั้ง ได้แก่ การแนะน�ำรายละเอียดรายวิชาและการเรียนตาม
119 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
รูปแบบฯ การใช้งานแอปพลิเคชั่นในการถ่ายท�ำ 2 คลิป การสร้างสรรค์เทคนิคในการผลิตรายการ และ ตัดต่อล�ำดับภาพด้วยแท็บเล็ต การออกแบบ โทรทัศน์ 2 คลิป การสื่อสารด้วยศาสตร์ของการ ขนาดของภาพในการผลิตรายการโทรทัศน์ การ เล่าเรื่อง 2 คลิป 10 ออกแบบมุมภาพในการผลิตรายการโทรทัศน์ การ 4) บรรจุ แ ละติ ด ตั้ ง โมดู ล การสอนด้ ว ย สร้างสรรค์เทคนิคในการผลิตรายการโทรทัศน์ การ วิ ดี โ อ (Video lecture module) โมดู ล การ สื่อสารด้วยศาสตร์ าเรื่อง บรรจุ การสร้ งสรรค์ยนจําอภิ (Online 3) จัดทํขาองการเล่ วิดีโอการบรรยาย เนื้อาหาบทเรี นวนปรายผ่ 3 หัวเรืา่อนระบบออนไลน์ ง 6 คลิป บรรจุในระบบบริ หารจัdiscussion ดการ รายการโทรทั และ การน�ำเสนอรู module) โมดูต รายการโทรทั ลการฝึกปฏิศบนัต2ิผคลิ ่านระบบ เรี ย นรู ไดแศกน์การออกแบบการถ า ยทํปแบบรายการ า 2 คลิ ป การสร า งสรรค เ ทคนิคและ ในการผลิ ป โทรทัการสื ศน์ ่อสารดวยศาสตรของการเลาเรื่อง 2 คลิป ออนไลน์ (Online practice module) เพื่อรองรับ ดตั้งโมดูลการสอนด lecture module) โมดูลอการอภิ ปรายผ านระบบ 3) จั4)ดท�บรรจุ ำวิดแีโละติ อการบรรยาย บรรจุวยวิเนืด้อีโอหา(Videoกิจกรรมการเรี ยนนอกห้ งเรียนหรื อการบ้ าน สร้าง ออนไลน (Online discussion module) และ โมดูลการฝกปฏิบัติผานระบบออนไลน (Online practice บทเรียนจ�ำนวน 3 หัวเรื่อง 6 คลิป บรรจุในระบบ และบรรจุฐานข้อมูลช่วยเหลือ และบรรจุเนื้อหา module) เพื่อรองรับกิจกรรมการเรียนนอกหองเรียนหรือการบาน สรางและบรรจุฐานขอมูลชวยเหลือ และบรรจุ บริหเนืารจั ดการเรีชายนรู้ ได้แก่ การออกแบบการถ่ายท�ำ รายวิชา ้อหารายวิ
่ 1 โมดู การจัดMoodle กิจกรรมบน Moodle Learning platform version 3.8 ภาพที่ 1 ภาพที โมดูลการจั ดกิจลกรรมบน Learning platform version 3.8
120 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
11
ภาพที ดวางโมดูลาในหั ภาพที่ 2 การจัดวางโมดู ลในหั่ว2ขอการจั การออกแบบการถ ยทํา วข้อการออกแบบการถ่ายท�ำ 3. 3.กลยุ กลยุ ทธธ์ในการใช ใ นการใช้ ง านแอพลิ น พดาวน์ นของหลั ตรทัง้ ยหมดด้ วย Moodle งานแอพลิ เคชันมูเดิเลคชั บนโทรศั ทเคลืโ่อหลดส่ นที่เพื่อวการสนั บสนุกนสูการเรี นการสอนใน แบบหองเรีพยท์ นกลั นดว่เพื ยกระบวนการเรี ยนรูนแการ บบสรางสรรค เปนapp ฐาน for mobile version 3.8.0 มูเดิรูลปบนโทรศั เคลืบด่อานที ่อการสนับสนุ official เรียนการสอนในรู ปแบบห้องเรียนกลับด้านด้วย 3) ผู้สอนสาธิการเรียกดูรายการอภิธาน กลยุท ธในการใช งานแอพลิเ คชันมู เดิลบนโทรศัพทเ คลื่อนที่เพื่อ การสนับสนุ นการเรียนการสอนใน กระบวนการเรี นรู้แบบบสร้ งสรรค์เป็นฐาน ศัพท์ เปและการศึ กษารายละเอี ยดของหลักศสูนตรจาก รูปแบบหองเรียยนกลั ดานดวายกระบวนการเรี ยนรูแบบสรางสรรค นฐานในรายวิ ชาการผลิตรายการโทรทั มีดังนี้กลยุทธ์ในการใช้งานแอพลิเคชันมูเดิลบน Moblie App ทั้งหมด ผูสอนออกแบบให เรียนนใช Moodle 3.8.0 ผ่ สํสู้ าอนก� หรับผูำใหนดและ ช โทรศัพท์เคลื1)่อนที ่เพื่อการสนับผูสนุ การเรี ยนการofficial app for4) mobile ผูส้ อนเข้version าถึงกิจกรรมที โทรศัพปทแบบห้ ระบบปฏิ บัตยิกนกลั าร iOSบด้และ ในการลงทะเบีตรวจสอบก� ยนการเขาเรีำยหนดการส่ นดวยตัวเองจากสมาร วนตัว สอนในรู องเรี านด้Android วยกระบวนการ งงาน ท�ทำโฟนส แบบทดสอบบน เรียนในวันแรกของการเรียน เรียของผู นรู้แบบสร้ างสรรค์เป็นฐานในรายวิชาการผลิต โทรศัพท์เคลือ่ นที่ เชือ่ มต่อกับผูเ้ รียนด้วยกันเอง ด้วย 2) ผูสอนกําหนดใหผูเรียนทดลองดาวนโหลดสวนของหลักสูตรทั้งหมดดวย Moodle official app for รายการโทรทั ศน์ มี3.8.0 ดังนี้ การสนับสนุนให้ท�ำกิจกรรมในชัน้ เรียนด้วยโทรศัพท์ mobile version 1) 3)ผู้สผูอนออกแบบให้ ้เรียนใช้ ธMoodle เคลืกอ่ ษารายละเอี นทีใ่ นรูปแบบของการเรี ยนด้Moblie วยโทรศัApp พท์มอื ถือ สอนสาธิการเรียกดูผูรายการอภิ านศัพท และการศึ ยดของหลักสูตรจาก official ทั้งหมดapp for mobile version 3.8.0 ส�ำหรับ (Mobile Learning) ในชั้นเรียนก่อน เพื่อให้ผู้เรียน ผู้ใช้โทรศัพท์ระบบปฏิบัติการ iOS และ Android มีความคุ้นเคย และทราบว่าการใช้งาน Moodle ในการลงทะเบียนการเข้าเรียนด้วยตัวเองจากสมา official app for mobile version 3.8.0 สามารถ ร์ทโฟนส่วนตัวของผู้เรียนในวันแรกของการเรียน เชื่อมโยงกับการใช้งานระบบบริหารจัดการเรียนรู้ 2) ผู ้ ส อนก� ำ หนดให้ ผู ้ เ รี ย นทดลอง (LMS) หลักได้ โดยเป็น Platform เดียวกัน
121 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
4) ผู ส อนเข า ถึ ง กิ จ กรรมที่ ผู ส อนกํ า หนดและตรวจสอบกํ า หนดการส ง งาน ทํ า แบบทดสอบบน โทรศัพทเคลื่อนที่ เชื่อมตอกับผูเรียนดวยกันเอง ดวยการสนับสนุนใหทํากิจกรรมในชั้นเรียนดวยโทรศัพทเคลื่อนที่ 5) ผู้สอนสาธิตการใช้งานโมดูลการสอน 7) ผู ้ ส อนให้ ค ะแนนและบั น ทึ ก คะแนน ในรูปแบบของการเรียนดวยโทรศัพทมือถือ (Mobile Learning) ในชั้นเรียนกอน เพื่อใหผูเรียนมีความคุนเคย ด้วยวิดีโอ (Video lecture module) โมดูลการ เก็บให้ผเู้ รียนทราบผ่าน Moodle official app for และทราบวาการใชงาน Moodle official app for mobile version 3.8.0 สามารถเชื่อมโยงกับการใชงาน อภิปรายผ่านระบบออนไลน์ (Online discussion mobile version 3.8.0 ระบบบริหารจัดการเรียนรู (LMS) หลักได โดยเปน Platform เดียวกัน module) และ โมดูลการฝึกปฏิบัติผ่านระบบ 8) ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนทราบถึงการ 5) ผูสอนสาธิตการใชงานโมดูลการสอนดวยวิดีโอ (Video lecture module) โมดูลการอภิปรายผาน ออนไลน์ (Online practice module) ผ่าน รับการแจ้งเตือน และให้ใช้ระบบสนทนา (Chat) ระบบออนไลน (Online discussion module) และ โมดูลการฝกปฏิบัติผานระบบออนไลน (Online practice Moodle official app for mobile version 3.8.0 ตอบกลับไปยังผู้สอนด้วย Moodle official app module) ผาน Moodle official app for mobile version 3.8.0 ในชั้นเรียน เพื่อใหผูเรียนสามารถทํา ในชั้นเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถท�ำกิจกรรมการ for mobile กิจกรรมการเรียนนอกหองเรียนหรือการบาน เขาถึงฐานขอมูลชวยเหลือ และเนื้อหารายวิชาตาง ๆ ได เรียนนอกห้องเรียนหรือการบ้าน เข้าถึงฐานข้อมูล 6) ผูสอนสนับสนุนการปฐมนิเทศ และการแกปญหาตาง ๆ และ สนับสนุนใหตรวจสอบความกาวหนา ช่ ว ยเหลื อ และเนื้อหารายวิชาต่าง ๆ ได้ และสถานะการเสร็จสิ้นของกิจกรรม (Activity completion) 6) สนุนการปฐมนิ เทศ และ 7) ผูผู้ สสอนสนั อนใหคบะแนนและบั นทึกคะแนนเก็ บใหผูเรียนทราบผาน Moodle official app for mobile การแก้ ป ั ญ หาต่ า ง ๆ และ สนั บ สนุ น ให้ ต รวจสอบ version 3.8.0 ความก้าวหน้ จสิน้ ของกิ จกรรม 8) ผูาสและสถานะการเสร็ อนกระตุนใหผูเรียนทราบถึ งการรั บการแจงเตือน และ ใหใชระบบสนทนา (Chat) ตอบกลับไปยัง (Activity completion) ผูสอนดวย Moodle official app for mobile
ณสมบั ิการใช้งานofficial Moodle appversion for mobile ภาพที่ 3 คุภาพที ณสมบั่ ต3ิกคุารใช งานตMoodle app official for mobile 3.8.0 version 3.8.0
122 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการศึกษาไปใช้ 1) การพั ฒ นาระบบการเรี ย นการสอน โดยใช้ มู เ ดิ ล แพลตฟอร์ ม ตามรู ป แบบห้ อ งเรี ย น กลับด้านด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ เป็นฐานในรายวิชาการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน์ ต้องพิจารณาออกแบบบน Moodle Learning platform version 3.8 ขึ้นไป โดย ใช้งานร่วม กับ Moodle official app for mobile version 3.8.0 ส�ำหรับผู้ใช้โทรศัพท์ระบบปฏิบัติการ iOS และ Android หากสถาบันการศึกษาใดใช้ระบบ บริหารจัดการ Moodle Version ที่ต�่ำกว่านี้ ต้อง พิจารณาปรับโครงสร้างและใช้งาน Version ขอ งมูเดิลแพลตฟอร์มที่สูงขึ้นก่อน จึงจะสามารถใช้ งาน Moodle official app for mobile version 3.8.0 ได้
2) ผู้สอนสามารถสนับสนุนให้นักศึกษา ในระดับปริญญาตรีใช้งาน Moodle official app for mobile version 3.8.0 ในการศึกษาและเรียน รู้รายวิชาประเภทต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย โดย พิจารณาการใช้งานโมดูลทีเ่ หมาะสมและสอดคล้อง กับผลลัพท์การเรียนรู้ของแต่ละรายวิชา ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 1) การศึกษาครัง้ ต่อไปอาจศึกษาความพึง พอใจของผู้เรียนในการใช้งานแอพลิเคชันมูเดิลบน โทรศัพท์เคลื่อนที่เพื่อการสนับสนุนการเรียนการ สอนในรูปแบบต่าง ๆ 2) อาจมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย โดยการศึ ก ษา ทดลองการใช้งานแอพลิเคชันมูเดิลบนโทรศัพท์ เคลื่อนที่เพื่อกระตุ้นทักษะการคิดของผู้เรียนผ่าน การเรียนเรียนออนไลน์โดยไม่มกี ารจัดการเรียนการ สอนให้ห้องเรียนร่วมด้วย
123 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เอกสารอ้างอิง วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2558). การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน Creativity-based Learning (CBL). วารสารนวัตกรรมการเรียนรู.้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 1(2), 26-30. อนุศร หงษ์ขุนทด. (2558). การพัฒนารูปแบบระบบการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อ 3 แบบ ด้านทักษะดนตรีส�ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. Bergmann, J. and A. Sams. (2012). Flip Your Classroom: Reach Every Student in Every Class Every Day. Alexandria: International Society for Technology in Education, 55-58. Besemer, SP. (2006). Creating Product’s in the Age of Design: How to Improve Your New Product Ideas. Stillwater, OK : New Forums., 48-55. Rasmussen, E.A. and Sörheim, R. (2006). Action-based entrepreneurship education. Technovation. 26(2), 185–194. Roach, T. (2014). Student perceptions toward flipped learning: New methods to increase interaction and active learning in economics. International Review of Economics Education. 17(September 2014), 74–84. Solomon, G.T., Duffy, S. and Tarabishy, A. (2002). The state of entrepreneurship education in the United States: A nationwide survey and analysis. International Journal of Entrepreneurship Education. 1(1), 65–87 ผู้เขียนบทความ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐสภา แก่นแก้ว สาขาวิชาดิจิทัลทีวีและสื่อออนไลน์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2410/2 ถนนพหลโยธิน แขวงเสนานิคม เขตจตุจัตร กรุงเทพมหานคร 10900 E-mail: rattasapa.ka@spu.ac.th รองศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ สมพงษ์ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 E-mail: narong. so@ku.th
124 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
องค์ประกอบการสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพ
COMPOSITION OF UBIQUITOUS HEALTH COMMUNICATION สิธยา บุญเรือง1
บทคัดย่อ แบบจ�ำลองการสื่อสารสุขภาพแบบภควัน ตภาพที่น�ำเสนออยู่นี้ ผู้ที่จะน�ำมาประยุกต์ใช้ต้อง มีความเข้าใจในลักษณะองค์ประกอบแต่ละองค์ ประกอบโดยบ 6 องค์ประกอบดังนี้ (1) การวิเคราะห์ บริบท (2) ผู้ส่งสาร (Source) (3) เนื้อหาของสาร (Message) (4) ช่องทางการสือ่ สารสุขภาพ กิจกรรม รูปแบบ วิธีการ(Channel & Media) (5) ผู้รับ สาร(Receiver) (6)การประเมินผล(Evaluation) จะเห็นได้ว่าเมื่อวิเคราะห์บริบทแล้วผู้ส่งสารและ ผู้รับสารจะเป็นผู้เข้ารหัสและถอดรหัส ส่วนเนื้อหา และช่ อ งทางการสื่ อ สาร มี ลั ก ษณะเป็ น วงกลม ท�ำการเคลื่อนไหวไปด้วยกันอย่างต่อเนื่องเพื่อส่ง ต่อข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ต้องมีผลย้อนกลับเพื่อการ ประเมินผลอีกด้วย Abstract To apply the Ubiquitous Health Communication Model, you have to understand the six communicative components which are (1) Context (2) Source (3) Message (4) Channel & Media (5) Receiver
and (6) Evaluation. When analyzing the context, a sender and a receiver is the one who both encodes and decodes the message. Message and Channel & Media will forward the message to others continuously like a circle; however, there must be a feedback from a receiver for an evaluation as well. บทน�ำ การสือ่ สาร ทีน่ บั วันจะพัฒนาก้าวหน้าต่อไป อย่างไม่หยุดยั้ง การสื่อสารสุขภาพจึงนับเป็นยุทธศาสตร์ที่จะสร้างเสริมสุขภาพด้วยการผสมผสาน นิเทศศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์รวมทั้งศาสตร์ อื่นด้วย การศึกษาเรื่องการสื่อสารสุขภาพจึงเป็น ความส�ำคัญและจ�ำเป็นส�ำหรับนักสาธารณสุขโดย การศึกษาและการใช้กลยุทธ์ การสื่อสารในงาน สุขภาพ เป็นกลวิธใี นการน�ำเสนอข้อมูลการเผยแพร่ ข่าวสารความรู้ด้านสุขภาพผ่านสื่อ เพื่อให้กลุ่ม เป้าหมายและประชาชนทัว่ ไปได้รบั รูส้ นใจ ตระหนัก ในเรื่องสุขภาพโดยเน้นกระบวนการสื่อสารอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตามวัตถุประสงค์
นักศึกษาปริญญาเอก คณะศึกษาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา
1
124/1 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ของการสื่อสารและเป็นการใช้สื่อประสมประเภท ต่างๆ (Multimedia) รวมทั้ ง นวั ต กรรมด้ า น เทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ โดยมุ่งเผยแพร่ เนื้อหา ข้อมูล ด้านสุขภาพที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน เพื่ อ ให้ เ กิ ด การตระหนั ก โดยมี ก ารผสมผสาน วัฒนธรรมใหม่ (Modern Cultures) ผ่านสื่อ ประเภทต่างๆ ตามความเหมาะสมเพื่อให้สามารถ ที่จะส่งผลต่อพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายตามที่ ต้องการได้ มีการใช้ทฤษฎีการสื่อสารในการขับ เคลือ่ นการสร้างเสริมสุขภาพ ( Health Promotion) จะสามารถช่วยสร้างพลังให้กบั การน�ำเสนอประเด็น เกี่ยวกับสุขภาพต่อสังคมได้ อีกทั้งยังสามารถเสริม แรงให้คนในสังคมและชุมชนให้สามารถค้นหา หรือ เรียนรูข้ อ้ มูลด้านสุขภาพเพิม่ เติมเพือ่ พัฒนาสุขภาพ หรือสร้างวิถีชีวิต (lifestyle) สู่การมีสุขภาพที่ดีให้ กับตนเองได้ การสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นการด�ำเนินการสื่อสาร สุขภาพในระบบสุขภาพ โดยมีขนั้ ตอนและแนวทาง ปฏิบตั ทิ สี่ ามารถน�ำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับบริบท และเพื่อใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัดกิจกรรมโดยผ่านเว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้นได้ ให้ความสะดวกรวดเร็วในการเข้าถึงรับ-ส่งข้อมูล เอกสาร การติดต่อสื่อสารในรูแบบประสานเวลา และไม่ประสานเวลารวมทั้งในรูปแบบออนไลน์ และออฟไลน์ จากที่กล่าวมาข้างต้นการสื่อสารสุขภาพ แบบภควันตภาพจะมีความเหมาะสมมากขึ้นให้ได้ องค์ประกอบในการสือ่ สารสุขภาพแบบภควันตภาพ จึงได้ สอบถามความเห็นผู้เชี่ยวชาญ ด้วยวิธีการ ระดมความคิดเป็นกลุ่ม (Focus Group) เป็นการ สอบถามความคิ ด เห็ น ของผู ้ เ ชี่ ย วชาญ 10 คน ด้านเทคโนโลยีการศึกษา 4 คน ด้านเทคโนโลยี
124/2 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
สารสนเทศ 3 คนและด้านสาธารณสุข 3 คน ให้ผู้ เชีย่ วชาญได้ตรวจสอบความเหมาะสมและประเมิน ความถูกต้องเพื่อให้ได้องค์ประกอบการสื่อสารสุข ภาพแบบภควันตภาพที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น การสื่อสารสุขภาพ การศึกษาเรื่องการสื่อสารสุขภาพ มีความ ส�ำคัญอย่างยิ่งส�ำหรับงานด้านการสาธารณสุขใน การทีจ่ ะพัฒนาองค์ความรู้ และทักษะของประชาชน ด้านสุขภาพ การสื่อสาร หรือ Communication มี รากศัพท์มาจากภาษาลาตินคือ Communis หมาย ถึงการท�ำงานร่วมกัน หรือเหมือนกันและจากที่มา ของการสื่อสารนี้ได้มีหน่วยงานและนักวิชาการได้ ให้ความหมายของการสื่อสารไว้ดังนี้ วาสนา จันทร์สว่างและคณะ (2550: 5455) ให้ความหมายของการสื่อสารสุขภาพว่าหมาย ถึงกระบวนการสื่อสารที่ส่งผลต่อสุขภาพในด้าน การป้องกันโรคและการสร้างสร้างเสริมสุขภาพ โดยใช้กลยุทธ์ของศาสตร์ด้านการสื่อสารในงาน สุขภาพ เพื่อให้ประชาชนทั่วไปหรือกลุ่มเป้าหมาย ได้รับรู้สนใจ ตระหนัก เกิดการเรียนรู้ มีความรู้ มี ค่านิยมด้านสุขภาพ และจิตส�ำนึกในการปฏิบัติ ตนด้ า นสุ ข ภาพ โดยระดมสรรพก� ำ ลั ง ของการ สื่อสารทุกระดับ ทุกประเภท ตั้งแต่การสื่อสารส่วน บุคคล ระหว่างบุคคล การสื่อสารกลุ่ม การสื่อสาร องค์กร การสื่อสารสาธารณะ ไปจนถึงการสื่อสาร มวลชน โดยใช้สื่อขนาดเล็ก สื่อบุคคล สื่อพื้นบ้าน สื่ อ ท้ อ งถิ่ น สื่ อ เฉพาะกิ จไปจนถึ ง สื่ อ ขนาดใหญ่ คือ สื่อมวลชนและการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การ รณรงค์การจัดงานพิเศษในรูปแบบของการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพและการสื่อสารอย่างมีส่วนร่วม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (2552: 1718) อธิบายความหมายว่า เป็นการติดต่อสัมพันธ์
โดยอาศัยกระบวนการถ่ายทอดสาร แลกเปลี่ยน ข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ ประสบการณ์และการ ปฏิบัติระหว่างกันและกัน โดยมุ่งให้สาธารณชน เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้ การรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมไปในทางที่พึงประสงค์ โดยเฉพาะ พฤติกรรมด้านสุขภาพ โคทม อารียา และคณะ (2548) ระบุ ใน นิยามศัพท์สง่ เสริมสุขภาพ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2541 ได้ให้นิยามการสื่อสารสุขภาพ หมายถึง กลวิธีการ ให้ ข ้ อ มู ล แก่ ส าธารณชนในประเด็ น ต่ า งๆ ด้ า น สุขภาพที่น่าห่วงใยและท�ำให้ประเด็นส�ำคัญเกี่ยว กับสุขภาพอยู่ในความสนใจของสาธารณชนอย่าง ต่อเนื่อง เป็นการใช้สื่อมวลชนและสื่อประสมและ นวัตกรรมทางเทคโนโลยีอื่นๆ ในการแพร่กระจาย ข้ อ มู ล ข่ า วสารด้ า นสุ ข ภาพที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต ่ อ สาธารณชน เพิ่มการรับรู้เกี่ยวกับแง่มุมจ�ำเพาะ ต่างๆ ของสุขภาพส่วนบุคคลและสุขภาพโดยรวม รวมทั้ ง ในเรื่ อ งความส� ำ คั ญ ของสุ ข ภาพต่ อ การ พัฒนา กล่ า วโดยสรุ ป คื อ การสื่ อ สารสุ ข ภาพ หมายถึง กลยุทธ์การสื่อสาร กระบวนการถ่ายทอด ข่าวสารการน�ำเสนอข้อมูล การเผยแพร่ข่าวสาร ความรู้ด้านสุขภาพผ่านสื่อต่างๆ เพื่อแจ้งให้ทราบ สอนหรือให้การศึกษา สร้างความพอใจหรือความ บันเทิง และ เสนอหรือโน้มน้าวชักจูงใจ เพือ่ ให้กลุม่ เป้าหมายได้รบั รู้ สนใจ ตระหนักในเรือ่ งของสุขภาพ ระหว่างผู้ที่มีส่วนร่วมในการให้บริการด้านสุขภาพ กระบวนการสื่อสารสุขภาพ (Health Communication Process) การสื่อสาร หรือ Communication มี รากศั พ ท์ ม าจากภาษาลาติ น คื อ Communis หมายถึงการท�ำงานร่วมกัน หรือเหมือนกันและ
จากที่ ม าของการสื่ อ สารนี้ ไ ด้ มี ห น่ ว ยงานและ นั ก วิ ช าการได้ ใ ห้ ค วามหมายของการสื่ อ สารไว้ ต่างๆ กันดังนี้ Roger M. Everett and Floyd F. Shoemaker (1971), ปรมะ สตะเวทิน (2533), วันชัย มีชาติ (2548) สรุปได้วา่ การสือ่ สารหมายถึง กระบวนการส่งสารไปยังผู้รับสารโดยใช้สื่อเป็น ตัวกลางถ่ายทอดสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร ดังที่กล่าวความหมายของการสื่อสารจะเกิดขึ้นได้ ต้องอาศัยองค์ประกอบต่างๆอย่างน้อย 4 ประการ คือ ดร.รพีพร เทียมจันทร์,(2558) 1) ผู้ส่งสารหรือ ผู้เข้ารหัส(Sender/Encoder) 2) ผู้รับสารหรือผู้ ถอดรหัส (Receiver/Decoder) 3) สาร(Message) 4)ช่องทางการสือ่ สารหรือสือ่ (Channel or Media) ความหมายของการสื่อสารและองค์ประกอบของ การสือ่ สารพอสรุปได้วา่ การสือ่ สารจะเกิดขึน้ ได้ตอ้ ง อาศัยหลักและองค์ประกอบ 4 ประการคือ ผู้ส่ง สารหรือผูเ้ ข้ารหัส ผูร้ บั สารหรือผูถ้ อดรหัสสาร ช่อง ทางการสื่อสารหรือสื่อ โดยผู้ส่งสารและผู้รับสาร มีวัตถุประสงค์เหมือนกันหรือแตกต่างกัน วาสนา จันทร์สว่าง,( 2541) แบบจ�ำลองและองค์ประกอบโดยใช้ทฤษฎี และแนวคิดจากนักวิชาการสื่อสารในงานวิจัยนี้ ได้ศึกษาแบบจ�ำลองกระบวนการสื่อสาร SMCR Model ของเบอร์โล David Berlo, (1960) เบอร์ โลเป็นผู้พิจารณากระบวนการสื่อสารของทุกองค์ ประกอบของการสื่อสาร ได้แก่ ผู้ส่งสาร หรือ Source สาร หรือ Message สื่อ หรือ Channel และผู ้ รั บ สาร หรื อ Receiver หลั ง จากที่ นั ก นิเทศศาสตร์ เริ่มมีแนวความคิดในการพิจารณา รู ปแบบกระบวนการสื่ อ สาร โดยได้ พั ฒ นาแนว ความคิ ด ของทิ ศ ทางการสื่ อ สารจากทางเดี ย ว (One-Way Communication) เป็นความคิดที่ ว่าการสื่อสารควรเป็นแบบสองทิศทาง (Two-Way
124/3 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
Communication) มีการโต้ตอบกัน และในที่สุด ความคิดทีม่ ตี อ่ รูปแบบจ�ำลองการสือ่ สารกลายเป็น ไปในลักษณะวงกลมที่แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ ของข่าวสารแบบต่อเนื่อง เช่น วงกลมซ้อนกัน หรือ เชื่อมโยงต่อกันในแบบจ�ำลองกระบวนการสื่อสาร ของชแรมม์ (Wibur Schramm) กล่าวว่ามนุษย์ สื่อสารในลักษณะที่มีการโต้ตอบกัน เมื่อมีการส่ง ข้อมูลออกไป ในขณะเดียวกันจะได้ขอ้ มูลย้อนกลับ มาเสมอกระบวนการสือ่ สารมีระบบปฏิบตั กิ าร เข้า รหัส (Encoder) และถอดรหัส (Decoder) แต่ กระบวนการเน้ น ที่ ไ ม่ มี ผู ้ ส ่ ง หรื อ ผู ้ รั บ ตายตั ว ใช้ ค�ำว่าผู้แปลรหัส (Interpreter) แทนผู้รับหรือผู้ส่ง สารรูปแบบการสื่อสารมีลักษณะต่อเนื่องมีการส่ง สารตอบกลับไป-มาการที่ผู้รับส่งตอบกลับไปนี้เอง เรียกว่าเป็นการสะท้อนกลับของสาร (Feedback) แบบจ�ำลองกระบวนการสื่อสาร ได้พัฒนาการมา โดยตลอด มีรูปแบบหลากหลาย และเปลี่ยนแปลง ไปเป็นการสือ่ สารสาขาต่างๆ โดยเฉพาะการสือ่ สาร สุขภาพเป็นกระบวนการหนึง่ ของระบบการสื่อสาร ซึ่งประกอบจาก 2 องค์ประกอบใหญ่ๆ คือ 1) องค์ ประกอบด้านการสื่อสาร 2) องค์ประกอบด้าน สุขภาพได้นำ� ทฤษฎีการสือ่ สาร กระบวนการสือ่ สาร องค์ประกอบการสื่อสาร องค์ประกอบด้านสุขภาพ น�ำมาพัฒนาองค์ประกอบการสื่อสารสุขภาพแบบ ภควันตภาพ กล่ า วโดยสรุ ป คื อ รู ป จ� ำ ลองต่ า งๆ ใน กระบวนการสื่อสารแสดงให้เห็นถึงความคิดของ นักวิชาการทีม่ คี วามสนใจศึกษากระบวนการสือ่ สาร ของมนุษย์ พยายามสร้างแบบจ�ำลอง กระบวนการ ที่ใกล้เคียงกับการสื่อสารในสภาพความเป็นจริง แบบจ� ำ ลองมี ก ารพั ฒ นาจากการเคลื่ อ นที่ ข อง กระบวนการที่เป็นไปในทิศทางเดียว (One-Way Communication) และพัฒนาเป็นการเคลื่อนที่
124/4 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ในลักษณะที่เป็นวงกลมแบบขดลวด (Spring) รู ป แบบจ� ำ ลองแตกต่ า งกั น ตามความ สนใจพื้นฐานของแต่ละบุคคล ซึ่งในกระบวนการ สื่อสาร ต้องมีองค์ประกอบหลักที่ขาดไม่ได้ ได้แก่ ผู้ส่ง ผู้รับและการส่งข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูล ข่าวสารและสื่อน�ำสาร ส�ำหรับข้อแตกต่างในแต่ ละรูปจ�ำลองคือ การพิจารณาว่า ใครเป็นผู้เริ่มต้น การสื่อสาร ไม่ส�ำคัญเท่าโอกาสที่ท�ำให้การสื่อสาร เกิดขึ้น การทราบผลการสื่อสารเป็นสิ่งที่มีความ ส� ำ คั ญ ในกระบวนการสื่ อ สาร ในขณะที่ ท� ำ การ สื่อสาร มักเกิดสิ่งรบกวนได้เสมอ ซึ่งการสื่อสาร โดยธรรมชาติมีลักษณะเป็นวงกลม มีการสะท้อน ข้อมูลกลับและมีลกั ษณะต่อเนือ่ ง และผูส้ อื่ สารต่าง ได้รับอิทธิพลของการสื่อสาร ไม่ว่าจะอยู่ในฐานะผู้ ส่งหรือผู้รับสาร การศึ ก ษาแบบภควั น ตภาพ( Ubiquitous Education) ศาสตราจารย์ ดร.ชั ย ยงค์ พรหมวงศ์ ศาสตราจารย์ด้านเทคโนโลยีการศึกษา และนายก สมาคมเทคโนโลยีการศึกษาแห่งประเทศไทยใน ปัจจุบันโดยได้ให้องค์ประกอบบทบาทการศึกษา ภควันตภาพต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไว้ใน รายละเอียดดังนี้ ภควั น ตภาพต่ อ พั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ เทคโนโลยี ภ ควั น ตภาพมี บ ทบาทในการพั ฒ นา ศูนย์ความรู้ จัดการศูนย์ความรู้และประสบการณ์ และพัฒนาความรู้และประสบการณ์เพื่อให้มนุษย์ สามารถพัฒนาทรัพยากรตนเองได้ทุกที่ทุกเวลา ในการพัฒนาศูนย์ความรู้และพัฒนาความรู้และ ประสบการณ์ ส�ำหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยีภควันตภาพมีบทบาทอิงขอบข่ายทาง สาระของเทคโนโลยี 7 ประการ คือ
1. บทบาทในการจั ด ระบบในพั ฒ นา ทรัพยากรมนุษย์ผ่านสื่อภควันตภาพ โดยใช้แบบ จ�ำลองเชิงระบบ เช่น CIPOF (=Context, Input, Process, Output, Feedback) 2. บ ท บ า ท ใ น ก า ร ก� ำ ห น ด รู ป แ บ บ พฤติกรรมของผู้จัดหาและผู้ใช้ศูนย์ความรู้ 3. บทบาทในการพัฒนาวิธกี ารจัดเก็บ แพร่ กระจาย และสืบค้นความรูส้ ำ� หรับพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ เป็นบทบาทในการจัดการความรู้ออนไลน์ หรือออฟไลน์ (U-Knowledge Management) เพื่อให้บุคลากรสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ ความรู้และประสบการณ์ได้ทุกที่และทุกเวลา ช้า นานแล้วแต่ความสะดวกของบุคลากร 4. บทบาทในการพัฒนารูปแบบการสื่อ สารภควันตภาพ ส�ำหรับพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นการพัฒนารูปแบบและวิธีสื่อสารเพื่อให้ทุกคน ได้รับสารผ่านสื่อและช่องทางที่กว้างขวาง โดยเน้น กระบวนการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและมีความ เชื่อถือได้สูง 5. บทบาทในการจัดสภาพแวดล้อมภควัน ตภาพตามระดับขององค์กรภควันตภาพ 6. บทบาทในการจั ด การศู น ย์ ค วามรู ้ ส� ำ หรั บ พั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ เป็ น การจั ด หา สถานที่ อาคารส�ำหรับจัดตั้งเป็นศูนย์ความรู้ภควัน ตภาพที่มิใช่ห้องสมุดธรรมดาหรือห้องสมุดเสมือน จริง แต่เป็นห้องสมุดที่สาระของเอกสาร หนังสือ หรื อ ต� ำ รา แพร่ก ระจายในรูป “ฟอง” ความรู ้ (Learning Object Modules-LOM) และมวล ประสบการณ์ในรูป “ฟองภารกิจและงาน” (Job Object Modules-JOM) 7. บทบาทในการประเมินการใช้ภควัน ตภาพในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นการจัด ให้ บุ ค ลากรสามารถประเมิ น ตนเองได้ ต ่ อ เนื่ อ ง
ครบวงจร คือ ก่อน ระหว่าง และหลังเรียน โดย เปิดโอกาสให้มีการประเมินตนเองได้ตามความ ต้องการ (On Demand Evaluation) ทุกที่และ ทุกเมื่อที่บุคลากรมีความพร้อม โดยสรุป ในการ จัดการศึกษาในอนาคต เทคโนโลยีภควันตภาพมี บทบาทในการพัฒนาศูนย์ความรู้ จัดการศูนย์ความ รูป้ ระสบการณ์ และพัฒนาความรูแ้ ละประสบการณ์ เพือ่ ให้มนุษย์สามารถพัฒนาทรัพยากรตนเองได้ทกุ ที่ทุกเวลาสามารถใช้เครื่องมือที่มีความเหมาะสม ที่สามารถรองรับการใช้งานได้ทุกประเภทมีความ สะดวกและทันสมัยที่สนับสนุนการศึกษาในขณะนี้ คือการบริการจาก Google for education ซึ่ง มีทั้ง Google drive, Google docs, Google sheets ,Google slide, Google hangout, Google group, Google classroom, Google site และบริการอืน่ อีกมากมายจากการศึกษาพบว่า บริการทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ทีส่ ามารถรองรับการบริหาร จัดการในกลุ่มคนที่ท�ำงานร่วมกันและมีลักษณะ การท�ำงานคล้ายกับบล็อกหรือเว็บไซต์ส�ำเร็จรูปได้ และสามารถใช้ ข้อความสนทนาแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและสามารถสอดแทรกข้อความ ภาพ และ วิดีทัศน์ประกอบการฝึกอบรม การเรียนการสอน ทั้งหมดลงไปในเว็บไซต์นี้ได้ นั่นก็คือ Google site ที่สามารถตอบโจทย์ได้เป็นอย่างดี กล่ า วโดยสรุ ป คื อ รู ป จ� ำ ลองต่ า งๆ ใน กระบวนการสื่อสารแสดงให้เห็นถึงความคิดของ นักวิชาการทีม่ คี วามสนใจศึกษากระบวนการสือ่ สาร ของมนุษย์ พยายามสร้างแบบจ�ำลอง กระบวนการ ที่ใกล้เคียงกับการสื่อสารในสภาพความเป็นจริง แบบจ� ำ ลองมี ก ารพั ฒ นาจากการเคลื่ อ นที่ ข อง กระบวนการที่เป็นไปในทิศทางเดียว (One-Way Communication) และพัฒนาเป็นการเคลื่อนที่ ในลักษณะที่เป็นวงกลมแบบขดลวด (Spring)
124/5 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
รู ป แบบจ� ำ ลองแตกต่ า งกั น ตามความ สนใจพื้นฐานของแต่ละบุคคล ซึ่งในกระบวนการ สื่อสาร ต้องมีองค์ประกอบหลักที่ขาดไม่ได้ ได้แก่ ผู้ส่ง ผู้รับและการส่งข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูล ข่าวสารและสื่อน�ำสาร ส�ำหรับข้อแตกต่างในแต่ ละรูปจ�ำลองคือ การพิจารณาว่า ใครเป็นผู้เริ่มต้น การสื่อสาร ไม่ส�ำคัญเท่าโอกาสที่ท�ำให้การสื่อสาร เกิดขึ้น การทราบผลการสื่อสารเป็นสิ่งที่มีความ ส� ำ คั ญ ในกระบวนการสื่ อ สาร ในขณะที่ ท� ำ การ สื่อสาร มักเกิดสิ่งรบกวนได้เสมอ ซึ่งการสื่อสาร โดยธรรมชาติมีลักษณะเป็นวงกลม มีการสะท้อน ข้อมูลกลับและมีลกั ษณะต่อเนือ่ ง และผูส้ อื่ สารต่าง ได้รับอิทธิพลของการสื่อสาร ไม่ว่าจะอยู่ในฐานะผู้ ส่งหรือผู้รับสาร สอบถามความเห็นผู้เชี่ยวชาญ ด้ ว ยวิ ธี ก ารระดมความคิ ด เป็ น กลุ ่ ม (Focus Group) เป็นการสอบถามความคิดเห็น ของผู้เชี่ยวชาญ 10 คน ด้านเทคโนโลยีการศึกษา 4 คน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 คนและด้าน สาธารณสุข 3 คน ให้ผู้เชี่ยวชาญได้ตรวจสอบ ความเหมาะสมและประเมินความถูกต้องเพื่อให้ได้ องค์ประกอบการสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพ ที่สมบูรณ์ การรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับองค์ ประกอบการสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพ จาก ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ ความสามารถ ความช�ำนาญ โดยตรงด้านเทคโนโลยีการศึกษาหรือเทคโนโลยี และการสือ่ สาร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้าน สาธารณสุข เพือ่ ตรวจสอบการวางองค์ประกอบขัน้ ตอนที่ถูกต้องและเหมาะสมกับระบบและนอกจาก นี้ได้ท�ำการสอบถามและสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญเพิ่ม เติม เพือ่ ให้ได้ถงึ ข้อมูลทีล่ กึ เทีย่ งตรง และครบถ้วน จากนั้นน�ำข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาเข้ากระบวนการมา
124/6 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
เรียบเรียงข้อมูล เพื่อให้ได้องค์ประกอบการสื่อสาร สุขภาพแบบภควันตภาพทีม่ คี วามสมบูรณ์และครบ ถ้วน ซึง่ เลือกใช้วธิ กี ารสนทนากลุม่ (Focus Group) โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญจ�ำนวน 10 ท่าน พร้อมกับการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความเป็นไปได้ จากนั้นให้ผู้เชี่ยวชาญที่เข้าร่วมสนทนา กลุม่ (Focus group) โดยแจกเอกสารกรอบแนวคิด แล้วเชิญผู้เชี่ยวชาญทุกคนแสดงความคิดเห็นตาม ประเด็ น ที่ เ สนอตามล� ำ ดั บ ก่ อ นหลั ง และขอให้ ผู้เชี่ยวชาญกรอกแบบประเมิน โดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 การประเมินส่วนประกอบหลัก ขององค์ประกอบระบบการสื่อสารสุขภาพแบบภ ควันตภาพ ตอนที่ 2 การประเมินองค์ประกอบในส่วน ของกระบวนการสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับ องค์ประกอบการสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพ ตอนที่ 4 ข้อสรุปจากการประเมินความ เหมาะสมขององค์ประกอบระบบการสื่อสารสุข ภาพแบบภควันตภาพ จากนั้ น น� ำ ข้ อ สรุ ป จากการสนทนากลุ ่ ม และจากการประเมิ น ด้ ว ยแบบประเมิ น ของ ผู ้ เชีย่ วชาญมาด�ำเนินการปรับปรุงแก้ไข จะเห็นว่าใน การสนทนากลุ่ม( Focus group) จะมีขั้นตอนการ ด�ำเนินการ 4 ขั้นหลัก ดังนี้ ขั้ น ที่ 1 น� ำ เสนอกรอบแนวคิ ด พร้ อ ม เอกสารกรอบแนวคิดแจกให้ผู้เชี่ยวชาญที่เชิญมา อ่านล่วงหน้า โดยส่งไปพร้อมกับหนังสือเชิญ ขั้ น ที่ 2 ด� ำ เนิ น การอภิ ป ราย โดยเชิ ญ ผู้เชี่ยวชาญทุกคนแสดงความคิดเห็นตามประเด็น ที่น�ำเสนอตามล�ำดับก่อนหลัง ขัน้ ที่ 3 ขอให้ผเู้ ชีย่ วชาญกรอกแบบประเมิน
เมือ่ พัฒนาองค์ประกอบการสือ่ สารสุขภาพ แบบภควันตภาพ เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยได้เรียนเชิญ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา ด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา จ�ำนวน 4 ท่าน ด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 คนและด้านสาธารณสุข 3 คนรวมเป็นจ�ำนวน 10 ท่านที่เข้าร่วมกิจกรรม การสนทนากลุ่ม (Focus group) เพื่อตรวจสอบ ผลการพั ฒ นาองค์ ป ระกอบระบบการสื่ อ สาร และประเมินความเหมาะสม พร้อมร่วมแลกเปลีย่ น สุ ข ภาพแบบภควันตภาพ ส�ำหรับอาสาสมัค ร ความคิดเห็น โดยแสดงผลการวิเคราะห์ผลจาก สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน การสนทนากลุม่ ตามล�ำดับการสอบถามผูเ้ ชีย่ วชาญ ผลการสอบถามความเห็นผู้เชี่ยวชาญ ดังรายละเอียดในตารางที่ 1 จากการสนทนากลุ่ม โดยพัฒนาแบบประเมินจ�ำแนกเป็น 4 ตอน และ ความเห็นในภาพรวมด้วยการให้ผู้เชี่ยวชาญแต่ละ คนแสดงความคิดเห็นและผลการประเมิน เพื่อ ทราบความเห็นทันทีที่การอภิปรายแล้วเสร็จ ขั้นที่ 4 สรุปผลการอภิปราย ตามประเด็น ที่ก�ำหนดไว้ดังนี้
ตารางที่ 1 ผลการประเมินความเหมาะสม ตอนที่ 1 ส่วนประกอบหลักขององค์ประกอบการสื่อสาร สุขภาพแบบภควันตภาพ
รายการประเมิน
X
SD ระดับความเหมาะสม
1. หลักการและเหตุผลของระบบ 4.10 .32 2. วัตถุประสงค์ของระบบ 4.10 .32 3. หลักการและทฤษฎีในการพัฒนาระบบ 4.10 .56 4. ขั้นตอนการพัฒนาระบบ 3.90 .31 5. องค์ประกอบด้านบริบท (Context) 5 .1 สภาพแวดล้อมการจัดกิจกรรมการสื่อสารสุขภาพ 3.90 .31 5 .2 ความพร้อมอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3.90 .31 5 .3 ความพร้อมของระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 4.0 .47 5.4 ทักษะการใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเบื้องต้น 3.90 .31 5 .5 ผู้ใช้ระบบ 4.10 .32 6. องค์ประกอบผู้ส่งสาร (Source) 6 .1 ผู้น�ำด้านสุขภาพ หรือผู้ปฏิบัติการด้านสุขภาพ 4.00 .67
มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก
124/7 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ตารางที่ 1 (ต่อ)
รายการประเมิน
X
SD ระดับความเหมาะสม
7. องค์ประกอบเนื้อหาของสาร (Message) 7.1 ก�ำหนดจุดประสงค์ 3.90 .57 มาก 7.2 ก�ำหนดเนื้อหาและกิจกรรม 4.00 .00 มาก 7.3 ก�ำหนดวิธีการถ่ายทอดเนื้อหา 4.00 .00 มาก 7.4 ก�ำหนดการด�ำเนินงานกิจกรรม 4.10 .32 มาก 7.5 ก�ำหนดการประเมินผล 4.00 .47 มาก 8. องค์ประกอบช่องทางการสื่อสารสุขภาพ กิจกรรม รูปแบบ วิธีการ (Channel & Media) 8.1 ก�ำหนดสื่อและอุปกรณ์การน�ำเสนอ 4.00 .47 มาก 8.2 อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.00 .47 มาก 8.3 ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 4.00 .47 มาก 8.4 สร้างช่องทางสนับสนุนการสื่อสารสุขภาพ 4.00 .00 มาก 9. องค์ประกอบผู้รับสาร (Receiver ) 9.1 อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้านใช้ระบบการสื่อสาร 4.10 .32 มาก 10. องค์ประกอบการประเมินผล (Evaluation) 10.1 ประเมินระบบ 4.10 .32 มาก 10.2 แบบทดสอบหลังการจัดกิจกรรม 4.10 .32 มาก
เฉลี่ยรวม
จากตารางที่ 1 ผลการประเมินตอนที่ 1 การ ประเมินความเหมาะสมของส่วนประกอบหลักของ องค์ประกอบการสือ่ สารแบบภควันตภาพพบว่า ได้ ค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับ 4.01 ซึ่งหมายถึง ผู้เชี่ยวชาญ มีความเห็นว่ามีความเหมาะสมในระดับมาก ทั้งนี้ ผู้เชี่ยวชาญ ได้ประเมินความเหมาะสมอยู่ในระดับ ค่าเฉลี่ย 3.90-4.10 ในเกือบทุกรายการประเมิน และได้ผลของการพัฒนาองค์ประกอบการสื่อสาร แบบภควันตภาพ มีดังนี้ 1. องค์ประกอบด้านบริบท (Context) ของ ระบบ
124/8 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
4.01 .77
มาก
1.1 ควรมีการเพิ่มกฎกระทรวงหรือ นโยบายของหน่วยงานให้ชัดเจนและแสดงข้อมูล ที่มาเอกสารอ้างอิงก่อนน�ำไปเผยแพร่ 2. องค์ประกอบด้านผู้ส่งสาร (Source) ของระบบ 2.1 ควรก�ำหนดคุณลักษณะของผู้ส่ง สารเพิ่มเติม 3. องค์ประกอบด้านผู้รับสาร (Receiver) ของระบบ 3.1 ควรก�ำหนดคุณลักษณะของผู้รับ สารเพิ่มเติม
4. องค์ประกอบด้านการประเมินผล (Evaluation) ของระบบ 4.1 ปรับให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และตามหลักการวัดผลการประเมินผล ตารางที่ 2 ผลการประเมินความเหมาะสม ตอนที่ 2 องค์ประกอบด้านกระบวนการของการสื่อสาร สุขภาพแบบภควันตภาพ
รายการประเมิน
X
SD ระดับความเหมาะสม
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมความพร้อม 1. ปฐมนิเทศ 3.90 .31 2. การท�ำแบบทดสอบก่อนท�ำกิจกรรม 3.80 .42 3. ทดลองใช้เครื่องมือของระบบ 3.90 .31 ขั้นตอนที่ 2 การด�ำเนินการ 1. ให้ศึกษาเนื้อหาและกิจกรรม 3.90 .31 2. การฝึกปฏิบัติ 3.90 .31 3. การน�ำเสนอผลงาน 4.0 .00 ขั้นตอนที่ 3 การประเมินผล 1. แบบประเมินผลงาน (เนื้อหา/ รายละเอียด) 3.90 .57 2. แบบทดสอบหลังท�ำกิจกรรม 3.70 .48
เฉลี่ยรวม
3.87 .08
มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก
จากตารางที่ 2 ผลการประเมินตอนที่ 2 องค์ประกอบของกระบวนการของการสื่อสารสุขภาพ แบบภควันตภาพ ผลจากการประเมินพบว่าผู้เชี่ยวชาญได้ ประเมินความเหมาะสมมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.87 ซึ่งหมายถึงมีความเหมาะสมในระดับมาก และได้มีข้อเสนอแนะจากการสนทนากลุ่มดังนี้คือ แบบ ทดสอบก่อนและหลังควรปรับให้เหมาะสมกับผู้ท�ำแบบทดสอบ
124/9 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ตารางที่ 3 ผลการประเมินองค์ประกอบการสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพ
รายการประเมิน
X
1. องค์ประกอบการสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพที่ พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมในการน�ำไปใช้
SD ระดับความเหมาะสม
4.60 0.52
มากที่สุด
2. องค์ประกอบการสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพที่พัฒนาขึ้น เป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมในปัจจุบันและอนาคต 4.50 .53
มากที่สุด
เฉลี่ยรวม จากตารางที่ 3 ผลการประเมินองค์ประกอบ การสือ่ สารสุขภาพแบบภควันตภาพ พบว่า ค่าเฉลีย่ รวม เท่ากับ 4.55 ซึ่งหมายถึง ผู้เชี่ยวชาญมีความ เห็นว่า ระบบมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ทัง้ นีผ้ เู้ ชีย่ วชาญได้ประเมินความเหมาะสมในการน�ำ ระบบการสือ่ สารสุขภาพแบบภควันตภาพทีพ่ ฒ ั นา ขึน้ มีความเหมาะสมในการน�ำไปใช้เป็นประโยชน์ใน ปัจจุบันและอนาคตอยู่ในระดับมากที่สุด จากข้ อ เสนอแนะจากการสนทนากลุ ่ ม ในส่วนขององค์ประกอบการสื่อสารสุขภาพแบบ ภควันตภาพ ผลจากการสนทนากลุ่ม ซึ่งได้น�ำข้อ สรุปและข้อเสนอแนะของผูเ้ ชีย่ วชาญ ในการด�ำเนิน การสนทนากลุม่ (Focus group) นอกจากจะแก้ไข เพิม่ เติมในส่วนขององค์ประกอบ กระบวนการ และ ความเหมาะสม แล้วยังได้ให้รายละเอียดการน�ำ ทฤษฎีการสื่อสารมาประยุกต์ใช้ในองค์ประกอบ การสื่อสารแบบภควันตภาพ โดยอ้างอิงตามระบบ CIPOF Model ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบใหม่ มีรายละเอียดดังนี้ 1. องค์ประกอบที่ 1.0 การวิเคราะห์บริบท เพื่อให้การสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพเป็น ไปตามระบบและบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการ
124/10 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
4.55 .07
มากที่สุด
สื่อสารจึงจ�ำเป็นต้องพิจารณาในประเด็นต่อไปนี้ 1.1 สภาพแวดล้อมการสือ่ สารสุขภาพ และสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม 1.2 หลักการและเหตุผลของระบบ 1.3 วัตถุประสงค์ของระบบ 1.4 กลุ่มเป้าหมายและผู้ใช้ระบบ 1.5 ระยะเวลากับสถานทีก่ ารใช้ระบบ 1.6 ความพร้อมของอุปกรณ์เทคโนโลยี สารสนเทศ 1.7 ความพร้อมของระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ต 1.8 ทักษะการใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบื้องต้น 2. องค์ประกอบที่ 2.0 ผูส้ ง่ สาร (Source) หรือ ผู้ท�ำการสื่อสาร เพื่อส่งผลการจัดกิจกรรมให้บรรลุ เป้าหมายตามวัตถุประสงค์ของระบบมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 ผูน้ ำ� สุขภาพ หรือผูป้ ฏิบตั กิ ารด้าน สุขภาพ 2.2 ผูม้ บี ทบาทในฐานะผูน้ ำ� การเปลีย่ น แปลงสู่กลุ่มเป้าหมาย 2.3 ทักษะ ความรู้ เพื่อสร้างตัวสารให้ เกิดขึ้น
2.4 ทัศนคติในบทบาทของผู้เข้ารหัส และสามารถสลับเป็นผู้ถอดรหัส 3. องค์ประกอบที่ 3.0 เนื้อหาของสาร (Message) เพื่อให้เนื้อหาและกิจกรรมของระบบ เป็นไปตามเป้าหมายจ�ำเป็นต้องพิจารณาตามดังนี้ 3.1 ก�ำหนดจุดประสงค์ 3.2 ก�ำหนดเนื้อหาและกิจกรรม 3.3 ก�ำหนดวิธีการถ่ายทอดเนื้อหา 3.4 ก�ำหนดการด�ำเนินงานกิจกรรม 3.5 ก�ำหนดการประเมินผล 4. องค์ประกอบที่ 4.0 ช่องทางการสือ่ สาร สุขภาพ กิจกรรม รูปแบบ วิธีการ(Channel & Media) 4.1 ก�ำหนดสือ่ และอุปกรณ์การน�ำเสนอ 4.2 อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารประเภท โน๊ตบุ้ค สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต ที่มีหน่วยความจ�ำ และหน่วยประมวลที่อยู่ภายใน อุปกรณ์ทกุ เครือ่ งและอุปกรณ์ตอ้ งสามารถพกพาได้ 4.3 ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ส�ำหรับการวิจัย นี้อยู่ ในรูปแบบของ การเชื่อมต่อระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย (Wireless Internet) เช่น การเชื่อมต่อผ่านไวไฟ (Wi-Fi) การเชื่อมต่อผ่าน 3G และ 4G เป็นต้น เพื่อใช้ เป็นช่องทางส�ำหรับ การเข้าถึง ซึ่งมีความรวดเร็วและเหมาะสมส�ำหรับ การรับส่งข้อมูลสารสนเทศและเอกสารได้อย่าง รวดเร็วในทุกที่และทุกเวลาตามความต้องการของ ระบบการสื่อสาร 4.4 สร้างช่องทางสนับสนุนการสือ่ สาร สุขภาพแบบภควัตภาพ เป็นส่วนการติดต่อสื่อสาร สามารถใช้ ช่องทางสนับสนุนได้ตลอดการจัดกิจกรรม ทั้ ง แบบประสานเวลาโดยใช้ ก ารรั บ ส่ ง ข่ า วสาร ข้อมูลภายในเวลาเดียวกันหรือพร้อมกันเกิดการ ปฏิสัมพันธ์แบบทันทีทันใด เช่น การสนทนาบน
อุปกรณ์การสื่อสาร เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ และแท็บเล็ตเป็นต้น โดยใช้แอปพลิเคชันไลน์ และ ไม่ประสานเวลาโดยผูเ้ รียนเข้าเรียนรูเ้ นือ้ หาวิชา ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ที่ใดก็ได้ โดยที่ผู้เรียนและผู้สอน ไม่ต้องรอเพื่อตอบโต้กันภายในเวลาเดียวกัน ซึ่ง สามารถใช้เครื่องมือสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เช่น จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) กระดานข่าว (Web-board) เป็นต้นขึ้นอยู่กับความต้องการของ ผู้ใช้ระบบการสื่อสารและค้นหาความรู้แล้วน�ำมา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผลเป็นความรู้ด้วย ตนเองเพื่อน�ำมาบันทึกและใช้ ประโยชน์ต่อไป 5. องค์ประกอบที่ 5.0 ผูร้ บั สาร(Receiver) 5.1 ผูน้ ำ� ชุมชนด้านสุขภาพ (อาสาสมัคร สาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน) 5.2 ทักษะ ความรู้ ในการรับตัวสาร 5.3 ทัศนคติในบทบาทของผู้ถอดรหัส และสามารถสลับเป็นผู้เข้ารหัส 5.4 ปฏิกิริยาโต้ตอบ 6. องค์ ป ระกอบที่ 6.0 การประเมิ น ผล(Evaluation) 6.1 ประเมินคุณภาพผลงานที่ได้จาก การจัดกิจกรรม 6.2 การทดสอบหลังการจัดกิจกรรม 6.3 สรุปผลการประเมินผลงาน จากองค์ประกอบทัง้ หมดทีก่ ล่าวมาแล้วข้าง ต้นเมือ่ น�ำมาประกอบเป็นแบบจ�ำลององค์ประกอบ การสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพได้ดังนี้
124/11 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ภาพที่ 1 แบบจ�ำลององค์ประกอบการสื่อสารสุขภาพแบบภควันตภาพ สรุป แบบจ�ำลองการสื่อสารสุขภาพแบบ ภควันตภาพที่น�ำเสนออยู่นี้ ผู้ที่จะน�ำมาประยุกต์ ใช้ต้องมีความเข้าใจในลักษณะองค์ประกอบแต่ละ องค์ประกอบโดยบ 6 องค์ประกอบดังนี้ (1) การ วิเคราะห์บริบท (2) ผู้ส่งสาร (Source) (3) เนื้อหา ของสาร (Message) (4) ช่องทางการสือ่ สารสุขภาพ กิจกรรม รูปแบบ วิธีการ(Channel & Media)
(5) ผู้รับสาร (Receiver) (6) การประเมินผล (Evaluation) จะเห็นได้ว่าเมื่อวิเคราะห์บริบทแล้ว ผูส้ ง่ สารและผูร้ บั สารจะเป็นผูเ้ ข้ารหัสและถอดรหัส ส่วนเนื้อหาและช่องทางการสื่อสาร มีลักษณะเป็น วงกลมท�ำการเคลื่อนไหวไปด้วยกันอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ส่งต่อข้อมูลข่าวสาร ทัง้ นีต้ อ้ งมีผลย้อนกลับเพือ่ การประเมินผลอีกด้วย
เอกสารอ้างอิง ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2523) ระบบสือ่ การสอน. ใน ชุดวิชาเทคโนโลยีและสือ่ สาการศึกษา เล่ม 1 หน่วยที่ 1-2. นนทบุร.ี มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2555). ภาพอนาคตการศึกษาไทย: สู่การศึกษาภควันตภาพ. (คู่มืออบรมปฏิบัติการบูรณาการใช้คอมพิวเตอร์ พกพา. (Tablet) เพื่อยกระดับการเรียนการสอน).กรุงเทพฯ: ส�ำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ส�ำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2537). “วิธกี ารและสือ่ การฝึกอบรมแบบการพัฒนาโครงการจากกรณีงาน” ในประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยี และสื่อสารการฝึกอบรม. หน่วยที่9 หน้า 45-102 นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. วาสนา จันทร์สว่าง . (2547). การดําเนินงานหอกระจายข่าวสารที่สนองตอบความต้องการอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะ กรรมการการวิจัยแห่งชาติ (วช.). วาสนา จันทร์สว่าง. (2548). การสื่อสารสุขภาพ : กลยุทธ์ในงานสุขศึกษาและการสร้างเสริมสุขภาพ กรุงเทพฯ: เจริญดีการพิมพ์. วาสนา จันทร์สว่าง. (2548).รายงานวิจัยกระบวนการสื่อสารการรณรงค์ด้านสุขภาพ :โครงการวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจาก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สรวส.)กระทรวงสาธารณสุข. วาสนา ทวีกุลทรัพย์. (2554). การจัดระบบและการออกแบบระบบทางการศึกษา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ศิริชัย ศิริกายะ.(2557).แบบจ�ำลองการสื่อสารในยุคดิจิทัล.นิเทศสยามปริทัศน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 15:มหาวิทยาลัยสยาม. Rogers, Everette M. Diffusion of Innovation. 4th edition . New York : the free Press,1995.Berlo,David Kenneth. The Process fo Communication;an Introduction to Theory and Practice. New York :Holt,Rinehart and Winston,1960. Schramm,w.How Communication Works,in Schramm,The Process and Effects of Mass Communication. Urbana,University of Illinois Press,1954.
124/12 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
รองศาสตราจารย์ ชม ภูมิภาค เลขประจ�ำตัว 6 นักเรียนโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ถนนประสานมิตร รุ่น 1 (2492) แสนแสบ 168
วันเดือนปีเกิด 25 มิถุนายน พ.ศ. 2475 สถานที่เกิด บ้านโนนเค็ง ต�ำบลดุมใหญ่ อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ครอบครัว รองศาสตราจารย์ ชม ภูมิภาค สมรสกับ อาจารย์กัลยา ภูมิภาค มีบุตรธิดารวม 5 คน คือ 1. ผศ.ดร.เชาวลิต ภูมิภาค สมรสกับ นางหทัยฉัฐ ภูมิภาค 2. นายชนะภัย ภูมิภาค 3. นายชัยฤทธิ์ ภูมิภาค สมรสกับ นางลัดดา ภูมิภาค 4. นางจิตอนงค์ ภูมิภาค สมรสกับ นายลิขิต เทิดชนะกุล 5. นางสาวทรงสุดา ภูมิภาค (ถึงแก่กรรม) ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2486 ส�ำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาภาคบังคับ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียน บ้านบัวยาง ต�ำบลดุมใหญ่ อ�ำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2491 ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากโรงเรียนสิทธิธรรม อ�ำเภอ ม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี
125 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
พ.ศ. 2491 ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนเทพอ�ำนวยวิทยาลัย อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สอบได้ที่ 1 ของจังหวัดอุบลราชธานี ได้ รับทุนของจังหวัดมาศึกษาที่โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. 2492 สอบแข่งขันไปศึกษาต่อโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ถนนประสานมิตร (รุ่นแรก) พ.ศ. 2494 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ป.ป.) จาก โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ถนนประสานมิตร พ.ศ. 2496 ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรประโยคครูมัธยม (ป.ม.) จาก วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร (รุ่นที่ 3) พ.ศ. 2499 ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาตรีวชิ าการศึกษา (กศ.บ) จากวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร (รุ่นที่ 3) พ.ศ. 2503 ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา จาก มหาวิทยาลัยอินเดียนา รัฐอินเดียนา ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประวัติการท�ำงาน พ.ศ. 2497 พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2524-2526 พ.ศ. 2532-2533 พ.ศ. 2533-2535 งานกิจการคณาจารย์ พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2523 งานกิจการนิสิต พ.ศ. 2499 พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2511 พ.ศ. 2512 พ.ศ. 2513-2519
เข้ารับราชการในต�ำแหน่งครูตรีโรงเรียนฝึกหัดครูอุบลราชธานี ต�ำแหน่งครูประจ�ำกรมการฝึกหัดครู ต�ำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต�ำแหน่งรองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ต�ำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เกษียณอายุราชการ รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 รองประธานสภาอาจารย์ วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร ประธานสภาคณาจารย์กลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เป็นคนแรก นายกองค์การนิสิตวิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร ต�ำแหน่งอาจารย์วิทยาลัยการศึกษา ต�ำแหน่งอาจารย์เอกวิทยาลัยการศึกษา ประธานคณะอาจารย์บรรยเวกษก์ อนุศาสก
126 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
งานศิษย์เก่า พ.ศ. 2506 นายกองค์การศิษย์เก่าวิทยาลัยวิชาการศึกษา พ.ศ. 2507 นายกสมาคมศิษย์เก่าวิทยาลัยวิชาการศึกษา พ.ศ. 2508-2516 อุปนายกสมาคมศิษย์เก่าวิทยาลัยวิชาการศึกษา พ.ศ. 2517-2541 นายกสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ งานกีฬา พ.ศ. 2495 นักรักบี้ในชุดชนะเลิศทีม 15 คน และ 7 คน ประเภทโรงเรียน พ.ศ. 2513-2519 ประธานกรรมการกีฬามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2515-2519 เลขาธิการคณะกรรมการการกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2518 รองประธานกรรมการจัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4 งานสมาคมวิชาชีพการศึกษา พ.ศ. 2515-2517 เลขาธิการสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2517-2522 กรรมการบริหารสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2523-2538 นายกสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2544-2563 ที่ปรึกษาสมาคมกากรศึกษาแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2535-2563 รองประธานมูลนิธิวิชาชีพการศึกษา งานองค์การระหว่างประเทศ พ.ศ. 2536 ร่วมก่อตั้ง Education International (EI) ณ ประเทศสวีเดน EI มีสมาชิก 23 ล้านคน จากองค์กร 200 องค์กร ใน 105 ประเทศ พ.ศ. 2537-2540 กรรมการภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิกของ EI งานองค์การต่างประเทศ พ.ศ. 2506-2509 รองเจ้าหน้าที่วิทยุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส�ำนักข่าวสารอเมริกัน งานเพื่อการกุศล พ.ศ. 2517-2563 ประธานมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2536-2563 ประธานมูลนิธิเพื่อศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2535-2536 รองประธานมูลนิธิวิชาชีพการศึกษา พ.ศ. 2519-2563 รองประธานมูลนิธิหลวงสวัสดิสารศาสตรพุทธิ พ.ศ. 2529-2545 ประธานมูลนิธิพัฒนาอีสาน พ.ศ. 2538-2563 ประธานมูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล งานบริหารทางวิชาการแก่สังคมและหน่วยงานราชการ พ.ศ. 2511-2512 วิทยากรอบรมเจ้าหน้าทีเ่ ผยแพร่ขา่ วสารระดับต�ำบลกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2512 วิทยากรอบรมวิทยากรในโครงการพัฒนาพลเมืองในระบอบ ประชาธิปไตย กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2526-2538 กรรมการผูท้ รงคุณวุฒสิ าขาการศึกษา สังคมศาสตร์ และศิลปศาสตร์ ก.พ.
127 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
งานช่วยเหลือต่างประเทศ พ.ศ.2536-2539 ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว งานการเมือง พ.ศ.2512 กรรมการบริหารพรรคแนวประชาธิปไตย พ.ศ.2513 รองหัวหน้าพรรคสังคมประชาธิปไตย พ.ศ.2518 รองประธานพรรคสังคมนิยมแห่งประเทศไทย งานวิชาการ การสอน การสอนในวิทยาลัยวิชาการศึกษา (พ.ศ.2500-2517) สอนวิชาต่างๆ ในระดับปริญญาตรี ดังนี้ 1. โสตทัศนศึกษา 2. สังคมไทย (Thai Society) 3. อนามัยโรงเรียน (School Health) 4. พลศึกษาในโรงเรียน (Physical Education in School) 5. การวางแผนผังโรงเรียน (School Plant Planing) 6. ประเมินผลการศึกษา (Educational Evaluation) การสอนปริญญาโทโสตทัศนศึกษา สอนวิชาโสตทัศนศึกษา ส�ำหรับนิสิตปริญญาโทโสตทัศนศึกษา ดังนี้ 1. สื่อมวลชนกับการศึกษา (Mass Communication in Education) 2. การบริหารศูนย์โสตทัศนศึกษา (Administration of Audio-visual Center) 3. หลักการประชาสัมพันธ์ (Public Relations) 4. บูรณาการสื่อกับหลักสูตร (Curriculum Intergration of Instruction Media) 5. การใช้สื่อการสอน (Instruction Media Utilization) การสอนในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รับผิดชอบและสอนวิชาต่างๆ ทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ทาง เทคโนโลยีทางการศึกษา ดังนี้ ปริญญาตรี สอนวิชาต่างๆ ในระดับปริญญาตรี ดังนี้ 1. หลักการและทฤษฎีเทคโนโลยีทางการศึกษา 2. เทคนิคการฝึกอบรม 3. สื่อการสอน 4. การโฆษณา
128 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
5. การผลิตรายการวิทยุเพื่อการศึกษา 6. การผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา 7. การประชาสัมพันธ์ 8. การเขียนเพื่อการพิมพ์ ปริญญาโท 1. พื้นฐานทางเทคโนโลยีของการศึกษา 2. การออกแบบและพัฒนาระบบการสอน 3. การบริหารโครงการเทคโนโลยีทางการศึกษา 4. การสื่อสารมวลชนกับการศึกษา 5. หลักการประชาสัมพันธ์ 6. การเขียนเพื่อการสื่อสาร 7. บูรณาการสื่อกับหลักสูตร 8. ปริญญานิพนธ์ ปริญญาเอก วิชาที่สอนมีดังนี้ 1. ประเด็นปัญหาทางการศึกษากับเทคโนโลยี 2. การเผยแพร่และการยอมรับนวัตกรรมการศึกษา งานแต่งต�ำรา มีต�ำราจัดพิมพ์จ�ำหน่าย 1. หลักการประชาสัมพันธ์ 2. จิตวิทยาการเรียนการสอน 3. เทคโนโลยีทางการศึกษา 4. คู่มือการผลิตรายการวิทยุการศึกษา 5. การศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา เขียนบทความวิทยุกระจายเสียงออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และจัดพิมพ์เป็นเล่ม เช่น 1. การศึกษาเพื่อคุณธรรม 2. การศึกษาเพื่องานอาชีพ 3. การศึกษาเพื่อพัฒนาประชาธิปไตย งานพัฒนาชุมชนที่ภูมิใจในความส�ำเร็จ พ.ศ.2524-2529 ในฐานะนายกสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย ได้เข้าร่วมรับผิดชอบ โครงการพัฒนาหมู่บ้านชายแดนจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนการเงินจากรัฐบาลแคนาดา 60 ล้านบาท
129 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
พ.ศ.2529-2535 ในฐานะประธานมูลนิธพิ ฒ ั นาอีสาน ได้บริหารโครงการพัฒนาชุมชนแบบ การมีสว่ นร่วมในจังหวัดสุรนิ ทร์ ได้รบั การสนับสนุนทางการเงิน 40 ล้านบาท จากรัฐบาลแคนาดา ใน โอกาสวันขจัดความยากจนแห่งโลก 17 ตุลาคม 2536 คณะกรรมการเศรษฐกิจสังคมเอเชียแปซิฟิก แห่งสหประชาชาติ ได้ให้เกียรติบัตร ยกย่อง เป็นองค์กรดีเด่น ในงานขจัดความยากจน งานที่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยที่ภาคภูมิใจ การมีส่วนช่วยศาสตราจารย์สุดใจ เหล่าสุนทรในการต่อสู้เพื่อยกฐานะวิทยาลัยวิชาการ ศึกษาเพิ่มมหาวิทยาลัยด้วยการเป็นผู้ด�ำเนินการจัดพิมพ์สมุดปกขาวเรื่องมหาวิทยาลัยการศึกษา เผยแพร่ เป็นผู้จัดท�ำหนังสือถึงหัวหน้าการปฏิวัติ เพ่อสอบถามเรื่องการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัย จัดยืนหนังสือเมื่อวันที่ 21 กันยายน 2515 การก่อสร้างอนสาวรีย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล และการที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยมบรมราชกุมารี มีพระมหากรุณาธิคุณ รับมูลนิธิศาสตราจารย์หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล อยู่ ในพระราชูปถัมภ์ ตั้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม 2546 ในฐานะประธานมูลนิธิ มีความซืบซึ้งในพระ มหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น ที่อยู่ปัจจุบัน อยู่บ้านเลขที่ 393 หมู่บ้านมิตรภาพ 2 ซอยอ่อนนุช 46 สุขุมวิท 77 กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2322-3211, 0-2321-0506 ยังคงท�ำหน้าที่อาสาสมัคร อาทิ 1. ประธานมูลนิธิ 4 มูลนิธิ 2. ที่ปรึกษาสมาคมการศึกษาแห่งประเทศไทย 3. ที่ปรึกษาสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 4. ประธานศัพท์สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาโครงการสารานุกรมศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 5. วุฒอิ าสาด้านการศึกษา ธนาคารสมอง ส�ำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 6. กรรมการบริหารสมัชชาองค์กรเอกชนด้านคุ้มครองสิ่งแวดล้อม 7. ที่ปรึกษามูลนิธิพัฒนาอีสาน
130 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
รายนามคณะกรรมการบริหาร มูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ประธานมูลนิธิ มศว
พลตำ�รวจตรี ทนัย อภิชาตเสนีย์ รองประธานกรรมการ
ผศ.ดร.ขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ กรรมการเลขาธิการมูลนิธิ
คุณชื่นชม จริโมภาส กรรมการเหรัญญิก
รศ.ดร.สาโรช โศภีรักข์ กรรมการ
หม่อมหลวงจุฑามาตย์ นีลเซ่น (กมลาศน์) กรรมการ
ผศ.ดร.กิตติชัย สุธาสิโนบล กรรมการ
131 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
อาจารย์จูงใจ แสงพันธ์ กรรมการ
อาจารย์บุษยมาศ มาลยมาน กรรมการ
คุณพรทิพย์ เภตราไชยอนันต์ กรรมการ
คุณประภา จันทร์เนตร กรรมการ
ผศ.จันทร์เพ็ญ เนียมอินทร์ กรรมการที่ปรึกษา
ผศ.ดร.พลับพลึง คงชนะ กรรมการที่ปรึกษา
คุณขวัญเรือน อภิมณฑ์ กรรมการ
ดร.พิทักษ์ โสตถยาคม กรรมการ
คุณปัณณทัต ธีรคุณวิศษฎ์ กรรมการ
132 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
รายนามผู้บริจาค “เพื่อกองทุนมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ” รายนามผู้บริจาค “เพื่อกองทุนมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ” ลำดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23
ชื่อทุน
คุณสมเกียรติ จิระมงคลชัย ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ รศ.ชม ภูมิภาค พล.ต.ต.ทนัย อภิชาติเสนีย์ คุณพรทิพย์ เภตราไชยอนันต์ หม่อมหลวงจุฑามาตย์ นีลเซ่น (กมลาศน์) คุณบุษยมาศ มาลยมาน คุณขวัญเรือน อภิมณฑ์ รศ.ดร.สาโรช โศภีรักข์ ผศ.จันทร์เพ็ญ เนียมอินทร์ ผศ.ดร.กิตติชัย สุธาสิโนบล คุณชื่นชม จริโมภาส ผศ.ดร.ขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ คุณประภา จันทร์เนตร ผศ.ดร.พูลศรี-ศิริน เวศย์อุฬาร ดร.พิทักษ์ โสตถยาคม ดร.พลับพลึงและครอบครัว คงชนะ ดร.วรุณธิดา วรุตบางกูร รศ.โมรี ชื่นสำราญ ผศ.พัชรา สุทธิสำแดง รศ.กาญจนา ศรีกาฬสินธุ์ นายสุขเกษม อุยโต นายสุรศักดิ์ อัครอารีสุข
จำนวนเงิน (บาท) 10,000.00 10,000.00 64,443.00 3,000.00 10,000.00 3,000.00 3,000.00 10,000.00 3,000.00 5,000.00 3,000.00 3,000.00 3,000.00 3,000.00 5,000.00 3,000.00 10,000.00 100,000.00 3,000.00 3,000.00 3,000.00 3,000.00 3,000.00
นับแต่เดือนสิงหาคม 2563 เป็นต้นไป มูลนิธฯิ จะตั้งกองทุนเป็นเกียรติ ตามความประสงค์ของผู้บริจาค ซึ่งเป็นทุนเฉพาะรายละ 3,000.00 บาทขึ้นไป
133 นวัตกรรมการสื่อสารและเทคโนโลยีการศึกษา
ภาพข่าวมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประธานและกรรมการมูลนิธิมศว มอบตู้พ่นน�้ำยาฆ่าเชื้อโควิด-19 ให้กับท่านอธิการบดีมศว เพื่อน�ำไปใช้ที่ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน มศว เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2563
ภาพข่าวมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประธานและกรรมการมูลนิธิร่วมวางพวงมาลา ณ อนุสาวรีย์สาวรีย์ ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี ในวันที่ 16 กันยายน 2563 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประชุมกรรมบริหารมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ครั้งที่ 1/2563 วันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม 2563 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุม.ชม ภูมิภาค สมาคมศิษย์เก่า มศว อาคาร 14 ชั้น 2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ภาพข่าวมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
แจกเกียรติบัตรกับผู้บริจาคเพื่อเข้ากองทุนมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นรายแรก (ร้าน มศว โฟโต้ เอ็กเพรส) จ�ำนวนเงิน 10,000 บาท ณ ห้องประชุมสมาคมศิษย์เก่า มศว เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2563
ภาพข่าวมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
รศ.ดร.วิจิตร วรุตบางกูร ได้บริจาคเงินเพื่อกองทุน “ดร.วรุณธิดา วรุตบางกูร” ในมูลนิธิมศว เป็นจ�ำนวนเงิน 100,000 บาท ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ภาพข่าวมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
งานพระราชทานเพลิงศพ รศ.ชม ภูมิภาค ณ วัดศรีเอี่ยม บางนาตราด วันที่ 22 มีนาคม 2563
ภาพข่าวมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
งานวิ่ง 70 ปี มศว เพื่อสังคม-อโศกร่วมใจ เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2563
ภาพข่าวมูลนิธิมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประธานมูลนิธิมศว ได้รับเชิญเป็นวิทยากรวิพากษ์งานวิจัยให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม เมื่อเดือนสิงหาคม 2563
N�1f.lf11NJl"a1�1"ati
ui,-J,.t,-�il
bU11�
U��fi1U��Uo��11�U1iUA�UA�U��1L�IW 'U