‡∑§‚π‚≈¬’ เทคโนโลยี ส◊ËÕื่อ “√°“√»÷ สารการศึ°ก…“ ษา ¡Ÿมู≈ลπ‘นิ∏ธ‘»ิศ“ μ√“®“√¬å าสตราจารย์Àห¡àม่Õอ¡À≈«ßªî มหลวงปิòπ่น ¡“≈“°ÿ มาลากุ≈ล
„πæ√–√“™Ÿปªถั∂—ม¡ภ์¿åส มเด็ ¡‡¥Á®จæ√–‡∑æ√— ¡“√’มารี ในพระราชู พระเทพรัμตπ√“™ ÿ นราชสุ¥ด“œาฯ ¬“¡∫√¡√“™°ÿ สยามบรมราชกุ ���บ�ที���่ 11 ������� ปี��ท�ี่ � 2319 ฉบั ประจำ�ปี�ก���� ารศึ��� กษา2555 2559 ❖❖❖
��ที�� ่ป���รึ�� กษา
��.�� ภู��ม���ิภ�� รศ.ชม าค ศ.ดร.ผดุ ง อารยะวิ ��.��.����� �������ญ�ญู���
บรรณาธิ ������� ���การ
ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ��.��.������� �����
คณะกรรมการดำ����� เนินงาน ���������������
ผศ.ดร.ไพโรจน์ เบาใจ ��.��.������� ����� รศ.ดร.สาโรช โสภี��ร� ัก�� ข์ ��.��.����� ���� รศ.ดร.วี ��.��.��ร�ะ� ไทยพานิ ��������ช รศ.ดร.สุ โคตรบรรเทา ��.��.��น�ทร �� ���������� ผศ.ดร.ไพบู เปานิ� ล ��.��.�����ล��ย์ ����� พ.ต.ดร.บุ ญ��ชู ���� ใจซื�� ่อ��กุ�ล �.�.��.��� รศ.ดร.วิ ะวั�ฒ������ นานนท์ ��.��.��น�ัย�� วี���ร��� นางวั นดี บุญทวี ��������� �����������
รศ.ดร.ประหยั ระวรพงศ์ ��.��.������ � ด���จิ������� รศ.ดร.สานิ���ตย์������� กายาผาด ��.��.���� ดร.พู�ล���ศรี����� เวศย์��� อ��ุฬาร ��.�� ศ.ดร.สุท���ธิ�พ���งศ์ ���� หกสุ���� วรรณ ��.��.�� รศ.ดร.เผชิ�ญ���กิ����� จระการ ��.��.���� รศ.ดร.พงษ์������� ประเสริ ฐ หกสุ วรรณ ��.��.���� � ���� ���� อาจารย์���น้ำ� ขอนั ������� ���สุ��� ���นต์
นางวันดี บุญทวี นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์ ��������� ย���อาสภวิ �������� ริยะ นายชาญชั
ร.ต.ท.บัญชา บุญทวี นางศิริมา ถ้ำ�ทอง
ผู้จัดการฝ่ายโฆษณา และประชาสัมพันธ์
�.��.�� ����� �������� รศ.ดร.ไชยยศ เรืองสุวรรณ ดร.จันทร์� ������� ชุ่มเมือ�งปั��ก �.��.���
���� �� ������������ ����������������
นางเยาวดี น่วมสวัสดิ์
��������� ��������� �
���เจ้���� าของ
�����������ห��ม่�อ������� มู��ล�นิ��ธ�ิศ��าสตราจารย์ มหลวงปิ��่น������ มาลากุ� ล��������������������������������������� ������������ ����ปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพระราชู
���� สำ��นั��� กงาน
�����������ห��ม่�������� �� ������ � ล มู��ล�นิ��ธ�ิศ��าสตราจารย์ อมหลวงปิ ่น มาลากุ �����่ � 114 114 อาคาร ����� 1414��ชั��้น2 2����� ����� �����ย��� ������.0-2261-1777 เลขที มหาวิ ทยาลั ศรี�น���� คริ�น�� ทรวิ���.0-2259-1919 โรฒ โทรศัพท์ 0-2259-1919 โทรสาร 0-2261-1777
สารบัญ
หนา
บก.แถลง ........................................................................................................................................................................... 3 คณะกรรมการรวมกลั่นกรอง ............................................................................................................................................. 4 พระราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร .....................................................................................................................6 ประวัติยอ ศาสตราจารย หมอมหลวงปน มาลากุล ........................................................................................................... 8 หนาตางงานวิจัย...การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากบทเรียนผานเว็บไซตดวยสมารทโฟน : ไพโรจน เบาใจ ...............15 การพัฒนารูปแบบการจัดสภาพแวดลอมทางการเรียนแบบอีเลิรนนิ่งดวยกูเกิ้ลเอิรธ : พูลศรี เวศยอุฬาร, สุจิตรา นุมสุวรรณ .......21 การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนนิงตามกรอบมาตรฐานคุณภาพของสมาคมสโลน เรื่องความรูเบื้องตนเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา สําหรับสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร : ดร.พูลศรี เวศยอุฬาร, ผศ.ดร.ไพโรจน เบาใจ, ผศ.จงดี กากแกว ...................36 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอีเลิรนนิ่งเสริมทักษะการเรียนวิชาคณิตศาสตรผานเฟซบุคของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ : ผศ.ดร.สมภพ ทองปลิว ..................................58 การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใชการเรียนรูดวยโครงงานเพื่อสงเสริมความคิดสรางสรรคและทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 : ฉวัฒญา ฉิมมา, สังคม ภูมิพันธุ, นิรุวรรณ เทรินโบล ........66 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการแบบเธรด (Threaded) เพื่อพัฒนาทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรมหาวิทยาลัยเอกชน : ชญาชล สิริอัครบัญชา, ไพโรจน เบาใจ ..............................................86 การพัฒนาบทเรียนตามสภาพแวดลอมอีเลิรนนิง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร สําหรับนักศึกษาที่บกพรองทางการไดยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต : ฉัตรชัย บุษบงค ........................................ 103 Development of Web-based Learning Environment Model to Enhance Cognitive Skills for Undergraduate Students in the Field of Electrical Engineering : Thongmee Lakonpol .......................... 122 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยใชสถานการณปญหาเปนฐาน เพื่อสรางเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห เรื่อง มงคลชีวิต วิชาพระพุทธศาสนา สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 : ประภาทิพย อัคคะปญญาพงศ, ไพโรจน เบาใจ, อุทิศ บํารุงชีพ ............................ 141 การพัฒนามัลติมีเดีย เรื่อง การใชแท็บเล็ตเพื่อการฝกอบรมครูระดับชั้นประถมศึกษา ในโรงเรียนเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร : ปณิตา ปานทอง, รองศาสตราจารย ดร.วารินทร รัศมีพรหม .......................... 156 การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง วงจรไฟฟาเบื้องตน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 : ศิรินภา จันทรลา, รองศาสตราจารย ดร.วิริยะ วงศเลาหกุล ................................. 165 การพัฒนาบทเรียนฝกอบรมผานเว็บเรื่องการใชงานหองสมุด สําหรับนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา : พรพรรณ เกิดจั่น, รศ.ดร.ทิพยเกสร บุญอําไพ ..................... 174 การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่น เรื่อง เวลคัม ทู อาเซียน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 : ณัฐวิภา หงสเจริญกุล, สาโรช โศภีรักข .............................................................. 188 การกีฬากับสันติภาพ : รองศาสตราจารยชม ภูมิภาค .......................................................................................................... 197 การวิจัยและพัฒนา R&D : ผศ.ดร.ไพโรจน เบาใจ .............................................................................................................. 206 รถทัศนศึกษาดาวอังคาร : เทคโนโลยีที่เหนือกวาความจริงเสมือน : ดร.พูลศรี เวศยอุฬาร ................................................ 209 การพัฒนาบทเรียนตามสภาพแวดลอมอีเลิรนนิง เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพในงานอาชีพคหกรรมศาสตร สําหรับนักศึกษาที่บกพรองทางการไดยิน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต : ดร.พีระพงษ สิทธิอมร ............................... 225 เกร็ดเล็กเกร็ดนอยเกี่ยวกับศาสตราจารยหมอมหลวงปน มาลากุล...ตอนที่ 5 : ดร.จันทร ชุมเมืองปก ............................... 229 องคบรมครู : หมอมหลวงหนอย กมลาศน ........................................................................................................................... 231 กิจกรรมของมูลนิธิ .......................................................................................................................................................... 233 แนะนําเว็บไซต มูลนิธิศาสตราจารยหมอมหลวง ปน มาลากุล ในพระบรมราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ............................................................... 237
บ.ก.แถลง ∫°.·∂≈ß หนั เทคโนโลยี ื่อสารการศึ นี้ เปน��������� ปที่ 23 ได�ใ��� หค� วาม ����ง��สื��อ���� �������ส����� �������กษาฉบั �����บ���� �� สํ��������� าคัญกับงานวิ ่อสาร �จึ��������� งนํามาลงไว��เป�� น ����จ�ัย��ทางเทคโนโลยี ������ �����ก�ารศึ ����ก�ษาและการสื ���������������� จํ��� านวนมาก เพื่อให นักวิ�ช������������ าการ นักวิจัย และผู นที่สนใจนําไปใช ����������� ����� ������อา���������� �����ประโยชน ������ ากํ��าลั�������������������� งเปนที่นิยม และการกีฬ����� าจะนํ�า��ไปสู สันติ��ภ���� าพ ������ขณะนี �������้ก�ารกี ����ฬ����� ��������� ท������ านรองศาสตราจารย ม �ภูE-Learning มิภาค ประธานมู ลนิธิ ศ.มล.ป น มาลากุ ล ได ���������������ช��� ��������� Agmented Reality กรุ ณาเขียนบทความนี ้ให สว�นด านเทคโนโลยี การศึกษาและการสื ����������� ��������������� ������ �������� �������� ���������������่อ��สาร ���� ทM-Learning าน ดร.พูลศรี เวศย นาํ � �เสนอ to Mars และยั�งมี������� เรือ่ งอืน่ �ๆ� �����อฬุ � ��าร� ��ได � ��� ��� � ���Field � ���� �Trip �� � ������ ������� ที������� น่ า สนใจอี ขาพเจาขอขอบคุ ทานไว������� ณ ทีน่ ดี้ �ว ���� ย นอกจากนี ข้ า พเจา � ���กมาก ��������� ����������ณ��ทุ��ก����� ��� �������� ยั��ง����� มีเจตนาสนั บสนุนให ักเทคโนโลยี การศึ กษาได ชวารสารฉบั นที่เผย �������������� ���น��������� ����� ������ ����ใ�������� �����บ��นี�้เ��ป�������� แพร ความรู างวิ���� ชาการสู ้น ถาทานมี� น�������� วัตกรรมใหม ๆ สามารถส ��������� ����ท�� �����ส��ัง�คม ����ฉะนั ����������� ������ �����������ง มาตี พิมพไดเสมอ ������� ขาพเจาขอขอบคุณทุกทานทีใ่ หการสนับสนุนการจัดพิมพหนังสือฉบับนี้ �������น�เล������� ����ขอให ������ท��า��นมี ������ ���� ����������า��วหน ���า�ในชี ������ จนออกมาเป มสวยงาม ความสุ ขและความก วิต ���������������� ��������������������������������������� ตลอดไป
ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพโรจน เบาใจ ������������������������� ������������� ������� กรรมการมู ิศาสตราจารย หมอมหลวงป น มาลากุล���� ��������� ����ล��นิ�ธ���� ���������������� ��� ������������ ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ������������������ ��.������� �����
รถทัศนศึกษาดาวอังคาร: เทคโนโลยีที่เหนือกว่าความจริงเสมือน ดร.พูลศรี เวศย์อุฬาร1
Lockheed Martin Corporation เป็นบริษัทผู้ผลิตเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการทหาร อันดับต้น ๆ ของประเทศสหรัฐอเมริกา ผลงานของบริษัทในปัจจุบันครอบคลุมยวดยานทั้ง 5 มิติ คือ บนพืน้ ใต้นำ �้ ผิวน�ำ ้ อากาศ และอวกาศ หนึง่ โครงการทีน่ า่ สนใจที่ Lockheed Martin Corporation ด�ำเนินการในปี ค.ศ. 2016ได้แก่การก่อตัง้ และด�ำเนินงานจัดงาน the USA Science & Engineering Festival ซึ่งนับเป็นมหกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยิ่งใหญ่ ส�ำหรับ STEM (science, technology, engineering, mathematics) ระดับชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อเป็นแรงบันดาลใจแก่นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรรุ่นใหม่ ในงานดังกล่าวมีการแสดงผลงาน มากกว่า 1,000 โครงการและมีกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์ที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูง ส�ำหรับผู้สนใจ ทุกวัย (Lockheed Martin, 2016) 1
อาจารย์ประจำ� Ph.D. in eLearning Methodology Graduate School of eLearning มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
209
งานดังกล่าวนี้จัดขึ้นและเปิดให้สาธารณชนเข้าชมงานเมื่อวันที่ 16-17 เมษายน 2559 ณ ศูนย์แสดงนิทรรศการ Walter E. Washington กรุง Washington D.C. โครงการเด่นในมหกรรม ดังกล่าวคือ โครงการรถทัศนศึกษาดาวอังคารซึ่งใช้เทคโนโลยีที่เหนือกว่าความจริงเสมือน นั้นคือ การพาผูโ้ ดยสารเดินทางไปเทีย่ วชมดาวอังคารได้โดยการนัง่ รถบัสพิเศษทีภ่ ายในมีระบบเทคโนโลยี หลากมิติ ซึง่ ผูโ้ ดยสารจะรูส้ กึ เสมือนหนึง่ ได้นงั่ รถทีข่ บั เคลือ่ นไปบนดาวอังคารจริง ๆ ความหลากมิติ ที่เพิ่มขึ้นมานี้คือ การสร้างให้ผู้ชม “รู้สึกราวกับสัมผัสของจริง” ซึ่งท�ำให้ได้รับอรรถรสและเกิด ความรูส้ กึ ตืน่ เต้นประทับใจมากกว่าการสวมอุปกรณ์ เช่น Goggle หรือ Headset แบบ Virtual Reality (ความเป็นจริงเสมือน) เสียอีก (Lockheed Martin, 2016a) ดังนั้นรถทัศนศึกษาดาวอังคารนี้ จึงน่าจะเป็นนวัตกรรมที่มีความน่าสนใจอย่างยิ่งในด้านการใช้เทคโนโลยีการศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพของการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับรถทัศนศึกษาดาวอังคารมากขึ้น จึงขอใช้ ภาพประกอบค�ำบรรยายสั้น ๆ โดยจัดแบ่งเนื้อหาเป็น3 ส่วนหลักได้แก่ 1. บรรยากาศภายในรถทัศนศึกษาดาวอังคาร 2. เทคโนโลยีเบื้องหลังการสร้างรถทัศนศึกษาดาวอังคาร 3. แนะน�ำทีมงานผู้ผลิต
ส่วนที่ 1 บรรยากาศภายในรถทัศนศึกษาดาวอังคาร
เริ่มจากรถทัศนศึกษาดาวอังคารเปิดประตูรับผู้โดยสาร 210
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
เมื่อรถเคลื่อนออกไป กระจกใสของรถทั้งคัน จะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นภาพของดาวอังคาร
ผู้โดยสารจะเห็นวิวทิวทัศน์ของดาวอังคารเสมือนจริงปรากฏขึ้นเมื่อมองออกไปยังกระจกรถ
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
211
ผู้โดยสารจะเห็นภาพเสมือนรถก�ำลังเลี้ยวบนดาวอังคาร ขณะที่รถเลี้ยวอยู่จริง ๆ
ภาพที่ปรากฎบนกระจกรถและเสียงจะท�ำให้ผู้โดยสารรู้สึกราวกับรถก�ำลังขับอยู่บนดาวอังคารจริง ๆ
212
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
รถได้ใส่โปรแกรมเพื่อให้ผู้โดยสารรู้สึกว่าก�ำลังขับผ่านหลุมหรือ บ่อเหมือนจริงบนดาวอังคาร
บนกระจกรถยังแสดงข้อมูลต่าง ๆ ของภาพที่ปรากฏขึ้นด้วยเพื่อเป็นการให้ความรู้
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
213
ผู้โดยสารจะได้ยิน และรู้สึกราวกับอยู่บนดาวอังคาร เช่นการสั่นสะเทือนของรถ ขณะที่รถวิ่งผ่านพายุทราย พร้อมกับเสียงพายุที่ดังมาก
ภาพที่ผู้โดยสารได้เห็นเมื่อรถออกวิ่งไป ซึ่งแสดงถึงโครงการที่ก�ำลังด�ำเนินการอยู่บนดาวอังคาร 214
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ส่วนที่ 2 เทคโนโลยีเบื้องหลังการสร้างรถทัศนศึกษาดาวอังคาร
ข้อมูลจากเว็บไซต์ของโครงการนีม้ ี Video แสดงแนวคิดและอธิบายเทคโนโลยีทนี่ ำ� มาสร้าง โครงการดังกล่าวอย่างคร่าว ๆ ในบทสัมภาษณ์ได้เน้นให้ทราบว่าโครงการนีต้ อ้ งการสร้างนวัตกรรม ที่เหนือกว่าการเป็นความจริงเสมือน (Virtual Reality) ที่ผู้ใช้ต้องสวม Goggle หรือ Headset อยู่ตลอดเวลา (Lockheed Martin, 2016b) โดยสิ่งที่เสริมเข้าไปในโครงการนี้คือการที่ผู้โดยสาร ได้รู้สึกถึงการเดินทางเมื่อรถเคลื่อนที่ออกไป
โครงการนี้ต้องการให้ผู้ชมได้รับอรรถรสเสมือนจริงมากกว่าเทคโนโลยีแบบ Virtual Reality เพราะผู้โดยสารจะเห็นสภาพของดาวอังคารเมื่อรถแล่นออกไป
Main board ที่ใช้ คือ “ASUS Z170 PRO GAMING” เพื่อให้การ Render ภาพรวดเร็วราวกับสถานการณ์จริง เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
215
การสร้างจะต้องออกแบบ และค�ำนวณเพื่อให้ได้ภาพที่ครอบคลุมทั้งคันรถ
ทีมงานมีการประชุมและระดมความคิดเพื่อให้โครงการนี้ล�้ำหน้ากว่าโครงการที่เคยท�ำมาก่อน
ขั้นตอนของการติดตั้งบนรถต้นแบบแล้วน�ำไปทดลองวิ่ง 216
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
สังเกตในจอคอมพิวเตอร์จะเห็นว่า ขณะที่รถวิ่งไปบนถนนโปรแกรมจะแสดงภาพบนดาวอังคารขึ้นมา
หลากหลายเทคโนโลยีน�ำมาใช้ร่วมกัน เช่น ระบบก�ำหนดต�ำแหน่งบนโลก โดยอาศัยสัญญาณดาวเทียม (Global Positioning System-GPS) อุปกรณ์วัดความเร่งแบบ 3 แกน (3 axis accelerometer) ร่วมกับ เครื่องวัดความเข้มข้นของสนามแม่เหล็ก (Magnetometer) เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
217
มีการติดตั้ง เครื่อง Laser Surface Velocimeter เพื่อวัดระยะทางรถเคลื่อนที่ด้วยแสงเลเซอร์ ที่สัมผัสกับพื้นผิว
การติดตั้งเครื่อง Laser Surface Velocimeter กับรถต้นแบบขณะทดลอง 218
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
กระจกรถที่ใช้ในโครงการนี้คือจอคอมพิวเตอร์แบบใส ซึ่งยังไม่มีจ�ำหน่ายในท้องตลาดทั่วไป
ขั้นตอนการติดตั้งกระจกที่เป็นจอคอมพิวเตอร์บนรถต้นแบบ
ในตอนแรกผู้โดยสารจะเห็นกระจกใสเหมือนรถปรกติ แต่เมื่อรถเคลื่อนออกไปกระจกจะเปลี่ยนเป็น ภาพบนดาวอังคาร ซึ่งย่อมจะส่งผลต่อการรับรู้ที่ดีกว่าการสวม Goggle หรือ Headset เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
219
คุณภาพของเสียงในรถทัศนศึกษาดาวอังคาร เป็นส่วนส�ำคัญ ที่ท�ำให้ผู้โดยสารรู้สึกได้ราวกับสัมผัสของจริง
รถทัศนศึกษานี้ได้ผสมผสานเทคโนโลยีล�้ำยุคที่หลากหลายเพื่อเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่น่าสนใจ 220
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ส่วนที่ 3 แนะน�ำทีมงานผู้ผลิต
ประธานคือ Mr. Jon Collins
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการ Mr. Jonathan Shipman เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
221
หัวหน้าฝ่ายสร้างสรรค์เทคโนโลยี Mr. Alexander Rea
นักพัฒนาระดับอาวุโส Mr. Gary MarShall 222
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการนี้สามารถเข้าชมได้ที่ www.generation-beyond.com
สรุป
รถทัศนศึกษาดาวอังคารนับเป็นนวัตกรรมที่ยอดเยี่ยมด้านเทคโนโลยีการศึกษาที่ต้องใช้ ศาสตร์ด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ล�้ำยุค ผสานกับศิลป์ด้านการออกแบบขั้นสูงที่ท�ำให้ผู้โดยสาร ได้ประสบการณ์การเรียนรู้เสมือนจริงราวกับเดินทางอยู่บนดาวอังคาร ผลการสัมภาษณ์ผู้โดยสาร ของรถคันดังกล่าวท�ำให้ทราบว่าเทคโนโลยีทใี่ ช้ในโครงการนีส้ ร้างความประทับใจเป็นแรงบันดาลใจ และเป็นประสบการณ์ที่ตราตรึงอยู่ในความทรงจ�ำไปอีกนาน ซึ่งน่าจะคุ้มค่ากับงบประมาณในการ สร้างผลงานที่มีค่านับไม่ได้นี้
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา
223
บรรณานุกรม
Lockheed Martin. (2016a). Mars Experience. Retrieved June 27, 2016, from http:// generation-beyond.com/mars-experience Lockheed Martin. (2016b, May). How to Take a Field Trip to Mars on Vimeo (Video). Retrieved June 27, 2016, from https://vimeo.com/168253795 Lockheed Martin. (2016). USA Science & Engineering Festival by Lockheed Martin. Retrieved June 27, 2016, from http://www.lockheedmartin.com/us/news/ usa-science-engineering-festival.html
224
เทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา