วิถีแห่งความรู้แจ้ง หลวงพ่อปราโมทย์ (เล่ม 1 และ เล่ม 2)

Page 1

วิถีแหงความรูแจง

ถาทานผูใดประสงคจะพิมพแจกเปนธรรมทาน โปรดพิมพไดโดยไมตองขออนุญาต หากพิมพเพื่อจําหนาย ขอสงวนสิทธิ์


คํานํา วิถีแหงความรูแจงถึงพระสั ทธรรมทางพระพุทธศาสนา ไดแ กการเจริญสติ นอกจากการเจริญสติแลว ไมมีหนทางแหงความรูแจงทางที่สอง การเจริญสติ หรือการทําความรูตัว เปนวิถีทางที่ตรงไปตรงมาที่สุด ที่จะพาเรา แหวกออกจากโลกของความปรุงแตง หรือความคิดนึกทั้งหลาย ซึ่งปดกั้นเราไวจากสัจ ธรรมที่แทจริง ทันทีที่เราแยกตนเองออกจากโลกของความคิดปรุงแตงได จิตของเราจะ มีคุณภาพที่จะมองเห็นปรมัตถธรรมที่กําลังปรากฏและเกิดดับ ไดแกจิตและเจตสิก อัน เปนฝายนามธรรมและรูปธรรมทั้งปวง เมื่อจิตรูแจงและปลอยวางปรมัตถธรรม ฝาย รูปธรรมและนามธรรมไดแลว เราก็จะบรรลุถึงสัจจะอันแทจริง ซึ่งอยูเหนือความปรุง แตงทั้งปวง การบรรลุถึงสัจจะที่จะเหนือความปรุงแตง จะกระทําไมไดดวยการปฏิบัติที่เปน ความปรุงแตง อาทิ การทําทาน การถือศีล และการทําสมาธิที่ถูกตอง (ไมตองกลาวถึง การทําทาน การถือศีล และการทําสมาธิที่ผิด คือเจือดวยโมหะและโลภะ) ตัวอยางเชน เมื่อเกิดความตระหนี่ก็ทําทานเพื่อลดความตระหนี่ เมื่อถูกราคะและโทสะครอบงําจิตใจ จนลนออกมาเปนการทําผิดทางกายและวาจา ก็ถือศีลเพื่อเปนกรอบกั้นการทําผิดทาง กายและวาจาไวกอน หรือเมื่อจิตฟุงซานก็ทําความสงบ เมื่อมีกามราคะก็พิจารณาอสุภะ ฯลฯ สิ่งเหลานี้ แมจะเปนประโยชนมากและควรทํา แตก็เปรียบเหมือนกับการแก อาการของโรคเทานั้น ยังไมถึงขั้นการขจัดตนตอหรือสาเหตุของโรค การจะปฏิบัติจนจิตเขาใจถึงสภาพธรรมที่เหนือความปรุงแตง จะกระทําไดดวย การลืมตาตื่นออกจากโลกของความคิดฝนปรุงแตง แลวหันหนามาเผชิญกับปรมัตถ ธรรมที่กําลังปรากฏดวยจิตที่เปนกลาง พนจากความหลงยินดียินรายแมแตกับกิเลสบาป ธรรม ไมเพงจอง และไมเผลอเติมความคิดปรุงแตงลงในการรับรู นี้คือวิถีที่จะรีด กระแสความคิดปรุงแตงใหเรียวเล็กจนขาดลง เมื่อกระแสของความปรุงแตงขาดลง สภาพธรรมที่พนจากความปรุงแตงก็จะปรากฏออกมาเอง การทําความรูตัว เปนสิ่งที่เราไมคุนเคย เพราะเราคุนเคยแตกับความไมรูตัวแลว หลงอยูในโลกของความคิดฝน จึงจําเปนที่เราจะตองศึกษา ทําความเขาใจ แลวลงมือ ปฏิบัติอยางจริงใจ


หนังสือเลมนี้ ไดนําเสนอขอเขียนบางสวนของอุบาสกนักปฏิบัติผูหนึ่งคือ นาย ปราโมทย สันตยากร / “สันตินันท” / “อุบาสกนิรนาม” ทั้ง 4 เรื่อง มีสาระเดียวกันคือ นํ า เสนอแนวทางการเจริ ญ สติ เพี ย งแต มี ค วามยากง า ยในการอธิ บ ายแตกต า งกั น นับตั้งแต (1) เรื่อง “แดเธอผูมาใหม : เรื่องเรียบงายและธรรมดาที่เรียกวาธรรมะ” จะ เปนการนําเสนอสําหรับผูที่ไมคุนเคยกับศัพททางพระพุทธศาสนา (2) เรื่อง “แนวทาง ปฏิบัติธรรมโดยสังเขป” เปนการขยายความใหลึกลง (3) เรื่อง “แนวทางปฏิบัติธรรม ของพระราชวุฒาจารย (หลวงปูดูลย อตุโล)” เปนการแจกแจงการปฏิบัติแบบหนึ่ง ของศิษยผูหนึ่ง ซึ่งไดรับการชี้แนะแกนคําสอนในเชิงปฏิบัติจากหลวงปูดูลย (ควรเขาใจ วา ศิษยทานอื่นก็อาจมีวิธีการปฏิบัติตามแกนคําสอนของหลวงปู แตกตางกันบางตาม จริตนิสัย) และ (4) เรื่อง “การดูจิต : ความหมาย วิธีการ และผลของการปฏิบัติ” เปน การอธิบายในเชิงวิชาการ เพื่อสรางความเขาใจที่ตรงกันระหวางนักปริยัติกับนักปฏิบัติ ขอชาวพุทธจงรูจักวิถีแหงความรูแจง และมีสวนแหงความรูแจงตามรอยบาท ของพระศาสดาโดยทั่วถึงกันเทอญ (1 พฤศจิกายน 2544)


“เราไมไดปฏิบัติเพื่อดับสังขารขันธ หรือเวทนาและสัญญาขันธ แตปฏิบัติเพื่อจะรูทันความเกิดดับของมัน ดวยจิตที่เปนกลาง ถาคิดจะดับมัน จิตจะเกิด ความรําคาญใจขึ้นมาเล็กๆแบบไมรูตัวครับ เรียกวากิเลสเกิดขึ้น แตเรารูไมทัน จิตจึงไปปฏิเสธสภาพธรรมที่กําลังปรากฏอยู”


แดเธอผูมาใหม : เรื่องเรียบงายและธรรมดาที่เรียกวาธรรมะ โดยคุณ : สันตินันท ๓๑ สิงหาคม ๒๕๔๒ / ๑๔:๐๗:๒๙ น.

เปนการยากที่เราจะเห็นไดวา ธรรมะเปนเรื่องเรียบงายและธรรมดาที่สุด เพราะ ภาพลักษณของศาสนา หรือของธรรมะที่เรารูจักนั้น ดูอยางไรก็ไมธรรมดาเลย เริ่ม ตั้งแตภาษาที่ใชเต็มไปดวยภาษาบาลี มีศัพทที่มีความหมายเฉพาะมากมาย แคทําความ เขาใจศัพทก็ยากนักหนาแลว พอรูศัพทแลวลงมือศึกษาตําราจริงๆ ก็พบความยากอีก คือธรรมะที่พระพุทธเจา ทรงสอนไวมีมากเหลือเกิน และตําราที่พระรุนหลังลงมาทานเขียนไวก็มีอีกมากมาย บางทานพอใจที่จะลงมือปฏิบัติ ก็มีปญหาอีกวา สํานักปฏิบัติมีมากมายทุกสํานัก บอกวาแนวทางของตน ถูกตรงที่สุดตามหลักมหาสติปฏฐาน บางทีก็ทับถมสํานักอื่น หนอยๆ วา สอนไมตรงทาง ความยากลําบากนี้พบกันทุกคนครับ ทําใหผมตองนั่งถามตนเองวา เปนไปได หรื อ ไม ที่ เ ราจะศึ ก ษาธรรมได อ ย า งง า ยๆ โดยไม ต อ งรู ศั พท บ าลี หรือ ไม ต อ งอ า น หนังสือ หรือเขาสํานักปฏิบัติใดๆ เลย *********************************** ความจริงธรรมะที่พระพุทธเจาสอนไวเปนเรื่องงาย ๆ ธรรมดาๆ ดังที่ผูไดฟง ธรรมจากพระโอษฐมักจะอุทานวา "แจมแจงนักพระเจาขา ธรรมที่ทรงแสดงเหมือนดัง เปดของคว่ําใหหงาย" ซึ่งก็ไมนาแปลกใจอะไรนักที่ผูฟงจะรูสึกเชนนั้น ก็เพราะผูฟง เอง เกิดมากับธรรม อยูกับธรรม จนตายไปกับธรรม เปนอยางนี้มาแตไหนแตไรแลว เพียงแตมองไมเห็นวา ธรรมไดแสดงตัวอยูที่ไหน เมื่อพระพุทธเจาทรงชี้แนะก็สามารถรู เห็นตามไดโดยงาย อีก ประการหนึ่ง พระผู มีพ ระภาคเจา ทรงถึง พร อมด ว ยความรอบรู สามารถ อธิบายธรรมอันยุงยากซับซอนใหยนยอเขาใจงาย สามารถขยายความธรรมอันยนยอให กวางขวางพอเหมาะแกผูฟง ทรงปราศจากอุปสรรคทางภาษา คือสามารถสื่อธรรมดวย ภาษาที่ผูฟงเขาใจไดงายๆ ไมเหมือนผูศึกษาและสอนธรรมจํานวนมากในรุนหลัง ที่ทําธรรมะซึ่งเปนเรื่อง ใกลตัวและแสนธรรมดา ใหกลายเปนเรื่องยุงยากซับซอนและไกลตัวเสียเหลือประมาณ


จนเกินความจําเปนเพื่อความพนทุกข และสั่งสอนดวยภาษาที่ผูฟงไมสามารถเขาใจได โดยงาย *********************************** แทจริงแลว ธรรมเปนเรื่องใกลตัว ใกลจนถึงขนาดที่เรียกวา เปนเรื่องเกี่ยวกับ ตัวเราเอง และขอบเขตของธรรมะก็มีเพียงนิดเดียวคือ ทําอยางไรจึงจะไมเกิดความ ทุกข ถาจะศึกษาธรรมะ ก็ศึกษาลงไปเลยวา "ความทุกขอยูที่ไหน เกิดขึ้นไดอยางไร และดับไปไดอยางไร" และความสําเร็จของการศึกษาธรรมะ อยูที่ปฏิบัติจนเขาถึงความ พนทุกข ไมใชเพื่อความรอบรูรกสมอง หรือเพื่อความสามารถในการอธิบายแจกแจง ธรรมไดอยางวิจิตรพิสดาร แทจริงแลว ความทุกขของคนเราอยูในกายในจิตของตนนั่นเอง สนามศึกษา ธรรมะของเรา จึงอยูที่กายที่จิตนี้แหละ แทนที่เราจะเที่ยวเรียนรูออกไปภายนอก ก็ให เรายอนเขามาศึกษาอยูในกายในจิตของเรานี้แหละ วิธีการก็ไมมีอะไรมาก ขอเพียงให หัดสังเกตกายและจิตของเราเองใหดี เริ่มตนงายๆ จากการสังเกตรางกายกอนก็ได ขั้นแรก ทําใจใหสบายๆ อยาเครงเครียด อยาไปคิดวาเราจะปฏิบัติธรรม แตให คิดเพียงวา เราจะสังเกตดูรางกายของเราเองเทานั้น สังเกตแลวจะรูไดแคไหนก็ไม เปนไร เอาแควาจะเฝาสังเกตใหไดเทาที่ทําไดก็พอ เมื่อทําใจสบายๆ แลว ลองนึกถึงรางกายของเรา นึกถึงใหรูพรอมทั้งตัวเลยก็ได เหมือนเรากําลังดูหุนยนตอยูสักตัวหนึ่ง ที่มันเดินได เคลื่อนไหวได ขยับปากได กลืน อาหารอันเปนวัตถุเขาไปในรางกาย ขับถายกากอาหารออกจากรางกาย ถาเราเห็นหุนยนตที่ชื่อวาตัวเรา มันทําโนนทํานี่ไปเรื่อยๆ เราเปนคนดูเฉยๆ ถึง จุ ดหนึ่งก็จะเห็ นแจงประจัก ษ ใจเองว า ร างกายนี้ไม ใ ช ตั ว เรา มั นเป น วั ตถุ กอนหนึ่ ง เทานั้น มีความไมหยุดนิ่ง ไมคงที่ แมแตวัตถุที่ประกอบเปนเจาหุนตัวนี้ ก็ยังมีความ เปลี่ยนแปลงไหลเขาไหลออกอยูตลอดเวลา เชนหายใจเขาแลวก็หายใจออก กินอาหาร และน้ําแลวขับถายออก ไมใชสิ่งที่เปนกอนธาตุที่คงที่ถาวร ความยึดถือดวยความหลง ผิดวา กายเปนเราก็จะบรรเทาเบาบางลงได แลวก็จะเห็นอีกวา ยังมีธรรมชาติที่เปนผูรู รางกาย อาศัยอยูในรางกายนี้เอง


เมื่อเห็นชัดแลววา กายนี้เปนแคกอนธาตุ ไมคงที่ ไมใชตัวเรา คราวนี้ก็ลองมา สังเกตสิ่งที่ซอนเรนอยูในรางกายนี้ตอไป เปนการเรียนรูเรื่องของเราเองใหละเอียด ยิ่งขึ้นไปอีก สิ่งที่แฝงอยูในรางกายที่เห็นไดงายๆ คือความรูสึกเปนสุขบาง เปนทุกขบาง เฉยๆ บาง เชนเมื่อเราเห็นหุนยนตตัวนี้เคลื่อนไหวไปมา ไมนานก็จะเห็นความเมื่อย ปวด ความหิวกระหาย หรือความทุกขอยางนั้นอยางนี้แทรกเขามาเปนระยะๆ พอความ ทุกขนั้นผานไปทีหนึ่ง ก็จะรูสึกสบายไปอีกชวงหนึ่ง(รูสึกเปนสุข) เชนกระหายน้ํา เกิด เปนความทุกขขึ้น พอไดดื่มน้ํา ความทุกขเพราะความกระหายน้ําก็ดับไป หรือนั่งนานๆ เกิดความปวดเมื่อย รูสึกเปนทุกข พอขยับตัวเสีย ก็หายปวดเมื่อย รูสึกวาทุกขหายไป (รูสึกเปนสุข) บางคราวมีความเจ็บไขไดปวย ก็จะรูความทุกขทางกายไดตอเนื่องยาวนานขึ้น เชนเกิดปวดฟนติดตอกันนานๆ เปนวันๆ ถาคอยสังเกตรูความทุกขที่เกิดขึ้นนั้น ก็จะ เห็นชัดวา ความปวดนั้นเปน สิ่งที่แทรกอยูกับเหงือกและฟน แตตัวเหงือกและฟน มัน ไมไดเจ็บปวดดวยเลย กายเหมือนหุนยนตที่ไมมีความเจ็บปวด เพียงแตมีความเจ็บปวด เปนอีกสิ่งหนึ่งที่แฝงอยูในกาย เราก็จะรูชัดวา ความรูสึกสุข รูสึกทุกข หรือรูสึกเฉยๆ ไมใชรางกาย แตเปนสิ่ง อีกสิ่งหนึ่งที่แทรกอยูในรางกาย และที่สําคัญ เจาความรูสึกเหลานั้น ก็เปนสิ่งที่กําลังถูก รู ถูกดูอยูเชนเดียวกับรางกายนั้นเอง ถัดจากนั้น เรามาเรียนรูเรื่องราวของตัวเองใหละเอียดมากขึ้น คือคอยสังเกตใหดี วา เวลาที่เกิดความทุกขขึ้นนั้น จิตใจของเรามันจะเกิดความหงุดหงิดรําคาญใจตามมา ดวย เชนหิวขาวแลวจะโมโหงาย เหนื่อยก็โมโหงาย เจ็บไขก็โมโหงาย เกิดความใคร แลวไมไดรับการตอบสนองก็โมโหงาย ใหเราหัดรูใหเทาทันความโกรธที่เกิดขึ้น ใน เวลาที่เผชิญกับความทุกข ในทางกลับกัน เมื่อเราไดเห็นของสวยงาม ไดยินเสียงที่ถูกใจ ไดกลิ่นหอมถูกใจ ไดลิ้มรสที่อรอย ไดรับสิ่งสัมผัสรางกายที่นุมนวล มีอุณหภูมิพอเหมาะ ไมรอนหรือ หนาวเกินไป ไดคิดถึงสิ่งที่พอใจ เราจะเกิดความรักใครพึงพอใจในสิ่งที่ ไดเห็น ไดยิน ไดกลิ่น ไดรส ไดสัมผัส และไดคิดนึกนั้น ก็ใหเรารูเทาทันความรักใครพอใจที่เกิดขึ้น นั้น พอเรารูจักความโกรธ หรือความรักใครพอใจแลว เราก็สามารถรูจักกับอารมณ


อยางอื่นๆ ไดดวย เชนความลังเลสงสัย ความอาฆาตพยาบาท ความหดหูใจ ความอิจฉา ริษยา ความคิดลบหลูผูอื่น ความผองใสอิ่มเอิบของจิตใจ ความสงบในจิตใจ ฯลฯ เมื่อเราเรียนรูอารมณหรือความรูสึกเหลานี้มากขึ้นๆ เราก็จะเริ่มรูวา ความจริง แลว อารมณทุกอยางนั้นไมคงที่ เชนเมื่อโกรธ และเราก็รูอยูที่ความโกรธนั้น ก็จะเห็น ระดับของความโกรธเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา อยูไปๆ ความโกรธก็ดับไปเอง และไม วาความโกรธจะดับหรือไมก็ตาม ความโกรธก็เปนแคสิ่งที่ถูกรู ไมใชตัวเรา ไมมีเราอยู ในความโกรธ แมอารมณอื่นๆ ก็จะเห็นในลักษณะเดียวกับความโกรธนี้ดวย ถึงตอนนี้ เราจะรูชัดวา รางกายก็เปนแคหุนยนตตัวหนึ่ง ความรูสึกสุขทุกข และ อารมณทั้งหลาย ก็เปนสิ่งที่ถูกรู ไมใชตัวเรา เมื่อหัดสังเกตเรียนรูจิตใจตนเองมากขึ้น คราวนี้ก็จะเห็นการทํางานของจิตใจไดชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ จนรูความจริงวา ความทุกขเปน เพียงสิ่งที่มีเหตุทําใหเกิดขึ้นเปนคราวๆ เทานั้น เราจะพบพลังงานหรือแรงผลักดันบางอยางในจิตใจของเรา เชนพอเห็นผูหญิง สวยถูกใจ พอจิตใจเกิดความรูสึกรักใครพอใจแลว มันจะเกิดแรงผลักดันจิตใจของเรา ใหเคลื่อนออกไปยึ ดเกาะที่ผูหญิงคนนั้ น ทํ าใหเราลืม ดู ตัวเอง เห็ นแต ผูหญิงคนนั้ น เทานั้น (เรื่องจิตเคลื่อนไปไดนี่ ถาเปนคนที่เรียนตําราอาจจะงงๆ แตถาลงมือปฏิบัติจริง จะเห็นวา ความรับรูมันเคลื่อนไปไดจริงๆ ตรงกับที่พระพุทธเจาทานพูดเรื่องจิตเที่ยวไป ไดไกล ไมมีคลาดเคลื่อนแมแตคําเดียว) หรือเมื่อเราเกิดความสงสัยในธรรม วาเราควรปฏิบัติอยางไร ก็จะเห็นแรงผลักดัน ที่บังคับใหเราคิดหาคําตอบ จิตใจของเราเคลื่อนเขาไปอยูในโลกของความคิด ตอนนั้น เราลืมดูตัวเราเอง เจาหุนยนตนั้นก็ยังอยู แตเราลืมนึกถึงมันก็เหมือนกับวามันหายไปจาก โลก ความรูสึกตางๆ ในจิตใจเราเปนอยางไร เราก็ไมรู เพราะมัวแตคิดหาคําตอบใน เรื่องที่สงสัยอยูนั่นเอง หัดรูทันจิตใจตนเองมากเขา ไมนานก็จะทราบดวยตนเองวา ความทุกขเกิดขึ้นได อยางไร ความพนทุกขเกิดขึ้นไดอยางไร สภาพที่ไมทุกข เปนอยางไร สภาพจิตใจมัน จะพัฒนาของมันไปเองทุกอยาง ไมตองไปคิดเรื่องฌาน เรื่องญาณ หรือเรื่องมรรคผล นิพพานใดๆ ทั้งสิ้น


ถึงตรงนี้ อาจจะพูดธรรมะไมไดสักคํา แปลศัพทบาลีไมไดสักตัว แตจิตใจพน จากความทุกข หรือมีความทุกข ก็ทุกขไมมากและไมนาน *********************************** ผมเขียนเรื่องนี้ขึ้นเปนของฝากสําหรับผูเริ่มสนใจจะศึกษาธรรมะ เพื่อบอกวา ธรรมะ เปนเรื่องธรรมดาๆ เปนเรื่องของตัวเราเอง และสามารถเรียนรูไดไมยากนักดวย ตนเอง อยาพากันทอถอยเสีย เมื่อไดยินคนอื่นพูดธรรมะแลวเราฟงเขาไมรูเรื่อง เราไม ตองรูอะไรเลยก็ได รูแควา ทําอยางไรเราจะไมทุกข ก็พอแลว เพราะนั่นคือใจความ ทั้งหมดของพระพุทธศาสนา ซึ่งจําเปนที่คนๆ หนึ่งควรจะเรียนรูไว


แนวทางปฏิบัติธรรมโดยสังเขป โดยคุณ สันตินันท วัน ศุกร ที่ ๗ มกราคม ๒๕๔๓ ๑๕:๔๑:๓๒

เพื่อนรวมทุกขจํานวนมาก ไปศึกษาการปฏิบัติธรรมกับผม และผมไดเห็นปญหา ที่ตามมาหลายอยาง เชนบางทานกลัววา พอไมไดอยูใกลผมแลว จะทําไมไดหรือทําไมถูก ถาเปนคน กรุงเทพก็ยังอุนใจวาจะพบผมไดอีกไมยากนัก แตคนตางประเทศหรือตางจังหวัด จะกังวลกันมากหนอย จึงอยากไดคูมือสําหรับการปฏิบัติอยางงายๆ แตเปนระบบ เพื่อความอุนใจวา จะใชเปนแนวทางปฏิบัติตอไปไดเมื่อไมพบผม บางทานฟงแลวยังสับสน ไมเขาใจ หรือไปจําธรรมที่ผมตอบคนอื่นเอาไปปฏิบัติ บาง ซึ่งเปนคนละขั้นตอน หรือคนละจริต ผลก็ไมตางจากการเอายารักษาโรคของคน อื่นไปรับประทาน จึงอยากเห็นภาพรวมของการปฏิบัติธรรมทั้งหมดที่ผมแนะนํา เพื่อ จะคลี่คลายความสับสนตรงนี้ไดบาง ปญหาอีกประการหนึ่งที่ผมทราบก็คือ เพื่อนบางทานถกเถียงกันเรื่องการปฏิบัติ ธรรม โดยนําคําแนะนําของผมที่ไดยินมาตางกรรมตางวาระ ไปเปนขออางอิงโตแยงกัน ผมจึงเห็นวา สมควรสรุปใจความยอของการปฏิบัติธรรม ตามที่ผมไดแนะนําหมู เพื่อน เพื่อใหเห็นภาพรวมของการปฏิบัติอยางเปนระบบ ตั้งแตเบื้องตนเปนลําดับไป เพื่อแกปญหาดังที่กลาวมาแลวขางตนนั้น *********************************** ๑. การสรางความเขาใจขอบเขตของพระพุทธศาสนา เพื่อนที่มีพื้นฐานความเขาใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนามานอย จะไดรับการปูพื้น ความเขาใจเสียกอนวา พระพุทธศาสนาไมใชยาแกสารพัดโรคครอบจักรวาล ไมใช เครื่องมืออยางเดียวในการดํารงชีวิตอยูในสังคม ดังนั้น ไมใชวาเปนนักเรียนก็เลิกเรียน เพื่อมาศึกษาพระพุทธศาสนา เพราะความรูทางโลกเปนสิ่งจําเปนสําหรับการดํารงชีวิต ในทางโลก ผูศึกษาพระพุทธศาสนาจําเปนตองรอบรูในศาสตรสาขาอื่นๆ ดวย และอยา เขาใจวา พระพุทธศาสนาเปนเรื่องอื่น นอกเหนือจากการเรียนรูเรื่องความทุกข และการ ปฏิบัติเพื่อความพนทุกข(ทางใจ) เทานั้น พระพุทธศาสนาไมไดมีไวเพื่อตอบปญหา เกี่ยวกับไสยศาสตร โชคลาง เจากรรมนายเวร ชาติโนนชาติหนา ผีสางเทวดา ฯลฯ


๒. เครื่องมือในการปฏิบัติธรรม ผูที่เขาใจแลววาพระพุทธศาสนาสอนเรื่องทุกขและการดับทุกข ก็จะไดรับการ แนะนําใหรูจักเครื่องมือสําหรับการปฏิบัติธรรม ไดแก สติ และ สัมปชัญญะ ผมมักจะพยายามแนะนําใหพวกเรา รูทัน สิ่งที่กําลังปรากฏกับจิต เชนความลังเล สงสัย ความอยาก ความกังวล ความสุข ความทุกข ฯลฯ เปนการหัดใหมี สติ ซึ่งเปน เครื่องมือรูอารมณที่กําลังปรากฏ และเฝากระตุนเตือนพวกเราใหทําความรูตัว ไมเผลอ ไมวาจะเผลอสงจิตไปทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย หรือใจ สวนมากก็จะเผลอกันทางตา กับ ทางใจคือหลงเขาไปอยูใน โลกของความคิด กับเผลอไปเพงจองอารมณ เอาสติจอแนนเขาไปที่อารมณที่กําลัง ปรากฏ การกระตุ น ความไม เ ผลอและไม เ ผลอเพ ง ก็ คื อ การพยายามให พ วกเรามี สัมปชัญญะ คือความรูตัวไวเสมอๆ ๓. การเจริญสติปฏฐาน เมื่อพวกเรามีเครื่องมือหรืออาวุธในการปฏิบัติธรรมแลว ขั้นตอนตอไปผมจะ แนะนําใหพวกเราเจริญสติปฏฐาน คือมีสติสัมปชัญญะระลึกรู กาย เวทนา จิต และ/หรือ ธรรม ตามความถนัดของแตละบุคคล เชนใหรูอิริยาบถ รูความเคลื่อนไหวระหวางการ เดินจงกรม รูลมหายใจเขาออก เบื้องตนถาจิตยังไมมีกําลัง ก็ใหรูไปอยางสมถะ คือเอา สติจดจอสบายๆ ลงในกายที่ถูกรูนั้น เมื่อจิตมีกําลังขึ้นแลวก็ใหเห็นวา อิริยาบถ ความ เคลื่อนไหวกาย หรือลมหายใจนั้น เปนเพียงสิ่งที่ถูกรู ถูกเห็น ไมใชจิต มีความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตาปรากฏอยูตอหนาตอตานั่นเอง เมื่อทําไดอยางนั้นแลว จิตจะมีกําลังสติสัมปชัญญะมากขึ้นอีก หากนามธรรมใด ปรากฏกับจิตก็สามารถจะรูเทาทันได เชนเกิดความรูสึกสุข รูสึกทุกข เกิดกุศล อกุศล ตางๆ ก็ใหรูทันนามธรรมนั้น ในลักษณะสิ่งที่ถูกรู เชนเดียวกับการรูรูปนั่นเอง อนึ่ง คนไหนมีกําลังรูนามธรรมไดเลย ผมมักแนะใหรูนามธรรมไปเลย หรือผูไม ถนัดจะระลึกรูนามธรรม สมัครใจจะรูรูปธรรมอยางเดียว ก็ได เมื่อจิตรูรูปธรรม หรือนามธรรมอยางตอเนื่องแลว พอมีกําลังสติปญญามากขึ้น ก็จะเห็นวา เมื่อจิตไปรูรูปธรรมหรือนามธรรมตางๆ แลว จิตจะมีความยินดี ยินราย หรือ เปนกลางขึ้นมา ผมมักแนะนําหมูเพื่อนใหระลึกรูความยินดียินราย หรือความเปนกลาง นั้น เมื่อจิตรูความยินดียินรายแลว ก็จะเห็นความยินดียินรายนั้นเกิดดับ เชนเดียวกับ


รูปธรรมและนามธรรมทั้งปวงนั้นเอง แลวจิตปลอยวางความยินดียินราย เขาไปสูความ เปนกลางของจิต ตอนแรกความเปนกลางๆ จะมีสั้นๆ แลวก็มีความยินดียินรายเกิดขึ้น อีก ตอมาชํานิชํานาญขึ้น จิตจะเปนกลางมากขึ้นตามลําดับ ก็ใหผูปฏิบัติรูอยูที่ความเปน กลางของจิต เมื่อจิตมีกําลังขึ้น ก็จะสามารถจําแนกขันธละเอียดตอไปจนเขาถึง ใจ ได ในขั้ น ที่ จิ ต เฝ า ระลึ ก รู ค วามเป น กลางนั้ น ป ญ ญาชนจะเกิ ด โรคประจํ า ตั ว ๒ ประการเปนสวนมาก คือ (๑) เกิดความเบื่อหนาย แลวเลิกปฏิบัติ หรือ (๒) เกิดความลังเลสงสัยวา จะตองทําอะไรตอไปอีกหรือไม แลวเลิกปฏิบัติ โดยการ รู หันมาคิดคนควาหาคําตอบดวยการ คิด เอา แทจริงเมื่อจิตเขาไปรูอยูที่ความเปนกลางแลว ก็ใหรูอยูอยางนั้น แลวจิตเขาจะ พัฒนาของเขาไปเองเมื่อกําลังของ สติ สมาธิ ปญญาสมบูรณเต็มที่ นี้เปนขอสรุปแนวทางการปฏิบัติธรรมโดยสังเขป ที่ขอฝากไวใหกับหมูเพื่อน เพื่อประกอบการพิจารณาปฏิบัติตอไป *********************************** ความเห็นที่ ๑๖ โดยคุณ สันตินันท วัน จันทร ที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๔๓ ๐๙:๒๔:๑๔ (ตอ)

จากแนวทางอันเดียวกันข างต น เมื่อแตล ะคนลงมือปฏิ บั ติธรรมจริงๆ กลั บ ปรากฏป ญ หาปลี ก ย อ ยแตกต า งกั น เป น จํ า นวนมาก ป ญ หาหลั ก ก็ ม าจาก การเจริ ญ สติสัมปชัญญะ ไมถูกตอง พวกเราจํานวนมากในขณะนี้ ยิ่งปฏิบัติ ยิ่งเกิดความคลาดเคลื่อน ยิ่งขยัน ยิ่ง พลาดไปไกล จุดที่พากันพลาดมากในชวงนี้ก็คือ แทนที่จะ รู ตามความเปนจริง พวก เรากลับไป สราง อารมณอันหนึ่งขึ้นมา แลวพากันเขาไปติดอยูในอารมณอันนั้น ความผิดพลาดนั้นเกิดจากบางคนรูสึกวาตนฟุงซานมากไป จึงเห็นวาจําเปนตอง ฝกสมถกรรมฐานเสียกอน แลวการฝกสมถกรรมฐานนั้นก็กระทําอยางผิดพลาดคือ แทนที่จะกระทําสัมมาสมาธิ กลับไปทํามิจฉาสมาธิอันไมประกอบดวยความรูตัว โดย การเพงเขาไปที่อารมณอันเดียว กลอมจิตใหเคลื่อน เคลิ้ม เขาไปเกาะอารมณอันเดียว แทนที่จะมีสติระลึกรูอารมณอันเดียวไปอยางสบายๆ โดยมีความรูตัวไมเผลอ ไมเพง จิตแคระลึกรูอารมณอันเดียวอยางสบายๆ เปนธรรมเอก


เมื่อทํามิจฉาสมาธิ จิตเคลื่อน ไปเกาะอารมณที่สรางขึ้นมา พอหยุดการทําสมาธิ หันมาดูจิต หรือเจริญสติปฏฐาน ก็เอาจิตที่เกาะติดอารมณนั้นเองมาใชดูจิต ซึ่งจิตชนิดนี้ ใชเจริญสติปฏฐานไมไดจริง เพราะกระทั่งจิตติดอารมณอยูก็มองไมเห็นความจริงเสีย แลว สาเหตุของความผิดพลาดที่เปนกันมากอีกอยางหนึ่งก็คือ แทนที่จะรูอารมณไป ตามธรรมดา งายๆ สบายๆ พวกเราจํานวนมากกลัวจะเผลอกลัวจะหลงมากเกินไป โดยเฉพาะอยางยิ่งในเวลาที่พบกับผม หรือใกลจะพบกับผม จิตจะเกิดการตื่นตัวขึ้น เกิด อาการเกร็ง ระวังตัวแจ ไมผิดอะไรกับนักวิ่ง เวลาเขาเสนสตารท สาเหตุอีกประการหนึ่งก็คือ การปฏิบัติธรรมดวยความอยาก เชนอยากรูธรรม เห็นธรรมเร็วๆ อยากเปนคนเกง เปนดาวเดน อยากไดรับการยอมรับและคําชมเชยจาก หมูเพื่อน พออยากมาก ก็ตอง "เรงความเพียร" แตแทนที่จะเจริญสติสัมปชัญญะอยาง เปนธรรมชาติใหตอเนื่องตลอดเวลา อันเปนความหมายที่ถูกตองของการเรงความเพียร กลับกลายเปนการปฏิบัติดวยความหักหาญ เครงเครียด ดูผิวนอกเหมือนจะดี แตจิต ภายในไมมีความสงบสุขใดๆ เลย สาเหตุที่นึกไดในตอนนี้ทั้ง ๓ ประการนี้แหละ ทําให พวกเราจํานวนมาก หลงไปยึดอารมณอันหนึ่งไว แลวคิดวา สามารถรูจิตรูใจไดอยาง แจมชัด ตอนนี้บางคนพอจะแกไขไดบางแลว เมื่อเริ่มรูทันการที่จิตไปสรางภพของนัก ปฏิบัติขึ้นมา แทนที่จะรูสิ่งที่กําลังปรากฏตามความเปนจริง มีเรื่องขําๆ เรื่องหนึ่งคือนองคนหนึ่งจิตติดอารมณภายในอยู ผมก็แนะนําวา ใหดู ใหรูวากําลังติดอยู ถารูแลวจะไดกลับออกมาอยูขางนอก และแทนที่จะเพงเขาไปขางใน ใหพยายามรูตัวออกไปยังภายนอก ออกไปสัมผัสสิ่งแวดลอมใหดี จิตที่ติดอยูขางในจะ ไดหลุดออกมา นองคนนั้นฟงแลวกลุมใจมาก เพราะคิดวาผมสอนใหสงจิตออกนอก ยัง ดีวาสงสัยแลวถามผมเสียกอน ไมนําไปเลาถวายครูบาอาจารยวาผมสอนใหสงจิตออก นอก มิฉะนั้นถาทานพบผม ทานคงทุบผมตกกุฏิเลย ความจริง การที่หลงสรางอารมณออกมาอันหนึ่ง แลวตนเองเขาไปติดอยูภายใน นั้ น ก็เป น การสงจิต ออกนอกแลว คือออกไปนอกจาก รู ผมพยายามแก ก ารส งจิ ต ออกไปสรางภพโดยไมรูตัวให ไมไดปรารถนาจะใหหัดสงจิตออกนอกแตอยางใด ปญหาอีกอยางหนึ่งที่พวกเราสวนนอยเปนกัน ไดแกการหลงตามอาการของจิต เชนหลงในนิมิต แสง สี เสียง ตางๆ หรือหลงในการกระตุกของรางกาย ฯลฯ พอเกิด อาการขึ้น บางคนก็ยินดี บางคนก็ยินราย ตองคอยปลอบคอยแนะใหหันมาสังเกตรูความ


ยิ นดี ยิ นร ายของจิ ต จนจิ ตเข าถึ งความเป นกลางเอง แทนการไปเพ งใส อาการต างๆ เหลานั้น และมีราคะ โทสะ หรือโมหะ ครอบงําโดยไมรูตัว การปฏิบัตินั้น ถาจะปองกันความผิ ดพลาด ก็ควรจับหลั กใหแม นๆ ว า "เรา ปฏิบัติเพื่อรูทันกิเลสตัณหา ที่คอยแตจะครอบงําจิตใจ ปฏิบัติไปจนจิตฉลาด พนจาก อํานาจของกิเลสตัณหา" ไมใชปฏิบัติเพื่อสิ่งอื่น หากปฏิบัติโดยแฝงสิ่งอื่นเขาไป เชน ความอยากรู อยากเห็น อยากเปน อยากได อยากเดน อยากดัง อยากหลุดพน โอกาส พลาดก็มีสูง เพราะจิตมักจะสรางบางสิ่งบางอยางขึ้นมา แทนที่จะรูทุกอยางตามความ เปนจริง แลวก็ควรสังเกตจิตใจตนเองไวบาง หากรูสึกวา จิตใจเกิดความหนักที่แตกตาง หรือแปลกแยกจากธรรมชาติแวดลอม ก็แสดงวาจิตไปหลงยึดอะไรเขาใหแลว เพราะ โดยธรรมชาติของสิ่งภายในภายนอกนั้น มันไมมีน้ําหนักอะไรเลย ที่มีน้ําหนักขึ้นมา ก็ เพราะเราไปแบกไปถือไวเทานั้นเอง ลองสังเกตดูตอนนี้ก็ไดครับ ลองทําใจใหสบายๆ สังเกตไปยังสิ่งแวดลอมภายนอก เชนอาคารบานเรือน โตะเกาอี้ ตนหมากรากไม จะ เห็นวา สิ่งภายนอกนั้นโปรง เบา ไมมีน้ําหนัก เพราะเราไมไดเขาไปแบกหามเอาไว สวนจิตใจของเรานั้น มองยอนเขามาจะเห็นวามันหนักมากบางนอยบาง ถายึดมากก็ หนักมาก ยึดนอยก็หนักนอย มันยังแปลกแยกออกจากธรรมชาติธรรมดา สิ่งที่แปลก แยกนั่นแหละครับ คือสวนเกินที่เราหลงสรางขึ้นมาโดยรูไมเทาทันมายาของกิเลส เมื่อรูแลว ก็สังเกตจิตตนเองตอไปวา มันยินดียินรายตอสิ่งที่แปลกปลอมเขามา นั้นหรือไม แลวก็รูเรื่อยไปจนจิตเปนกลางตออารมณทั้งปวง ธรรมชาติภายใน กับ ธรรมชาติภายนอกก็จะเสมอกัน คือไมมีน้ําหนักใหตองแบกหามตอไป พระศาสดาทรงสอนวา ขันธทั้ง ๕ เปนของหนัก บุคคลแบกของหนักพาไป เขา ยอมไมพบความสุขเลย คําสอนของพระองคนั้น คําไหนก็เปนคํานั้น ขันธเปนของหนัก จริงๆ สําหรับคนที่มีตาที่จะดูออกได


แนวทางปฏิบัติธรรม (แนวทางปฏิบัติธรรมของ พระราชวุฒาจารย (หลวงปูดูลย อตุโล) วัดบูรพาราม จังหวัดสุรินทร เรียบเรียงโดย : อุบาสกนิรนาม) ๑. คําปรารภ หลวงปูดูลย อตุโล เปนศิษยรุนแรกสุดของทานพระอาจารยมั่น ภูรทิ ัตตเถร ภายหลังจากทานออกเดินธุดงคจนสิ้นธุระในสวนขององคทานแลว ทานไดไปประจําอยู ที่วัดบูรพาราม อําเภอเมือง จังหวัดสุรินทร ตลอดมาจนถึงวันมรณภาพ หลวงปูเปนผู เครง ครัดในพระธรรมวินัย และไดแผบารมีธรรมอบรมสั่งสอนศิษยทั้งที่เปนบรรพชิต และคฤหัสถ ประสบผลสําเร็จในการปฏิบัติธรรมเปนจํานวนมาก ซึ่งในความเปนจริง แลว หลักปฏิบัติที่ทานนํามาสั่งสอนนั้น ไมใชหลักธรรมของทาน หรือของทานอาจารย ของทาน แตเปนพระธรรมคําสอนอันพระผูมีพระภาคเจาประทานไวนั่นเอง ทาน เพียงแตเลือกเฟนกลั่นกรองนํามาสอน ใหถูกกับจริตนิสัยของศิษยแตละคนเทานั้น หลวงปูปรกติสอนเรื่องจิต จนบางคนเขาใจวา ทานสอนเฉพาะการดูจิตหรือการ พิจารณาจิต (จิตตานุปสสนาและธัมมานุปสสนา) แตในความเปนจริงแลว ทานสอนไว สารพัดรูปแบบ คือใครดูจิตไดทานก็สอนใหดูจิต แตหากใครไมสามารถดูจิตโดยตรงได ทานก็สอนใหพิจารณากาย (กายานุปสสนา และเวทนานุปสสนา) เชนเดียวกับที่ทาน พระอาจารยมั่นสอน และในความเปนจริงศิษยฝายบรรพชิตที่พิจารณากายนั้น ดูจะมี มากกวาผูพิจารณาจิตโดยตรงเสียอีก ๒. เหตุผลที่ทานเนนการศึกษาที่จิต หลวงปูพิจารณาเห็นวาธรรมทั้งหลายรวมลงไดในอริยสัจสี่ทั้งนั้น และอริยสัจสี่ นั้นสามารถรูเห็นและเขาใจได ดวยการศึกษาจิตของตนเอง เพราะทุกขนั้นเกิดมาจาก สมุทัยคือตัณหา (ความทะยานอยากของจิต) และความพนทุกขก็เกิดจากความสิ้นไปของ ตัณหา แมแตมรรคมีองคแปด ซึ่งยอลงเปนศีล สมาธิ และปญญานั้น ก็เปนเรื่องที่เกิด ขึ้นกับจิตทั้งสิ้น กลาวคือศีลไดแกความเปนปรกติธรรมดาของจิตที่ไมถูกสภาวะอันใด ครอบงํา สมาธิคือความตั้งมั่นของจิต และปญญาคือความรอบรูของจิต ทานจึงกลากลาว วา พระธรรมทั้งปวงนั้น สามารถเรียนรูไดทจี่ ิตของตนเอง ดวยเหตุนี้ ทานจึงให ความสําคัญเปนพิเศษกับการดูจิต


๓. วิธีดูจิต ๓.๑ การเตรียมความพรอมของจิต พระกรรมฐานสายทานพระอาจารยมั่น ภู ริทัตตเถร จะสอนตรงกันวา จิตที่จะเจริญวิปสสนาไดนั้น ตองมีสมาธิหรือความสงบตั้ง มั่นของจิตเปนฐานเสียกอน จิตจะไดไมถูกกิเลสครอบงํา จนไมสามารถเห็นสภาวธรรม ตามความเปนจริงได หลวงปูดูลยทานก็สอนในลักษณะเดียวกัน และทานมักจะใหเจริญ พุทธานุสติบริกรรม "พุทโธ" หรือควบดวยการทําอานาปานสติ คือการกําหนดลมหายใจ เขา บริกรรม "พุท" หายใจออกบริกรรม "โธ" เคล็ดลับของการทําความสงบ ในเวลาที่จะทําความสงบนั้น ทานใหทําความสงบ จริงๆ ไมตองคิดถึงเรื่องการเจริญปญญา และมีเคล็ดลับที่ชว ยใหจิตสงบงายคือ ใหรูคํา บริกรรมหรือกําหนดลมหายใจไปเรื่อยๆ ตามสบาย อยาอยากหรือจงใจจะใหจิตสงบ เพราะธรรมชาติของจิตนั้นจะไปบังคับใหสงบไมได ยิ่งพยายามใหสงบกลับจะยิ่ง ฟุงซานหนักเขาไปอีก เมื่อจิตสงบลงแลว จิตจะทิ้งคําบริกรรม ก็ไมตองนึกหาคําบริกรรมอีก แตใหรูอยู ตรงความรูสึกที่สงบนั้น จนกวาจิตจะถอนออกมาสูความเปนปรกติดวยตัวของมันเอง ๓.๒ การแยกจิตผูรูกับอารมณที่ถูกจิตรู เมื่อจิตรวมสงบทิ้งคําบริกรรมไปแลว ทานใหสังเกตอยูที่ความสงบนั้นเอง และสังเกตตอไปวา ความสงบนั้นเปนเพียงสิ่งที่ถูกรู เทานั้น จิตคือตัวผูรู ผูดูอยูนั้นมีอยูตางหาก สรุปก็คือ ทานสอนใหแยกจิตผูรูออกจาก อารมณที่ถูกรู บางคนไมสามารถทําความสงบดวยการบริกรรม หรือดวยกรรมฐานอื่นใด ก็อาจ ใชวิธีอื่นในการแยกผูรูกบั สิ่งที่ถูกรูได ตัวอยางเชน นึกถึงพุทโธ หรือบทสวดมนตบทใดก็ไดที่คุนเคย แลวก็เฝารูการสวดมนตที่ แจวๆ อยูในสมองตนเองไป จากนั้นจึงแยกวา บทสวดนั้นถูกรู ผูรู มีอยูตางหาก ตรงจุดนี้ มีอุบายยักยายอีกหลายอยาง เชนอาจจะสังเกตดูความคิดของตนเอง ซึ่งพูดแจวๆ อยูใน สมองก็ได แลวเห็นวา ความคิดนั้นถูกรู จิตผูรูมีอยูตางหาก หรือตามรูความเคลื่อนไหวของรางกายไปเรื่อยๆ หรือตามรูความรูสึกเปนสุข เปนทุกข หรือเฉยๆ ไปเรื่อยๆ หรือ ฯลฯ (สรุปวา รูอะไรก็ไดให ตอเนื่อง) และ สังเกตเห็นวาสิ่งนั้นเปนแคสิ่งที่ถูกรู จิตผูรูมีอยูตางหาก


หรืออยางทานพระอาจารยเทสก เทสรังสี ศิษยอาวุโสอีกรูปหนึ่งของทานพระ อาจารยมั่น ทานสอนใหลองกลั้นลมหายใจดูชั่วขณะ แลวสังเกตดู ความรูสึกตรงที่นิ่งๆ วางๆ นั้น แลวทําสติรูอยูตรงนั้นเรื่อยๆ ไปเปนตน เมื่อแยกจิตผูรูกับอารมณที่ถูกรูได แลว ก็ใหเจริญสติสัมปชัญญะตอไป ๓.๓ การเจริญสติและสัมปชัญญะ ใหทําความรูตัวอยูกับจิตผูรู อยางสบาย ๆ ไม เพงจองหรือควานหา คนควาพิจารณาเขาไปที่จิตผูรู เพียงแครูอยูเฉยๆ เทานั้น ตอมาเมื่อ มีความคิดนึกปรุงแตงอื่นๆ เกิดขึ้น ก็จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของอารมณชัดเจน เชน เดิมมีความนิ่งวางอยู ตอมาเกิดคิดถึงคนๆ หนึ่ง แลวเกิดความรูสึกรักหรือชังขึ้น ก็ให สังเกตรูความรักความชังนั้น และเห็นวา มันเปนสิ่งที่ถูกรูเทานั้น ตัวจิตผูรูมีอยูตางหาก ใหรูตัวไปเรื่อยๆ สิ่งใดเปนอารมณปรากฏขึ้นกับจิต ก็ใหมีสติรูอารมณที่กําลังปรากฏนั้น ในขณะเดียวกัน ก็ตองไมเผลอสงจิตเขาไปในอารมณนั้น ตรงที่จิตไมเผลอสงออกไป นั้นเอง คือความรูตัว หรือสัมปชัญญะ เรื่องสตินั้นเขาใจงาย เพราะหมายถึงตัวที่ไปรูเทาอารมณที่กําลังปรากฏ เชนคน อานหนังสือ สติจดจออยูกับหนังสือ จึงอานหนังสือไดรูเรื่อง คนขับรถ สติจดจอกับการ ขับรถก็ทําใหขับรถได ฉะนั้นโดยธรรมชาติแลว คนมีสติอยูเสมอเมื่อจิตตั้งใจรูอารมณ แตจะเปนสัมมาสติได ก็ตอเมื่อมีสัมปชัญญะคือ ความรูตัวไมเผลอควบคูไปดวย ความรูตัวไมเผลอนั้นเขาใจยากที่สุด เพราะถามใครเขาก็วาเขารูตัวทั้งนั้น ทั้งที่ ความจริงจิตยังมีความหลง (โมหะ) แฝงอยูเกือบตลอดเวลา สัมปชัญญะทีใ่ ชเจริญสติปฏ ฐาน จะตองเปน "อสัมโมหสัมปชัญญะ" เทานั้น ยกตัวอยาง เมื่อเราดูละครโทรทัศน ตาเห็นรูป หูไดยินเสียง ใจรู คิดนึกตามเรื่อง ของละครไป ในขณะนั้นเรามีสติดูโทรทัศน แตไมอาจไมมีสัมปชัญญะ เพราะเราสงจิต หลงไปทางตา ทางหู และทางใจ เราลืมนึกถึงตัวเองที่นั่งดูโทรทัศนอยู อันนี้เรียกวาไมมี สัมปชัญญะหรือไมรูตัว บางคนเดินจงกรม กําหนดรูความเคลื่อนไหวของเทาซาย เทาขวา รูความ เคลื่อนไหวของกาย อันนั้นมีสติ แตอาจไมมีสัมปชัญญะถาสงจิตเผลอไปในเรื่องของเทา และรางกาย มัวแตจดจอที่เทาและรางกายที่กําลังเคลื่อนไหว จนเหมือนกับลืมตัวเอง เหมือนตัวเองหรือตัวจิตผูรูนั้นไมมีอยูในโลกเลยในขณะนั้น


ความรูตัว หรื อ การไม ห ลงเผลอส งจิต ออกไปตามอารมณ ภ ายนอกนั้ นเองคื อ สัมปชัญญะ วิธีฝกใหไดสัมปชัญญะที่ดีที่สุดคือการทําสมถะกรรมฐาน เชนการบริกรรม พุทโธ จนจิตรวมเขาถึงฐานของมัน แลวรูอยูตรงฐานนั้นเรื่อยไป หากมีอารมณมาลอทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ก็ไมเผลอ หลงลืมฐานของตนสงจิตตามอารมณไปอยางไม รูตัว ๓.๔ ดูจิตแลวรูอารมณอะไรบาง การที่เราเฝารูจิตผูรูไปเรื่อยๆ อยางสบายๆ นั้น เราสามารถรูอารมณทุกชนิดที่ผานเขามาใหจิตรู แลวแตวา ในขณะนั้นอารมณตัวไหนจะ แรงและเดนชัดที่สุด ดังนั้น เราสามารถเจริญสติปฏฐานไดทั้ง ๔ ประเภท (ในทางตรง ขาม ถาแยกจิตผูรูกับอารมณที่ถูกรูออกจากกันไมได จะไมสามารถเจริญสติปฏฐานทุก ประเภทเชนกันที่ กลาววาสมถะเปนฐานของวิปสสนาหรือสมาธิเปนเหตุใกลใหเกิด ปญญาก็คือเรื่องตรงนี้เอง คือถาขาดสมถะที่ถูกตอง จิตจะตกเปนทาสอารมณ ถามีสมถะ ที่ถูก จิตจะมีสัมปชัญญะ รูตัว ไมเปนทาสของอารมณ จึงเห็นความเกิดดับของอารมณ ชัดเจนตามความเปนจริงได) กลาวคือ ๓.๔.๑ รูกาย เมื่อมีสัมผัสทางกาย เชนรูลมหายใจเขา ออก รูทางกายวามีอากาศ เย็นมากระทบกาย กายเกิดอาการหนาว สะทานขึ้น หรือเมื่อเดินกลางแดดรอนจัด กายอิด โรยมีเหงื่อไคล สกปรกชุมอยู หรือเมื่อเดินจงกรมเคลื่อนไหวไปมา ผูที่มีจิตผูรู จะเห็น กายสักแตวาเปนกลุมของธาตุมารวมกัน และเคลื่อนไหวไปมาไดเหมือนหุนยนตตัวหนึ่ง ไมเห็นวากายสวนใดจะเรียกตัวเองวากายเลย หรือเดินจงกรมจนเมื่อยขา ก็ไมเห็นวาขา จะบนอะไรไดเลย กายกับจิตมันแยกชัดเปนคนละสวนกันทีเดียว ผูปฏิบัติจะเห็นกาย เปนไตรลักษณชัดเจนมาก ๓.๔.๒ รูเวทนา บางครั้งในขณะที่รูจิตผูรูอยูนั้น เราจะรูเวทนา ทางกายบาง ทาง จิตบาง แลวแตตัวใดจะเดนชัดในขณะนั้น เชนในขณะที่เดินอยู เกิดเมื่อยขารุนแรง ถาเรา มีจิตผูรู เราจะเห็นชัดเลยวา ความเมื่อยไมใชขาที่เปนวัตถุธาตุ แตเปนอีกสิ่งหนึ่ง แฝงอยู ในวัตถุธาตุที่ประกอบกันขึ้นเปนขา หรืออยางนั่งอยูรอนๆ มีลมเย็นพัดมา รูสึกสบาย ความสบายนั้นเปนความรูสึกอีกตัวหนึ่ง ที่แทรกเขามา โดยที่กายไมไดสบายไปดวย หรืออยางเราปวดฟน ถาเรามีจิตผูรู จะเห็นชัดวา ความปวดไมใชฟน และไมใชจิตดวย แตเปนอีกสิ่งหนึ่ง (อีกขันธหนึ่ง) และความปวดนั้นเปลี่ยนระดับตลอด ไมไดปวดเทากัน ตลอดเวลา อันเปนการแสดงความเปนไตรลักษณของเวทนาขันธใหปรากฏ


ในสวนของเวทนาทางจิตก็เห็นไดชัดมาก เชนเวลาปวดฟน มีเวทนาทางกายแลว บางครั้งจิตก็ปรุงแตงเวทนาทางจิตขึ้นมาดวย คือเกิดความรูสึกเปนทุกขใจขึ้นมา หรือใน เวลารับประทาน อาหารที่ชอบใจ แมรสยังไมทันสัมผัสลิ้น ความสุขทางใจก็เกิดขึ้นกอน แลว อยางนี้ก็มี การรูเวทนาขณะที่รูจิตผูรูอยูนั้น จะเห็นเวทนาเปนไตรลักษณชัดเจนมาก ๓.๔.๓ รูจิต จิตตานุปสสนานั้น ไมใชการเห็นจิตผูรู หรือจิตที่แทจริง แตเปนการ เห็นจิตสังขาร (ความคิดนึกปรุงแตง) ที่กําลังปรากฏ เชนเห็นชัดวา ขณะนั้นจิตมีความ โกรธเกิดขึ้น มีความใครเกิดขึ้น มีความหลงฟุงซานเกิดขึ้น ความความผองใสเบิกบาน เกิดขึ้น ฯลฯ แลวก็จะเห็นอีกวา ความปรุงแตงทั้งฝายชั่วและฝายดี ลวนเปนเพียงสิ่งที่ เกิดขึ้นแลวก็ดับไป มันไมใชจิต มันเปนแคอารมณที่ถูกรู ทั้งนี้การรูจิต (สังขาร) ในขณะ ที่รูตัวหรือรูจิตผูรูอยูนั้น จะเห็นจิตสังขารเปนไตรลักษณอยางชัดเจนมาก ๓.๔.๔ รูธรรม ถารูจติ ผูรูอยูนั้น หากสภาวธรรมอันใดปรากฏขึ้น ก็จะเห็น สภาวธรรมนั้นตามที่มันเปนจริง เชนขณะที่รูตัวอยู จิตคิดถึงคนที่รัก แลวจิตก็ทะยาน ออกไปเกาะความคิดนั้น คลุกคลีกับความคิดนั้น ผูปฏิบัติจะเห็นชัดวา จิตเกิดความยึดวา จิตเปนตัวตนของตนขึ้นมา เพราะความที่จิตหลงไปยึดอารมณนั้นเอง ความเปนตัวตน ความเปนกลุมกอน ความหนัก ไดเกิดขึ้นแทนความไมมีอะไรในตอนแรก และถารูทันวา จิตสงออกไปนําความทุกขมาให จิตจะปลอยอารมณนั้น กลับมาอยูกับรู ความเปนกลุม กอน ความหนัก ความแนน หรือทุกขก็จะสลายตัวไปเอง อันนี้คือการเห็นอริยสัจสี่ นั่นเอง คือเห็นวาถามีตัณหาคือความทะยานอยากไปตามอารมณ ความเปนตัวตนและ เปนทุกขจะเกิดขึ้น ถาไมมีความอยาก ทุกขก็ไมเกิด การรูสภาวธรรมในขณะที่รูตัว หรือรูจิตผูรูนั้น จะเห็นวา จิตเปนไตรลักษณ ชัดเจนทีเดียว เชนเห็นวาเปนของบังคับบัญชาไมได มันสงออกไปยึดอารมณ มันก็ไปเอง ถามันรูวาไปยึดแลวทุกข มันก็ไมไปเอง เราจะบังคับวา จงอยาไปไมไดเลย ตัวอยางการพิจารณาหรือการดูจิต ๑. นาย จ. กําลังซักผา ขณะนั้น สัญญาคือความจําภาพของสาวคนรักผุดขึ้นมา จิต ของเขาปรุงแตงราคะคือความรักใครผูกพันขึ้นมา ทั้งที่ไมไดเห็นสาวคนรักจริงๆ วิธีดูจิต นั้น ไมไดหมายความวาใหนาย จ. หันมาทําสติวามือกําลังขยี้ผาอยู แตนาย จ. จะตอง มองเห็นกิเลสที่เกิดขึ้นในใจของตนเอง เมื่อเห็นกิเลสแลว ก็ไมใชเกลียดหรืออยากดับ


กิเลส แตการเห็นกิเลส ดวยจิตที่เปนกลาง กิเลสมันจะดับไปเอง เมื่อกิเลสดับไป นาย จ. ก็ตองรูวา กิเลสดับไป เปนตน ๒. กรณีเดียวกับตัวอยางแรก ถานาย จ. เกิดราคะเพราะคิดถึงคนรัก บางครั้งกําลัง กิเลสที่แรงมากๆ แมนาย จ. จะรูวากิเลสเกิดขึ้น แตราคะนั้นอาจจะไมดับไป มิหนําซ้ํา จิตของนาย จ. ยังเคลื่อนออกจากฐานผูรูเขาไปเกาะกับภาพคนรัก หรือหลงเขาไปใน ความคิดเกี่ยวกับคนรัก ถึงขั้นนี้ก็ให นาย จ. รูวา จิตเคลื่อนออกไปรวมกับอารมณแลว ไมตองทําอะไร แครูเฉยๆ เทานั้น ๓. เมื่อจิตของนาย จ. มีราคะ หรือจิตของนาย จ. เคลื่อนเขาไปรวมกับอารมณ นาย จ. อาจจะสงสัยวา เอ..เราควรตองพิจารณาอสุภกรรมฐาน ชวยจิตหรือไม เพื่อใหพน อํานาจดึงดูดของราคะ เรื่องอยางนี้ในกรณีที่ผูปฏิบัติพิจารณากาย อาจจะใชการพิจารณา อสุภกรรมฐานมาเปนเครื่องแกกิเลสก็ได แตนักดูจิตจะไมใชความคิดเขาไปชวยจิต เขา จะทําแครูทันสภาพจิตของตนอยูตลอดเวลาเทานั้น เพราะจริงๆ แลว จิตจะเปลี่ยนสภาพ อยูตลอดเวลา ถาตั้งใจสังเกตดู เชนกําลังราคะจะแรงขึ้นบาง ออนลงบาง ความคิด เกี่ยวกับ คนรักจะปรากฏขึ้นบาง และดับไปบาง การเคลื่อนของจิตก็อาจเคลื่อนถลํา เขา ไปในอารมณบาง แลวถอยออกมาอยูกับรูบาง มันแสดงไตรลักษณอยูตลอดเวลา ๔. เมื่อนาย จ. รูทันจิตเรื่อยๆ ไปโดยไมไดใชความคิดเขาไปชวยจิต นาย จ.ซึ่ง เปนปญญาชน เคยชินกับการแกปญหาดวยการคิด อาจเกิดความลังเลสงสัยขึ้นมาวา เอ.. ถาเราเฝารูจิตไปเฉยๆ เราจะเกิดปญญาไดอยางไร เราจะกลายเปนคนโงสมองฝอหรือ เปลา ก็ใหนาย จ. รูวาความลังเลสงสัยเกิดขึ้นแลว ไมตองคิดหาคําตอบ แคเห็นวาความ สงสัยเกิดขึ้นก็พอ ที่สุดมันจะดับไปเองเหมือนอารมณตัวอื่นๆ นั่นเอง แทที่จริง การที่จิตเปนกลางรูอารมณนั้น จิตเห็นไตรลักษณอยูตลอดเวลา และจะ เห็นอริยสัจ ๔ ไปในตัวดวยนั้น เปนปญญาขั้นสุดยอดอยูแลวที่จะปลดเปลื้องจิตจาก ความทุกข ทั้งนี้ปญญาอันเกิดจากการใชความคิด (จินตมยปญญา) ซึ่งเปนวิธีการเรียนรู เกาๆ ที่ปญญาชนอยางนาย จ. เคยชิน ไมสามารถนําผูปฏิบัติออกจากทุกขได แตปญญาที่ เกิดจากการภาวนา (ภาวนามยปญญา) คือการเจริญสติสัมปชัญญะนั้น นําผูปฏิบัติออก จากทุกขได และมันเปนปญญาคนละชนิดกัน ๕. เมื่อนาย จ. ซักผาไปนานๆ แขนของนาย จ. ก็ปวด มือก็ลา นาย จ. รับรู ทุกขเวทนาทางกายที่เกิดขึ้น แลวสังเกตเห็นวา ความจริงรางกายของนาย จ. ไมไดปวด


เมื่อยเลย แตความปวดเมื่อย เปนอีกสิ่งหนึ่งที่แฝงอยูในกาย จิตผูรูก็เปนอีกสวนหนึ่ง มัน สงบสบายอยูไดในขณะที่ทุกขทางกายเกิดขึ้น อันนี้ก็เปนการเห็นความจริงเกี่ยวกับขันธ ที่แยกออกจากกันเปนสวนๆ เมื่อมองดูแตละสวน ไมเห็นมีสวนใดเลยที่เรียกวา "นาย จ." นี่ก็เปนสภาพอีกอันหนึ่งที่ผูดูจิตจะรูเห็นไดไมยาก ๓.๕ การดูจิตจะพลิกไปมาระหวางสมถะกับวิปสสนาได การดูจิตก็ดีหรือการ พิจารณากายก็ดี จิตสามารถพลิกกลับไปมาระหวางการเจริญสมถกรรมฐานและวิปสนา กรรมฐานได ในทางตําราทั่วๆ ไป มักจะแยกสมถะกับวิปสสนาดวยอารมณกรรมฐาน คือถา ใครทํากรรมฐาน ๔๐ เชนอนุสติ ๑๐ ถือวาทําสมถะ ถาเจริญสติปฏฐานคือรูกาย เวทนา จิต หรือธรรม ถือวาเจริญวิปสสนา หรือถารูอารมณที่เปนสมมติบัญญัติถือวาทําสมถะ แตถารูอารมณปรมัตถก็ถอื วาทําวิปสสนา แตในแงของนักปฏิบัติแลวไมใชเพียงเทานั้น การจําแนกสมถะกับวิปสสนานั้น สามารถจําแนกดวยอาการดําเนินของจิตไดดวย คือถาขณะใด จิตมีสติรูอารมณอันเดียว โดยตอเนื่อง อันนั้นเปนการทําสมถะ และเมื่อทําไปจนจิตจับอารมณนั้นเอง โดยไมตอง บังคับควบคุม หรือไมตองตั้งใจแลว จิตเกาะเขากับอารมณอันเดียว เกิดความสุขความ สงบ อันนั้นเปนฌานอันเปนผลของการทําสมถะ เมื่อใดที่ผูปฏิบัติมีสติรูอารมณที่กําลังปรากฏ ในขณะเดียวกันก็มีสัมปชัญญะคือ ความรูตัว หรืออีกนัยหนึ่ง ผูรูกับสิ่งที่ถูกรูแ ยกออกจากกันแลว ตามเห็นความเกิดดับของ อารมณปรมัตถ อันนั้นเปนการทําวิปสสนา และเมื่อถึงจุดหนึ่งจิตจะไมจงใจรูอารมณและ ไมจงใจประคองผูรู แตสามารถเจริญสติและสัมปชัญญะไดเอง อันนั้นจิตเดินวิปสสนา เองโดยอัตโนมัติ อันเปนวิปสสนาแทที่จิตทําของเขาเอง เปรียบเทียบคนที่ทําสมถะ เหมือนคนที่ตกลงในกระแสน้ํา วายอยูในน้ํา ยอมเห็น สิ่งตางๆ ไมชัดเจน ในขณะที่ผูทําวิปสสนา เหมือนคนที่นั่งบนฝงน้ํา แลวมองดูสายน้ําที่ ไหลผานเฉพาะหนาไป ยอมเห็นชัดวา มีอะไรลอยมากับน้ําบาง ทั้งของสะอาดสวยงาม และของสกปรก ดวยเหตุนี้ จึงเปนบทเฉลยที่วา ทําไม จึงตองหัดแยกจิตผูรู ออกจากอารมณที่ถูกรู กอนที่จะดูจิตหรือพิจารณากายอยางหนึ่งอยางใด


ตัวอยางเชน หากพิจารณาอัฐิหรือกระดูก โดยใหสมาธิเพงรูรูปรางของกระดูก วา เปนแทงยาวๆ กลมๆ อันนั้นเปนการเพง เปนกสิณดิน หากเพงดูวากระดูกมีสีขาว อันนั้น ก็เปนกสิณสี ซึ่งการเพงจนจิตสงบเกาะอยูกับรูปกระดูกก็ดี สีกระดูกก็ดี เปนการทํา สมถะ แมการคิดวากระดูกเปนเพียงธาตุขันธหรือเปนอสุภะ ก็ยังเปนการทําสมถะ เพราะเปนการคิดๆ เอา แตหากรูกระดูก โดยมีจิตผูรูตั้งมั่นอยูตางหาก แลวคิดพิจารณาไปในแงที่กระดูก เปนไตรลักษณ อันนั้นเปนการเจริญวิปสสนาขั้นตน และในระหวางที่พิจารณากายอยาง เปนวิปสสนานั้น บางครั้งจิตก็เขาไปจับอยูกับกายสวนใดสวนหนึ่ง นิ่งพักอยูเปนสมถะ แลวคอยกลับออกมาพิจารณากายตอก็มี แตถาจิตไมเขาพักเอง แลวกลับตะลุยพิจารณากาย จนจิตฟุงซาน ผูปฏิบัติจะตองยอนกลับไปทําสมถะใหม เพื่อใหจิตมีกําลังและแยกตัว ออกจากอารมณเสียกอน การดูจิตก็เปนไดทั้งสองอยาง คือถาเพงความวางเปลาของจิต หรือเพงสิ่งใดสิ่ง หนึ่งในจิต อันนั้นเปนสมถะ หากรูอารมณปรมัตถที่เกิดดับไป โดยจิตผูรูอยูตางหาก อัน นั้นเปนการทําวิปสสนา และตามธรรมดาแลว เมื่อผูปฏิบัติดูจิตอยูอยางเปนวิปสสนานั้น บางครั้งจิตก็เขาพักในสมถะ ดวยการจับนิ่ง เขากับอารมณอันเดียว ผูปฏิบัติควรจําแนกไดวา ขณะนั้นจิตของตนทําสมถะ หรือเดินวิปสสนา มิฉะนั้น อาจหลงผิดทําสมถะ แลวคิดวากําลังทําวิปสสนาอยู ผูปฏิบัติที่ครูบาอาจารยขาดญาณ ทัศนะ ไมรวู าระจิตของศิษย อาจหลงผิดไดงายโดยไมมีใครแกไขให เชนเดินจงกรม กําหนดยกหนอ ยางหนอ เหยียบหนอ ฯลฯ แลวจิตไหลลงไปอยูในเทา หรือหลงคิดแต เรื่องยก ยาง เหยียบ ไมมีสัมปชัญญะคือความรูตัวของจิต อันนั้นเปนการทําสมถะอยาง เดียวเทานั้น อันตรายอีกอยางหนึ่งของการที่แยกไมออกระหวางการทําสมถะ กับวิปสสนาก็ คือ การเกิดวิปสสนูปกิเลส คือในระหวางที่ทําวิปสสนาอยูนั้น บางครั้งจิตพลิกกลับไปสู ภูมิของสมถะ แลวเกิดความรูความเห็นหรืออาการบางอยาง ทําใหหลงผิดวาตนบรรลุ ธรรมชั้นสูงแลว เชนเกิดอาการที่สติรูอารมณชัดกริบดวยจิตที่แข็งกระดาง (แทนที่จะรู ดวยจิตที่ออนโยน วองไว ควรแกการทําวิปสสนา) หรือเกิดความรูความเห็นผิด เชนแยก ไมออกระหวางสมมุติสัจจะ กับปรมัตถสัจจะ หลงผิดวา พระพุทธเจาก็ไมมี พอแมก็ไมมี ทุกอยางวางเปลา หมด เปนการปฏิเสธสมมุติบัญญัติคิดวามันไมมี ทั้งที่สมมุติเขาก็มีของ เขาอยู แตมีอยางเปนสมมุติ เปนตน


การที่ดูจิตแลวจิตพลิกกลับไปมาระหวางสมถะและวิปสสนาไดนั้น ปฏิบัติบางคนไดฌานโดยอัตโนมัติ ทั้งที่ไมตองหัดเขาฌาน

ทําใหผู

๓.๖ การปลอยวางอารมณหยาบเขาถึงความวาง เมื่อดูจิตชํานาญเขา อารมณใด กระทบจิต อารมณนั้นก็ดับไป เหมือนแมลงเมาบินเขากองไฟ เริ่มตน ผูปฏิบัติจะรูเห็น แตอารมณหยาบ เชนโกรธแรงๆ จึงจะดูออก แตเมื่อปฏิบัติมากเขา แมความขัดใจ เล็กนอย หรือความพอใจเล็กนอยเกิดขึ้นกับจิต ก็สามารถรูเห็นไดอยางชัดเจน เชน ในขณะที่รอนๆ มีลมเย็นโชยกระทบผิวกายนิดเดียว จิตก็เกิดยินดีมีราคะขึ้นแลว หรือ ปวดปสสาวะ พอเริ่มถายปสสาวะจิตก็ยินดีเสียแลว หรือกําลังหิวขาว พอเห็นเขายก อาหารมาวางตอหนา จิตก็ยินดีเสียแลว เปนตน เมื่อรูอารมณละเอียดแลว โอกาสที่อารมณหยาบจะเกิดก็ยากขึ้น เพราะอารมณ หยาบนั้นงอกงามขึ้นไปจากอารมณละเอียดนั่นเอง อนึ่ง หลักการที่สําคัญมากในการดูจิตที่ขอย้ําก็คือ ใหรูอารมณเฉยๆ อยาไป พยายามละอารมณนั้นเด็ดขาด จะเดินทางผิดทันที เพราะอารมณทั้งปวงนั้น เปนตัวขันธ เปนตัวทุกข ผูปฏิบัติมหี นาที่รูเทานั้น อยาอยาก (มีตัณหา) ที่จะไปละมันเขา จะผิด หลักการเกี่ยวกับกิจของอริยสัจ พระพุทธเจาทรงสอนวา "ทุกขใหรู สมุทัยใหละ" เพราะ ยิ่งพยายามละ ก็จะยิ่งหลงผิดมากขึ้น ตัวอยางเชนเห็นความโกรธเกิดขึ้นในจิต ทานใหรู เฉยๆ บางครั้งผูปฏิบัติพยายามหาทางดับความโกรธนั้น แลวความโกรธก็ดับไดจริงๆ เหมือนกัน นักปฏิบัติจะหลงผิดวา ตนเองเกงดับกิเลสได และเห็นวา จิตเปนอัตตา กิเลส เปนอัตตา ทั้งที่ความจริงนั้น กิเลสมันดับเพราะหมดเหตุของมันตางหาก เชนเราถูกคนดา เราใครครวญเกี่ยวกับเรื่องที่เขาดา ความโกรธก็เกิดและแรงขึ้นเรื่อยๆ พอเราคิดเรื่องจะ ดับความโกรธ เราละเหตุของความโกรธเสียแลวคือไมไดคิดเรื่องวาเขาดา มัวแตคิดจะ ดับความโกรธ ความโกรธหมดเหตุมันก็ดับไปเอง แตผูปฏิบัติหลงผิดวา ตนดับความ โกรธได แลวเมื่อไปเจอกิเลสอื่น ก็จะวุนวายอยูกับความพยายามจะดับมันอีก เรียกวาหา งานใหจิตทําวุนวายอยูตลอดเวลา การที่ผูปฏิบัติรูอารมณเร็วขึ้น ชัดเจนขึ้นตามลําดับนั้น อารมณก็จะ ยิ่งละเอียดเขา ไปอีกตามลําดับเชนกัน แตทั้งนี้ตองเขาใจวา จิตก็ดี อารมณก็ดี สติสัมปชัญญะหรือสมาธิก็ ดี เปนของที่อยูในอํานาจไตรลักษณเหมือนกัน ดังนั้น เมื่อจิตละเอียดแลว ชวงหนึ่งมันก็จะ หยาบอีก อยาตกใจเพราะนั่นมันเปนธรรมดา ใหตั้งหนาปฏิบัติไปเรื่อยๆ มันจะกลับดี และดีขึ้นไปตามลําดับ


เมื่ออารมณละเอียดถึงที่สุด จิตจะปรากฏเหมือนวา จิตวางไปหมด ถึงจุดนี้ผู ปฏิบัติอาจหลงผิดวาตนสิ้นกิเลสแลว ความจริงความวางนั้นก็คือ อารมณอีกอันหนึ่ง เพียงแตละเอียดถึงที่สุดเทานั้นเอง ทุกวันนี้มีผูประกาศเรื่องใหดํารงชีวิตดวยจิตวาง ทั้งที่เขาไมรูจักจิตวางเลย และ ไมรูวาจิตวางนั้นยังหาสาระแกนสารเอาเปนที่พึ่งอะไรไมได เพราะมันก็ยังตกอยูใต อํานาจของไตรลักษณนั่นเอง และที่สําคัญก็คือ คนที่คิดเรื่องจิตวางและพยายามทําใหจิต วางนั้น จิตยังหางจากความวางมากมายนัก เพราะแมจิตที่มีอารมณหยาบก็ยังไมเขาใจ แมแตนอย ๓.๗ การปลอยวางความวาง เขาถึงธรรมที่แทจริง เมื่อปฏิบัติเขาถึงขั้นที่ละเอียด เชนนั้นแลว หลักที่จะปฏิบัติตอไปยังคงเหมือนเดิม คือรูหรือดูจิตตอไป ไมตองสงสัย ไม ตองคิดคนวิพากษวิจารณวาทําอยางไรจะปลอยวางความวางนั้นได เพราะแคเริ่มคิดนิด เดียว จิตก็จะหลงทางเขาสูความวุนวายสับสนอีกแลว ผูปฏิบัติจะตองรูอยางเดียวเทานั้น การรูโดยไมคิดนั้นเอง คือการเจริญวิปสสนาที่แทจริง และละเอียดที่สุด ควร ทราบวาจิตจะหลุดพนไดนั้น จิตเขาจะตองหลุดพนเองเพราะเขาเห็นความจริง การคิด ใครครวญดวยสัญญาอารมณ มันเปนเพียงความรูขั้นสัญญาของตัวผูปฏิบัติ แตความรูจริง ของจิตนั้น จิตเขาตองเรียนรูเอง ผูปฏิบัติ เพียงแตทําสิ่งที่เอื้อตอการที่จิตจะเรียนรูเทานั้น คืออยาไปรบกวนจิตใหวุนวายขึ้นมาอีก มีสติ มีสมั ปชัญญะ รูแ ตไมคิดคนควาใด ๆ ใน ที่สุด จิตจะเกิดความเขาใจขึ้นมาเองวา จิตวางนั้นเองไมใชสาระแกนสาร ตราบใดทีย่ ัง เห็นวาจิตเปนตัวเรา หรือเปนของเราที่จะตองชวยใหจิตหลุดพน ตราบนั้นตัณหาหรือ สมุทัย ก็จะสรางภพของจิตวางขึ้นมาร่ําไป ขอย้ําวาในขั้นนี้ จิตจะดําเนินวิปสสนาเอง ไมใชผูปฏิบัติจงใจกระทํา ดังนั้นจึง กลาวไดวา ไมมีใครเลยที่จงใจหรือตั้งใจบรรลุมรรคผลนิพพานได มีแตจิตเขาปฏิวัติ ตนเองไปเทานั้น ๓.๘ การรูธ รรมในขั้นของพระโสดาบัน และการปฏิบัติเพื่อบรรลุอรหัตมรรค เมื่อจิตทรงตัวรูแตไมคิดอะไรนั้น บางครั้งจะมีสิ่งบางสิ่งผุดขึ้นมา สูภูมิรูของจิต แตจิตไม สําคัญมั่นหมายวานั่นคืออะไร เพียงแตรูเฉยๆ ถึงความ เกิดดับนั้นเทานั้น ในขั้นนี้เปน การเดินวิปสสนาในขั้นละเอียดที่สุด ถึงจุดหนึ่งจิตจะกาวกระโดดตอไปเอง ซึ่งจะขอไม กลาวถึงขั้นตอนอยางละเอียด เพราะผูอานอาจคิดตามแลวปรุงแตงอาการนั้นขึ้นมาได


การเขาสูมรรคผลนั้น "รู" มีอยูตลอด แตไมคิดและไมสําคัญ มั่นหมายในสังขาร ละเอียดที่ผุดขึ้น บางอาจารยจะสอนผิดๆ วา ในเวลาบรรลุมรรคผล จิตดับความรับรูหาย เงียบไปเลย โดยเขาใจผิดในคําวา "นิพพานัง ปรมัง สุญญัง" สูญอยางนั้นเปนการสูญหาย แบบอุทเฉททิฏฐิ สภาพของมรรคผลไมไดเปนเชนนั้น การที่จิตดับความรับรูนั้น เปนภพ ชนิดหนึ่งเรียกวา "อสัญญี" หรือที่คนโบราณเรียกวาพรหมลูกฟกเทานั้นเอง เมื่อจิตถอยออกจากอริยมรรคและอริยผลที่เกิดขึ้นแลว ผูปฏิบตั ิจะรูชัดวา ธรรม เปนอยางนี้ สิ่งใดเกิดขึ้น สิ่งนั้นตองดับไป ธรรมชาติบางอยางมีอยู แตก็ไมมีความเปน ตัวตนสักอณูเดียว นี้เปนการรูธรรมในขั้นของพระโสดาบัน คือไมเห็นวาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แมแตตัวจิตเองเปนตัวเรา แตความยึดถือในความเปนเรายังมีอยู เพราะขั้นความเห็นกับ ความยึดนั้นมันคนละขั้นกัน เมื่อบรรลุถึงสิ่งที่บัญญัติวา "พระโสดาบัน" แลว ผูปฏิบัติยังคงปฏิบัติอยางเดิม นั้นเอง แตตัวจิตผูรูจะยิ่งเดนดวงขึ้นตามลําดับ จนเมื่อบรรลุพระอนาคามีแลว จิตผูรูจะ เดนดวงเต็มที่ เพราะพนจากอํานาจของกาม การที่จิตรูอยูกับจิตเชนนั้น แสดงถึงกําลัง สมาธิอันเต็มเปยม เพราะสิ่งที่เปนอันตรายตอสมาธิคือกามไดถูกลางออกจากจิตหมด แลว ผูปฏิบตั ิในขั้นนี้หากตายลง จึงไปสูพรหมโลกโดยสวนเดียว ไมสามารถกลับมาเกิด ในภพมนุษยไดอีกแลว นักปฏิบัติจํานวนมากที่ไมมีครูบาอาจารยชี้แนะ จะคิดวาเมื่อถึงขั้นที่จิตผูรูหมด จดผองใสแลวนั้น ไมมีทางไปตอแลว แตหลวงปูดูลย อตุโล กลับสอนตอไปอีกวา "พบ ผูรูใหทําลายผูรู พบจิตใหทําลายจิต" จุดนี้ไมใชการเลนสํานวนโวหารที่จะนํามาพูดกันเลนๆ ได ความจริงก็คือการ สอนวา ยังจะตองปลอยวางความยึดมั่นจิตอีกชั้นหนึ่ง มันละเอียดเสียจนผูที่ไมละเอียด พอ ไมรูวามีอะไรจะตองปลอยวางอีก เพราะความจริงตัวจิตผูรูนั้น ยังเปนของที่อยูใน อํานาจของไตรลักษณ บางครั้งยังมีอาการหมองลงนิดๆ พอใหสังเกตเห็นความเปนไตร ลักษณของมัน แตผูปฏิบัติที่ไดรับการอบรมเรื่องจิตมาดีแลว จะเห็นความยึดมั่นนั้น แลว ไมตองทําอะไรเลย แครทู ันเทานั้น จิตจะประคองตัวอยูที่รู ไมคิดคนควาอะไร มันเงียบ สนิทจริงๆ ถึงจุดหนึ่ง จิตจะปลอยวางความยึดถือจิต จิตจะเปนอิสระเปดโลงไปหมด ไม กลับเขาเกาะเกี่ยวกับอารมณใดๆ ที่จะพาไปกอเกิดไดอีก


๔. บทสรุปคําสอนของหลวงปูดูลย อตุโล ๔.๑ ธรรมเรียนรูไ ดที่จิต ๔.๒ ใหบริกรรมเพื่อรวมอารมณใหเปนหนึ่ง สังเกตดูวา ใคร เปนผู บริกรรม "พุทโธ" ๔.๓ ทําความเขาใจในอารมณความคิดนึก สังเกตกิเลสที่กําลังปรากฏใหออก ๔.๔ อยาสงจิตออกนอก อยาใหจิตคิดสงไปภายนอก (เผลอ) ใหสังเกตความหวั่นไหว หรือปฏิกิริยาของจิตตออารมณที่รับเขามาทางอายตนะทั้ง ๖ ๔.๕ จงทําญาณใหเห็นจิต เหมือนดั่งตาเห็นรูป คือรูทันพฤติของจิต ๔.๖ รู เพราะคิดเทาไหรก็ไมรู ตองหยุดคิดถึงจะรู แตก็ตองอาศัยคิด คืออยาไปหาม ความคิด ๔.๗ แยกรูปถอด (ความปรุงแตง) ก็ถึงความวาง แยกความวาง ถึงมหาสุญตา ๔.๘ สรุปอริยสัจแหงจิต

จิตสงออกนอก เปนสมุทัย (ฉะนั้น อยาสงจิตออกนอก) ผลอันเกิดจากจิตสงออกนอก เปนทุกข จิตเห็นจิตอยางแจมแจง เปนมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิตอยางแจมแจง เปนนิโรธ


“ที่จริงเราปฏิบัติไมใชเพื่อเอาความรู แตปฏิบัติเพื่อความพนทุกขของจิต โดย จิต มีปญญา ไมไปยึดอารมณทกี่ ําลังปรากฏ ไมใชโดย เรา มีความรู”


การดูจิต : ความหมาย วิธีการ และผลของการปฏิบัติ โดยคุณ ปราโมทย วัน ศุกร ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๓ ๐๙:๓๓:๐๐

กระทูนี้ผมเขียนไวในลานธรรม เพื่อสรางความเขาใจระหวางนักปริยัติกับนัก ปฏิบัติ แตนํามาโพสตเก็บไวที่นี้ดวยเพราะสมาชิกของวิมุตติบางสวน ไมไดเขาไปอาน กระทูในลานธรรม *********************************** เพื่ อ นใหม ที่ เ ข า มาสู ล านธรรมมั ก จะมี คํ า ถามเสมอว า การดู จิ ต คื อ อะไร ทํ า อยางไร ดูแลวมีผลอยางไร คําตอบที่ไดรับจากหลายๆ ทาน คอนขางแยกเปนสวนๆ วันนี้ผมขอโอกาสเลาถึงการดูจิตในภาพรวมสักครั้งนะครับ ความหมายของการดูจิต คําวา การดูจิต เปนคําที่นักปฏิบัติกลุมหนึ่งบัญญัติขึ้น เพื่อใชสื่อความหมาย กันเองภายในกลุม หมายถึงการเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน (ทุกบรรพ) จิตตา นุปสสนาสติปฏฐาน (ทุกบรรพ) รวมถึงธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน (บางอยางที่เปนฝาย นามธรรม) กลาวอยางยอก็คือ การเจริญวิปสสนาดวยอารมณฝายนามธรรม ไดแกการรู จิตและเจตสิกนั่นเอง วิธีการเจริญวิปสสนา (ดูจิต) การเจริญวิปสสนาทุกประเภท รวมทั้งการดูจิตไมมีอะไรมาก เพียงแตใหผูปฏิบัติ "รูสภาวธรรมที่กําลังปรากฏตามความเปนจริง ดวยจิตที่เปนกลางเทานั้น" แตจะรูได ถูกตองก็ตอง (๑) มีจิตที่มีคุณภาพ และ (๒) มีอารมณกรรมฐานที่ถูกตอง เทานั้น ซึ่งจิต ที่ มี คุ ณ ภาพสํ า หรั บ การทํ า สติ ป ฏ ฐานหรื อ วิ ป ส สนา ได แ ก จิ ต ที่ มี ส ติ (สั ม มาสติ ) สัมปชัญญะ (สัมมาทิฏฐิ) และสัมมาสมาธิ สวนอารมณกรรมฐานที่ถูกตองคืออารมณที่ มีตัวจริงที่สามารถแสดงไตรลักษณได หรือที่นักปฏิบัติมักจะเรียกวาสภาวะและนัก ปริยัติเรียกวาอารมณปรมัตถ เมื่อจะลงมือปฏิบัติ ก็ให (๑) มีสติเฝารูใหทัน (มีสัมมาสติ)


(๒) ถึงอารมณหรือสภาวธรรมที่กําลังปรากฏ (มีอารมณปรมัตถ) (๓) ดวยจิตที่ตั้งมั่น ไมเผลอสงสายไปที่อื่น และไมเพงจองบังคับจิต (มี สัมมาสมาธิ) แลว (๔) จิตจะรูสภาวธรรมทั้งปวงตามความเปนจริง (มีสัมปชัญญะ/สัมมาทิฏฐิ) การมีสติเฝารูใหทัน หมายถึงสิ่งใดเกิดขึ้น ตั้งอยู หรือดับไป ก็ใหรูเทาทัน เชน ขณะนั้นรูสึกมีความสุข ก็ใหรูวามีความสุข เมื่อความสุขดับไป ก็ใหรูวาความสุขดับไป มีความโกรธก็รูวามีความโกรธ เมื่อความโกรธดับไปก็รูวาความโกรธดับไป เมื่อจิตมี ความทะยานอยากอันเปนแรงผลักดัน ใหออกยึดอารมณทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็ให รูวามีแรงทะยานอยาก เปนตน อารมณหรือสภาวธรรมที่กําลังปรากฏ ตองเปนอารมณของจริง ไมใชของสมมุติ โดยผูปฏิบัติจะตองจําแนกใหออกวา อันใดเปนของจริง หรือปรมัตถธรรม อันใดเปน ของสมมุติ หรือบัญญัติธรรม เชนเมื่อจิตมีความสุข ก็ตองมีสติรูตรงเขาไปที่ความรูสึกสุขจริงๆ เมื่อจิตมีความ โกรธ ก็ตองรูตรงเขาไปที่สภาวะของความโกรธจริงๆ เมื่อมีความลังเลสงสัย ก็ตองรูตรง เขาไปที่สภาวะของความลังเลสงสัยจริงๆ ฯลฯ และเมื่อหัดรูมากเขาจะพบวา นามธรรม จํานวนมากผุดขึ้นที่อก หรือหทยวัตถุ แตผูปฏิบัติไมตองเที่ยวควานหาหทยวัตถุหาก กิเลสเกิดที่ไหน และดับลงที่ไหน ก็รูที่นั้นก็แลวกันครับ ถาเอาสติไปตั้งจอดูผิดที่เกิด ก็ จะไม เ ห็ น ของจริ ง เช น เอาสติ ไ ปจ อ อยู เ หนื อ สะดื อ สองนิ้ ว จะไม เ ห็ น กิ เ ลสอะไร นอกจากเห็นนิมิต เปนตน และการมีสติรูของจริง ก็ไมใชการคิดถามตนเอง หรือคะเนเอาวา ตอนนี้สุขหรือ ทุกข โกรธหรือไมโกรธ สงสัยหรือไมสงสัย อยากหรือไมอยาก ตรงจุดนี้สําคัญมากนะ ครับ ที่จะตองรูสภาวธรรม หรือปรมัตถธรรมใหได เพราะมันคือ พยานหรือแบบเรียนที่ จิตจะไดเรียนรู ถึงความเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไปของมันจริงๆ ไมใชแคคิดๆ เอาวามัน เปนอยางนั้นอยางนี้ เมื่อมีสติรูสภาวธรรมหรือปรมัตถธรรมที่กําลังปรากฏแลว ผูปฏิบัติจะตองมีจิตที่ รูตัว ตั้งมั่น ไมเผลอไปตามความคิดซึ่งจะเกิดตามหลังการรูสภาวธรรม เชนเมื่อเกิด สภาวะบางอยางขึ้นในจิต อันนี้เปน ปรมัตถธรรม ถัดจากนั้นก็จะเกิดสมมุติบัญญัติวา นี้ เรียกวาราคะ สมมุติตรงนี้หามไมได เพราะจิตเขามีธรรมชาติเปนนักจําและนักคิด ผู


ปฏิบัติจึงไมตองไปหามหรือปฏิเสธสมมุติบัญญัติ เพียงรูใหทัน อยาไดเผลอหรือหลง เพลินไปตามความคิดนึกปรุงแตงนั้น หรือแมแตการหลงไปคิดนึกเรื่องอื่นๆ ดวย แลว ใหเฝารูสภาวะ (ที่สมมุติเรียกวาราคะนั้น) ตอไป ในฐานะผูสังเกตการณ จึงจะเห็นไตร ลักษณของสภาวะอันนั้นได ในทางกลับกัน ผูปฏิบัติที่ไปรูสภาวะที่กําลังปรากฏ จะตองไมเพงใสสภาวะนั้น ดวย เพราะถาเพงจิตจะกระดางและเจริญปญญาไมได แตจิตจะ "จํา และจับ" สภาวะอัน นั้นมาเปนอารมณนิ่งๆ แทนการรูสภาวะจริงๆ พึงใหจิตเปนเพียงผูสังเกตการณ เหมือน คนดูละคร ที่ไมโดดเขาไปเลนละครเสียเอง สภาพที่จิตทรงตัวตั้งมั่น นุมนวล ออนโยน ควรแกการงาน โดยไมเผลอและไมเพงนี้แหละ คือสัมมาสมาธิ เปนสภาพที่จิตพรอมที่ จะเจริญปญญาอยางแทจริง คือเมื่อจิตมีสติ รูอารมณปรมัตถ ดวยความตั้งมั่น ไมเผลอและไมเพง จิตจะได เรียนรูความจริงของปรมัตถธรรมอันนั้นๆ ๔ ประการ คือ (๑) รูสภาวะของมันที่ปรากฏขึ้น ตั้งอยู และดับไป (รูตัวสภาวะ) (๒)รูวาเมื่อสภาวะอันนั้นเกิดขึ้นแลว มันมีบทบาทและหนาที่อยางไร (รูบทบาทของ สภาวะ) (๓) รูวาถามันแสดงบทบาทของมันแลวจะเกิดอะไรขึ้น (รูผลของสภาวะ) และเมื่อ ชํานาญมากเขา เห็นสภาวะอันนั้นบอยครั้งเขา ก็จะ (๔) รูวา เพราะสิง่ ใดเกิดขึ้นแลว จึงกระตุน ใหสภาวะอันนั้นเกิดตามมา (รูเหตุใกลของ สภาวะ) การที่จิตเปนผูสังเกตการณและเรียนรู หรือวิจัยธรรม (ธรรมวิจัย) อันนี้ เองคือการเจริญปญญาของจิต หรือสัมปชัญญะ หรือสัมมาทิฏฐิ ตัวอยางเชนในขณะที่มองไปเห็นภาพๆ หนึ่งปรากฏตรงหนา จิตเกิดจําไดหมาย รูวา นั่นเปนภาพสาวงาม แลวสภาวธรรมบางอยางก็เกิดขึ้นในจิต (ซึ่งเมื่อบัญญัติทีหลังก็ เรียก วา ราคะ) การรูสภาวะที่แปลกปลอมขึ้นในจิตนั่นแหละคือการรูตัวสภาวะของมัน แลวก็รูวามันมีบทบาทหรืออิทธิพลดึงดูด ใหจิตหลงเพลินพอใจไปกับภาพที่เห็นนั้น ผล ก็คือ จิตถูกราคะครอบงํา ใหคิด ใหทํา ใหอยาก ไปตามอํานาจบงการของราคะ และ เมื่อรูทันราคะมากเขา ก็จะรูวา การเห็นภาพที่สวยงามเป นเหตุใกลใ หเกิดราคะ จึ ง จําเปนจะตองคอยเฝาระวังสังเกต ขณะที่ตากระทบรูปใหมากขึ้น เปนตน


ในสวนตัวสภาวะของราคะเอง เมื่อผูปฏิบัติมีสติรูอยูนั้น มันจะแสดงความไม เที่ยงใหเห็นทันที คือระดับความเขมของราคะจะไมคงที่ มันตั้งอยูไมนาน เมื่อหมดกําลัง เพราะเราไมไดหาเหตุใหมมาเพิ่มใหมัน (ยอนไปมองสาว) มันก็ดับไป แสดงถึงความ เปนทุกขของมัน และมันจะเกิดขึ้นก็ตาม ตั้งอยูก็ตาม ดับไปก็ตาม ลวนเปนไปตามเหตุ ปจจัยกําหนด ไมใชตามที่เราอยากจะใหเปน นอกจากนี้ มันยังเปนเพียงสิ่งที่ถูกรู ไมใช ตัวเรา เหลานี้ลวนแสดงความเปนอนัตตาของสภาวะราคะทั้งสิ้น ผลของการดูจิต และขอสรุป จิตที่อบรมปญญามากเขาๆ ถึงจุดหนึ่งก็จะรูแจงเห็นจริงวา ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นไมวา จิต เจตสิก กระทั่งรูป ลวนแตเกิดขึ้นแลวดับไปทั้งสิ้น ถาจิตเขาไปอยาก เขาไปยึด จิต จะตองเปนทุกข ปญญาเชนนี้แหละ จะทําใหจิตคลายความยึดมั่นถือมั่นในตัวกูของกูลง ความทุกขก็จะเบาบางลงจากจิต เพราะจิตฉลาด ไมไปสายแสหาความทุกขมาใสตัวเอง (แตลําพังคิดๆ เอา ในเรื่องความไมมีตัวกูของกู ยอมไมสามารถดับ ความเห็นและความ ยึด วาจิตเปนตัวกูของกูได จะทําไดก็แค "กู ไมใชตัวกูของกู" คือจิตยังยึดอยู สวนการที่ จะลดละไดจริง ตองเจริญสติปฏฐานจริงๆ เทานั้นครับ) สรุปแลว การดูจิตที่ชาวลานธรรมพูดถึงกันนั้น ไมใชการดูจิตจริงๆ เพราะจิตนั้น แหละ คือผูรู ผูดู ผูยึดถือ อารมณ แตการดูจิตหมายถึงการเจริญวิปสสนา โดยเริ่มตนจาก การรูนามธรรม ซึ่งเมื่อชํานิชํานาญแลว ก็จะรูครบสติปฏฐานทั้งสี่นั่นเอง ดังนั้น ถาไม ชอบคําวา ดูจิต ซึ่งนักปฏิบัติสวนหนึ่งชอบใชคํานี้เพราะรูเรื่องกันเอง จะใชคําวา การ เจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน + การเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน + การเจริญธัม มานุปสสนาสติปฏฐาน ก็ไดครับ แตการที่นักปฏิบัติบางสวนชอบพูดถึงคําวา "การดูจิต" ก็มีประโยชนอยู เหมือนกัน คือเปนการเนนใหทราบวา จิตใจนั้นเปนใหญ เปนประธานในธรรมทั้งปวง และเปนการกระตุนเตือนใหหมั่นสังเกตพฤติกรรมของจิตเมื่อมันไปรูอารมณเขา เพราะ ถารูจิตชัด ก็จะรูรูปชัด รูเวทนาชัด รูกิเลสตัณหาชัดไปดวย เนื่องจากจิตจะตั้งมั่น และ เปนกลางตออารมณทั้งปวง ในทางกลับ กัน ถาจิ ตไม มีคุณภาพ คือไมมี สัมมาสมาธิ สัมมาสติ และสัมมาทิฏฐิ แมจะพยายามไปรูปรมัตถ ก็ไมสามารถจะรูปรมัตถตัวจริงได นอกจากจะเปนเพียงการคิดถึงปรมัตถเทานั้น


ถาเขาใจจิตใจตนเองใหกระจางชัดแลว การเจริญสติปฏฐานก็จะทําไดงาย ถาไม เขาใจจิตใจตนเอง ก็อาจจะเกิดความหลงผิดไดหลายอยางในระหวางการปฏิบัติ เชน หลงเพงโดยไมรูวาเพง อันเปนการหลงทําสมถะแลวคิดวากําลังทําวิปสสนาอยู พอเกิด นิมิตตางๆ ก็เลยหลงวาเกิดวิปสสนาญาณ หรือหลงเผลอไปตามอารมณ โดยไมรูวากําลัง เผลอ หรือหลงยินดียินรายไปตามอารมณ หรือหลงคิดนึกปรุงแตงอันเปนเรื่องสมมุติ บัญญัติ แลวคิดวากําลังรูปรมัตถหรือสภาวะที่กําลังปรากฏ เปนตน ถาเขาใจจิตตนเอง ไดดีพอประมาณ ก็จะไมเกิดความหลงผิดเหลานี้ขึ้น ขอดีที่สําคัญอีกประการหนึ่งของการดูจิตก็คือ การดูจิตเปนวิปสสนาชนิดเดียวที่ ทําไดทั้ง ๓ โลก คือในกาม (สุคติ) ภูมิ รูปภูมิ (สวนมาก) และอรูปภูมิ แมแตในเนว สัญญานาสัญญายตนภูมิ อันเปนภวัคคภูมิหรือสุดยอดภูมิของอรูปภูมิ พระอริยบุคคลที่ ไปเกิ ด ในภู มิ นี้ ก็ ต อ งอาศั ย การดู จิ ต นี้ เ อง เป น เครื่ อ งเจริ ญ วิ ป ส สนาต อ ไปได จ นถึ ง นิพพาน อันที่จริงสิ่งที่เรียกวาการดูจิตนั้น แมจะเริ่มจากการรูนามธรรมก็จริง แตเมื่อลง มื อ ทํ า ไปสั ก ระยะหนึ่ ง ก็ จ ะสามารถเจริ ญ สติ ป ฏ ฐานได ทั้ ง ๔ อย า ง โดยจิ ต จะมี สติสัมปชัญญะตอเนื่องอยูในชีวิตประจําวันนี่เอง เพียงกาวเดินกาวเดียวก็เกิดการเจริญ สติปฏฐานไดตั้งหลายอยางแลวคือ เมื่อเทากระทบพื้น ก็จะรูรูป ไดแกธาตุดินคือความแข็งภายในกาย (รูปภายใน) และธาตุดินคือความแข็งของพื้นที่เทาเหยียบลงไป (รูปภายนอก) อันนี้ก็คือการเจริญกา ยานุปสสนาสติปฏฐานแลว และรูถึงความเย็น ความรอนคือธาตุไฟของพื้นที่เทาเหยียบ ลงไป เปนตน ขณะที่เหยียบพื้นนั้น ถาสติรูเขาไปที่ความรูสึกอันเกิดจากการที่เทากระทบพื้น เชนความเจ็บเทา ความสบายเทา ก็คือการเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐานแลว ขณะที่เหยียบพื้นนั้น ถาพื้นขรุขระ เจ็บเทา ก็สังเกตเห็นความขัดใจ ไมชอบใจ หรือถาเหยียบไปบนพรมนุมๆ สบายๆ เทา ก็สังเกตเห็นความพอใจ อันนี้ก็เปนการเจริญ จิตตานุปสสนาสติปฏฐานแลว ขณะที่เหยียบนั้น ถารูตัวทั่วพรอมอยู ก็จะเห็นกายเปนสวนหนึ่ง เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เปนแตละสวนๆ หรือรูถึงความทะยานอยากของจิตที่สงหลงเขาไปที่ เทา หรือรูอาการสงสายของจิต ตามแรงผลักของตัณหาคือความอยาก แลวหนีไปเที่ยว


ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ หรือรูถึงความเปนตัวกูของกูที่เกิดขึ้นในจิต หรือรูถึงนิวรณที่ กําลังปรากฏขึ้น แตยังไมพัฒนาไปเปนกิเลสเขามาครอบงําจิต หรือรูชัดถึงความมีสติ มี สัมปชัญญะ มีความเพีย ร มีปติ มีความสงบระงับ ฯลฯ สิ่งเหลานี้ลวนแตเปน ธั ม มา นุปสสนาสติปฏฐาน ทั้งสิ้น ที่เล ามายืดยาวนี้ เพื่อนใหมที่ไมเคยลงมือเจริญ สติสัม ปชัญ ญะจริ งๆ มาก อน อาจจะเขาใจยากสักหนอยครับ ดังนั้น ถาอานแลวเกิดความสงสัยมากขึ้น ก็ลองยอนมารู เขาไปที่ ความรูสึกสงสัยในจิต เลยทีเดียว ก็จะทราบไดวา ความสงสัยมันมีสภาวะของ มันอยู (ไมใชไปรูเรื่องที่สงสัยนะครับ แตใหรูสภาวะหรือปรมัตถธรรมของความสงสัย ) เมื่อรูแลวก็จะเห็นวา เมื่อความสงสัยเกิดขึ้น มันจะยั่วจิตใหคิดหาคําตอบ แลวลืมที่จะรู เขาไปที่สภาวะความสงสัยนั้น เอาแตหลงคิดหาเหตุหาผลฟุงซานไปเลย พอรูทันมาก เขาๆ ก็จะเขาใจไดวาความสงสัยนั้นมันตามหลังความคิดมา เปนการรูเทาทันถึงเหตุใกล หรือสาเหตุที่ยั่วยุใหเกิดความสงสัยนั่นเอง เมื่อรูที่ สภาวะของความสงสัย ก็จะเห็นสภาวะนั้นไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา มันเกิดขึ้นเพราะความคิด พอรูโดยไมคิด มันก็ดับไปเอง หัดรูอยูในจิตใจตนเองอยางนี้ก็ไดครับ แลวตอไปก็จะทําสติปฏฐาน ๔ ไดใน ที่ สุ ด เพราะจะสามารถจํ า แนกได ชัด ว า อะไรเป น จิ ต อะไรเป น อารมณ อะไรเป น อารมณ ข องจริ ง และอะไรเป น เพี ย งความคิ ด นึ ก ปรุ ง แต ง หรื อ สมมุ ติ บั ญ ญั ติ ที่ แปลกปลอมเข ามา รวมทั้งจําแนกไดดวยว า อั นใดเป น รู ป อั นใดเปน จิ ต อันใดเป น เจตสิก ขอย้ําแถมทายอีกนิดหนึ่งนะครับวา การดูจิต ไมใชวิธีการปฏิบัติธรรมที่ดีที่สุด เสมอไป เพราะในความเปนจริง ไมมีวิธีการปฏิบัติธรรมที่ดีที่สุดในโลก มีแต "วิธีปฏิบัติ ที่เหมาะสมที่สุด เฉพาะของแตละบุคคล” เทานั้น ดังนั้น ถาถนัดจะเจริญสติปฏฐาน อยางใดกอน ก็ทําไปเถิดครับ ถาทําถูกแลว ในที่สุดก็จะทําสติปฏฐานหมวดอื่นๆ ไดดวย ***********************************


ขออนุญาตฝากขอความจากลานธรรมไวดวยครับ *********************************** ความคิดเห็นที่ ๓๗ : (สันตินันท) ที่คุณสุภะตั้งประเด็นเรื่องปรมัตถนั้น ขอเรียนสั้นๆ วา พระพุทธเจาทรงสอน ธรรมโดยสมมุติแกผูควรฟงธรรมโดยสมมุติ ทรงสอนปรมัตถแกผูควรฟงปรมัตถ เพื่อ ประโยชนของผูฟงเปนหลัก ไมใชเพื่ออวดวาพระองครอบรู พระอริยสาวกชั้นตนๆ ไมเคยฟงเรื่องปรมัตถเลยก็มี แตก็รูธรรมได อันนี้ผมเห็น วา (ขอย้ําวาเปนความเห็นนะครับ) เพราะคุณภาพในการฟงของทานดี เชนพระพุทธเจา ทรงสอนวา ความแกเปนทุกข ความเจ็บเปนทุกข ความตายเปนทุกข จิตที่อบรมมาดีแลว ไดรับธรรมอยางนี้ ก็ทราบวา ความแกเปนทุกข ฯลฯ ไมไปติดอยูแควา "คนแกเปนทุกข" คือทานสามารถมองทะลุสมมุติบัญญัติเขาถึงสภาวะของความแกไดเลย อยางไรก็ตามในมหาสติปฏฐานนั้น ทานสอนทั้งโดยสมมุติและปรมัตถ ที่สอน โดยสมมุติก็เพราะทรงสอนธรรมตนทางของการปฏิบัติกอน คือสอนใหปรับจิตใหมี คุณภาพดวยการรูอารมณอยางเปนวิหารธรรม มีตปธรรม มีสัมปชัญญะ มีสติ นําความ ยินดียินรายในโลกออกจากจิต ผูใดปรับจิตใหมีคุณภาพแลวก็ยอมสามารถ (๑) เห็นอารมณปรมัตถโดยความเปนปรมัตถ และ (๒) เห็นสมมุติโดยความเปนสมมุติ สวนทานที่อินทรียแกกลาแลว ก็จะกาวกระโดดไปเรียนรูเรื่องปรมัตถทีเดียว ลองสังเกตเถิดครับวา ธรรมที่พระองคแสดงแมในขั้นสมมุติ บางทีก็แฝงปรมัตถ อยางนึกไมถึง อยางเชนลองอานอริยสัจจ ๔ ดูเถิดครับ เชนทรงสอนวาเกิด แก เจ็บ ตาย พลัดพรากจากของรัก พบสิ่งที่ไมรัก เปนทุกข แตลงทายทานก็มักจะขมวดวา "วาโดยยอ อุปาทานขันธทั้ง ๕ เปนทุกข" และถาสังเกตธรรมที่ทานทรงสอนผูที่จะบรรลุพระ อรหันตจริงๆ จะเปนธรรมขั้นปรมัตถ เชนพระสารีบุตรไดฟงเรื่องเวทนา พระพาหิยะ ฟงเรื่องรูปกระทบตาฯลฯ พระมหากัสสปะและพระอานนท สําเร็จดวยกายคตาสติ (กายคตาสติสูตร มีเนื้อหาอันเดียวกับกายานุปสสนาสติปฏฐานนะครับ อันนี้จะไมตรง กับวิสุทธิมรรค ที่จัดกายคตาสติเปนสมถะเทานั้น)


อยางไรก็ตาม ไมมีหลักฐานชั้นพระไตรปฎกวา พระองคเคยทรงสอนวา จะตอง รูอารมณปรมัตถจึงเห็นไตรลักษณ คําวาปรมัตถ ๔๐๐ กวาแหงในพระไตรปฎก เกือบ ทั้งหมดอยูในกถาวัตถุซึ่งแตงขึ้นหลังพุทธกาลราว ๒๓๐ ปเศษ ที่ผมเรียนอยางนี้ เพราะ เห็นวาเราตองซื่อตรงตอการศึกษา แมผมจะเชื่อโดยสวนตัวเรื่องวิปสสนาตองรูอารมณ ปรมัตถ ก็ตองยอมรับวาพระพุทธเจาไมไดทรงสอนไว แตผมพบวา ถาดําเนินจิตให ถูกตองจะเห็นปรมัตถ แลวพระองคทรงสอนถึงการดําเนินจิตที่ถูกตองไว ซึ่งเพียงพอ แลว หากทรงสอนเรื่องปรมัตถมากเกินไป พระศาสนาคงไมตั้งมั่นลงไดแนๆ เพราะหา คนฟงรูเรื่องและเขาใจ และปฏิบัติไดยากเต็มที เรื่องจิตผูรูนั้น ขอเรียนวาจะไมใชการสรางมโนภาพ เพราะการสรางมโนภาพ เอาไปเจริ ญวิปสสนาไมไดครับ แต ไม วาเราจะชอบคําว าจิตผูรู หรือไม ถาเราเจริ ญ สติสัมปชัญญะจริงๆ ก็จะรูจักจิตชนิดหนึ่ง ซึ่งตั้งมั่น เปนกลาง รูอารมณดวยความมี สติสัมปชัญญะ อันนี้เปนธรรมชาติที่มีอยูจริงครับ แตนักปฏิบัติไปบัญญัติเรียกกันเองวา จิตผูรู เมื่อจิตเปนของจริง เหมือนที่เจตสิกและรูปเปนของจริง มันจึงไมใชมโนภาพ แต ถาใครไปสรางมโนภาพของจิตผูรู ไมไดรูเองดวยปญญา อันนั้นผิดครับ แลวก็ไมใชการสรางสิ่งหนึ่งขึ้นกอน แลวปลอยวางความยึดมั่นทีหลัง เพราะจะ รูจักจิตผูรูหรือไม ปุถุชนทุกคนยอมเห็นวาจิตเปนเราทั้งนั้น และผูที่ไมใชพระอรหันต ก็ ยอมยึดวา จิตเปนเรา จะรูตัวหรือไม ก็เปนอยางนี้แหละครับ เรื่องจิตสงออกนอก ไมเกี่ยวกับการรูอ ารมณภายนอกและภายใน เปนคนละเรื่อง กันเลยครับ เพราะเราตองรูอารมณตามความเปนจริง คือตามที่วิญญาณหยั่งลงรูลงไป ทางใด คําวาจิตสงออกนอกเปนคําบัญญัติของนักปฏิบัติบางกลุมที่สอนวา เมื่อรู อารมณแลว อยางหลง อยาเผลอ อยาขาดสติคิดนึกปรุงแตงตามอารมณไป สําหรับที่คุณรูปนามหนึ่งถามนั้น ผมมีความหมายดังที่คุณวิชชากรุณากลาวไว ครับ คือพระอริยบุคคล ๗ ประเภท เวนแตพระโสดาปตติมรรค หากไปปฏิสนธิในเนว สัญญานาสัญญายตนภูมิ ก็ไปดูจิตตอไดที่นั่น เพราะจิตที่อบรมสติสัมปชัญญะไวดีแลว มันทํางานไดโดยอัตโนมัติครับ พอรูอารมณอันใด มันก็เจริญปญญาตรงนั้นเลย เรื่องนี้ เดิมผมไมกลาพูดหรอกครับ คิดวาเปนความรูที่แปลกเกินไป แตไปเห็นในตําราเรื่องภูมิ จตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ สอดคลองกัน ก็เลยกลานํามาเขียนไว…


อริยสัจจแหงจิตของหลวงปูดูลย อตุโล "จิตที่สงออกนอก เปนสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตที่สงออกนอก เปนทุกข จิตเห็นจิตอยางแจมแจง เปนมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิตอยางแจมแจง เปนนิโรธ" อนึ่ง ตามสภาพที่แทจริงของจิต ยอมสงออกนอกเพื่อรับอารมณนั้นๆ โดยธรรมชาติของมันเอง ก็แตวา ถาจิตสงออกนอกไดรับอารมณแลว จิตเกิดหวั่นไหวหรือเกิดกระเพื่อมไปตามอารมณนั้นเปนสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตหวั่นไหวหรือกระเพื่อมไปตามอารมณนั้นๆ เปนทุกข ถาจิตที่สงออกนอกไดรับอารมณแลว แตไมหวั่นไหว หรือไมกระเพื่อมไปตามอารมณนั้นๆ มีสติอยูอยางสมบูรณ เปนมรรค ผลอันเกิดจากจิตไมหวั่นไหว หรือไมกระเพื่อม เพราะมีสติอยูอยางสมบูรณ เปนนิโรธ พระอริยเจาทั้งหลายมีจิตไมสงออกนอก จิตไมหวั่นไหว จิตไมกระเพื่อม เปนวิหารธรรม จบอริยสัจจ 4


! " "# $%$ & ' ( )( * +, ) -. /+ 0 ( 12 3 . " 0 " (4 ) 5 6 ( 0 1( 2 6 . ( 2 3723 ! " "# $%8

. ! - 0 6*" . + 3 ". # $ % : (<) ) " &1 ) , ( ) 6 ( * 5 6 + ( ( ) / " &1 + 5 > ", 6 &1 / , ?. &1 (%) *( 6 ?./3 5 / ( /" , (A 6*" .2 5 5 1 " &1 / "'5 &. # $'# # % : " " (<) " ( ) " 5 - &1 ( ) . (. )* # $ : 6 > )" )6*" . + 3 . B C & ? (DEE & (A " E 5 " 5 "5" -." , 5 " (DEE , (A " " ), (A 5 6*" . 5"' 1 5 - *( 6 (5 - 6 * ) F0 (" 6> " 6 , ) 3 5 ( G/ ( / 5 1) &1(& 6*" . ( ( ) 2 52 5 +. #

' , - % - " 1&/" ( H) / F ? ( I) 6 "> & ( "4 ( B) 5 (A ( 8) .. #

/0# 1 % : 5 5 ( /" , J 5 > F 1 (

& 5 1 " /+ ( 6 5 " & ( "4 /+ C 5 " 1&/" 6 "5 "


* 25 " & 5 " & ( -.6 6 6 + H &1" ) )" " , 5 2. 3

% : (? &1 ? 6 ( 1" )" /+ (A " 5, (A " 6*" . + ,3 6 (A KD 5 " 4. #1 /) 5

#6 0 % - / F ? 6 ( "4 (A -.(D *) , -1 5 5 + (4 ) 5 5 & / F ? , 5 &1 " & / F ? , 5 7. - '58 0 % : / & "L-1 F ? 5 5 6 (A ( (A

5 & "L-.) &1 ( 6 " G F 1 & + "(5 - ) &1 ' (6 4M ) 9. /0# / % % : (<) (A * , (D *) 5 5 ) ") ( ) &1 &1 " "& 5 ) ( ( ) ) -. C & (%) 5 + 5 ? ($) 6 4M , 5 , &1 , ? (H) ) ) & " / 6 + & (I) &* 0 &1 (B) " " )? &* 0

. !

<.< 0 10*6?C (A C 5 .6 * 5 )(DE 6 1 % '

' 0 # $ : '; % <. ): / )# ' # $ - %5 #

0 1 " 5, + (A " 6*" . 6 J 6 6> , " *

+ * 6*" . " 0 , 5, "' F 1 &1 6*" . " /+ 0 + 0 1 1 + 0 , * 6 "' 5' O1 + "' ( ' * 6 " 3 3 J 1 5 "' 1

&* ( 5 ( " (A &1 , " " + 5& & 2 6 1 ) * , <. 6 * 6 0 " 6 + (A 0 F 0& 5 6 / " + + 2 "' 1 * ( & 6 0 . 6 ) E 5 5 3 > *" * F 0 P&P 5 * '

'

- : < % )#


<.% 0 10*6?C , * 3 6 (A F 0& 5 + 5 , 6*" .G/ (A 3 5 5 0 10*6?C 6 + 6 5 )(DE 6*" . 2 5 6 + ) " 5* 6*" . &1) " ? (4 ) 5 0 0 6*" . + 3 '

!0#= ' # $ ' ' 0 # $ ' ): % *#)* ) '-> * * ?$ 5

#6 - - - : ) <.$ ) & ( " 0 10*6?C 2&" " ( 3 5 5 6*" . ( 1 ' +5 " (A " 3 0 1 ? ) " , -1 +"' 1 "& (A " 6 ( 3 E ( 0 & + , ) & & 6* " . 5 6 6 0 10*6? 6 "' 1 ' 2 5 & " " & ". # $ %

.< 0 10*6?C 6*" . &/"G/+ &1 & * "" 6*" .6 0 " "" 6 J ( "& .<.< # ' 6*" .6 (6 0 " "" & " 6*" . " 6*" ., > ) 6 E 5 /" J 6*" 6 / " /+ " + / 5 6 E 5 10) 6*" 6 " /+ ) " 3 5 " 10) 6*" . 5 . 6 5 6> 5& & 6> , 5 (& ) 5 " 5 5 ) 5 ) 5 3' & 5 " 5 , 5 , " P&P 6)

* 0 " & ) (Q (A ) ) + 6 * &16 6 * "> &

6*" . "' 1 " 6*" .6> 5 , 6 6*" 6 ) 6 & 1 /" (A * 5 & 6*" ."' 5 6 " /

" 5 6 5, "' 10) 5 " /+ 6)5& & , & "' /" (A * , " /+ "' /" (A 6*" . .<. # /)#=? 6*" .3 + ,3 6*" ., 6 (6 , J "' " 5 (A & "L-16 ( 6 (A ( " 5, &1 ( * 5 6 + & ) 6 6 + & 6 5& ( + 5 + " 16 * "' & "L-1 (A 6*" . 3 " 6 6*" & "L-1 + 1 ' 3 /+ & E 5 & , 3 + + / 6 ) 0 +"


.<. # $'

-)? 6*" .3 + (A 6*" .6 " /+ " ) &1 5 .6 + & 6) 15& & 5 ' " " (4 ) 5 0 1 ' 6*" .3 + 2 O0 1 E 5 2 ,3 -., KQ ? G/ 1 ' ) '58 ' - '# # $ ' " 5 " "(5 - ) &1 / ( *( 6 5 - 6 "> & "& ), ( &1 -.6 + & & 5 1 " 6*" . / 6 + & /+ 6 6 " 5( C " " &1 / -. 5 1 6*" . 5 "& ) 16 5 F 0 5 ) ") &1 * 2 5 (4 ) 5 6 5 " (DEE 5' 6 , 1 ) + 1 ? ) ) -. 5 15 + 2 5 1 "L "5 ( (A F ? , 1 )0 1 6 6 / F ? + +) 6 1 " , (4 ) 5 5 ( 0 1 56 5 + + (A 6 0/ 6 C (& F &1 * " & .<.% # ) $ ) $ # $ 6* " .3 + (A 6*" .6 &/"G/+ 6 * 6 , 6*" .3 + 6 + / 10 "" 5 " 0 1" " 0 6*" 6 (A E6 , J "' " " "6*" & "L-1"' (A 6 E (D " M (A (* *3 "' " " "6*" . 0 15 - "' ,3 (DEE 6 / 6 * 0 1 ' 5) (A * &1 5) (A 6*" . "6 * "' / ? , 1 )0 1 0 1 5 (DEE , " " &1 / 5 / 1 (A 6*" . 5 / 0 , 6 1 5 + -.F " (A 6 5 + " &1 / 5 "& ) / , 5 56 (A 5 ) ") 5 E (D " M 5 ( (DEE " ) / 6 * 6 / 1 ' 6*" . ) $ 5 # ) / # $ # / 0 ) % 5 :#>'58 # $ < -) ) ' / # # # $% '# 0: / # # # $% )*%5 ,3 " + 5 + (A 6*" .) (A * )

" 5 (A 6*" .& J & 6 0 5 6*" . " 6*" . 6 + (DEE " ) , ?. (A 6*" . & "' (A , . '

) 0 '# # $ / '

% # $ 0 '# ) '# '58 )6 )# % : - ' # $ 5/ # $% / ) #>'58 ) )*%5< )-< )- / < 5

#6 - - - )6 )# #>'58 ) 1 1 / / ? ): ' ' ?. ( (A 6*" .( 33 -&1 33 ) 1 (& / , ?. ( & ' &1 & 5 3 '58 # $ - %


@ # $ 6> , "(5 - - *( 6 )6 1, ( (A * &1( C "6*" .

(2 52 5 5 / + " 6> 6 , ( /F0/" F0)6 1 * &1 & " 6*" . 5 1(& &1 )O ( (3 5 ), J /+ (A 5 5 5 " &1 ' / F 1 00 + 6*" . 0 1 50 " > " " "" & &1 ?. " E 5 (D4M (A 6 6 16> , / ? & + &1 , , "& + & 5"' 1 & " &1 / , J 6 5 ( (A &> )J / + (& / , 6*" . " &1 5 , 6 * . 6*" .6 0 10*6? 6 , * (4 ) 5 0 , 0 ( " ) $ , &1 33 6*" .& 0 1 ' 6 ( & "L-1 (A 6 (A # $(/)#=? ) (A 55 5 1 & 6*" .( ?./ ( /" , ), " )2&"6 6 &1

)O 6* " . ( , J /+ " # ' 6 " , 3 5 (D * ) (A 6

& " & > (A 5 " ( 5 " -. (A J ( 2 , F 06 " 6*" . 5 , 6*" . 5 + ?. &1 ?., " /+ &1 / / 0 6*" . + 3 ) -. )) &. # $'# # %

.< > ))* & &1 5 .6 ( & " /" % # 1 '# # $ 3 " (A * & 5 " "'6*" . " ' & 5 ')(Q "'6*" . " (A 51 & 5 5 "'6*" . " & "'6*" . " & 5 "'6*" . 5 ( , "' + 1 /" (A * . > ) (4 ) 5 1 ' &/"G/+ /+ ( #- # 1 '# # $ 0 1 "6> , 55 + 6> "6 + 6 + 0 1, (A * &1 0 " 6*" .6 + ( ( C " " 5"' 5 + " 1 " 1 5 * ) , 5 6 + . > ) . & 10) ) $ ) / '58 -) # $< -) ) ' 1 " ?."' (A 6*" .5& & & 5 0 1 33 ?. (A 6*" . "& ) ( " +, + (A 6*" .) (A * ) / " *6 " 1, " , (A * ", " , 0 6*" . & " + 6 , " (A 6*" . 5, 6)5& & " + 5" & & "' 1" 15* , 5( *


?., /+ (A F 1, 5 )" )6*" .5 ( " + % ) $ ;; % 5 : / 0 '58

#' # $ 0 1 6> , " " )O ( (A " 6*" . /+ & " " + 6 5, 5 + " 0 1 6*" . " " ( &1 * , ( 5& " , " ?., )5 ( 6 + * / " " (A 6*" .G+> G 6 " ) + & (. )* # $ %.< 6 ) & 6*" . " " 1 (A " "6 16> , )6*" . " /+ G/ "' 1 " (" " ) 33 . 2 O0 1 6*" . (A ( /" , ,3 5 5 5 (A 5 5*, " 5 - 61 "6 1 * &1 & " 6*" .6 " 16)" , 5 " (A ( (A > E " 0 1 0*6? 16 C' - '58 '* ' '* / #1 ) (</3 /-)? ) ' / #1 ) / ' / / / ; - ( '# ) : /

$ (#

!0#= 56 *)-

) * / E %. ? 6 16> , 5 F ? 5 (A 6 5 (5 6 * "' #

-

/0# 3

#1 /) 5

#6 - '58 (, )6 + 5 / 5 G/ 5 " " ) ? &1 6 4M (DEE 5 6 " 1 &1 , 3 + + "' 0 15 " , " , 0 10*6?C C/"L 2 G )G ") (A 5* &6 5 (5 6 * & 6> " ) " "5 , " / "'5 5 0R5 " ( J 2 ( C " 5 / 1 " &1 , + 5 5 (A 6 + +0 10*6? 6 " E 5 ( /" , + &1 6 6 1 > ( ) *6? S 0 1 5 - &16 4M ( ' " ) 5& , 2&" 6 + + > 2&""' / ( /" , %. 0 " ) ) " ) 6 " E 5 ( /" , 6 )6*" . 0 1 > 6 6 (4 ) 5 0 )6*" . " " E . B ) & "' " C/"L (4 ) 5 , C & ? &1(DEE 6 + "5 3 " 5 6> , , /+ ( " " E " "L C & " 6> ? &1" E(DEE 3

6 " + " &5 &13

" + " &5 %.% 6 " )> 0'E * - 6 + & (A 6 0 10*6? 6 " 0 1 . "'6 )> 0'E) " " 6 15 ( , ? 5 (A


0 1 . ) 3 6 )> 0'E6 0 13 5 (A 0 1 ) 3 5 6 C & )) &13 5 ) 3 5 6 6> ? F EE $ + 3 0 & ( " , 0 2&" ) 3 5 3 0 13 5 6 (A 2 ) -T 5"'6 1 (DEE ) 5 5*, 0 1 . / 6 5 0 1 *55 20? E -, 0 13 5 & + "& ) 6 5 , 0 13 5 * 6 &16 5 " E? *(D 5 (D4M , ) 0 0 1 .

6 )> 0'E0 1) , 5' (UV 0 1 . 5 0 1 . 5 6 )> 0'E0 1) 2 6 E 5 0 1 ."'6 5 3 " 6 + + 0 1" )> 0'E ) 6 + & (A " ( )0 + M 6 5, 0 1 ., 0 > )" 6 E 5 5 3 0 10 1 . KW" &10 12 ? &10 13 0 0 1 20? E -, 0 13 5 6 (A 0 1 & / 6 ' 0 6 1 &10 1 0 0 &1 0 1 *&G/ (A 6 " 0 ( 0 120? E - (A 5 %.$ " 6> 6 + & 6 + 6 C & ? &1" E(DEE ) 1 ) " + " &5 " ? 0 5 > * , "*C& ) " & 6 + &1) " - 6> 5"& )0& " ( (A "*C&"' 5 3 %.$.< #

1 "6> 2 ( 1" ) 5 (DEE "' (A " 0 "0 " & , " /+ 3 6> ( O 6 4M "'

" 6> 6 & "'

" " , 3 5 5 ( "'

" 1 &6 + '

1 ) &* & 00 0 1" 6> 6 + 6> ( 2&F 6> 6 + , ) " & " +J (A 5 %.$. #

! / " 5 (DEE "> " ) (A " 6 C & 1 C & )> 0'E0 5 ( & 005( ) 3 & " )> 0'E 5 6 " 5, "J 16> , " & ) ) & C &"' 0 "0 " & 3 " 1 " /+ " > E " 0 1 C & & " 0 1 C & (A 5 %.$. #

1 " ( 1" ) 5 (DEE 6> ? 5"' ) * ) & + & 5 " O 6 4M ' " /+ J > 2 1 &1 1 3 6> ? & " & ) & + 5 " 55 J " ) / ' " 0 0 " (A ) (A " ) " ' 5 J & & F , " ) & + &1) 1 /" 5 (A 55 (A 6 ) ) ) * , , > (A 5 %.$.% #

' ,5F,, " ( 1" ) (DEE 6 4M "' 1 " 0& , " E(DEE " 3 6 > " " 1 " M " ) (D


" M "' (A " 6 1 & 6> ? & "> & E(DEE 3 ) 6 * ,3 0 - 5 . )* & 5 5 5 * P&P , (A 5 & "L-. " " 16> & + (A 0 " 6> " M (A ( 0 ) 5 ) + 6 6 1 " ) "& ) " Y*Z G , ? 6 "' ) 6 0 - 5 & "L-. 1 55 "& ) 0 "0 /+ "' 6 + + 0 1%- /)#=?$ ): ' % % - - 5 )#=$;) 0 3 5

/

- / - -): ) ( ) ) 0 ' > %- /)#=?$ 5F,, % &1) 6 6 6 1 E(DEE " ( "& ) 0 0 ( *EE5 6 ( 0 1 6 ) " E (D " M 5 ,3 ( (A -. 5 "& ) " & 6 + ( & ( (A 6 & , " (4 ) 5 ? (A 5 %.H " 6> 6 " + " &5 " ? 5 (A " 6> 6 " + " &5 " E 5 6 "5 5 (DEE , -16 6> + 3 %.H.< #

1 5 (DEE "> " ) 5, 5 6 + " 6> 1 6> &1 & 6> " (A " " 16> C 6? 6 ( 1" ) (DEE 6> & 5 "' 6> 5 1 6> & 5, 3 3 ) ") "' 5 1&/" * ) ") + ( " 6> 6 / (A KW"" E 5 " 5 6> )*E > 2&F1 &12 1 6 + "' " + " &, J 5 " E 5 %.H. #

)#= ! / C &) *6? S " " 5 "> " ) 6 5 5 " 5 "> " ) 6 5, 5 C &3 6 " 6 C & " /+ 2 52 5 "& 26 1 " /+ "' 5 26 1 " /+ 26 1 ) > 5 C & < "' " /+ 5' ) ) -. 0 1 5 [ 6> , 2&F1 " /+ & 5 6 6> C & &1 2 52 5 (A 5 %.H. #

1 ? 5 + 5 (A .( 1" ) / . B + ? , 0 10*6?C / 5 ( 1" ) . J 3 5 5 &1(DEE "> " ) ? 6 5 (DEE (A ? 6 , * & J "' 5 ( 12 3 .5 " E 5 0 1 5 5 + , " " , &1 5 5 + C & &1(DEE "' " , ) ) -. %.H.% #

' ,5F,, " E(DEE 6 " ) -.6 * 1"& ,

" " )" E 5 5 ( , + 1"& O0 1" E(DEE , + 5 " " C/"L ( 5 6? G/ 3 0*6? 1 (A "(4 ) 5 "' 6 6 + ,


& "" + 0 + M 0 10*6?C ) O1 + "& (A ) & 6? C J 6 + 6 5 (A 3 0*6?"' %.I #

' ,! / 5F,, G0 / ): ' , - % #- ! / / 5F,, '# 0: ' 3 , " ? )6 "& / F "L* ( / (6 & & " "0 10*6? 0 1 "L C & > "

0 10*6? 6 , 6 E 5 6 " 5 "L C & > " 6 6> & 6> C & 6 , ) *6? S) ) -. 6 + ) &* & 00 " 5 1&/" F ? 6 "> & ( "4 J , -1 + 1 " ? 2 52 5 5 1 " 5 + & 5 1&/" F ? 6 "> & ( "42 & ( 6 " G 6 5 "' (DEE 6 & "L-1 ( &1 / (A 5 & "L-. ( &1 &1 " 16 . % (DEE & + " "" E 5 56 ? 6 + + + 1"& " (4 ) 5 5 6 0 6*" . 15 E . B "' & (A " E 5 " C & ? &1(DEE "' & , / 6 * #

' , - ): / #

' ,%- # /

$ 4 +. #

' , - %

$.< 6 "& & " 6*" ., 6 C 1 0 10*6?C 6*" . ( / ?./" , (A 5 5*, " "(5 - ) / ( *( 6 ) &1 + 6 , (F0) 0 1, " , + 6 (A * &1) ) 5 , ( + + 6> , " 6*" .6 , G+> G /+ "3 + / " " 6*" . ( / ?./" , 6 (A 6*" .2 5 & " ' ( / ?./ " , (A 6 (A 6*" . &1 ,3 5 5 5 6 ) ) 5(& / " , 5 1 " / &1 + 6 , 2 52 5 6*" .6 , 0 1 " / &1 + "' 1 ( 5 1 (A 1 " ?. 0 " " " ?. (A " 6*" . &1 / 5 * 6 00 + " 16> & " 6*" . / 5 ;; 5F,, 6> & (A ( / ?./" , (A 5 5* 6*" .& (, $. " 6> (DEE , " /+ + 0 " 3 6 1 ? " " J

" (<) " ) 6 ( 1 )" -. " &1" YD &1 ( ) " ) , E, + J G/ ? " 6 + +,3 > )" 3 " J 5 " 6> , & "? 6 0 10*6?C > (A 5 C " 2 " ? " / 0 5 " ? " ( ) " KZ "5( "4" -. ( &1 5 (A 6 + + 0 1


" )YD 6 , 0 > " "', 0 6 + 1 &1 ,3 "' 5 6 + +, ) + 5 5 C/"L & "? > 0 10*6? " &1" YD & > ) , E 0 , / 6 " KZ "5( "4" -. ( &1 "5 5 ( " $. " " " YD &1" (A ? J 6 0 " "" & , 6 + / 1 ("& / " #

' , - " " KZ "5( "4" -. ( &1 2 #

/0# ( H) 0 3

( I) #1 /) 5

#6 ( B) - '58 ( 8) .. #

/0# 1 %

H.< *L .2 6 ( 1&/" 5F *)

?$( 0 5 , B) & 5 ? 3 5 3 , -1 + "'6 ) , -1 + * 6*" . O J "'6 ) , -1 + " 2&F 2" ? & Y*Z G " C 6? 1 ) P&P "'6 ) 5 *L . * ( 1" (<) *L . "/ '/ 5F *)

?$ 0 1 5 & " ) (A & " ) 6 ( ( ' 6 + & & " & , 6 "> & ( "4, (D *) 5 &1 ( ) *L . "

?$' / ): / @ 6 6 1 ' 5 ) - $

?$ G/ (A ( 0 5 , I) "& ) ' 5 -.) EE 5 (A KD 5 3 6 + 6 & ( " ? 5*5 "6 "> & 2&F2" ? & 6 + 6 & 55 "6 "> & 2&F2" ? & 6 + + 0 1 ' ( 5 . -. F ? 6 6 (" ) 5 * " +, + 5 G/ (A -.) EE 5 6 ' 6 + " 16 0 " "(4 ) 5 "' " /" / #

' , - #> #

; - '58

; -

:' %5 5 )- $

?$ #1 /) 5

#6'58 5F *)

?$ - )#'# ' @ #

' , - #

/0# ): '58 3 % 0 '!='

) ): ; -

%5

?$ #'

#/)* " " **@

0: /

?$#

I ; #>% #- )#

+ 1"& / & " L-1 5 6 1 " " E (D G/ (A 5 6 5 ? &1(DEE 6 "(4 ) 5 ) 6 " -


H. " ) 3 + F 1 " 5 " 6 "5 (A + (A " " 0 1 0 5 5 ' & ( (A + + "' 1 , 6 6 5 " 0 " / F 1 " 6 "5 " (G/ & 5 " "5 - " &16 4M ' 6 + & ) "' 1 , / F 1 6 "5 " " F 1 0& 6 > E " H. .< % ; % ('@/ // -) ) H. .<.< F 1 (A 6 5 " ) F 1 " & & 5 , & KD "& (A F 1 " (& 5, , & 0& 0& (5 -.6 5 " & + &1" " 16 0& (, 2&" KD &1 5 " 5 5 3 5 ' () & " > (A ( E / 3 & "' & 0& 5 & + & 5 "', & Y*Z G ( J 2 ) "'6 ) / 6 5 ) "' 3 1 (A 5 H. .<. F 16 " & & 5 + (A F 16 & " 5 " ) ( "2&" 6 + & 5, 5 , -1 + 5, 1 *

6*" . 1 3 "' 1 "& ' / '

'@/ - ): '

%

# ' - /

% ) ' H. .<. -1, 6 & & " 5 "> & & -1 + & 1 ) ( &1 1 " F 1 5 /+ 6 6 6 6 + 0 "> & & "' " " 6 "5 & H. . % ; H. . .< F 1 " ) F 1 , -16 + 6 "> & (A 5 & 5 & " ) & 6 & #

'58 #

- ) '#5

#6#

?$- J - ) '58 ? #

'58 #

) '58 % ( 5 6 + + " " > (A 5 3 5 0 " " 6> "'5 (5 6 5 ) H. . . "(4 ) 5 > " , " E 5 2 > E " " 5 /"5 " &1, 5 " (A *F1 6 (A 6*" . (A 55

(A ( " (A " 6> (D 6 " E 5 " E (D 15


F ? 6 "> & ( "45 (A ,3 " / F ? + J 0 1 (* *3 ( (\] - J , * ' > @ K 6I 3 5 J 3 " + 6 5 5 + 6 0 " +5 & 5"' " " ( " ,

5 5 0 5 & "' E ( & (A 5 " 0 - ,3 (D 6 & ( Q 6 ". 6 G/ (A C L . *2 ( / & ( Q F 6 525 "#

? # '58 3 #>' # ?$ ('58 ) #

? - ( ? - ) / #

? #

'58 - '58 ) $ #>' # #

-* ('58 ) '; #) - ' 56 *)- 0 - 0 - ' 0 % #

#

56 *)-

" " " + & 0 0*? M 2 "' +> C ' ' -): 5F ' ' E &1 & ( Q & . 5*2&"' C ' % #>% 0 E G/ "'5 " )0 1( 5 ? 6 1)* *6 00 E - (A (D E - ) + 5 + 5 (& " H. . . -1, 6 & " 5 "> & 5 + "5 + , -1 + 1 ) ( &1 1 " F 1 5 /+ 6 6 6 6 + 0 "> & "' " " 6 "5 & H. . % ; #

-): 56 *)- H. . .< " 5 + 6 " 1 5 "(4 ) 5 " ) &1 1(4 ) 5 ? "'5 )5 + 6 (4 ) 5 0 1 ( (& "" (4 ) 5 " (A "" " 16> " 6 + 6 " (4 ) 5 + 5 6> 1 "" " ( 6 ( "4 (5 J 5 ? 3 5 ? 3 " ) 5 " F 05 "' & 5 /+ 6 + " * " " "' /" 6 + F 1 6 (A ? 3 5 + & 5 0 1 ,

& "" E 5 / 5 + 6 (4 ) 5 " <!! 5 6 "> & 5 .6 " ' 6 + " &1 5, 6 6 1 -.6 ( "4 O0 1 ( ) J 5 ? 3 5 ? H. . . (4 ) 5 ? "(4 ) 5 ") ), 5 &1 0R5 " 5) 3 " ,3 5 F 0, , 5 & 6 (scan) , F 0 + 0 1 " " 5 " ( & 6 "> & ( "4 /+ & + (A 0& 0 1 (A " (4 ) 5 ( 5 - " 1(4 ) 5 ? &16 4M ' " (4 ) 5 ? 15 6> + + 0 , " " ?


H. . . (4 ) 5 ? "(4 ) 5 ) 6 6 ,3 ( " (A -." M " " 6 " G 0R5 " 5 ? 3 5 " 3 1 &

, "' ( ) * 1" , 1 &

" "' ("> 1" &

6 &16 ) " " 16> & + (A " 6> 1 5 " ,3 " (A * 5 " (4 ) 5 " 0 b ( " 6 6 5 , " 0R5 " 6 " 2 " E 5 &1 6 5 - &16 4M 6 "> & ) > 5 " 0R5 " "& /+ "' (A 0& 6 " "( 1" / H. . .% / '

' , - * ?$ ** '

% 1 '58 - -): % '/ % - # 3 5 ' ("' (( ) + " 5 " (4 " 5 ("' 6 " -1 + , ) , "' ( & 3 "' 5 *" + & " (& ) "' 6 " 5 6 & 1 (& ) 0 1 > (A "' 1 (& ) 0 6*" 6 (" "' O J " & 5 "' & 5 " "*C&

"*C& , "' ( & "' (A 5 H. . .$ "'5 " "(4 ) 5 , (D *) -.

(5 ? 3 5 ? "' 5 5", , ) + 5 15 + 6 (4 ) 5 " "' 3 5 Y*Z G ""'6> ) " 5 5 1 , & + & 5 &1 , /+ , -. , / ( ) J 1 (A -. 1 "' " 16 " > ) " "' 5, ) ) & / 1&/" (& (& 5, (5 ? 3 5 ? "3 + /

1 "" 6 0 *) " " " &

(A 1 P&P & '* : - 1 #

I #>% / 0 )L %5 #

**% -):

% - %5 H. . .H -1, 6 5 + 6 (4 ) 5 & " 5 "> & 5 + 6 -1 + " 5 + 6 1 ) ( &1 1 " F 1 5 /+ 6 6 6 6 + 0 "> & 5 + 6 "' " " 6 "5 & H. .% % ; #1 H. .%.< ,3 " "> " 5 /"0 - / -. (A ( 5 (A " 1&/" ( " ) (D *) -. (5 ? 3 5 ? "(4 ) 5 > " " ""> 0 1 " > 0 " " )" "> ( " "> (D *) -. / " 5 " " 16> " "> " 0 - + 0


-. & / )) " 5 6 " 6 6 3 " 2" ? P&P " ) " ,3 " ( ) + 5 > (A > )) 6 6 5 ) " " 5 0/ 6 ) 1 * " (4 ) 5 0 + " 5 ) " 0 1 ,3 (D ) ) 6 " 0 - "> " )G+> & ( "3 + / G/ "' ,3 " 3 " 3 5 ' (5 ? 3 5 & "' , 0 - (G+> & ( " " ( + (A 0 ,3 5 . )* & 5 5 P&P" 0 - " (A ( (A " (A #

# 1 #1 / '58 #

# 1 - /) #

?$ '58 5F *) 0 ) % ; #

* M-

; -

H. .%. 6 > 5 , 0 1 5 (c#" (& /0#% &1 0 1 F ? ? ) 0 5 - % '/ / '58 /)#=? 6 + ) " - #

1 3

% 1 '58 ' - #/ '# 5 0 " 3 + & 3 ) ( (& > 5 " "> 6 + 6 " "> ,3 1&/" 5 (A " , " 16> ) 6 " "" > ) " 2&F 5 &1 6 4M " "> " E (D 6 + 6 " "> + G/ 1 (A (D ( & " / " "> " " 1

,3 5 & (A 5*,"& , 5 " 5 " 5 F ? J " E 5 (D4 M 5 " 6 (A 5*, 5 > F ? ( > & (A 5*,"& , 5 " /+ H. .%. -1, 6 "> & " 5 "> & , "> -1 + " "> 1 ) ( &1 1 " F 1 5 /+ 6 6 6 6 + 0 "> & "> "' " " 6 "5 & H. .$ % ; ' H. .$.< ,3 " 0 5 "(4 ) 5 > "3 ) 0 5 6 3 )6> 1 0 1 " E (D "' " 0 2 6 5, 5 6 " 0 (A F 16 ) "" , &1" 5 + 6 (4 ) 5 0 / " (4 ) 5 "' , (4 ) 5 & " " 5 + 6 (4 ) 5 " > " , , " + / 0 (A 5 5 -.6 + & (A &, & 5 &1) 5, 3 " (4 " 5 ) 5 -.5 6 1 (A ) , 0 ( & 1 /" 6 + ( &

" ) 5 & "L-. " 5 F 1) 6 6 "& (A ' 6 + ( 5" ,5 5 & "L-. " 5 6 + 6 6 ) , 0 3 & ( & 3 " ) + E(DEE 5 ( ) 0 " & , "' 0 , 0 " & + ) ( ( 0 1 5* )) "' " > E


)" & 6*" + ) 0 -. & "' & 0 5 5 + -.6 & &/" (F , "' (A " 0 " 5 (A " 5 0 ( * 5 6 &

, 5, 5 / " 0 + , * " ( "'6> , 5 ) (A " 6> 1

? 3 " 5 " ,3 ? G/ > (A > )" 6> (D H. .$. ? 6> "" )" 0 " & & " + 5 /+ & 0 , 5, 6 + + 0 1 /" ' 5 + 6 + 0 1 5 6 * + , " "2&F1 , -1 + ' 5 + " 1 (A "' 6 ) 6 /" 1 * 6*" ."' 6 ) 5 1 (A "*C& "*C&"' 6 ) 5 & ( 6 "' 6 ) & 16 ) O0 1 5 6 ) " 6 5 ? , (4 ) 5 > F 1 " 0 , & 6 E 5 -.6 (A (? ? "', "5 6 , 5 , & ( 0 ( + 6 5 O1 + 1 (A " & 6> 1 6 + 6 "> & 6> (D ( H. .$. -1, 6 0 & " 5 "> & 0 -1 + " 0 1 ) ( &1 1 " F 1 5 /+ 6 6 6 6 + 0 "> & 0 "' " " 6 "5 & "'5 > ) 6 55 1 " + 0 " 0 "' & " 5 " 6 5 " & " 0 "' &* " "" 3 , -. 0 1" 0 "

&* ""' 5 C *) " " , & " (4 ) 5 3 5 & ( -. 3 & (, 6 & " 0 1 )& 2 52 5 & 6 & ( & 5"' 1 " " 6 "5 /+ " 6 5 "& / *) " " 0 6 + 6 " ,3 *) 5 , (4 ) 5 (5 & "" (D " ( 5 (A "' 0 1 (4 ) 5 > "5 " 0 6) 5 /+ &1 &* " "" 0 (A )J (U / > (A 5 *) ,3 0 " (DE O0 1 G/ & "" > E *) " " 0 "' #

'5/

?$ " -. 6 5 0 6 + 5"' &* " "" 0 & H. .H % ; H. .H.< ,3 " 0 1 " "' (A " " / 6 " (4 ) 5 > "3 )6> " (A " "& 6> /+ 1(4 ) 5 ?


3 " )" 0 0 5 #

'

?$ ) ' ;) / - 0

?$ ): % #

'58 #

/ #

?$' * ' / *' / : / ' : / -) '

- #

- * "& (A " (4 ) 5 2&F1 5 " 1 0& 0& , ) * " G/ G 6?1 /+ , G/ 6 & + 6 "' > E + (4 ) 5 , (4 ) 5 & G/ & + "' , + (4 ) 5 " 5 + "(4 ) 5 ) 6 1 *(" -.3 " (c 6(? 1 & ( 1 ? 13 5, G/ 6 / & ) / 5 2 ' H. .H. -1, 6 5 ) & " 5 "> & 5 -1 + " 1 ) ( &1 1 " F 1 5 /+ 6 6 6 6 + 0 "> & "' " " 6 "5 & H. .I % ; %

H. .I.< ,3 , 1 1 + "(4 ) 5 , 6 , + 1 1 1 5 6 0 6 + 5 5 + 5 (& / 0 + 6 6 3 + "" 6 6 0 1" 6 + , 1 & " / & ) J " , & + (A ( 0 15 - &16 4M & J H. .I. " F 06 55 /+ "2&" KD 6 + + , E 15 O0 1 " 5 , & )KD 6 " KD "& F 1 F 16 5 5 " KD 5 5 5 0 6 1 ) -.6 + ( 6 " 16)6 5 " & + " &1, -. & "'0 6 1 " (4 " 5 ) 5 -. + 5 ? 3 5 &1 " + "' 6 6 (4 " 5 ) & + (A 3 + , 15 -., 5

?$ 5

#6

#>

?$ ): #- '58 5F *) < % / %5#)*

?$ ): / -) ) % ;

-) ): -) '

) '58 # 0#%5 )* # ): # H. .I. -1, 6 , & " 5 "> & , -1 + , 1 ) ( &1 1 " F 1 5 /+ 6 6 6 6 + 0 "> & , "' " " 6 "5 & H. *( & ? #

#- # ) #

)#=

- ' ( H.H) ? ): '

/ %5 / @ ) 0 1 " " 16> , J 6 " "" 5 ("5 (A " " 16> > 5 - &16 4M &1 (A (c " + , " 1&/" -.G/ & 66 *


) ): % 1

#- ?

@ ? ): '# #

#- < )-< )- 5 "(4 ) 5 > "6 6 1 YD > " " )" E 5 " 1&/" 5 "' (4 ?6 1 1&/" F ? 6 "> & ( "4 (5 ? 3 5 0 1 5 )*E 6> )*E6> 6 (" 6 .5 + 5 + " (

*&" 15 0 b 6 ." 3 15 0 (DEE , *&" )C 6? 0 ? , *&" ) 1 6 + + 0 1 6 ) #' , - % / ) / 1 $ ): / # #/ 0: / /#) H.% F 1 6 "5 1 " " " + " & 5 &1 ? "& H.%.< " 5 > F ? 5 J > 3 > F 1 " 2&F 2" ? & (U5 * P&P > F 1 & + ( "4 /+ "' 1 " 5 6 6 ' 0 1 ( 1 "L.3 " & F ? , " * "'5 ,3 & (3 / " 5 > F 1 + > & / " 5 H.%. # - ) ; 3 #- 0: 56 ? 5 & "L-15 + 6 5

&

& (5 -.6 ( "46 6 6 + H (5 " & + " , ) ) 1 ) Y Y) (5 -. ) ) 5

,3 ) 1& (, " C 2 * & ' " 1 " " ' 0 &1 6 1 ) -. "" , O G/ 6 & ) & + 5 * 5 05 &1 G 5 5 6 " -.2 ( 6 " G -. 0 0 "L 6 6> 2 &> 2 6". > & 56 ? " /+ " " , ? 3 5 6 5("5 ? 6 " -. ) > / - ! / ) / - ) -) ' "'5 " 5 , ? J "' KW"K ) 2 , ) + 5 , 5 + , "L C &F " " "L C & $ &1C & B (A 5 " + / NO#N - ! / 3 #

NO# ) % # #

- /0#

?$ ) ' < - '

?$ ): '58 % #>% % ) # '/ 3 " "> & , " "> 1 " " "> 1 &

" "> &

6 &1 " "> > ) " (A 5 , , "> -. + ) J 5 + , " " / 5 + 5 6 "6 1 > ( 6 H.%. .< "2 1 2&F1 6 " 5 1 " ) ) " & ) & + ) " 55 J ) + (A 6 O ?


H.%. . ", -16 "> -. + (4 ) 5 5 5 5 J 5 5 6 + -." M '@/ ( "' ) " 5 " " ' -."'

) " 5 )#

-."' ) 6 + +? 3 5 5 )* &6 ( "Y*Z G & (5 -. + ) -. +) 2 6 6 / 5 -. " 0 5 & " -. + "', 6 ? + , & (4 ) 5 "' 1 6 5, 6 (5 -.5 J ) -#> #

/ -): ) < % % *) )* ) # ): '

?$ 5

#6 -#> ) < )#

% ' %5 # G / / % /-

?$ ): %5 # #/ #

#1 ( -) ? / 6 I ) '58 ' #

1 #

/0# ) ( )#

) '58 ' #

1 5F #>#/ % H.$ " 1 > " F 1 ", 3 "' "& #

' ,

$ 4 "& H.$.< 5 (A 56 5 + (A 5 5 " 5 -. , J ) > 56 ) H.$. 5 (A 56 " " -." 16)6 6 , ) - 1 1&/" F ? 6 "> & ( "45 (A 6 6 H.$. 56 5 + (A ? 1 (A 56 5 G/ 5 + (A 5 ) 6I ) 5;),, (3 6 " 2 (3 EE1) 5 5 5 + 5 1 &

&5 -. " -. ) > &1 5 5 "' F ? 5 (A 3 ' " ) ( &1 ' . + / "& ? (A 5*,"& , " (DEE H.$.% 56 5 ? (DEE ) 6 "5 )

) #)55 &1 &, ) ) #) ) - &1 ) ; ) ) -. H.$.$ " 0 " 0 E 5 + (A " * 6 . (A " (c " + ) ( "*C&6 + ( &1 (A " 6> , "*C&? 6 + & E /+ + ) H.H , " " E + 6 ) # - #

#

' ,

% # #

1 ' , 1 '# * J - * 5 6 + +

, 5 6 * (A 6 (A 3 2 (A 0 1 - ' '58


' - #

'# )*%5 / ? #)* - ) ): '

1 % ' ' J % % - 1 '# * J % 5*,"& 6 6> , 5 " ) "' " > F 1 ? 15 J " &1 > (5 > 5 F 1 ,3 > 3 &1& "L-15 5> 6 + ) F ? , " /+ 5 / 1&/" 6 6 ' ) )) ) & "*C&"' 1 2 " " & 5 &> ) 2 " " , 6 * H.I " KW", 5 " &1 > F ? " &1 > " 16> " -. , / 6 " " 5 G/ ) " M 6 + & 6 " , * + ""',3 (A ) + 5 , " F ? 3 " & , " 6 0 *) " 6> 1, " " " 6> 1, " &

" ) % " ) " 0*62? " 6 &1" 5 5 (A 5 0 5 0 " 5 ( ) * - F 0 " -. " M & + &' " 0 1 * - F 0 " 6 5"5 " , &6 5"5 " G/ ", * + 0 "(4 ) 5 "6> 0 " 0 5 -. &1 5 ( " 6> " M 2 5 5 *-F 0 " -." M 6 & 5"5 " "' 3 H.I.< #

/ " & , & " & ) & + 5 "',3

" 0 5 ) " )& , "' (A " 6> " M " ' " , 2 5 (A 5 ""' (A " E (D " M " " &1 " , & 5 &

( "' & ( 0 & , "' (A * "' (A 6*" ."' O J "' " "*C&"' &1 " "*C&"' & + (A " F ? , KQ ? (A 5 6 , " 5 , " E (D " M " 55 ( H.I. #

* " 6 0 *) & " & ) & + 5 "',3

" 0 5 ) " )6 "' (A " 6> " M " ' "

2 5 (A 5 ""' (A " E (D " M " " &1 " 6 0 *) & 5 & ( "' & ( 0 6 "' (A * "' (A 6*" ."' O J "' " "*C&"' &1 " "*C&"' & + (A " F ? , KQ ? (A 5 6 , " 5 , " E (D " M " 55 ( H.I. #

1 ) #

' # " " & " & ) & + 5 "',3 " 0 5 ) " ) 6 " 6 "' (A " 6> " M " ' " 2 5 (A 5 ""' (A " E (D " M " " &1 " & 5 & ( "' & ( 0 "' (A * "' (A 6*" ."' O J "' " "*C&"'


&1 " "*C&"' & + (A " F ? , KQ ? (A 5 6 , " 5 , " E (D " M " 55 ( H.I.% #

1 ) #

' / % "5 & " & ) & + 5 "', 3 " 0 5 ) " ) "' (A " 6> " M " ' " &

2 5 (A 5 ""' (A " E (D " M " " &1

" &

& 5 & ( "' & ( 0 "' (A * "' (A 6*" ."' O J "' " "*C&"' &1 " "*C&"' & + (A " F ? , KQ ? (A 5 6 , " 5 , " E (D " M " 55 ( H.I.$ #

* #

< ") " & " & ) & + 5 "',3

") " 5 ) " ) > ) " "' (A " 6> " M ") " & ' " 2 5 (A 5 ""' (A " E (D " M " " &1 ") " & 5 & ( "' & ( 0 "' (A * "' (A 6*" ."' O J "' " "*C&"' &1 " "*C&"' & + (A " F ? , KQ ? (A 5 6 , " 5 , " E (D " M " 55 ( -. " M "' 6 ) * - F 0 " &1 &6 " /+ 3 " ) -.6 "& (A 5 + H.B , H. "& / F 16 ,3 ( & , + 1 "& / $

- '58 - (A 3 5 ) "3 + / " , -1 + "5 & . ? "& 3 H.B.< - % # - '58 # ! / - ; 5 # * 5F,,

(, ? ) 5 --$) / '# 0: ' < % - ;)#; 1 '# 0: ( )

#) + H.B.<.< -1, 5 "*C& -1 + 5 H.B.<. -1, 5 * ,3 "> & "" (DEE 3 " +

6 &16*" . "*C& + "L * "*C& -1 + 5 H.B.<. -1, 0 / , 6 16> , 5 " /+ -1 + 0& " & 0 1 - ): # % % % ' H.B. - '58 ' - #

" 16> -. , , 6> , , -. 6 + ,3 & 5 + 6 "> 0 P&P ( H. ) 3 #

): '58


#

% :1 )# * 'K * / ' *# * % ' - 1 -)? / 6I J ): : H.B. - - 5 # * < 3?

?' - # F ? 6 " " ) 56 .? 6 > "5 5 " H.B. .< </3 5, -1 + " 2&F " 1 5 , " ? -1, 5 " "(4 ) 5 , (4 ) 5 0 , , * &1"*C& -1 + 2&F1 5 + ,3 5 6 "5 H.B. . < 5, -1 + * , -. , J -1, 5 "& 6*" . "*C& 3 "& Y*Z G 5 & 0 &16*" . "*C& + -1 + 26 1 5 + ,3 5 6 "5 H.B. . '58 #/

?$ (-)- );P)--- ) 5 ( C " 5 5 -. 0 "L -.) 0 &1 -.) -1, 5 & " " (5 5 -. -1 + 5 (A "& 5 + ,3 5 6 "5 H.B. .% * )* (5F ) ) 5 -., "' ) 1 ) + (5 -. + J 5 -.6 (A /"5 J " & "' ) 1 ) 0 1 " 5 3 + , Y*Z G + " /+ " 5 -. & " 5 J 5 + ,3 5 6 "5 H.B. .$ '* (/ - ) 5 1 ) ) +> ", J " /+ 0 1" -. 5 -1, (4 ) 5 & " " +> " /+ , , 5 0 &'" (6 + + / +> "6 5 &) /" ) ? 3 5 6 + & ) 0& " & 5 + ,3 5 6 "5 H.B. .H < / ( - ) 5 1 (A 56 2 * & ' " 1 (4 ) 5 & " /" ' " 1 0& " & 5 + ,3 5 6 "5 H.B. .I # #

(#) ),,- ) 5 (A 56 0 > )" E (D " ( ) > -., J ( 5 -. " /+ "' 3 &1 -. &1 (A 6*" .6 " -. -. 5 -. ) > 5 )) +"' ,3 " ) 5 " 5 " ) > -. 5 + ,3 5 6 "5


H.B. .B / / (5 ,,- ) 5 1 5 ( ( & & -1, /" O G/ G " 0& " & d 5 + ,3 5 6 "5 H.B. .8 G - ( ; #- ) 5 16> 6 -. G J 5 J 6> 6 " " " -. " 5 6> 6 ( G J 5 J 5 0 0 .

6 " G -. > " & 5 + ,3 5 6 "5 H.B.% - '58 - 5 # * ) 5;),, / 5F,, / 5F,, $ / < E (D 2 3 16> 1 ( 1 E 5 ) 0 1 ( 0 , F ? 5 (A ) 16> ( 15 (D *) -.5 (A ) &1 1 E 5 /"5 & & 5 -., J ( > 2 1 6 + - 5F,,

/ ' /)#=? 3

#1 /) 5

#6'58

?$ 5F #

I ): & "L-1 6 (A 6*" . (A 55 , /

" 5 - F ? O J 2 5F,, 6 1 , & "L-1 F ? + "' ,3 5 6 1 E (D 6 2. 3

%

I.< " E 5 " 6*" . ( /" , 0 ' ( / " , (A 5 5 5 &1, 6 * 1 " " (& / ( /" , (A " 6*" . ' + " E 5 6 "5 15 1&/" / F 1 ( ,3 " 00 -.) EE 5 (A 6 KD /+ 6 + + 5 " / ( & "L-1 (A 5 & "L-."' (A -.) EE 5 0 1 ,3 " F 1 ( &1 ,3 " ' & "L-1 ( + I. 5 ( /" , + &1 F ? 6 5 15 1&/" &1(DEE 15 6> , & "L-1 F 1 + " " 5 (DEE & 6 ,3 , " ( "' 5 " & + " &1, ? J + "& -) 5

): % - # / : # /

% I. " (6> 6*"J 6 + I. .< (6 5 + " ) " " & ( 3 E 3 '" " & (& " 61 & +> F 5 " E - P&P 5 , > ( 6 ) > + 6 5 ' "' 6 + & C EE >


( * 5 5 / " " > " "&* + " E 3 e E - / (A (5 6 5 I. . (6 (6 " "& (6 & + (6 " 3 ? 5* Y ' - ? 5* - ' &1? 5*& 5/ -

I. . (6 , > "" (6 5 " & + &1" " ( 6 ( $ ( 1 6 > ) ) 6 5 " & + &1" " ) (&1 * * ( <H 3 ( (6 "> 0C ( " &

" &1 0 (A 5 I.% 6 , " " ( > " ( < () 5 I. . & " & (<) 5 " $ 3 3 * 6*" . * )" > 2&F1 26 1 2 1 (U5 C 6? 1 (DEE P&P ( ) 5 ? 3 5 6 -. B8 < < ( ) 00 &1 (%) ) EE 5 ? 6 (A KD G/ 5 (

) , / (A 5 16 -. " & " & 6 * I.$ 1"& J #

' , - - /0#

?$5 )- $G0 '58 -) -)

; - % ; %5 0#' ' (*),,)-

) 3 ,"& "

Y 6 6 " &1 -.( 5 . > 0 J (A *5 ) EE 5 (4 ) 5 6 / 6 " 16)" ,3 (,3 Y (A Y " & Y " (A 5 " " + > (A 5 6 ) -.3 , 6 6 , 3 1 ) % ( 15 , ,3 5 " (A 5 I.H " (4 ) 5 ( (A -.( 5 . & 1 ' 5 . )* & 5 5 & 0 1 -.( 5 .6 ,3 , " E (D 5 (" ) G/ ,3 5 . )* & 5 5 ) 5 . )* & 5 5 & 5 " "" " ) EE 5 "&* ( (A 5 . )* & 5 5 6 + + I.I , 6 (4 ) 5 ( 1 ' " " ) F ? 6 6 ) ") I.I.< 5 -.6 + 6 (A ( 5 . &1) EE 5 1 1 & " / , 5 " + -1, 5 1&/" -.( 5 ."' 6 -1, 5 -. ) EE 5 "' 6 0 1 5 0 1 5.6 "' -.6 + 3 ,3 O0 1 -.( 5 .


I.I. , " E (D + (4 ) 5 1 5 " 5 1&/" ( , " "' & 5 2 1 & " E 5 (D4M ) 0, " "' &1 > (A 5 ( E 5 (D4M , )6*" " (4 ) 5 0 6> 5 (D4M 6*" M /6*") 0 " " 1 & & 1 " Y*Z G 0 1 ) , " (4 ) 5 6 + +0 10*6? 6 , " , " 6 , 6 5, 5 &1 ? , ? , () 6 ) 56 (A "*C& &1 "*C&) &1? 0 ) , ( ) + & "' 1 , ( 6 + + (A " C/"L ( (? ) " * 5 (A " 1) " C/"L 6 &+> " 5 3 ' ( ( ( ( ,3 5 "' 1 ( 6 + ,3 5 &1 ' 56 & " ) 56 /"5 (A 6 &1) ) "' 1 56 + 6 &1) ) I.I. , ) + 5 (4 ) 5 5 , 1&/" F ? / , (A 5( ? ) (" "' 5 ): - )L # 0: '58 - )-< )- / @ 56 *)- '/ #

?$% % " -.( "46 6 , 5 "' 3 6 6 + 2 5 1 1&/" ( "& 2 4M 001 ? -. " 6 5 ? (5 ? 3 5 6 &1 -1 > G+> (4 ) 5 1 0) *) )* - 'K

?$

?$ 0 % % '

-' #>'58 )-- '58 *) )*'

- #% % 4. #1 /) 5

#6 0 %

B.< " 5 1&/" F ? 6 + & + & " > E - 3

5 #1 /) 5

#6'58 5F *) ' ): % ; - 0 / / /:1 %5 0 ) % 0 6 + +0 10*6?C " 6> ( 12 3 ., (D *) (A > E 6 0 1C 6 , F 6 6" 55 5 ( / ) !!" #! !$ % % & ' ( '"# )" #! # * & ' ( '+ # % & ' ,-"# )" & ' / 01 2 " )" )" & ' ( '+ # % 01 2 + # % 0 !!",- # # ) # #!" )!" , / 3 - !!" / % 14 5 / 1 6 3 ,* 7 # 1 -


% ($ ! 1 + 1& +, /)*" ,! 1"# 4 8 ! +, # 1 # ! 9 -1 /+ 44 :98 1& ,*5# / +# # ) #1 ( / *" + 98 & +# 1 + !!"98 +8# +# /

! 1 + #1 +4! ( / " )" " !6 / )" # 98 * %' 14 5 ; B. > ( 6 "> & ( "4, (D *) + B. .< 5 + 5 (A (6 "> & ( "4, 5F *) J 3 (6 "> & * (6 "> & &

(A 5 B. . + 5 5 " 13 + 3 / 6 0 ) ( J J (A 5F *) ) -- 5 " )(D *) ,3 6 "> & ( "4, (D *) J 6 + + 0 1? 5 -. 0 + &1 , -16 5 -. , / / 1 5 5 3 -16 ( + 5 " & ( , / , -1 + 5 1& ( " (A 2 & 53 Y*Z G 1 & $ 6 & / " 1&/" ( 5 ) & ( & , -16 1&/" " f & ( & , -1 + & 1 ) ( & (A 5 2" ? 0 $ 6 & / " 1&/" "> & 2" ? 2" ? 1 )& , 6 6 6 +"',3

,3 2" ? 0 + & + 0 /" 2" ? " + "' , 2" ? 0 & " 3 +& 5 (A (D *) -16 2" ? +"' -1 +"> & , 6 2" ? 0 "'

" 0 1 / 0 /" 2" ? 0 ( "' 15 ( 0 " " + "'" & ( & 1

"' (A " &, (D *) 6 6 0 1 ( / 5 & B.

-

?$% / ' ): / @ 56 *)- #> #

/0#

?$ #1 /) 5

#6 5F *) ( 1 )* 5) 5F *) ) -- ( 1 )* )

?$ '58 -% J '

#/) % ' > %- /)#=?$ 5 3 5 ' "&* / "', + 5 6 (A 0 1 + (A (D *) -.6 " ( -. 5 EE " > ( (A ( " 5 " 3 ), (A 1 /+ 3 ), + (A -., 6 , (? -.) 6 (4 ) 5 (6 F 1 3 ), 6 "> & ( "4 + ,3 "& ) ( 0 - ( " (A (4 " &


+ + 0 &1 1 0 1 ( ""& (A 5 ( & 1 (A -.(D *) 6 "> & 5 + &1 ) (, (A 5 B.% "& , -.(D *) ) " ) 3 + 3 0*6? , 5 " 3 + "5 , , 6 5 "'5 5 0 10*6? 6 "'6 0 - & 6*" 3 +6 ? 2( , 1 2( & 1 " & ) 6 (A " 3 + & C (<) 6 "> )* & (Z ( ) "> ? " ( ) "> + ? 6 1 " ) + &1 (%) 0 - / &( 12 3 .6 )* & + 1 ) (4 ) 5 5 " & ",3 ? , "" &1 6C1 , 6 "'5 6 "'5 6 6> "' 5 6> * , E 5 "' E 5 * , 5 ,3 ? , " 6> "',3 ? * , ,3 0 - 5 5 "'5 ,3 ,3 E 5 2 "6> ),

,3 0 - 5 6 5 B.$ "5( 1" / "' 1 C5F *) E ): % % 0 ) : ;) < : : # ) : - 0 #

/0# 5 #1 /) 5

#6- - -

? - : #

' )*%5 J J G0 #

): '58 ' / ): 1

% #'# #

% % 7. - '58 0 %

8.< H )6 + * 6> , 56 "5 + F 0 I (A " 6> , " " ) F ? G/ (A 6 " B (A " 3 + " 5 F ? 6 (A (D *) -. + (A 6 F ? 6 (A (D *) -. & -

/0 # 3

): - '58 - - #1 /) '58 < ( ) % ' %5 ) 5/ / # G

?$ ( 1 > E, 8. : 8. ) (") % ' %55 - %5

?$' / ): ( 1 > E, 8.%) / (&) - /)#=?

?$ 5 ): - - 1 ' ( 1 > E, 8.$) 8. #

) 5/

?$ (4 ) 5 > "3 ) (& ( (A -. " M , 5"5 ( " F 1("5 6 > E ( 1" (<) " 0

?$ , 3 & &1 ( ) #

* G ' ): -

/ '

?$, " /+ "& 8. .< ( 4 ) 5 > "0 -. , 3 & 3 0 &

3 J 2 5 15 F 1 3 3 + 6 6 1 &

, 3 0 , " & "' 3 5 " &

+ ( 3 ) " &1 $ 6 15


0 " &

3 5 "& ) ' 5, -1 + "2&F1 "(4 ) 5 ? ) > , & $ 6 + 5 5 & & ( "" ( " & ) + & 5 1 5 & & ( " -. + 5 5"' "> & 0 -. ) 6 " ) -. 3 6 &16 (A " 6> - ( 3g G/ (A " 6> " M ,3 (D " M 6 16> (A 5 8. . ( 4 ) 5 ) 6 ) G 0 + 5 &1 -., /+ 3 1 & , "' " " 16) & 5 + 5 1 ( " (& " & (5 " & & / 6 2 "> M & & J M " 6> 1" , + 5

& J + (A 5 " " 16> "& (A & , " " 5 " ) -. G/ "' ? " E " M 0 , 5 ) " ) -." M (4 ) 5 ? " 3 + & 5"' " " (U5 5 (A & "" E " M 5 (4) 5 " & 5 " (DEE E - 0 1 /" 5 "> & E (D (A 5 8. #

# G 3

" E (D + 6> 0 , " (DEE F ? ( 6> 0 , " * 5 (4 ) 5 ""& ) 5 " + F ? & "' "0 6 " G ( * 5 F ? (A (D *) -. + , * , ) , ? " 5 J 8. .< ' # !/

#> / 3 0) 5Y*Z G "'0 ) " 0*62?) ) " Y*Z G ) 0 , Y*Z G 0) 5 " 1"'0 0 - *F1) 0) 5 26 1"'0 55 ) 0) 5 (A 6*" ."' 0 &16*" . + ? " 5 J ) P&P " " 16> & + " " & 5* 3 8. .<.< 0 1 " ' " > , &1 3 ) (6 + ( 0 0) ' "*C&? / 0 &1 #

' , 5F ): '/ ): #

/ * 5 / #

' ,# !/ / - '58 ): #

1 - @ @ ' ' ;) 0 - 3 / /)#=? ):

?$ / ;) '58 #/ % ; )# ) 0 '#/ ) 0 ) 6 5 > 0 1C & & 3 5 (D4M 5 ? *(D 5 (D4M -) 0 & , 0 1C 6 , &1&1 -. / , " E 5 6 6 6 + " &1" &1 F ? 1 8. .<. 0 1 6 ) # - # ) $% # #

% ; #

/ 0)6*" . / 0 &16*" . (A " " 16> 6 & " ) 5, 6 " * "& 6*" .


8. .<. 0 1 , & "" E (D 6 , F ? 5 5 (A ? 6 + & ,3 5 . )* & 5 5 &1) ) 5 , " & 5 / (& & 0 6*" . " (& 8. .<.% 0 1 * " )" 6> 1 " (4 ) 5 ? " 6> ) 6 + 1, * ( 1- 5 " " * 6> 1 ), 5, ) " ' 5 J (A *" &1 F , ) / (A 6 " " " , "(4 ) 5 + 0 0)? , (A C/"5 ) / 0 &1? + 8. . ' # !/

#> )#= )L 0: 2 0 b , 5 & 5 1 &* 0 , " / 0 10 1 5. " 6 5, & C " 6 C 1 3 + 0& " 0 1 -#> # !/' - ##> '58 )

): : 5 5 / *) )**),; % % ' '; : / - # - 0 5/ 0 ) - / / '

% ) % ; / '

1 - % ' ' % 1 - '58 # $ '58 % 1 - '58 )-- 1 *) )*% 8.% #

5 - - " 1 ( 5 5 (A + " " 15 (& -. ( & 5 (& 56 ( -. ( 5 "(4 ) 5 " ) &1 1(4 ) 5 ? " 1 5 " ) 5/ - @

" / 1 ( ( & "' 5 " (& 5"' 3 8.%.< #

- (4 ) 5 " )6 + 1(4 ) 5 ? "' " 1 5 " (& 5, 5 ( " F 1("5 2 " 6> 5, ) > (A 6 E (D "' 0 (A " &1, " ( (& 5, , 5

( " F 1("5 & 1 ' 5, 5 1 5 G/ ' > -%5 ' %- /)#=?$ % - #/)* 0# -) -' * % ' / % '5/ 5/ / % %- /)#=?$ J '/ / &1 ' 5 (A 5 5 5 "" 6 4M / &1 (4 ) 5 ) &*2 (D55 & 8.%. #

1 - "(4 ) 5 ) 6 ) ."& (4 ) 5 ( / 6 * & 5 1 "" & &1 " ?. "' * 5 & 6 " 5 - / 5 - 0: (A " 0 & )) (& 6 " (4 ) 5 2 > / 0 10*6? 6 5 6 " (4 ) 5 " , ( /" , 5 , (A ( &1(& , ( &


&1 5 / / "" & &1 " ?., 6 * " , 6> 5, " 6 * "' (A 0 " 6> 5 , 3 ( " E 5 1) 1 & ( " E EE 5 1) G/ (A 0 " 6> " M 6 + * - 0 #)* 5/ <5 ): J 1 ),@ *

/ ) -$ / #> ): - ) / 5 - 3 '5/ / - 3 ): ) ' 6 5 "" & 0 1 (DEE ' , ( / , ( &1" & 5 - )3 6 1 " " 5 / ( "& 2 4M 001 &1? -., J "' 2 5 & " -. J ( O0 1 5 " ?. + ,3 , ?. 5 6 + 6 ?. &1 "& ) 6 5& ?. (A " (A 5 .)* &5 5 8.%. #

/ : - "(4 ) 5 ) 6 0 &16 + 5 ? " 5 J 3 (<) #

' 5 " " &

" 2 &16 + , 5 6 6 1 " ( 2 ' ( &

, (A "& ) 5 ) " ) ( 6 /"( * 5 " 0 -. - ( 3g (A " 6> " M " 0 ( + 0 / 6 * 1 5*5 g g 6 % ( 1" )" ) , 5 1 0& " EE 55 F ) EE & 5"' )& , -1 + & 5 " ' 6 6 "" (A 0 & "YD" )* &6 KW"" M + 5 " 2&" F " & 1 ' 2&" (& " (A 5 5 " 0 1 ' , "' 5 > E , J & , " ) 6 5 > ' (A 0 1 5. & 0 1 " & , J " /+ & 5 ,3 F 1 &* 0 J 0 1'58 3 # '58 -) - -5 - 0: (A " " & 3 " 0 ( 55 5 / , -. 2 5 0 6 + / /" " & 0 1 5 0 5 "> "5 ( & " " + F 1 ( " " (A 5F , "6> , "& / (& &1 ) , -16 5 & ) " ) -.F " , 6 "> & "" 0 & & " & 1"> ) * " ("5 & 6 " " &16 + 5 6> " ? / " ( ) #

' # ) - ' / - /) -) # $ #%55 - 0: / ' %5 #)* ): < % - '/ ? + 6> & 3 (") #

#1

?$ - ' #) % -' ' &1 ( ) #

56 *)- )#< 3

5 " 6 + 6 + &1 & J


" / * ) 6 / " ) " " ("5 6 5 " " ')(Q 6 " 5 ) 6 5 1 &) " ( F " 0 # $G0 5

#6 - /" 5 &* 0 & 0 1 5 &* " ( F " 5 1 F " ) ) ") ' 2&"F " (& " (A 5 5 5 ' 55 1 /" F , "& &1 5 F , - %5 / * 3 #' ): 6 (4 ) 5 +) 6 5 " 1( * 55 /+ & " ) 55 + 8.%.% #

' 5 3 #

" " , " 5 0 6 + 1 & 0 0 " " ? / 5 0 0 ( 1 6? F 0 " ) + ? " 5 J 3 8.%.%.< #

;

? F ? 6 "> & " + 3 26 1"'0 26 1 > 6*" . , 26 1 26L " + + (A 5 8.%.%. #

' (A 5 5 F ? + 0 1

3 /+ 0 0 , ) ) 6 / " )5 & 5 &> (, 5 &/"G/ , -1 + -. + 5 (A " )) 6 312 " , +> 5 5" +> &

5 5" +> "' 8.%.%. #

' ?

**5 )* / " "" *-? + + 3 6 C & 2 55 ((1 1 6 1 5 1 " 1 C 6? 5 1 (U5 (D 6? ? * )" (DEE P&P &1 15 0 *-? & + , 0 0 &1 *&" ) *- J " / 1 E 5 ' ( ) 6I ) )#' , - % / ?

NQ ): / '# 0: % < " * 0 ) 5 J 2 &1 & " E 5 "' 6 5 ) 0 6 "& 5 " 6 " ") "6 "" (U"' ( / * 6 8.$ - 3 / /)#=? 5 ): - - 1 ' " 5 (A 5 5 " ) > 0 10*6? ,3 5 F 16 1 5 5 6 . 5 " ) > 0 10*6? "& 8.$.< 3 - /0# ( 6 5 ( 1&/" + 5 F 15 5 > , 6 0 10*6?C 3 5 & "L-1 (A 1&/" ,3 " "> (DEE (D E - (A 5 ,3 " (&"J 6 " &16*" . (A /"6*" .

,3 (? (A "& J (A 5


8.$. /)#=? 5F,,

" 5 1&/" F ? "5 5 1 " " 5 &1 ) ") - " ? /+ 3 -1 &1 -. ( 15 5 & "L-. , / , 5 ' 3 ( (A 6*" . &1 (A ? 5*, ' &1 6 &1" ) ) , ' 2 O0 1 ? , KQ "*C& 15 )6 6 6 5 " /+ 8.H ' - @/ - 3

- '58 #>'

'

1 '58 - '58 3

' / ): % ; - #

) 5/ * 3

' / ): 6 + +5 6 &1 % )6 +"' "& & % )# 3

- '58 ;; 1 '# -)? ) '58 ' - # $ # 1 / % ' % -)? / # $ % < # '# 0: % # 8.I #

' %5 # G #

3

# '# / @ )# 0: 3 " & Y*Z G " /+ & (4 ) 5 0 &1" & + " ) " "Y*Z G J" Y*Z G "' 1 ) ( ( 0 1" ) " ( ) + (A 5 5 Y*Z G ) (4 ) 5 "' 1 " > E " & (A 6 ) ) ) * ( (A 55 ) 5 + (A 5 5 6 5 , 3 )( (A 55 ) (4 ) 5 3> E, " 0 ) " " " & & "' 0 "0 " , " 1 55 "" " " 6 + 2 " 6'

'# #' - ' - )*

): #> )* #/ '58

'

)*

): % - ; *'

'

NO# " 5F " '# / 8.B 2 ? (* *3 & "*C& 5 " 6)5& & "*C& 5 " /+ " 3 " , & 6 &1 J 1 (A 3 2 J ( > 2 1) / " 1&/" 6 "> & , & -1, & + 5 (A "*C& 5 -16 - ) &1 , & ) ( 2 52 5 + 5 (A "*C& ) & (6 6 6 " 5 / "*C& 1 ) ( 5 / / "*C& 1, &1 5 6 "&1 ( " * " & 6 G &/" , 5, 5* + &1 '

0 ' #

% - / # '/ '

? - * * ?$ ): % # '/ / - # $#>% - %5 / ) # ) ' - ) #>'# # ' - ) #> )* 6 6*" . 6 + "'0 & ) * E 5 "' ) & "" E 5 > 5 / 0& " ( (A "*C& " , 0 )5 0 " 5 0 ) & "' & > E / 5 "5 &1 & 5 + 3 2 / & + 1 , 6 ? " " " & / 5 "6> 1 & ( 6 & & " #

1

% ##

%5-

/ ? J : / '58 @ / 1 ), '


8.8 #

): #* M* * ?$ 0 3 ' # " )#

" '58 3

?$ #1 /) 5

#6- '58 < % '- - / #

)* ): - 3 (<) % '- 1 0 0 3

(

?$) ): J " + ( + 3 +J 6> " + & + 5*,"& + (A 6 (A 6*" . ,3 5 5 &16 "> & +"' (A " " &1 ( ) % '- - 5 8.<! ' - $ 1 </3' - (

?$) G0 * / ): #

?$ / #

- :' '58

'58 5F ) '# #

# 1 #

# R- #

( / R- #

# ): - ) ' # "#

56 *)-

" "#

1 #

I " 0: '* : /) #

'# #> -)?

" 1, " , * &10 "6*" . '* : /) -)? #> ;; 2 O0 1 ( ) % # $

( + 6 (A 6*" . ,3 5 " 5 (A ) 5 2&" / " " 1, " , + 5 * &10 6*" . &1 (") % ) " + 6*" . &1 * " -.6 0& 0& 0 , ) " ) )" ) ), ) &1 " & " & " " 16) -.) 1" F0 " 3 5 &1 " 6*" . /+ ( "(4 ) 5 " 1 , / 5 / ", 5 &* 0 / 5 6 ? ( 2 " + + ( * 5 KQ (*EE F 55" & *2 G/ " " 33 3 " ) ( * 5 KQ 3 (*EE F " * && " *2 ) 5 - ' / :% 5S *)

) * M 5

! #-) - ( ) % < 5S #): , ? ) @ 56 *)- % % 5 )#=$ 0 ) '58 - - 5

#6 '-> * * ?$ - - - % 8.<< #

C )#

E ): '# '

5F,, G/ & 1 ) (<) 5 (DEE 6 * 25 " & 5 " & ( -.F "" )" 0 ) )" ) ), 5 ( ) 5 (DEE 6 6 6 " /+ " " 16) -.6 6 6 + H &16 > E"' ( ) 5 (DEE , (A -.6 + ( (A 3 3 * "'3 6*" ."'3 "'3 3 "'3 5"' " -. / & "& 3 -. " / (A "& 5 -.6 + ( / " "


5

#6 #> %5 % '

5F,, ( * (" E -) 6 6 ( * 5 6*" (A 3 8.< ' 5

! #

?$ -

?$(5 )- $) / 5

! # - - - #>

?$ / -% - - '58 , 6 * (DEE "' 1 " ) " " 6*" . " 6 , ?. ) + 5 1 " 6 C ) $% ; '

'

% ; ) $ % -) '

) $ # # ) $E + (DEE ) + 5 (A F ? 0 12 ) 5 ( 5 ( " "' 1 " (D E E ' C' - '# -) ? # 5' #/ <@6I) (# ?

?$) - '# -)? 0 # ?

?$ ' ): # $ '# 0: ' -% '# -)? ' ): - * -) ' E (DEE + "& + 1 * - ' 5 6 ) 1 ) "" & 5 - (A * (A " 1 0 6*" ."& 61 & 4 /

+ " ( " *- -. 5 ? ) ) -. 6 5 5 + 2 5 "L + (A F ? 0 1 5 ( 5 ( " 6 . " ) / 6 * & J "' 1 6*" . , O )0& 6 , 10) ' C - ): ' '58

; - ) 0 G0 ) -# - 1 %- /)#=?$ ' '58 0 !) J % % '/ E ) 6 6 C 6? "& 1 '

6 5 ) 6 6 ? "& 1 ' (A 6*" . 5 &1) 6 6 (DEE "& 1 ' (A 55 5 K)* /) -#> /) -

; - '

/ -' '58 # # $/ J % ; '!= ' 0# / )#= - ' #

# $ : ' 1 ) -) ? # / < ) - < ) - / K)* /)

0 G0 /)#=? '58 * ) - 5

! ## '/ / 5

! # ) $ #-) - / 5 - #> 5

#6'-> * * ?$ - - - ): ' : # $ < / - * M#)* '58

/ #) 56 ) *6? S (A ? 3 5 6 ( C "5 5 (& "L-. ) 5 &16 5 + 5 "' (A 6 5" , "&* ? 6 5 " ) 00 G/ (A ? 6 ) *6? S ( C "5 5 (& "L-. ) 5 &16 5 + 3 " 5 00 (A -.6 5 ( 2 ) (A 00 &10 " " )


8.< 3 C )#

E ) '# #5F,, ' '58 5 '# '58 #/ - 5 @/ ' 0 /) 5 / 0 # $% ) 1 * ! 5 #

-8 * + , ",-)" 1 6' (# 1*0 4 1 2 & # 1*0 1 6' <= 4 1 2 & # <= 1 6' ( 4 1 2 & # ( 1 6' 8 )4 4 1 2 & # 8 )4 , " / (# +# # , ",- , " / (# +# # , 7" / +# # , 7" * +# # , * # 7" ( / & "! # $% T ( * +&8 1"# ( ' / >) 9. /0# / % %

<!.< (4 ) 5 > " > ", 5 1&/" F ? 6 "> & ( "4 5 (A " & " " (4 ) 5 0 6 + 1 ( 12 3 . 1 , " (4 ) 5 6 "&> ) "" + 3 , ? #

' , - 5 - 5F6I '58 '!= )!

$ '!= 0 ' ) :'58 ' 1 %5 * M% / % @/' > * 3 2 ) * 3 2 ' / * 3 2 5U #> <!. 0 " > (A 5 5 " " E 5 ( 12 3 . , ) 0 1 0 1C 6 ( 16 > 3 + 1 & 5 ( + -8 ?( / *" + 1 6' ( ) "&'" (( +8# ( ) ' ' )&& :6' # 1* & 8 @A +#

) # !!"98 & 8 @A- +& )" & : 55 1 6' * )" 7 +8# (B) )' " * :6' # 1* & 8 @A +#

) # !!"98 & 8 @A- +* )" 7 1 6' ( +& +8# ( ) + :6' # 1* & 8 @A +#

) # !!"98 & 8 @A- + ( +&


1 6' C " +8# ( ) " " ':6' # 1* & 8 @A +#

) # !!"98 & 8 @A- +C " 1 6' &

& +8# (D) , -.&( / " :6' # 1* & 8 @A +#

) # !!"98 & 8 @A- +&

& 1 6' + 8 5 @( & +8# ( ) ' ' *' 0 :6' # 1* & 8 @A +#

) # !!"98 & 8 @A- ++ 8 5 @( & 1 6' ( ! +8# (E) *' &&'( / " :6' # 1* & 8 @A +#

) # !!"98 & 8 @A- + ( ! (& &8 1"# ( ' B/ E ) <!. "0 10*6? 1 "& 1 ' ) *- 3 + & C6 + & 1 ) -. "' 0 1 5 (3 EE1 (A 5 5* "& <!. .< / < --)55 ( " &1 5 " 6> ) ( &1 " "& 5 & " 6> ) () , 5 (3 EE1 6 6 " " /+ " & 6 + & &1 / 0 LF " & > , " " " 16> 6 " 6 &16 , 6 + " , " 6*" . 5, 5, &1 6 16> ) ( &1 " "& 5 & ) ( 2 " 6 16> "*C&" "J / / &12 55 ((1 + (A 6 ? (A ? 6 6> , (A 6 <!. . ) ( " > 5 " & + " &1, 6 " 16) ( "& 2 4M 001( 6 " ) &1? -. & " > 1 ) ( "*C&"' 1 ) > 5 ) , 5 (3 EE1 &1 &1 " "& 5 ) ( & " > 1 6 .2 52 5 6 / " 5 1&/" F ? 5 " & + " &1, " 16) -. + "' " E (D " M 6 5 (5 6 * & <!. . ! / ( " (A ("5 5) 5 (3 EE1 6 6 " " 16) -.6 6 6 + H 5 " "*C& ) > 0 " 5 -. 5"' / (A ("5 ? C & G/ 56 (A ("5 + *- ) 5 , (( 1F ) 5 1 & "L-1 5 &1 ) ") ? 2 52 5 G/ " 0) 5 + 16 ) (A * , (D *) (A / C & &, * 2F


6 0 . &1 / 00 0 1 5 (A ("5 6 , ( * 5 & 6 + " 50 ( * 5 5 -. 00 G/ ( * 5 <!. .% ) ( " 5 + 5 G/ "& & , H.% )6 +) 2 ? 3 5 & 56 C & &1 (A 56 ? &1 56 ? "' 56 C & 0 1C &" ) ? (A "& G/ " &1" " & G &1& G / " E ? + 6> , " &, (4 ) 5 ) 6 / ), 1 )g G/ , * , (D *) &1 &, + / "> , 0 2&" " / 00 , 3 5 + <!. .$ 3 -, ? ) ( " " , " " ) ( "5 5 (A F 5, 6 + / ( / ?. $ ,3 5 , F L 6 ) " ' (A (DEE G/ (DEE ? (A 5*,"& , " 55 + (A "& &1 5 1&/" -. ( ( ) "' 1 ' ( 5 (A ,3 5 6 " 1, (A ( 5 - ) 5 6 1 (A ( 6 4M ) <!. .H

( " ) & "> ) " ( 5 (A & 5 " ) 1 5 ( 6 + & 0 1 ' 1 " F 1 00 6 ,3 ) 2&"J 6 (A " ) 6*" . 5 " * 00 6 + ' 6 + 6*" . &1 * 6 + &13 6 + ) &1&1 6 + F , &1F " 1 " " 00 6 & 5 + 61 "6 1(4 ?6*" . * E 5 5 ( 5 1 / (A "& 5 ( 6 & 3 , ( (<) , ? 3 5 5 . )* & 5 5 5 (? &1 ? ( ) (? &1 ? & "L-1 (A 5 & "L-. 6 (A 6*" . (A 55 , ) ) , ( ) (? &1 ? 5*(D , " ( ( (5 5* &1 5* ) "' ) (%) / , (? &1 ? 1 > 6*" . , &1 ($) (DEE " ) / 6 * "' 1 5 ) / # $ + " 6*" . &16> , . C'

) 0 '# # $ '

% # $ 0 '# ) E 6*" ." ) *6 C " " ) ) " ( 6 + * 5 C'

# $ 0 / ) '

)*% ' / ) 0 < :'

E + (A 6 * 6*" . / 00 &1

? + 5 -


*( & 5 (A "& 5 . & 5 1" " 12 O )0& ( &* 0 2 (4 ) 5 , 1, (A ( 3 + 0 ?. $ "' ( 1 "L. 2 ? 00 1 (A * (& 6 " (4 ) 5 ? , 6 0 10*6?C (D *) 6 <!. .I -- , ? ) ( " " " ) F ? &* 0 " 0& 6*" . &1 0& " & ) (& ( 00 & (4 ) 5 1 " , " " )" 1) " &* 0 &1 , / F 1 00 0) 00 (A F ? 6 "" & &1 ?. 5 ,3 (& )) E( *6 O66 #M ) , -1 " "' , 3 F 03 / 6 6 6 6 5( * 5 /+ ( 56 # M ) 0 0 (A F ? 6 5' ) ) -. 5& & ) 5 ) *6? S , ( * 5 &1(& F "" )" 6 + ( (4 ) 5 6 0) -. 00 " ) &* & / % + & 0 6*" .0 " & + 3 0 1 - / # ' / #%# ' 1 / '5/ #% # % / % #/) * ' '5/ #% % # ) F 0 &1) * " 5 5 - F 16 15 + &10 " 6 6 + ( * , 6*" ) 6 + "& &1"& 6 + & ) &15 / 6 0) 00 & , -16 " & 0) 00 " 0 (A (A * , (D *) ? " (<) " " (, , ) / 6 + & 0 5 -.6 (A "' 1 ( -. 00 ( ) " " / -. 00 2 5 6 + + (A ( 12 3 . * , (D *) 6 " E 5 6 + <!.% *( & - : / '# * / # ##

' , - 5F6I #

- 5 / #> % ;

1 5 - (# !/) ' # 5 - ( # !/) 1 ): '58 %5' ' ; ( - 1 '58 '* : - 1 )** ) 1 ' , - ) 5 - ( ): # !/ / # !/) # 5 - ( ): # !/ / # !/) 1 ): '58 (

)-) - ' 0 # $ : '; ( < / ) ) .0 1(Q 6 + & G/ (A 0 . 3 & ( Q & . 5*2&

& ( Q 6 ". 6 & 0 0*? M 2 &1 & ( Q * . * 2 (A 5 6 "' " , E 5 ) 6 " , > & ( Q F 6 55 1

& ( Q 6 " 1 ( *) ##>' ;

? ##>V W G


1 ), #

56 *)- #

' , - ; -5 1 ) ' # #>- ' - ) #>- ) - 1 #>- 1 - '

' - ' ): ' ' - ' ): ' " "' C > 0 . "& + (A 6 (4 ) 5 5& ( ! " "# $%8) *) 0# '/ )66 X C'

) 0 '# # $ '

% # $ 0 '# ) ...E )66 X C'

# $ 0 / ) '

)*% ' / ) 0 < //E


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.