‡∑§‚π‚≈¬’ เทคโนโลยี ส◊ËÕื่อ “√°“√»÷ สารการศึ°ก…“ ษา ¡Ÿมู≈ลπ‘นิ∏ธ‘»ิศ“ μ√“®“√¬å าสตราจารย์Àห¡àม่Õอ¡À≈«ßªî มหลวงปิòπ่น ¡“≈“°ÿ มาลากุ≈ล
„πæ√–√“™Ÿปªถั∂—ม¡ภ์¿åส มเด็ ¡‡¥Á®จæ√–‡∑æ√— ¡“√’มารี ในพระราชู พระเทพรัμตπ√“™ ÿ นราชสุ¥ด“œาฯ ¬“¡∫√¡√“™°ÿ สยามบรมราชกุ ���บ�ที���่ 11 ������� ปี��ท�ี่ � 2419 ฉบั ประจำ�ปี�ก���� ารศึ��� กษา2555 2560 ❖❖❖
��ที�� ่ป���รึ�� กษา
��.�� ภู��ม���ิภ�� รศ.ชม าค ศ.ดร.ผดุ ง อารยะวิ ��.��.����� �������ญ�ญู���
บรรณาธิ ������� ���การ
ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ��.��.������� �����
คณะกรรมการดำ����� เนินงาน ���������������
ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ��.��.������� ����� รศ.ดร.สาโรช โสภี��ร� ัก�� ข์ ��.��.����� ���� รศ.ดร.วี ��.��.��ร�ะ� ไทยพานิ ��������ช รศ.ดร.สุ โคตรบรรเทา ��.��.��น�ทร �� ���������� ผศ.ดร.ไพบู เปานิ� ล ��.��.�����ล��ย์ ����� พ.ต.ดร.บุ ญ��ชู ���� ใจซื�� ่อ��กุ�ล �.�.��.��� รศ.ดร.วิ ะวั�ฒ������ นานนท์ ��.��.��น�ัย�� วี���ร��� นางวั นดี บุญทวี ��������� �����������
รศ.ดร.ประหยั ระวรพงศ์ ��.��.������ � ด���จิ������� รศ.ดร.สานิ���ตย์������� กายาผาด ��.��.���� ดร.พู�ล���ศรี����� เวศย์��� อ��ุฬาร ��.�� ศ.ดร.สุท���ธิ�พ���งศ์ ���� หกสุ���� วรรณ ��.��.�� รศ.ดร.เผชิ�ญ���กิ����� จระการ ��.��.���� รศ.ดร.พงษ์������� ประเสริ ฐ หกสุ วรรณ ��.��.���� � ���� ���� อาจารย์���น้ำ� ขอนั ������� ���สุ��� ���นต์
นางวันดี บุญทวี นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์ ��������� ย���อาสภวิ �������� ริยะ นายชาญชั
ร.ต.ท.บัญชา บุญทวี นางศิริมา ถ้ำ�ทอง
ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา และประชาสัมพันธ์
�.��.�� ����� �������� รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ ดร.จันทร์� ������� ชุ่มเมือ�งปั��ก �.��.���
���� �� ������������ ����������������
นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์
��������� ��������� �
���เจ้���� าของ
�����������ห��ม่�อ������� มู��ล�นิ��ธ�ิศ��าสตราจารย์ มหลวงปิ��่น������ มาลากุ� ล��������������������������������������� ������������ ����ปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพระราชู
���� สำ��นั��� กงาน
�����������ห��ม่�������� �� ������ � ล มู��ล�นิ��ธ�ิศ��าสตราจารย์ อมหลวงปิ ่น มาลากุ �����่ � 114 114 อาคาร ����� 1414��ชั��้น2 2����� ����� �����ย��� ������.0-2261-1777 เลขที มหาวิ ทยาลั ศรี�น���� คริ�น�� ทรวิ���.0-2259-1919 โรฒ โทรศัพท์ 0-2259-1919 โทรสาร 0-2261-1777
สารบัญ
หนา
บก.แถลง ........................................................................................................................................................................... 3 คณะกรรมการรวมกลั่นกรอง ............................................................................................................................................. 4 พระราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร .....................................................................................................................6 ประวัติยอ ศาสตราจารย หมอมหลวงปน มาลากุล ......................................................................................................... 11 ควรปฏิรูปการศึกษาในดานใดบาง? : ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพโรจน เบาใจ ....................................................................................18 การใช Google Goggles สืบคนดวยภาพ : ดร.พูลศรี เวศยอุฬาร .................................................................................................21 คนไทยทุกคนไดรับการศึกษาตลอดชีวิตจริงหรือไหม ในแผนการศึกษาชาติ 2560-2579 : ดร.พีระพงษ สิทธิอมร ........................31 หนาตางงานวิจัย .........................................................................................................................................................................34 การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ตามสภาพแวดลอมการเรียนสวนบุคคล บนอินเทอรเน็ตผานทางเครือขายสังคม สําหรับนักศึกษาปริญญาตรี : นางสาวแกมกาญจน แสงหลอ, ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพโรจน เบาใจ, ดร.พูลศรี เวศยอุฬาร ...........................................................35 การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงสําหรับการฝกอบรมแบบรวมมือ เรื่อง การสืบคนฐานขอมูลออนไลน สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : อุมาพร นาคะวัจนะ, ไพโรจน เบาใจ, สุนทร โคตรบรรเทา ...........................53 การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงตามสภาพแวดลอมทางการเรียนสวนบุคคลบนเครือขายสังคมออนไลน เรื่อง ระบบเครือขายคอมพิวเตอรและการสื่อสารขอมูลพื้นฐาน : ไพโรจน เบาใจ, พูลศรี เวศยอุฬาร, พุทธมนต อัจฉริยนนท ...........................................................................................................73 การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงตามสภาพแวดลอมทางการเรียนสวนบุคคลบนเครือขายสังคมออนไลน เรื่อง การเคลื่อนยายผูปวย : พูลศรี เวศยอุฬาร, ไพโรจน เบาใจ, หฤทัย ปญทีโป ..........................................................................90 การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงตามสภาพแวดลอมทางการเรียนสวนบุคคลบนเครือขายสังคมออนไลน เรื่อง ความนาจะเปน : ชลธิชา นุชพงษ, ไพโรจน เบาใจ, พูลศรี เวศอุฬารย ............................................................................... 107 ปจจัยเชิงสาเหตุตอการยอมรับนวัตกรรมโทรทัศนครู ของครูและบุคลากรทางการศึกษา : ธนดล ภูสีฤทธิ์, พงศประเสริฐ หกสุวรรณ, ทิพยเกสร บุญอําไพ .................................................................................................. 124 แรงจูงใจและความคาดหวังในการศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยนครราชสีมา : รองศาสตราจารย ดร. สุนทร โคตรบรรเทา .......................................................................................... 149 การพัฒนาการเรียนแบบอีเลิรนนิ่งของวิชาคณิตศาสตรผานแอปพลิเคชั่นกูเกิ้ล : ผศ.ดร.สมภพ ทองปลิว .................................. 162 การพัฒนาชุดการสอนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เรื่อง ทัศนธาตุสูการสรางสรรคสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 : นุชนารถ สมวาที, นคร ละลอกนํ้า, ฐิติชัย รักบํารุง ................................................................................................................... 173 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตามแนวคิดของกาเย เรื่อง การใชโปรแกรมไมโครซอฟตพลับลิชเชอร สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 : วัลลภาภรณ มาลาชาสิงห, ผศ.ดร.ไพโรจน เบาใจ, ดร.นคร ละลอกนํ้า ........................... 183 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมการเรียนวิชาชีววิทยาเรื่อง ยีนและโครโมโซม ดวยการจัดการเรียนรูแบบสตอรี่ไลนสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 : อุบลวรรณ เลี้ยวอุดมชัย, กิตติมา พันธพฤกษา, สมศิริ สิงหลพ, ธนาวุฒิ ลาตวงษ .......................................................................... 197 การพัฒนาคูมือการกรอกแบบประเมินการปฏิบัติงานสายวิชาการผานการเลาเรื่องดวยการตูน : ภุมรินทร มานโสม, ผศ.ดร. สมภพ ทองปลิว, ผศ.ดร. ประกาศิต ชางสุพรรณ ............................................................................... 210 กิจกรรมของมูลนิธิ .......................................................................................................................................................... 221 แนะนําเว็บไซต มูลนิธิศาสตราจารยหมอมหลวง ปน มาลากุล ในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ............................................................... 223
การใช Google Goggles สืบคนดวยภาพ ดร.พูลศรี เวศยอุฬาร
Google Goggles (อานวา กูเกิล ก็อกเกิล) เปนโปรแกรมสืบคนขอมูลดวยรูปภาพ แทน การพิมพขอความ หรือการสั่งดวยเสียง ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อขยายศักยภาพของการสืบคนแมผูใชจะ ไมทราบวาสิ่งนั้นเรียกวาอะไร แตสามารถเห็นสิ่งดังกลาวได วิธีการทํางานก็ไมซับซอน เพียงเปด Application แลวสองไปยังสิ่งของ หรือรูปภาพที่อยากจะทราบวาคืออะไร สักครู Applicationจะ Focus ที่สิ่งนั้น หรือรูปดังกลาว แลวใหกดรูป หลังจากนั้นจะใหคําตอบเปนขอมูลที่เกี่ยวของ ขึน้ มาให หรือมี Link ไปยังเว็บไซต จึงนับเปนแนวคิดในการแกปญ หาการสืบคนทีไ่ มทราบวาสิง่ ตางๆ นัน้ คืออะไร ชือ่ อะไร หรือเรียกวาอะไร ซึง่ นาจะนําไปตอยอดใชในการศึกษา เพือ่ ใหความรูก บั ผูเ รียน เกี่ยวกับสิ่งตางๆ รอบตัว บทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อใหรายละเอียดการใชงานเบื้องตน Google Goggles เพื่อวัตถุประสงคทางการศึกษา โดยขอเสนอขอมูลเปน 3 สวนคือ 1) ขอมูลเบื้องตน 2) การใชงาน และ 3) สรุปผลการใช Google Goggles สืบคนดวยภาพ
สวนที่ 1 ขอมูลเบื้องตน Google Goggles Google Goggles เปน Application ทีส่ รางขึน้ โดยบริษทั Google ซึง่ ตองการเปนผูน าํ ดาน การสืบคน Google Goggles นั้นเปน Application ที่สามารถทํางานไดบน Smart Phone ทั้ง ระบบ Android และ iOS แบบ Mobile Visual Search หรือจะเปนบนเครื่องคอมพิวเตอร แบบ PC ที่ติดตั้งกลองก็ไดเชนกัน การเริ่มตนใชงานนั้นให Download จาก Google play หรือ App store ไดฟรีไมมีคาใชจาย ถึงแม Icon Google Goggles (รูป 1) จะเปนรูปแวน 3 มิติ แต ใน การใชงานนั้นไมตองใชแวน 3 มิติที่มีดานหนึ่งสีนํ้าเงิน และอีกดานหนึ่งสีแดงเลย
รูปที่ 1 Icon Google Goggles เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
21
ส่วนที่ 2 การใช้งาน Google Goggles Google Goggles ในบทความนี้เป็น Version 1.9.4 Google Goggles มีการท�างานไม่ซับ ซ้อนเพียงเปด Application ขึ้นมาจะเห็นเหมือนกับการเปดกล้องถ่ายรูปทั่วไป (รูป 2 แสดงการ เปด Application แล้วจับไปยังภาพของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ) โดยปกติ Application จะเริ่ม Focus แล้วจะแสดงผลการสืบค้นให้โดยอัตโนมัต ิ นอกจากนีห้ ากผูใ้ ช้ตอ้ งการจะควบคุม Application ด้วยตนเอง จะมีแถบด้านหนึ่งที่แสดงปุม 3 ปุม ซึ่งขออธิบายปุมต่างๆ จากบนลงล่าง และจากซ้าย ไปขวาดังต่อไปนี้
รูป 2 หน้าจอของ Google Goggles ปุมที่ 1 ปุมวงกลม เมื่อกดปุมวงกลม จะแสดงเมนูอื่นๆ ขึ้นมาดังรูป 3 โดยแต่ละปุมมีความหมายดังนี้ 1. ปุมสายฟ้า เป็นปุมเปด Flash ของ Smart Phone ใช้ในกรณีที่แสงในขณะ Scan ไม่เพียงพอ การท�างานเป็นแบบ On-Off 2. ปุมรูป เป็นการเปดรูปที่ถ่ายแล้วเก็บไว้ใน Smart Phone ขึ้นมาเพื่อท�าการ Scan หาค�าตอบ 3. ปุม Volume เป็นการตั้งค่า หรือ Settings หากเลือก Save images to gallery นั้น Google Goggles จะเก็บภาพทุกภาพ ทีท่ า� การสืบค้นไว้ใน Smart Phone หากเก็บจนไม่มพี นื้ ทีเ่ หลือแล้ว Application จะ ลบรูปออกไปเอง
22
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ส่วน Search from camera จะเป็นการตั้งค่ากล้องที่ใช้ scan ค่า roaming และเปด หรือปดเสียงที่จะแสดงเมื่อพบข้อมูลที่สืบค้น
4. ปุม คือปุมรวมข้อมูลของ Application ในหลายส่วน เช่น Version, Help, Tips & tricks, Send feedback และลิขสิทธิ์ เป็นต้น
รูป 3 รายการในปุมวงกลม เมื่อกดปุม แล้วเข้าไปดูรายละเอียดของ Tips & Tricks (รูป 4) ท�าให้ทราบได้ว่าขณะ นี้ Goggles สามารถแสดงผลลัพธ์ของการสืบค้นได้ดีในหลายด้าน ได้แก่ ปกหนังสือ DVDs สถานที่ ตราสัญลักษณ์สินค้า ข้อมูลการติดต่อ ผลงานศิลปะ ธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ Barcode และ Quick Response code (QR) และตัวอักษร นอกจากนี ้ ยังสามารถเฉลย Sudoku ได้ ส่วนภาษาทีส่ ามารถ แปลนั้นได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี เยอรมัน สเปน โปรตุเกส รัสเซีย ตุรกี เป็นต้น แต่อย่างไรก็ดี สิ่งของหรือวัตถุที่ยังแสดงผลการสืบค้นได้ไม่ดีนักได้แก่ สัตว์ และเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งหากสืบค้นไม่พบ ผู้ใช้สามารถเข้าไปสืบค้นต่อตามหมวดหมู่ที่คล้ายคลึงต่อไปได้
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
23
รูป 4 Tips & Tricks ปุมที่ 2 กล้อง ปุมกล้อง เป็นปุมที่ใช้มากที่สุด บ่อยที่สุด และน่าจะเป็นปุมส�าคัญที่สุด เพราะจะเป็น ปุมการท�างานของ Google Goggles ให้กดปุมนี้ขณะส่องที่รูปที่ต้องการ จะมีเส้น scan สีน�้าเงิน ปรากฏจากซ้ายไปขวา (รูป 5) จากนั้นจะแสดงผลการค้นหาออกมา บางครั้งจะมีแหล่งเว็บไซต์ที่ เกี่ยวข้องให้คลิกเข้าไปดูรายละเอียดได้อีก ในบางบทความแนะน�าว่าเพื่อประสิทธิภาพสูงสุดควร Scan ภาพในแนวนอน แต่จากการทดลองด้วยตนเองพบว่าผลการ Scan แบบตั้งและแนวนอนไม่ แตกต่างกัน
24
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
รูป 5 แสดงขณะ Scan ปุมที่ 3 Crop ปุม Crop ใช้เมื่อต้องการเลือกส่วนที่จะ Scan เพราะ วัตถุหลายอย่างอาจจะอยู่ปะปน กัน เช่น ต้องการ Scan Barcode บนปกหนังสือ หรือส่วนของภาพบนห่อสินค้า (รูป 6)
รูป 6 การเลือก Crop เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
25
การแสดงผลลัพธ์ของ Google Goggles ที่ได้จากการทดลองมี 3 ระดับ จากชัดเจนมาก จนถึงขั้นอ่านตัวอักษร ซึ่งแสดงเป็นแถบสีเขียว สีฟ้า และสีแดงตามล�ำดับดังรูป 7 รูปปกหนังสือ Coursebuilder for Dreamweaver การสร้างแบบทดสอบในเว็บไซต์ แต่งโดย พูลศรี เวศย์อุฬาร (2544) ซึ่งเก็บอยู่ในหอสมุดกลาง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สีเขียวแสดงผลของ Barcode สีฟ้า แสดงข้อมูลที่สามารถติดต่อ และสีแดงแสดงตัวอักษรที่ปรากฏบนเอกสารที่สืบค้น
รูป 7 การแสดงผลลัพธ์ของ Google Goggles
26
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ส่วนที่ 3 สรุปผลการใช้ Google Goggles ค้นหาด้วยภาพ
จากการทดลองสืบค้นด้วยภาพโดย Google Goggles ได้ผลเป็นตารางดังต่อไปนี้ ประเภท
ภาพที่สืบค้น
ผลการสืบค้น ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง
ปกหนังสือ
ข้อสังเกต ผลลัพธ์ที่ได้คือตัวอักษรที่ปรากฏ บนปก
ผลลัพธ์ที่ได้ชัดเจน และยังมีผล ภาษาไทยอีกด้วย
ผลลัพธ์ที่ได้ไม่สื่อความหมาย เพราะไม่แสดงผลภาษาไทย แต่ จะอ่านรหัส Barcode และตัว อักษรภาษาอังกฤษ
แม้จะเป็นหนังสือที่มีชื่อเสียง แต่ ก็ไม่มีผลการสืบค้น
เมื่อลองปกหนังสือใหม่ๆ มีตัว อักษรชัดเจน แต่ก็ไม่มีผลการ สืบค้น
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
27
รูปสถานที่
ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้องชัดเจน แม้จะ Scan เพียงบางส่วนของ ภาพ
ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้องชัดเจน แต่ต้อง Scan ภาพทั้งหมด
ตรา สัญลักษณ์
28
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้องชัดเจน แม้จะเป็นเพียงภาพเงาไม่มีราย ละเอียด นอกจากนี้ผลลัพธ์ยัง แสดงให้ทราบว่าภาพนี้เป็นภาพ ที่ได้รางวัลอีกด้วย ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง ว่าเป็น ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ แม้จะไม่มีตัว อักษรใดใดเลย ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง ว่า เป็นตราสัญลักษณ์ของ Brock University,Canada แม้จะไม่มี ตัวอักษรใดใดเลย ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง ว่าเป็น ตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ แม้จะเป็นภาพขาวดำ� และยังแสดงผลตัวอักษรภาษา อังกฤษอีกด้วย
Sudoku
ผลงานศิลปะ
รูปสัตว์ ผลไม้
ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง รวดเร็ว แม้จะเลือกเกมขั้นยาก
ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง รวดเร็ว
ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง รวดเร็ว
ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง รวดเร็ว อาจจะเป็นเพราะเป็น ภาพที่มีอยู่ในเว็บไซต์
ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง รวดเร็ว อาจจะเป็นเพราะเป็น ภาพที่มีอยู่ในเว็บไซต์
ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง รวดเร็ว
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
29
บุคคล เช่น ดารา
ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง รวดเร็ว ว่าเป็น Madonna แต่ เมื่อลองดารารุ่นใหม่ๆ กลับไม่ ได้ผล ได้ผลการสืบค้นที่ถูกต้อง รวดเร็ว ว่าเป็น ดารณีนุช แต่เมื่อ ลองดารารุ่นใหม่ๆ กลับไม่ได้ผล
จากการทดลองครั้งนี้พบว่าการสืบค้นภาพที่มีข้อความภาษาไทยยังไม่สามารถแสดงผลได้ ที่น่าพัฒนามากคือ ส่วนของปกหนังสือภาษาไทยส่วนใหญ่ไม่พบข้อมูล และงานศิลปะของไทยก็ไม่ ค่อยพบข้อมูล ซึ่งจากผลดังกล่าวจึงนับเป็นโอกาสอันดีที่จะต้องพัฒนาฐานข้อมูลภาษาไทยของ Google Goggles ให้ครอบคลุมฐานข้อมูลไทยในทุกด้าน เพื่อประโยชน์กับผู้ใช้ชาวไทย
ข้อแนะน�ำเพื่อการวิจัยทางการศึกษา Google goggles เป็น Search Engine Application ทีม่ ศี กั ยภาพทีน่ า่ สนใจอย่างยิง่ เพราะ การเรียนรูด้ ว้ ยการมองเห็นเป็นช่องทางส�ำคัญทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารสร้างความรูไ้ ด้อกี มากมาย จึงน่าจะมี การวิจัย ศึกษาทดลองใช้ google goggles เพื่อการศึกษา เช่น การใช้ Google goggles ให้ความ รู้เมื่อไปทัศนศึกษา การเรียนภาษาต่างประเทศ การตรวจ Sudoku การรู้จักผลงานศิลปะ การรู้จัก ตราสัญลักษณ์ เป็นต้น แต่อย่างไรก็ดีในด้านของ Application นั้นต้องขยายความสามารถ ขยาย ฐานข้อมูล และเพิ่มภาษาต่างๆ โดยเฉพาะภาษาในเอเชีย ให้ครอบคลุมมากกว่านี้ ซึ่งน่าจะเป็น ประโยชน์กับผู้ใช้คนไทย นอกจากนี้หากฐานข้อมูลสามารถตอบค�ำถามได้ละเอียดมากกว่านี้การใช้ Google Goggles จึงน่าจะสะดวกขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้ในวัฒนธรรมที่มีภาษาหลาก หลาย เช่น ในกลุ่มประเทศ AC เป็นต้น
30
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา