1 50

Page 1

1

¾ÃÐÁËÒ¡ÉÑμÃÔ ¹Ñ¡¾Ñ²¹Ò ¼ÙŒ·Ã§§Ò¹Ë¹Ñ¡·ÕèÊØ´ã¹âÅ¡


2

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระมหากษัตริยนักพัฒนาผูทรงงานหนักที่สุดในโลก พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ย เดช พระราชสมภพใน ราชนิ กุ ล มหิ ด ล เมื่อ วันจันทร เดือนอาย ขึ้น ๑๒ คํ่า ปเถาะ นพศกจุลศักราช ๑๒๘๙ รัตนโกสินทรศก ๑๔๖ ตรง กับ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๐ เวลา ๐๘.๔๕ น. ณ โรงพยาบาลเมานทออเบอรน เมือง เคมบริดจ รัฐเเมสสาชูเซตต สหรัฐอเมริกา เนื่องจากสมเด็จพระบรมราชชนกและสมเด็จพระบรมราช ชนนี กําลังทรงศึกษาวิชาการอยูในประเทศนั้น พระนามในชั้นเดิมวา พระวรวงศเธอ พระองคเจาภูมิพล อดุลเดชพระราชโอรสพระองคเล็กใน สมเด็จพระราชบิดา เจาฟามหิดลอดุลเดชกรมหลวงสงขลา นครินทร (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว กับ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจา)๑ หมอมสังวาล ตะละภัฎ (ชูกระมล) หรือ สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย ในภายหลังไดรับการเฉลิมพระนามาภิไธย เปน สมเด็จ พระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงมี พระเชษฐาภคินี และ สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช คือ สมเด็จพระเจาพีน่ างเธอ เจาฟากัลยาณิ วัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร กับ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล๒ ในปพุทธศักราช ๒๔๗๑ ไดเสด็จนิวัติประเทศไทยเปนครั้งแรก สมเด็จพระบรมราชชนก ก็ทรงประชวร และเสด็จสวรรคต ในวันที่ ๒๔ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๗๒ ขณะนั้นทรงมีพระชนมายุได ๑ พรรษา ๙ เดือน สมเด็จพระบรมราชชนนี จึงรับพระราชภาระหนักในการอภิบาลพระโอรส พระธิดาทั้งสามพระองค ตามลําพัง


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

3

แตดวยทรงพระปรีชาสามารถอยางยิ่งยวด ทรงมีหลักสองประการ คือ เด็กตองมีอนามัยที่สมบูรณ และตองอยูในระเบียบวินัยโดยไมบังคับ เขมงวดจนเกินไป ในการอภิบาลเลี้ยงดูอบรมพระโอรสและพระธิดา ใหทรง พระเจริญ เพรียบพรอมดวยพระราชจริยาวัตร สมบูรณดวยพระสติปญญา สมพระอิสริยยศและความหวังของปวงชนชาวไทยเปนยิง่ นัก เมือ่ ทรงพระเยาว ทรงประทับ ณ พระตําหนักใหมวังสระปทุม ถนนพญาไท พระนาม “ภูมพ ิ ลอดุลเดช” นัน้ พระบรมราชชนนี ไดรบั พระราชทาน จาก พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล า เจ า อยู  หั ว โดย หมอมเจาดํารัสฯ สงโทรเลขภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๐ ภูมิพลอดุลยเดช หมายถึง “ผูทรงกําลังอํานาจไมมีอะไรเทียบ ในแผนดิน” เสมือนหนึ่งทราบในภายหนาวาจะทรงเปน พระมหากษัตริย ที่ ท รงแผ พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ แก เ หล า อาณาประชาราษฎร ใ ห อ ยู  อยางรมเย็นเปนสุขโดยมิมีอํานาจใดจะมาบดบังได ทรงเจริญพระชนมายุได ๕ ป ไดทรงเขาศึกษาชั้นตน ณ โรงเรียน มาแตร เดอี ถนนเพลินจิต กรุงเทพฯพุทธศักราช ๒๔๗๕ ขณะนัน้ ประเทศไทย มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย เปนระบอบ ประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริยอยูใตกฎหมายรัฐธรรมนูญ การเมือง ผันผวน ในเดือนเมษายนพุทธศักราช ๒๔๗๖ หมอมสังวาลย มหิดล ณ อยุธยา จึงทรงนําพระธิดาพระโอรส สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช ไมทรง แข็งแรง แพทยทูลใหเสด็จฯ ประทับตางประเทศที่อากาศสบาย จึงเสด็จฯ ไปประทับ ณ กรุงโลซานน ประเทศสวิตเซอรแลนด เนื่องจากมีอากาศดี ภูมิประเทศสวย พลเมืองอัธยาศัยดี ทรงรับการศึกษา ชั้นประถมศึกษาใน โรงเรียนเมียรมองต (Ecole Miremont ) ตอมาทรงยายมาศึกษาที่โรงเรียนเอกอล นูแวล เดอ ลา ซืออิส โรมองด แหงโลซาน (Ecole Nouvelle de Ia Suisse Romande Chalily - sur Lausanne ) แลวทรงเขา ศึกษาตอใน มหาวิทยาลัยโลซานน ทรงเลือกศึกษา สาขาวิทยาศาสตร ในป พุทธศักราช ๒๔๘๘ ครั้นถึงวันที่ ๒ มีนาคม พุทธศักราช๒๔๗๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงประกาศ สละราชสมบัติรัฐบาลจึงกราบทูลอัญเชิญ พระวรวงศเธอ พระองคเจาอานันทมหิดล ซึ่งสืบสายราช สันตติวงศ ลําดับที่หนึ่งตาม กฎมณเฑียรบาล และมีพระชนมายุเพียง ๙ พรรษา เถลิงถวัลยราชสมบัติ เปน พระมหากษัตริยอ งคที่ ๘ แหงพระบรมราชจักรีวงศ และไดทรงสถาปนา พระวรวงศเธอ พระองคเจา ภูมิพลอดุลเดช ขึ้นเปน สมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟาภูมิพลอดุลยเดช ทรงสถาปนา หมอมสังวาลย มหิดล ณ อยุธยา เปน พระราชชนนีศรีสังวาลย และทรงสถาปนา พระวรวงศเธอพระองคเจากัลยา ณิวัฒนา เปน สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟากัลยาณิวัฒนา เมื่อ ๑๐ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๔๗๘


4

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ในวั น ที่ ๙ มิ ถุ น ายน พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๘๙ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว อานันทมหิดล เสด็จสวรรคต โดยกะทันหัน ณ พระที่นั่งบรมพิมาน ในพระบรมมหาราชวัง สมเด็จพระเจานองยาเธอ เจาฟาภูมิพล อดุ ล ยเดช จึ ง เสด็ จ ขึ้ น ครองราชสมบั ติ สื บ สั น ตติ ว งศ ใ นวั น เดี ย วกั น นั้ น เป น พระมหา กษัตริยรัชกาลที่ ๙ เฉลิมพระปรมาภิไธยวา สมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช แต เนื่ อ งจากยั ง ทรงมี พ ระราชภารกิ จ ด า นการ ศึกษา จึงตองทรงอําลาประชาชนชาวไทย ใน วันที่ ๑๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๙ เพือ่ ทรง ศึกษาตอ ณ มหาวิทยาลัย โลซานน ในครั้งนี้ ทรงเลือกศึกษาวิชากฏหมายและวิชารัฐศาสตร แทน วิชาวิทยาศาสตรที่ทรงศึกษาอยูเดิม “...ถาประชาชนไมทิ้งขาพเจาแลว ขาพเจาจะทิ้งประชาชนอยางไรได…” เดิมทรงตั้งพระราชหฤทัยไววา จะทรงครองราชยเพียงชั่วขณะเวลาจัดงานพระบรมศพใหงดงาม สมพระเกียรติคณ ุ เทานัน้ เอง เพราะพระชมมายุ ๑๘ พรรษา ไมทาํ ใหทรงรูส กึ วาจะมีกาํ ลังพระทัยเปนพระเจา แผนดินไดตลอดไป การสูญเสียพระบรมเชษฐาธิราชทีท่ รงรักและใกลชดิ สนิทสนมกันมาตลอดเวลากะทันหัน ไมเคยเตรียมพระราชหฤทัยและกําลังพระวรกายไวสําหรับหนาที่นี้เลย ในวันเสด็จพระราชดําเนินกลับประเทศสวิตเซอรแลนด ในวันที่ ๑๙ สิงหาคม พุทธศักราช๒๔๘๙ เพื่อทรงศึกษาวิชาการเพิ่มเติม ระหวางประทับรถพระที่นั่งไปสูสนามบินดอนเมือง ทรงไดยินราษฏร คนหนึ่ง ตะโกนลั่น วา “ในหลวง อยาทิ้งประชาชน” ทําใหทรงนึกตอบบุคคลผูนั้นใน พระราชหฤทัย วา

“ ...ถาประชาชนไมท้งิ ขาพเจาแลว ขาพเจาจะทิ้งประชาชนอยางไรได …” เปนที่นาประหลาดวา ตอมาอีกประมาณ ๒๐ ป ไดทรงพบชายผูรองตะโกนทูลฯ ดังกลาว ในขณะ ที่เสด็จเยี่ยมราษฎรในตางจังหวัดชายผูนั้นกราบบังคมทูลวา ที่เขารองเชนนั้นเพราะรูสึกวาเหวและใจหาย ที่พระเจาแผนดินเสด็จไปจากเมืองไทย เขาเห็นพระพักตรเศรามาก จึงรองไปเหมือนคนบา พระเจาอยูหัว ทรงตอบวา “นั้นแหละ ทําใหเรานึกถึงหนาที่จึงตองกลับมา”


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

5

โดยเหตุที่ พระเจาอยูหัว จะตองเปน พระเจาแผนดิน ปกครองอาณาประชาราษฏรใหรม เย็นเปนสุข จึงทรงเปลีย่ นแนวทาง การศึกษาใหม ทรงศึกษาวิชาสังคมศาสตร รัฐศาสตร และนิตศิ าสตร เพื่อเตรียมพระองค เปนนักปกครองที่ดีของประชาชน ระหวางที่ประทับอยูที่ กรุงปารีส ฝรั่งเศส ทรงพบกับ หมอม ราชวงศสิริกิติ์ กิติยากร พระธิดาใน หมอมเจา นักขัตรมงคล กิติยากร เอกอัครราชทูตไทย กับ หมอมหลวงบัว (สนิทวงศ) กิติยากร ภายหลังมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯใหสถาปนา พระอิสริยยศขึ้นเปน พระวรวงศเธอ พระองคเจานักขัตรมงคล เมือ่ พุทธศักราช ๒๔๙๓ และขึน้ เปน พระองคเจาตางกรม มีพระนาม วา พระวรวงศเธอ พระองคเจานักขัตรมงคล กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๙๕ ใน เดือนตุลาคม ๒๔๙๑ ทรงประสบอุบตั เิ หตุรถบรรทุกชนรถพระทีน่ งั่ ทีร่ มิ ทะเลสาบเจนีวา ทรงบาดเจ็บสาหัสที่ พระจักษุขวา หมอมราชวงศสริ กิ ติ ิ์ ไดมโี อกาสเฝาถวายอภิบาลอยางใกลชดิ สามสัปดาห ตอมาทรงหมัน้ กับ หมอมราชวงศสิริกิติ์ กิติยากร ณ เมืองโลซานน ประเทศสวิสเซอรแลนด วันที่ ๑๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๙๒ พุทธศักราช ๒๔๙๓ เสด็จพระราชดําเนินนิวัติพระนคร ประทับ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวัง ดุสิต ทรงพระกรุณาโปรดเกลา โปรดกระหมอม ใหตั้งการพระราชพิธีสําคัญ ๓ พิธี คือ พระราชพิธีถวาย พระเพลิง พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร วันที่ ๒๙ มีนาคม พุทธศักราช๒๔๙๓ พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส และพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

ใน วันที่ ๒๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหจัดการ พระราชพิธีราชาภิเษก สมรส กับ หมอมราชวงศสิริกิติ์ กิติยากร ณ พระตําหนัก สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจา ใน พระตําหนักใหมวังสระปทุม มี พระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหสถาปนา หมอมราชวงศสิริกิติ์ กิติยากร ขึ้นเปน สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์


6

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

วันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ตรงกับแรม ๔ คํ่า เดือน ๖ ปขาล จุลศักราช ๑๓๑๒ รัตนโกสินทรศก ๑๖๙ ทรงประกอบ พระราชพิธบี รมราชาภิเษก ตามแบบอยางขัตติยโบราณราชประเพณี ขึ้น ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เฉลิมพระบรมนามาภิไธย ปรากฏตามจารึกใน พระสุพรรณบัฏ วา “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร” ทรงหลั่งทักษิโณทก ตั้งพระราชสัตยาธิษฐาน พระราชทานพระปฐม บรมราชโองการ เปน พระปฐมบรมราชปณิธาน วา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุข แหงมหาชนชาวสยาม” ๓ ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ขึ้นเปน สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินี เสด็จพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแลว ไดเสด็จฯ ไปทรงประทับรักษาพระองค ณ เมืองโลซานน ทรงมี พระราชธิดา และพระราชโอรส ๔ พระองค คือ ๑. สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ประสูติวันพฤหัสบดีที่ ๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๔ ๒. สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาวชิราลงกรณ ประสูติวันจันทรที่ ๒๘ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ สถาปนาขึ้นเปน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิรา ลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๕ ั นาดุลโสภาคย ประสูติ วันเสารที่ ๓. สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาสิรนิ ธรเทพรัตนสุดา กิตวิ ฒ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๘ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ สถาปนาขึน้ เปน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจาฟามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปยชาติ สยามบรมราชกุมารี เมื่อ วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ ๔. สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี ประสูติ วันพฤหัสบดีที่ ๔ กรกฏาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐๔


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

7

พระบาทสมเด็จเจาอยูหัว ทรงผนวชเมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๙๙ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ใน พระบรมมหาราชวัง พระสมณฉายาวา “ภูมิพโลภิกขุ” ทรงประทับ จําพรรษา ณ พระตําหนักปนหยา วัดบวรนิเวศวิหาร มีพระบรม ราชโองการโปรดเกลาฯ ให สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรม ราชินี เปนผูสําเร็จราชการทรงปฏิบัติราชการแผนดินแทนพระองค ๑๕ วั น ได อ ย า งเรี ย บร อ ยเป น ที่ พ อพระราชหฤทั ย จึ ง มี พ ระบรม ราชโองการโปรดเกลา ฯ สถาปนาขึ้นเปน สมเด็ จ พระนางเจ า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ หลังจากพระราชพิธีฯเสร็จสิ้นแลว จึงเสด็จ พระราชดําเนินกลับประเทศสวิตเซอรแลนด ในวันที่ ๓๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๐๐ หลังจากทรงประกอบ พิธเี ฉลิมพระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต ซึ่งตอเติมขึ้นใหม และเสด็จไปประทับ จนถึงปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติตามขัตติยราชประเพณี วันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ไดเสด็จไปทรงศึกษาตอ ณ ประเทศสวิสเซอรแลนด ตออีกระยะหลัง ครัน้ เมื่อไดเสด็จนิวัติมาประทับในพระราชอาณาจักรเปนการถาวรแลว ในป พุทธศักราช ๒๔๙๕ จึงไดกําหนด “เสด็จ เยี่ยมราษฎร” ในภูมิภาคตาง ๆ ทั่วราชอาณาจักรขึ้น โดยเริ่มเสด็จ ฯ เยี่ยมราษฎรในจังหวัดตาง ๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหวางวันที่ ๒ ถึง ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๘ เปนปฐม แลวเสด็จ ฯ เยีย่ ม ราษฎรในจังหวัดตาง ๆ ภาคเหนือ ระหวางวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ถึง ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ และเสด็จฯ เยี่ยมราษฎรในจังหวัดตาง ๆ ภาคใต ระหวางวันที่ ๖ ถึง ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ มาโดยลําดับ นับแตนั้น เปนตนมา ทรงเคียงคู สมเด็จพระราชินีนาถ เสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรทั่วราชอาณาจักร และ เสด็จฯ แปรพระราชฐานไปทรงประทับในภูมิภาค ตาง ๆ เพื่อเสด็จไปทรงงาน ในชนบท ทุรกันดาร เพื่อทรงรับรู ปญหาและหาหนทางแกไขใหราษฎรมีชวี ติ ทีด่ ขี นึ้ ทรงทุม เทพระวรกายตรากตรํา มุง มัน่ เพือ่ แกไขปญหาความ เดือดรอนของพสกนิกรชาวไทย จากความแหงแลงกลับมาชุมชื่น จากผืนทรายกลับกลายเปนดินดี ดวย พระบารมีของทั้งสองพระองคอยางแทจริง ๖๐ กวา ป ที่ ทรงครองแผนดินโดยธรรม ดวย ทรงรักและหวงใยพสกนิกร ทรงพระราชกรณียกิจ อํานวย ประโยชนและความสุขแกอาณาประชาราษฎร มิเคยขาด ทรงตรากตรําพระวรกายทรงงานอยาง มิทรงเหน็ดเหนื่อย ทรงอุทิศพระวรกาย เสด็จพระราชดําเนิน ทรงเยี่ยมราษฎร ในถิ่นทุรกันดารทุกภาคสวน ของประเทศไทย ทามกลางปาเขาลําเนาไพร ตลอดมา แมในยามทรงพระประชวร ทุกหน ทุกแหงบนผืน แผนดินไทย ที่ รอยพระบาทไดประทับลง เพื่อทรงศึกษาปญหาความเดือดรอนของราษฎร จนมีคํากลาววา “ ไมมคี าํ วา ทีท่ รุ กันดาร สําหรับ พระเจาอยูห วั ไทย” ทรงมีพระราชดําริ ในการแกไขปญหาเหลานัน้ เพือ่ ประโยชนสุขของอาณาประชาราษฎร ก็มิไดทรงหยุดยั้งพระราชดําริ เพื่อขจัดความทุกขผดุงสุขแกพสกนิกร กลางแดดแผดกลา พระเสโทหลั่งชุมพระพักตร และพระวรกาย หยาดตกตองผืนปฐพี ประดุจนํ้าทิพยมนต ชโลม แผนดินแลงรางใหกลับคืนความอุดมสมบูรณ ดวยสายพระเนตรอันยาวไกล ทรงอุทศิ พระองค เพือ่ ประโยชน สุขของราษฏรและเพื่อความเจริญพัฒนาของประเทศชาติตลอดระยะเวลา โดยมิไดทรงคํานึงประโยชนสุข สวนพระองคเลย นับแตเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ตราบจนปจจุบนั ทรงระลึก อยูใ นพระราชหฤทัย เสมอวา


8

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

“ทุกข ของ ประชาชน คือ ทุกข ของ พระเจาแผนดิน” ดังกึกกองในพระราชหฤทัยของพระองคตลอด เวลาจวบจนปจจุบัน ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขาถึงพระสหายขณะทรงศึกษาอยูในยุโรป ตอนหนึ่งวา “.. เมือ่ ขาพเจาเปนนักเรียนอยูใ นยุโรป ขาพเจาไมเคยตระหนักวาประเทศของขาพเจา คืออะไร และ เกี่ยวของกับขาพเจาแคไหน ไมทราบตราบจนกระทั่ง ขาพเจาไดเรียนรู ที่จะรักประชาชนของขาพเจา เมื่อ ไดติดตอกับเขาเหลานั้น ซึ่งขาพเจาสํานึกในความรัก อันมีคายิ่ง ขาพเจาไมเปนโรคคิดถึงบานที่จริงจังอะไร นัก แตขา พเจาไดเรียนรูโ ดยการทํางานทีน่ วี้ า ทีข่ องขาพเจาในโลกนี้ คือ การทีไ่ ดอยูท า มกลางประชาชนของ ขาพเจา นั้นคือคนไทยทั้งปวง ….” พระนามภูมิพล มีความหมายวา “พลังแผนดิน” พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระ ราชปรารภวา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงสอนใหตดิ ดิน และทํางานเพือ่ ประชาชน ตลอด เวลากวา ๖๐ ป ที่ผานเปนที่ประจักษแกปวงชน ชาวไทยและนานาชาติ วา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงงานหนัก ทรงอยูกับดิน ติดดิน เสวย แลวก็ เสด็จ และ ทรงงานหนักเพื่อประชาชนของพระองคมาโดย ตลอด สมดังพระราชปรารภที่วา “ที่ของขาพเจาในโลกนี้ คือ การไดอยูทามกลางประชาชนของขาพเจา..” พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเปน กษัตริยนักปกครอง ทรงครองแผนดินโดยธรรม ดวยพระจริยาวัตร ที่งดงาม ธ สถิตดวงใจไทยทั้งชาติ ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ดวยพระราชวิริย อุสาหะ ทรงงานหนักพระราชทานพระราชดําริ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทรงนําประชาชนชาวไทย ตอสู กับสงคราม แหงความอดอยากยากจน ทรงเปน หลักชัย ของชีวิต ทรงเปน เจาชีวิต ของแผนดิน ทรงเปน พระเจาแผนดิน ผูทรงเปน ประทีปของ แผนดิน คณะทูตานุทูตทั้งหลาย ถวายสมญานามวา (King of the kings) พระมหากษัตริย แหงพระมหากษัตริย เหนืออืน่ ใดในหลา ทรงเปน พระมหากษัตริย นักพัฒนา ผูทรงงานหนักที่สุดในโลก ภูมิพลจักรีวงศ ทรงพระเจริญ ดวยเศียรเกลา ฯ ชาวพิษณุโลก


9

¾ÔɳØâÅ¡ÇԻ⤠¾ÅѹËÒÂâÈ¡à¾ÃÒоÃкÒÃÁÕ


10

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สภาพไฟไหมบริเวณถนนเลียบริมนํ้านาน (พุทธบูชา) แยก รานพังกี่ ทาเรือแดง และตรอกโรงยาฝน (จีนเต็ง)

พิษณุโลกวิปโยค พลันหายโศกเพราะพระบารมี วันที่ ๒ มกราคม ๒๕๐๐ เวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. เกิดมหาอัคคีภัย ไฟไหมใหญเผาผลาญตลาด พิษณุโลกจนวายวอด เพลิงเผาไหมเปนเวลายาวนานเกือบ ๑๘ ชัว่ โมง ยังความเสียหายใหญหลวงแกตลาด ยานการคากลางใจเมืองพิษณุโลก หนังสือพิมพสวนกลางเวลานั้น คือ เดลิเมล และ พิมพไทย ตางพากัน รายงานประโคมขาววาปรากฏตามรายงานเหตุเพลิงไหมนี้อยางละเอียด น.ส.พ.เดลิเมล เรียกเพลิงไหม ครั้งนี้วา “ไฟสงพุทธกาล” เนื่องดวยยางเขา ๒๕ พุทธศตวรรษ มาไดเพียงวันเดียว ของกระทรวงมหาดไทย ระบุวา มีผูประสบอัคคีภัย รวมทั้งสิ้น ๔๕๐ หลังคาเรือน จํานวน ๖,๖๕๐ คน มีผูบาดเจ็บ ประมาณ ๕๐ คน ไมปรากฏมีผูเสียชีวิต

บริเวณใกลเคียงกับบานตนเพลิง มีถุงบรรจุดินดํา และถังนํ้ามันเชื้อเพลิง


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

11

พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว และ สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จฯประพาสเมืองพิศณุโลก พ.ศ.๒๔๖๙ และ สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี ฯ เสด็จฯทอดพระเนตร และเยี่ยมราษฎร ในตลาดเมืองพิษณุโลก พ.ศ.๒๔๙๒ วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๔๙๒ สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี สมเด็จพระบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๗ เสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมกิจการโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก และ เสด็จพระดําเนินทอดพระเนตร ทรงเยี่ยมราษฎรในตลาดเมืองพิษณุโลก เสด็จเยี่ยมรานคาตามหองแถวตาง ๆและมีพระราชปฏิสันถารกับ ชาวพิษณุโลกอยางใกลชิดในภาพทรงมีพระราชปฏิสันถารกับนางสําเนียง ชีพธํารงและ ประชาชนที่มารอเฝาฯ รับเสด็จ ฯ ที่ถนนบรมไตรโลกนาถ หนาโรงภาพยนตรสําเนียงวัฒนา (วิกเหนือ) กลางตลาดเมืองพิษณุโลก กอนเกิดเหตุการณพิษณุโลกวิปโยค ในวันที่ ๒ มกราคม ๒๕๐๐

ขบวนแห พระวรญาณมุนี (พรอม นิลพงษ ป.ธ. ๗) เจาอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร กลับจากรับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เปน พระราชาคณะชั้นราช ที่กรุงเทพฯ ในราวป พ.ศ. ๒๔๘๓ ที่สถานีรถไฟพิษณุโลกหลังเกา (ในป พ.ศ. ๒๔๘๗ ถูกเครื่องบินฝายพันธมิตร (B 25) ทิ้งระเบิดจนเสียหาย หลวงวิเศษภักดี นายชืน่ วิเศษภักดี ผูว า ราชการจังหวัดพิษณุโลก ลําดับที่ ๑๓ ถึงแกกรรมในวันที่ ๓ มกราคม ๒๔๘๗ และกอสรางเปน อาคารสถานีรถไฟพิษณุโลกหลังใหม และใชงานมาจนปจจุบัน )


12

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สภาพหองแถวไม ยานถนนลิไทไปริมแมนํ้านาน ยานสํานักงาน บริษัท การคา ตาง ๆ พินาศเพราะเหตุการณพิษณุโลกวิปโยค นายอรุณ ภักดิป์ ระไพ นายกเทศมนตรีเมืองพิษณุโลก พ.ศ. ๒๕๐๑ -๒๕๑๖ (เดิมเปน สุขาภิบาล ป พ.ศ. ๒๔๕๘ ยกฐานะเปน เทศบาลเมือง ในป พ.ศ. ๒๔๗๖) และ จ.ส.อ.ดร.ทวี บูรณเขตต เลาเหตุการณ พิษณุโลกวิปโยค ให รศ. ดร.จิราภรณ สถาปนะวรรธนะ มหาวิทยาลัยนเรศวร บันทึกไวใน ประวัตศิ าสตร สังคมเมืองพิษณุโลก ๒๔๗๕ ถึง ๒๕๐๓ ความสําคัญตอนหนึ่งวา ตนเพลิงเกิดจากการเลนไมขีดไฟของเด็กชายชวลิต หรือ อูด วัย ๔ ขวบ บุตรของ นายศิริ นางบัววรรณ บูรณเขตต เจาของรานตัดเสื้อผาศิริวรรณ ซึ่งเปนหองแถวไมฝงตะวันตกถนนเอกาทศ รถอยูติดๆกับบานพักอัยการจังหวัดทางดานใตของสี่แยก โรงเรียนเกศรินการชาง ไดขอสตางคจาก แมจํานวน ๕๐ สตางคแลวไปซื้อไมขีดไฟมาซอนไวแลวจุดเผากระดาษหนังสือพิมพเกา ๆ เลนตามปะสา เด็กไรเดียงสาอยากรูอ ยากเห็น โดยจุดหมดไปเกือบ ๒ กลัก ไฟจึงติดกระดาษลุกขึน้ แลวลุกลามไหมบา นขึน้ เมือ่ เวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. และ ไฟลุกลามอยางรวดเร็วเนือ่ งจากสภาพบานเรือนตลาดพิษณุโลกขณะนัน้ เปนหองแถวไมประกอบกับนายกเทศมนตรีไมอยู ไมมีใครกลาตัดสินใจที่จะรื้อบานไมใกลเคียงเพื่อตัดไฟ มิใหลุกลามตอไป ประกอบกับ รถดับเพลิงขณะนั้นมีอยูเพียง คันเดียว รถดับเพลิงจากสุโขทัย พิจิตร กวาจะถึง ก็กินเวลานาน รวมทั้งนํ้าประปาก็สูบขึ้นมาไมทัน การควบคุมเพลิงจึงลาชา ไฟจึงไหมลุกลามขามถนนลิไท สามแยกโรงเรียนเกศรินการชางไปฝง ตรงขามแลวลุกลามเผาไหมตลาดยานการคาธุรกิจของเมืองพิษณุโลก เปนทะเลเพลิง กินพื้นที่สรางความเสียหายจากเพลิงไหม เปนพื้นที่ประมาณ ๗๕ ไร ๒ งาน ๓๖ ตารางวา จนเวลาประมาณ ๑๘.๐๐ น. จึงควบคุมเพลิงมิใหลกุ ลามไดและเพลิงยุตดิ บั สนิทในเวลา ๐๒.๓๐ น. ของคืน วันนั้น รวมเปนเวลากวา ๑๘ ชั่วโมงเศษ ความเสียหายที่เกิดขึ้นรุนแรงเกินกวาทองถิ่นจะจัดการกันเองได ในวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๐๐ กระทรวงมหาดไทยจึงสง หลวงอรรถวิภาคไพศาล รองปลัดกระทรวง มหาดไทย มาดูแลการชวยเหลือผูประสบภัย เฉพาะหนาในเรื่องที่พักชั่วคราว อาหารและ นํ้า เวชภัณฑ ตลอดจนเครื่องอุปโภคบริโภค และการสุขาภิบาลสาธารณูปโภคเพื่อบรรเทาความทุกขยากในเบื้องตน และวางแผนในการฟนฟูตัวเมืองและการวางผังเมืองถาวร โดย ไดรับความชวยเหลือและสงเคราะหจาก สภากาชาด และ นํ้าใจจากคนไทยจากจังหวัดตาง ๆทั่วประเทศ ตลอดจนความชวยเหลือจากตางประเทศ อาทิ รัฐบาลออสเตรเลีย และ สหรัฐอเมริกา บริจาคเงินจํานวน สีล่ า นบาท ใหแกรฐั บาลไทย เพือ่ บูรณะ และขยายถนนสายตาง ๆ ในตลาดเมืองพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

13

สภาพหองแถวไม บนทีร่ าชพัสดุ ที่ โกเทียม เจียมศรีพงษ์ ปลูกใหเชาบนถนนบรมไตรโลกนาถ กอน ไฟไหมใหญ พิษณุโลกวิปโยค ๒ มกราคม๒๕๐๐ รานฉายาศรีฟา (ปจจุบนั รานหนังสือบรรณาลักษณ) ๑ ใน ๓ รานถายรูปและขายนาฬกาเกาแกของเมืองพิษณุโลก ติดกับรานทองนําศิลป (โกตา กอตั้ง พ.ศ. ๒๔๘๕) และ รานเจากี่นาฬกาใกล ๆ โรงหนังสําเนียงวัฒนา (วิกเหนือ) ของ นางสําเนียง –ขุนสุทธา ชีพธํารง บริเวณสามแยกถนนเอกาทศรถ ตัดกับถนนลิไท หนา โรงเรียนเกศริน การชาง ใกล ๆ บานตนเพลิง เมื่อไฟเริ่มลุกลาม ผูคนเริ่มออกมา มุงดูเหตุการณ กอนที่จะลุกลาม อยางรวดเร็วขามถนนลิไท มาเผาผลาญ มาอีกฝงทาง ดานเหนือ จนเผาไหมตลาด พิษณุโลกเปนทะเลเพลิง โรงหนังพิษณุบันเทิง วิกใต ทาเรือแดง ของ ขุนศรีพานิช (เถาแกฮง) กอนไฟไหมใหญ ใน ป พ.ศ. ๒๕๐๐ (โรงหนังแหง ที่ ๒ ของเมืองพิษณุโลก คูกับโรงหนัง สําเนียงวัฒนา


14

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ไฟเริ่มไหมรุนแรงขึ้น จนกลายเปนทะเลเพลิง เผาผลาญจนวอดวายยอยยับ

สภาพไฟที่ลุกลามขามถนนลิไทมาจากแยกโรงเรียนเกศรินการชาง ลุกลามมาเผาไหมหองแถวไม ยานถนน ลิไท และ ถนนบรมไตรโลกนาถ ถนนนเรศวรและ ถนนพุทธบูชา จนวายวอด ในเหตุการณพษิ ณุโลก วิปโยค ๒ มกราคม ๒๕๐๐


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

15

สภาพรถดับเพลิง เทศบาลเมืองพิษณุโลก ที่มีอยูคันเดียว ฉีดนํ้าสูกับทะเลเพลิงที่กําลังโหมเผาไหมอยางรวดเร็ว

สภาพบานเรือนรานคา บริษัทใหญ ๆ ยาน หอนาฬกา (ในปจจุบัน) อาทิ ซิงเกอร บอรเนียว ยูนิเวอร แซล ฯลฯ ถูกไฟเผาไหมจนวายวอดราบ เปนหนากลอง และลุกลามไปจนถึงยานการคาริมแมนํ้านาน ตลาด ใต ทาเรือแดง จนวายวอดยอยยับ


16

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

บริเวณทาเรือเขียว หนาสถานีตาํ รวจ ซึง่ เดิมหันหนาสูแ มนาํ้ นาน (สังเกตเห็นบันไดไม ลงไปทาเรือ) ซึง่ เปนยานการคาธุรกิจของ พิษณุโลก ในยุคนัน้ การขนสงทางนํา้ มีความสําคัญยิง่ นัก เปนบานหองแถวไม ที่ปลูกยื่นจากตลิ่งไปในนํ้า ยาวไปจนถึงทาเรือแดง (สามแยกตลาดใต) วอดวายยอยยับพินาศสิ้น นายรายินเดอร ปาลซิงห พุทธพจน เลารายละเอียดของชาวอินเดียในพิษณุโลกทีป่ ระสบเคราะห กรรม ในครั้งนี้วา “ เมื่อกอนไฟไหมมีรานขายผาชาวอินเดียหลายราน ตั้งอยูริมแมนํ้า พอไฟไหม ก็เลิกกิจการไปกันหมด ”

นายพูนผล ศรีสมวงษ รานศรีอักษร ขายหนังสือ และชางภาพชื่อดังของพิษณุโลกในยุคนั้น เลาวา “ผมกลายเปนคนจนไปทันที ที่รานขายหนังสือผมถูกไฟไหม ตองไปปลูกกระตอบอยูในที่ดินที่ซื้อเอา ไว เมื่อครั้งโชคดี ถูกล็อตเตอรี่รางวัลที่หนึ่ง”


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

17

เพลิงกําลังไหมเผาผลาญ หองแถวไม ขามถนนลิไท มาเผาผลาญทางฝงดานเหนือสวนใหญเปน หองแถวไม ตึกพื้นไมมีนอยมาก จึงเปนเชื้อเพลิงที่เผาไหมลุกลามไดอยางรวดเร็ว จนเกินกวาที่จะควบคุม ไวได จึงเผาไหมตลาดเมืองพิษณุโลกยอยยับ

ไฟลุกลาม จากบานตนเพลิง บริเวณ ใกล ๆ โรงเรียนเกศรินการชาง มาจนถึงถนนนเรศวร สี่แยก สถานีตํารวจ ( ธนาคาร กรุงไทย ในปจจุบัน ) แลวลุกลามขามฝงมาไหมตึกแถวของนางลอม สุขกิจและ นายตวน ธีรประไพ รานพิษณุโลกพานิช คหบดีใหญยุคนั้น ยานถนนบรมไตรโลกนาถ ถนนนเรศวร ธนาคาร กสิกรไทย สาขาพิษณุโลก เกา (ตึกสุขกิจ ใกลๆ รานศรีไทยเจริญมอเตอรไซด เดิม ขายผา) วอดวาย ทั้งหลัง แลวลุกลามตอไปจนถึงทาเรือเขียว ทาเรือแดง ริมนํ้านาน พินาศยอยยับ


18

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ประชาชน ชาวตลาดพิษณุโลก อพยพขนขาวของ หนีไฟทีก่ าํ ลังเผาไหมตลาดพิษณุโลกอยางบาคลัง่ มาพักอาศัยอยูบ ริเวณ สนามหญา หนาสถานีตาํ รวจพิษณุโลกเกา ซึง่ แตเดิม หันหนาสูแ มนาํ้ นาน ตรงขาม บริเวณทาเรือเขียว หรือ ทาเรือสามแยกยายจู

สภาพเพลิงกําลังเผาไหมลุกลามมาถึง หองแถวไม ที่สรางยื่นไปจากริมตลิ่งริมแมนํ้านาน ยานถนนพุทธบูชา ตลาดใต (ยานตลาดสดเทศบาล ๑ ในปจจุบัน) ใกลๆ บริเวณทาเรือแดง และลุกลามไป ถึงโรงยาฝนและ ศาลเจาปุนเถากง


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

19

สภาพความพินาศของหองแถวไมยานโรงหนังสําเนียงวัฒนา ถนนบรมไตรโลกนาถ และ หองแถวไมยานทาเรือเขียว ริมแมนํ้านาน

ยานการคาริมแมนํ้านาน และโรงหนังสําเนียงวัฒนา กลางตลาดพิษณุโลก คงเหลือแตซากปรักหักพังเพราะ ไฟสงพุทธกาล

บริเวณฝงทิศใตถนนนเรศวร และ สี่แยกสถานีตํารวจ ธนาคารกสิกรไทย เดิม ไปจนถึงริมแมนํ้านานถูกเผาจนไมเหลือสภาพ

ความพินาศยอยยับของตลาดเมืองพิษณุโลก ราบพนาสูญ ภายใน ๑๘ ชั่วโมงกินพื้นที่ กวา ๗๕ ไร๒ งาน ๓๖ ตารางวา หองแถวไมและบานเรือนแนวถนนบรมไตรโลกนาถ หอนาฬกา ถนนลิไท ถนนพุทธบูชา ริมนํ้านาน สูญสิ้น


20

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สภาพตึกแถวพื้นไม ของนางลอม สุขกิจ และนายตวน (ตระกาน) ธีรประไพ รานพิษณุโลกพานิช บริเวณสามแยกสถานีตาํ รวจ ติดกับ ธนาคารกสิกรไทย สาขาพิษณุโลก เดิม ยาวไปจนถึงยานถนนริมแมนาํ้ นาน หลังเพลิงเผาผลาญและสงบลง

ซากทีป่ รักหักพังยอยยับไมมเี หลือของ โรงหนังสําเนียงวัฒนา ยานถนนบรมไตรโลกนาถ และ สภาพ เสาไม ที่ยังครุกรุนเปนเถาถาน ของ อาคารหองแถวไม ยานการคาตลาดพิษณุโลก หลังจากเพลิงเริ่มสงบลง เอี ย จ ง (ฉ ง หมิ่ น แซ จั ง ) รานหนังสือบรรณา ลักษณ ถนนบรมไตรโลถนาถ เลาวา “เดิมเชาหองแถว ไมโกเทียม เจียมศรีพงษ เปดรานถายรูปชื่อ ฉายาศรีฟา สมัยนั้น มี ๓ ราน คือ รานตน รานหวาฟอง รานหลีเจน พอไฟไหม ก็ยายไปอยูอุตรดิตถ แลวจึงกลับมาพิษณุโลก ลงทุนปลูกตึกใหม ที่เดิมของราชพัสดุ พรอมกับ รานทอง นําศิลป (โกตา) เจากี่นาฬกา ติดกันสามราน หมดเงินไป ประมาณ ๗๕,๐๐๐ บาท เปนตึกสามชั้น เริ่มสราง ในป พ.ศ.๒๕๐๓ ในป ๒๕๐๕ รถพระเจาอยูหัว เสด็จฯ ผาน ถนนหนาราน จากสนามบินไปโรงเรียนชาย (พิษณุโลก พิทยาคม)


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

แผนผังแสดง บริเวณที่ไฟไหมใหญ เมืองพิษณุโลก ๒ มกราคม ๒๕๐๐ บริเวณที่ทําเครื่องหมาย กากบาท

พื้นที่ไฟไหมจากทาเรือเขียว สะพานเอกาทศรถ ปจจุบัน ไปจนถึง ทาเรือแดง (สามแยกตลาดใต สุดตลาดไนทบารซา ปจจุบัน) ตามแนวเสนทึบ มีผูประสบอัคคีภัย รวมทั้งสิ้น ๔๕๐ หลังคาเรือน จํานวน ๖,๖๕๐ คน

21


22

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สภาพทาเรือแดง ตลาดใต ยานการคาของชาวอินเดีย ที่ปลูกบานเรือนยื่นไปในแมนํ้านานถูกไฟไหมวายวอด

พระเมตตาคุณ การุณยชาวพิษณุโลก นับเปนพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพน ที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระเมตตาคุณ พระราชทานเงินชวยเหลือ ๑๐๐,๐๐๐ บาท เพื่อบรรเทาความเดือดรอนเบื้องตนแกพสกนิกรชาวจังหวัด พิษณุโลกที่ประสบเหตุการณวิปโยค ในครั้งนี้ นับเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางหาที่สุดมิได เปนสิ่งที่ชาว พิษณุโลกทุกรูปนาม ยังจดจําสํานึกใน พระเมตตาคุณอยูในดวงใจเสมอมา และเทิดทูนไวเหนือเศียรเกลา ตลอดไป ยามใด ไพรฟา และชาวประชายากจนทรงหวงกังวล ดั่งหยาดฝนชโลมพื้นหญา สภาพบาน รานคา หัวมุมหนาสถานีรถไฟ (แนวรานสวัสดี –ราน ทองจงลักษณ และมาปลูกเปนตึกในภายหลัง) ที่รอดจาก ไฟไหมใหญ เพียงไมกหี่ ลัง สวนบริเวณฝง เหนือของถนนนเรศวร เดิมเปนสํานักงานทีด่ นิ และทีว่ า งเปลาเปนสวนใหญ และภายหลัง ปลูกเปนตึกแถว เมื่อยานการคายายจากริมแมนํ้านานมาแถบนี้ จนปจจุบัน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

23

สภาพเรือนแพ ในแมนํ้านานเห็นตลาดใหม และ สภาพตึกในตลาดพิษณุโลกที่สรางขึ้นใหมหลัง เหตุการณพิษณุโลกวิปโยค

หนึ่งปสี่สิบหาวันพิษณุโลกวิปโยคทุกข ชาวพิษณุโลกเทิดไทใจทุกดวง

เริ่มมีสุขคลายทุกขอันใหญหลวง ไดชื่นทรวงเย็นฉํ่าดวยนํ้าพระทัย

นายสุวิชช ปาลิวนิช เลาใหฟงเกี่ยวกับการสรางเนื้อสรางตัว ในภายหลังจากไฟไหมใหญ ใน เหตุการณพษิ ณุโลกวิปโยค วา “ รานสกุลไทย ของเราเชาทีด่ นิ ของสํานักงานทรัพยสนิ สวนพระมหากษัตริย เปดกิจการคาขายตลอดจนเครื่องสังฆภัณฑ พอไฟไหมก็หมดสิ้นเกือบทุกอยาง ตองมากอสรางรานใหม ตองปลูกตามแบบแปลนที่เขากําหนดเปนอาคารคอนกรีต ๒ ชั้น ที่เปนอยูทุกวันนี้ สําหรับทุนในการกอสราง สํานักงานทรัพยสินฯ เขาใหยืมไดครึ่งหนึ่ง แลวผอนชําระราคากอสรางในเวลานั้นอยูที่หลังละประมาณ สามหมื่นหาพันบาท นับเปนความกรุณาของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริยที่ผอนรอนผอน หนาวใหชาวตลาดพิษณุโลกไดพอจะมีโอกาสลืมตาอาปากไดบางในชวงทุกขยากจนเลือดตาแทบกระเด็น ในครั้งนั้น ตัวเมืองพิษณุโลก จากหองแถวเรือนไม จึงกลายเปนตึกแถวเมืองใหมมาจนปจจุบัน ” นางฮุยฮั้ว แซอึ้ง เจาของรานเครื่องไฟฟาอึ้งหยูงวน เลาใหฟงวา “หลังจากไฟไหมก็ไมได ยายหนีไปไหน เริ่มตนทําการคาใหม โดยทําเปนแผงลอยหลังคาพลาสติก คอย ๆสะสมทุนขยายกิจการ ไปตอนไฟไหมกินเวลานานกวา ๑๘ชั่วโมง เศษ เหมือนโชคดี ที่ขนของมีคาหนีไฟไดทัน จึงไมเสียหายเชน รายอื่น ๆ นาสลดใจมากในชวงนั้น จากเอกสารที่ รศ.ดร.จิราภรณ สถาปนะวรรธนะ มหาวิทยาลัยนเรศวร ไดศึกษาไว พบวา ไดมีการประเมินความเสียหายทางเศรษฐกิจอยางเปนทางการจาก กรณีไฟไหมตลาดเมืองพิษณุโลกทําให เกิดความเสียหาย ประมาณ ๑๕๐ ลานบาท จากเหตุการณพิษณุโลกวิปโยค พ.ศ.๒๕๐๐ กอใหเกิดความ เปลี่ยนแปลงของเมืองครั้งสําคัญ คือ บริเวณยานธุรกิจไดยายจากบริเวณ ทาเรือเขียว (หนาตลาด หนา โรงพักสถานีตํารวจเกา ซึ่งหันหนาสูแมนํ้า หรือ เชิงสะพานเอกาทศรถในปจจุบัน เรียกตามชื่อ เรือเมล เขียว ของ บริษัทสยามแพ็กเก็ต) วิ่งบริการไปทางเหนือของเมืองพิษณุโลก (ปากโทกพรหมพิราม พิชัย หรือ แควนอย วัดโบสถ)และ ทาเรือแดง (สามแยกตลาดใต เรียกตามชื่อ เรือเมลแดง) วิ่งบริการไปทางใตของ เมือง (ทาทองวัดพริก บานใหม กําแพงดิน พิจิตร นครสวรรค) ริมแมนํ้านาน มายังบริเวณยานการคาสถานี รถไฟถนนเอกาทศรถ นําไปสูค วามเจริญทางการคมนาคมทางบกมาจนปจจุบนั โดยกําหนดให ฝง ตะวันออก ของแมนํ้านานเปน ยานธุรกิจ และฝงตะวันตกเปน ศูนยราชการ


24

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สภาพตึก และบานเรือนรานคา ตลาดเมืองพิษณุโลก ที่ปลูกสรางขึ้นใหม หลังเหตุการณวิปโยค ในราวป พ.ศ.๒๕๐๓ -๒๕๐๕

สภาพเรือนแพ ที่จอดเรียงรายยาวเปนทิวแถวในแมนํ้านาน จากทาเรือเขียวหนาสถานีตํารวจ (โรงพัก-สะพานเอกาทศรถ ปจจุบัน) ถึง ทาเรือแดงตลาดใต และสภาพตึกแถวที่เริ่มกอสรางขึ้นมาใหม ของตลาดเมืองพิษณุโลก ที่เริ่มฟนตัวจากเหตุการณพิษณุโลกวิปโยค บริเวณ หอนาฬกา ตลาดใต และ ถนนพุทธบูชาริมแมนํ้านาน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

25

ทาเรือเขียว (เชิงสะพานเอกาทศรถ ฝงตะวันออก ปจจุบัน) มีเรือเมล เรือบรรทุก จอดแนนไปหมดมองเห็น บานเรือนไมที่ปลูกยื่นไปจากตลิ่ง ทาเรือแดงตลาดใต (สามแยก) ปจจุบันคือ ไนทบารซา พิษณุโลก กอนเหตุการณ พิษณุโลกวิปโยค ในวันที่ ๒ มกราคม ๒๕๐๐ ไฟสงพุทธกาล

เรือเอี่ยมจุน เรือเมล เรือมอญ เรือบรรทุก จอดเรียงรายหนาทานํ้าวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ในอดีต และคอย ๆ หมดความสําคัญ และสูญหายไป เนื่องจากยานการคาธุรกิจของเมืองพิษณุโลก ยายจาก ยาน ถนนพุทธบูชาทาเรือ ริมแมนาํ้ นาน ไปอยูบ ริเวณสถานีรถไฟความเจริญทางบก จึงเขามามีความสําคัญแทน หลังเหตุการณพิษณุโลกวิปโยค พ.ศ.๒๕๐๐


26

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ซุมรับเสด็จ ชาวจีนพิษณุโลก ที่เขามาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร ดวยความรมเย็นเปนสุข ในยามราตรี ประดับ ไฟงดงาม เปนยิง่ นัก คือ สิง่ ทีช่ าวพิษณุโลกทุกหมูเ หลา พรอมใจกัน จัดทูลเกลา ฯ ถวาย อยางสมพระเกียรติ

หนึ่งป สี่สิบหาวัน วันฟาใส ชาวพิษณุโลกวิปโยค เศราสลดรันทดใจ ทอแทสิ้นหวัง จากเหตุการณไฟไหมใหญ จนแทบสิ้นเนื้อ ปะดาตัวไดเพียง ๑ ป ๔๕ วัน รอยยิ้ม แหงความปติ ของชาวพิษณุโลกก็ฟนคืนกลับมาอีกครั้งหนึ่ง เมื่อได ทราบขาวอันเปนมหามงคลยิง่ แกชวี ติ และบานเมืองทีก่ าํ ลังเริม่ จะฟน ฟูกนั ขึน้ มาใหม คือ ขาว พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชดําเนินทรงเยีย่ มพสกนิกรชาวจังหวัด พิษณุโลกเปนครั้งแรก และเปนจังหวัดแรกของภาคเหนือ ในระหวางวันที่ ๒๗ ถึง ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ เปรียบเสมือนสายฝนอันชื่นใจ จากฟากฟาสุราลัยสูแดนดิน ยังความชุมชื่น ปลื้มปติแกชีวิตและจิตใจ ที่จะ ไดชื่นชมพระบารมี พระเจาแผนดินผูเปรียบเสมือน เจาชีวิต ของอาณาประชาราษฏรเปนครั้งแรก กําลังใจ และความหวังของชาวพิษณุโลกทอแสงประกายคืนกลับขึ้นมาในชีวิตอีกครั้งหนึ่ง จังหวัดพิษณุโลก ไดรับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จปฏิบัติ พระราชกรณียกิจ ประทับรอยพระบาทไวเหนือแผนดินเมืองพิษณุโลก เมืองที่มีความยิ่งใหญประดุจ เมืองของพระนารายณ นับแตปพุทธศักราช ๒๕๐๑ ถึง ๒๕๒๕ จํานวน ๑๓ ครั้ง และทรงมีพระเมตตาคุณ พระราชทานพระราชดําริและพระมหากรุณาธิคณ ุ อยางใหญหลวงแกพสกนิกรชาวพิษณุโลกเปนยิง่ นัก แผน ดินเมืองพิษณุโลก จึงดํารงความรมเย็นสุขสงบ อุดมสมบูรณสืบตอกันมาจนทุกวันนี้ดวยพระบารมีและพระ เมตตาคุณของพระองคปกเกลา ฯ อยางแทจริง

ยานการคาธุรกิจ ยายมาอยูที่ ยานสถานีรถไฟ ทางบกแทนทางนํ้า และ ภาพตลาดพิษณุโลก ที่ฟนตัวขึ้นมาใหมอยางรวดเร็ว ดวยพระบารมีปกเกลา ฯ มองเห็น ทุงทะเลแกว ที่นํ้าเจิ่งนองเต็มไปหมด ในยามนํ้าหลากสมดั่งนามเมืองสองแคว


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

27

สภาพของเมืองพิษณุโลก บริเวณฝงตะวันออกของแมนํ้านาน วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ฯ โรงเรียน จาการบุญ (วัดราชคฤห) วัดนางชี และ ฝงตะวันตก ซึ่งขณะนั้นยังไมมีการสรางอาคารศาลากลาง ภาพถาย ทางอากาศในราวกอนหนา พ.ศ. ๒๔๙๕

หลักคอนกรีตอนุสรณความรวมมือไทย –สหรัฐอเมริกา (ริมรั้ววัดนางพญา )ในการสราง ถนน มิตรภาพ ตัดเชื่อมสะพานนเรศวร ฝงตะวันออกไปวังทอง –หลมสัก ในป พ.ศ. ๒๕๐๓ ทําใหวัดนางพญา และ วัดราชบูรณะถูกทางหลวงตัดขาดแยกออกจากกันจนปจจุบนั พรอม ถนนบรมไตรโลกนาถถนนในตลาด พิษณุโลก บริษัทเลมอน สหรัฐอเมริการับเหมากอสราง เสร็จในราวป ๒๕๐๕


28

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สภาพเรื อ นแพ ในแม นํ้ า น า น ในราวป ห ลั ง พ.ศ.๒๕๐๑ และ สะพานนเรศวร (สะพานดํ า สราง พ.ศ. ๒๔๗๓ – ๒๔๗๕ เปนสะพานเหล็ก พื้นปูดวยไม และ สรางใหมเปน สะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ในป พ.ศ.๒๕๐๘ ติดกับสะพานดํา ดานทิศใต ยังปรากฏตอมอเดิมอยู) และถนนพุทธบูชา ฝงตะวันออก เสนทางเสด็จพระราชดําเนินไปยังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร และถนนวังจันทนริมแมนํ้านาน ฝงตะวันตกไปยังศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก พระราชวังจันทน กองทัพภาคที่ ๓ และ ศาลยุติธรรมจังหวัด พิษณุโลก และ ถนนลูกรังเสนทางลูกรัง ที่จะเสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระที่นั่งไปยังจังหวัดสุโขทัย (ถนนสิงหวัฒน ในปจจุบัน สรางในป พ.ศ.๒๕๐๕)


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

29

สภาพ เรือนแพ หนาพระราชวังจันทน โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมในราว ป พ.ศ. ๒๕๐๔สถานทีเ่ สด็จ พระราชดําเนินทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เปนครั้งที่ ๒ ในป พ.ศ. ๒๕๐๕

ถนนพุทธบูชา ริมแมนํ้านาน หนาโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี และ โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก ที่วาการอําเภอเมืองพิษณุโลก (สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก ปจจุบัน) มีตนพะยอมขนาดใหญ เรียงรายตามริมถนน เสนทางเสด็จพระราชดําเนิน ปฐมรอยพระบาทเหนือแผนดินเมืองพิษณุโลก วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๐๑


30

¾ÃкÒÃÁÕ»¡à¡ÅŒÒÏ ªÒǾÔɳØâÅ¡

¤ÃÑ駷Õè ñ


31

ปฐมพระบาท เหนือแผนดินเมืองพิษณุโลก พระบารมีปกเกลา ชาวพิษณุโลก ครั้งแรก วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ - วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๐๑


32

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

¾ÃкÒÃÁÕ»¡à¡ÅŒÒÏ ªÒǾÔɳØâÅ¡ ¤ÃÑ駷Õè ñ วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๐๑

เวลา ๐๖.๓๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จ พระราชดําเนินโดยรถยนตพระทีน่ งั่ จากพระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสติ ถึง สถานีรถไฟจิตรลดา พระบรมวงศานุวงศ เฝาทูลละอองธุลีพระบาท ทรงมีพระราชดํารัสกับ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟา กัลยาณิวฒ ั นา จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี ประธานสภาผูแ ทนราษฎร พรอมคณะรัฐมนตรีและ ขาราชการชั้นผูใหญ เฝาฯ สงเสด็จ ฯ เสด็จประทับขบวนรถไฟ เวลา ๐๖.๕๐ น. ขบวนรถไฟพระที่นั่งเคลื่อน ออกจากสถานีรถไฟจิตรลดา เพื่อเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมราษฎรจังหวัดตาง ๆในภาคเหนือ เปนครั้งแรก เวลา ๐๘.๑๑ น. ขบวนรถไฟพระที่นั่งถึงสถานีรถไฟพระนครศรีอยุธยา ผูวาราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา นําขาราชการและประชาชนเฝาฯ รับเสด็จฯ เวลา ๐๘.๑๖ น. ขบวนรถไฟพระที่นั่งฯ ออก จากสถานีพระนครศรีอยุธยา เวลา ๐๙.๓๗ น. ถึงสถานีรถไฟลพบุรี ผูว า ราชการจังหวัดลพบุรพี รอมขาราชการ และประชาชนเฝาฯ รับเสด็จฯ เปนจํานวนมาก เวลา ๐๙.๔๒ น.ขบวนรถไฟพระที่นั่งออกจากสถานีลพบุรี เวลา ๑๒.๐๘ น. ถึงสถานีรถไฟ นครสวรรค ผูว า ราชการจังหวัดนครสวรรค พรอมขาราชการ เฝาฯ รับเสด็จฯ มี ประชาชนมารับเสด็จทามกลางแดดและอากาศทีร่ อ นเวลาเทีย่ งวันทีร่ อ นแรงเปนจํานวนมาก เวลา ๑๔.๒๓ น. ถึงสถานีรถไฟพิจติ ร นายเยียน โพธิสวุ รรณ ผูว า ราชการจังหวัดพิจติ ร กราบบังคมทูลพระกรุณานําขาราชการ ประชาชน เฝารับเสด็จ ฯ เพื่อชื่นชมพระบารมีของทั้งสองพระองคกันอยางเนืองแนนเปนจํานวนมาก เวลา ๑๕.๑๕ น. ขบวนรถไฟพระที่นั่ง ถึงสถานีรถไฟจังหวัดพิษณุโลกเปนจังหวัดแรก พลตํารวจเอก หลวงชาติตระการโกศล ปลัดกระทรวงมหาดไทย กราบบังคมทูลพระกรุณาเบิก นายพวง สุวรรณรัฐ ผูรักษาการในตําแหนงผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก เฝาทูลละอองธุลีพระบาทถวาย พระแสงราชศัสตรา ประจําจังหวัดพิษณุโลก และเบิก พลตรีประพันธ กุลพิจิตร แมทัพภาคที่ ๓ และขาราชการระดับสูง ฝายตางๆ เฝาฯ รับเสด็จฯ แลวเสด็จฯ ขึ้นประทับรถยนตพระที่นั่งฯ ผานตลาดพิษณุโลกไปตามถนนนเรศวร เลี้ยวขวาสูถนน พุทธบูชาไปยังวัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร เสด็จเขาสูพ ระวิหารพระพุทธชินราช ทรงจุดเครือ่ งนมัสการ พระพุทธชินราชแลว ทรงกราบ เสด็จประทับพระราชอาสน พระสงฆสมณศักดิเ์ จริญชัยมงคลคาถา แลวเสด็จ ไปยังศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งจัดเปนที่ประทับแรม เวลา ๑๖.๔๑ น. เสด็จลง ณ พลับพลาทอง หนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ผูร กั ษาการในตําแหนง ผูว า ราชการจังหวัดพิษณุโลกกราบบังคมทูลพระกรุณาเบิกขาราชการและประชาชนเฝาทูลละอองธุลพี ระบาท ทรงพระราชทานพระราชดํารัส แกราษฎร ทีม่ าเฝาฯรับเสด็จฯ อยางเนืองแนนที่ บริเวณสนามหนาศาลากลาง จังหวัดพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

33

เสด็จพระราชดําเนินลงจาก พลับพลาทองเพื่อทรงเยี่ยมราษฎร มีพระราชดํารัสตรัสถามทุกขสุขของ ราษฎรอยางใกลชิด พระราชทานเหรียญที่ระลึกแกราษฎรผูทูลเกลา ฯ ถวายพระพุทธรูป สิ่งของภาพพระบรม สาทิสลักษณของทัง้ สองพระองคในกรอบไม ซึง่ นักเรียนโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ( พ.ล. ๑ ) เปนผูท ลู เกลาฯ ถวาย จนเวลา ๑๗.๔๘ น. จึงเสด็จฯ ขึน้ ประทับแรม บนมุขหนา ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ชัน้ ๓ เปนคืนแรก วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ เวลา ๐๙.๓๕ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จ พระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระทีน่ งั่ จากศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ที่ประทับแรม ไปยัง พระราชวังจันทน สถานที่พระบรมราชสมภพสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โรงเรียน พิษณุโลกพิทยาคม เมื่อเสด็จพระราชดําเนินถึง เสด็จพระราชดําเนินขึ้นศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงพระสุหรายสรง พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเทพารักษ แทนอดีตมหาราช ผูค รอง เมืองพิษณุโลก ทรงจุดเครื่องธูปเทียนและสังเวย พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ เทพารักษ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั พระราชทานผาตาดสีชมพูใหเจาพนักงานผูกทีห่ นาศาลสมเด็จพระนเรศวร มหาราช แลวเสด็จฯ ลงจากศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นายกสมาคมนักเรียนเกาโรงเรียนพิษณุโลก พิทยาคม ทูลเกลาฯ ถวายพระพุทธชินราชจําลอง ภาพพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและรายงาน กิจการสมาคมฯ แลวเสด็จพระราชดําเนินประทับรถยนตพระที่นั่ง เวลา ๑๐.๐๐ น. เสด็จพระราชดําเนินไปยังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร ในการพระราช พิธสี มโภช พระพุทธชินราช ตามราชประเพณีนบั แตสมัยกรุงศรีอยุธยา เสด็จเขาสูพ ระวิหารพระพุทธ ชินราชแลว ทั้งสองพระองคทรงพระสุหรายสรงพระพุทธชินราช พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงถวาย พั ด รั ต นาภรณ แลวทรงปฏิบัติตามราชประเพณีที่สมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราชเจาทรงปฏิบัติ คือ ทรงเปลือ้ ง สายสะพายเครือ่ งราชอิสริยาภรณ อันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเปลื้อง ผาทรงสะพัก ถวายพระพุทธชินราชเปนพุทธบูชา ทรงวางพานธูปเทียน และตนไมทอง ตนไมเงิน แลวทรงจุดเครื่องนมัสการ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงประเคนผาไตร และ ยาม ภ.ป.ร. แดพระสงฆ ๒๐ รูป พระสงฆรบั พระราชทานแลวออกไปครองผาและกลับมานัง่ ยังอาสนะ ทรงศีล เจริญพระพุทธมนต เสร็จแลว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงประเคนภัตตาหาร ทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯให พระบรมวงศานุวงศและขาราชการชั้นผูใหญประเคนภัตตาหารพระสงฆรับพระราชทานฉัน ภัตตาหารเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงประเคนจตุปจจัย ทรงหลั่งทักษิโณทก พระสงฆถวาย อนุโมทนา ถวายอดิเรก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงพระราชทานอุทศิ เทียนชนวนจุดไฟพระราชทาน แก ผูรักษาการในตําแหนงผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก ไปจุดดอกไมเพลิงถวายเปนพุทธบูชา ที่หนา พระวิหารพระพุทธชินราชแลวทรง พระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให หัวหนาคณะพราหมณและโหรหลวง เจาพนักงานพิธี พระบรมวงศานุวงศและขาราชการชั้นสูง เบิกแวนเวียนเทียนสมโภชพระพุทธชินราช ตาม ราชประเพณี เสร็จแลว เสด็จพระราชดําเนินออกจากพระวิหารพระพุทธชินราช เสด็จพระราชดําเนินกลับ ที่ประทับแรม


34

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ภาคบาย เวลา ๑๔.๐๐ น. เสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระที่นั่งไปยังคายสมเด็จพระนเรศวร มหาราช กองทัพภาคที่ ๓ เสด็จฯ ขึ้นประทับ ณ พลับพลาอาคารกองทัพภาคที่ ๓ ในโอกาสนี้ พระราชทาน พระราชวโรกาสให พลตรีประพันธ กุลพิจิตร แมทัพภาคที่ ๓ กราบบังคมทูลพระกรุณา เบิกขาราชการ ทหารและภริยาเฝาทูลละอองธุลพี ระบาทแลวนํานายทหารกลาวถวายสัตยปฏิญาณ จบแลวทรงพระราชทาน พระบรมราโชวาทลงพระปรมาภิไธยและพระนามาภิไธย ในแผนศิลา จากนั้น เสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระที่นั่งมายังศาลจังหวัดพิษณุโลก หลวงบริรักษ จรรยา วัตร อธิบดีผพ ู พ ิ ากษาภาค ๖ นายอัมพร คุณะเกษม ผูพ  พ ิ ากษาหัวหนาศาลจังหวัดพิษณุโลกและคณะ ผูพ พิ ากษา เฝาทูลละอองธุลพี ระบาทรับเสด็จ ฯ และ นําเสด็จขึน้ ศาล ขึน้ สู ชัน้ ๒ ทรงลงพระปรมาภิไธย และ พระนามาภิไธย ในสมุดเยี่ยม เสร็จแลวเสด็จลงจากศาลจังหวัดพิษณุโลก ตอจากนั้น เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมโรงพยาบาลพุทธชินราช นายแพทยเบนทูล บุญอิต ผูอํานวยการโรงพยาบาลพุทธชินราช กราบบังคมทูลถวายรายงานกิจการของโรงพยาบาล เสด็จฯ ทอด พระเนตรกิจการของโรงพยาบาล แลวเสด็จฯ ขึ้น ตึกอานันทมหิดล ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อานันทมหิดล ฯรัชกาลที่ ๘ พระบรมเชษฐาธิราช พระราชทานพระราชทรัพยใหสรางขึ้น หลั ง จากนั้ น เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น โดยรถยนต พ ระที่ นั่ ง ต อ ไปยั ง ที่ ว  า การอํ า เภอวั ง ทอง เสด็ จ พระราชดําเนินถึงเมือ่ เวลา ๑๕.๔๓ น. พระราชทานพระราชวโรกาสใหปลัดกระทรวงมหาดไทย เบิก นายมนัส ไตรยสุนันท นายอําเภอวังทอง นําขาราชการและราษฎรเฝาทูลละอองธุลีพระบาท เสด็จฯ ลงจากพลับพลา ทรงเยี่ยมราษฎร ชาวอําเภอวังทองและใกลเคียงที่มาเฝา ฯ รับเสด็จ ฯ กันอยางเนืองแนนเต็มหนาที่วาการ อําเภออยางใกลชิดพระราชทาน แผนพระปรมาภิไธยของทั้งสองพระองค แกชาวอําเภอวังทอง เวลา ๑๖.๓๐ น. เสด็จพระราชดําเนินไปยังวนอุทยานธารนํ้าตกวังนกแอน ในเขตวนอุทยานของ กรมปาไม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงปลูกตนประดู สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงปลูกตนพะยอม สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จทอดพระเนตรทัศนียภาพความงาม ของนํา้ ตกวังนกแอน แลวเสด็จขึน้ พลับพลาทีท่ าํ การปาไม เสวยพระสุธารส ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทาน ชื่อนํ้าตกใหใหมวา นํ้าตกสกุโณทยาน สมควรแกเวลาเสด็จพระราชดําเนินกลับ ที่ประทับแรมที่ มุขหนา ชั้น ๓ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก เปนคืนที่ ๒ วันเสาร ที่ ๑ มีนาคม ๒๕๐๑ เวลาเชา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทาน เหรียญรัตนาภรณ ชัน้ ที่ ๓ แก ผูร กั ษาการในตําแหนงผูว า ราชการจังหวัดพิษณุโลก และ ผูอํานวยการโรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก และ เหรียญรัตนาภรณ ชั้นที่ ๔ และ ชั้นที่ ๕ แก ขาราชการจังหวัดพิษณุโลก ผูถวายงานรับเสด็จฯ รวมจํานวน ๒๐ ราย ที่โถง หนาบันได ชั้น ๑ ศาลากลาง จังหวัดพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

35

เวลา ๐๙.๐๖ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน ลงจากศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ที่ประทับแรม เสด็จขึ้นประทับรถยนตพระที่นั่งฯ ออกจากศาลากลางจังหวัดพิษณุโลกไปยังจังหวัดสุโขทัย มีขาราชการทหาร ตํารวจและประชาชนเฝาสงเสด็จ ฯ เปนจํานวนมาก รถยนตพระทีน่ งั่ ถึงตําบลปากแคว อําเภอเมืองสุโขทัย ถนนลูกรังขรุขระมากรถยนตพระทีน่ งั่ กระเทือน จนทอไอเสียหลุด แลนตอไปไมได ตองหยุดซอม ทัง้ สองพระองคเสด็จลงจากรถยนตพระทีน่ งั่ ทรงประทับยืน ขึน้ พระกรด ทามกลางแดดทีร่ อ นระอุ มีราษฎรบริเวณนัน้ ตัง้ โตะหมูบ ชู ารับเสด็จ ฯ จึงไดมโี อกาสไดเฝาฯ ชืน่ ชม พระบารมีของทัง้ สองพระองคอยางใกลชดิ แลวจึงเสด็จพระราชดําเนินตอไปเพือ่ ทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจ ทรงเยีย่ มราษฎรและทอดพระเนตรโบราณสถานในเขตอําเภอศรีสาํ โรง อําเภอสวรรคโลก อําเภอศรีสชั นาลัย แลวเสด็จพระราชดําเนินกลับไปประทับแรมที่ศาลากลางจังหวัดสุโขทัย วันอาทิตยที่ ๒ มีนาคม เวลา ๐๙.๐๐ น. เสด็จฯ ออกประทับมุขหนาศาลากลางจังหวัดสุโขทัยแลว เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรโบราณสถานเมืองเกาสุโขทัย จนเวลา ๑๕.๐๐ น.เสด็จพระราชดําเนินตอไปยังจังหวัด ตาก ถนนทุรกันดารขรุขระมาก รถพระที่นั่งกระเทือนจนทอไอเสียชํารุดหลุด แลนตอไปไมได หยุดซอมเปน ครัง้ สอง ขณะเสด็จพระราชดําเนิน ถึง บานนํา้ ดิบ เขตติดตอจังหวัดสุโขทัยกับจังหวัดตากในทีส่ ดุ ตองเปลีย่ น รถพระที่นั่งใหม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชดําเนิน เยี่ยมราษฎรจังหวัดตาง ๆ ในภาคเหนือ ในระหวางวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ถึง วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๐๑ ที่ ท รงมี พ ระเมตตาคุ ณ เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น ไปทรง เยี่ยมราษฎรในภาคเหนือ รวม ๑๐ จังหวัด ประกอบ ดวย จังหวัดพิษณุโลก วันที่ ๒๗ ถึง ๒๘ กุมภาพันธ จังหวัดสุโขทัย วันที่ ๑ มีนาคม จังหวัดตาก วันที่ ๒ มีนาคม จังหวัดเชียงใหม วันที่ ๔ ถึง ๘ มีนาคม จังหวัด ลําพูน วันที่ ๗ มีนาคม จังหวัดเชียงราย วันที่ ๑๐ ถึง ๑๒ มีนาคม จังหวัดลําปาง วันที่ ๑๓ ถึง ๑๔ มีนาคม จังหวัดแพร วันที่ ๑๕ ถึง ๑๖ มีนาคม จังหวัดนาน วันที่ ๑๖ มีนาคม และจังหวัดอุตรดิตถ เปนจังหวัด สุดทายที่เสด็จพระราชดําเนินประทับพระบาทไวใน วัน ที่ ๑๗ มีนาคม จึงเปนการสิ้นสุดพระราชกรณียกิจเสด็จ พระราชดําเนินทรงเยี่ยมราษฎรจังหวัดตาง ๆ ภาคเหนือ แลวจึงเสด็จพระราชดําเนินโดยขบวนรถไฟพระทีน่ งั่ จาก


36

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

จังหวัดอุตรดิตถกลับสูพระนคร ในวันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๐๑ ซึ่งเปนการสิ้นสุดการเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยม ราษฎรภาคเหนือ ครัง้ แรกรวมเวลาทีเ่ สด็จฯทรงปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจดวยพระราชวิรยิ อุสาหะและขันติธรรม ทัง้ สิน้ ๑๙ วัน เสด็จพระราชดําเนินโดยรถไฟพระทีน่ งั่ เปนระยะทาง ๔๘๙ กิโลเมตร เสด็จพระราชดําเนินโดย รถยนตพระที่นั่ง เปนระยะทาง ๒,๒๕๗ กิโลเมตร ดวยพระเมตตาคุณ พระวิริยะอุตสาหะทรงอุทิศพระองค ตรากตรําพระวรกาย ทรงงานหนักดวย ขันติธรรม เปนที่ตั้ง เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมประชาชนในจังหวัดพิษณุโลกและอีก ๙ จังหวัดในภาค เหนือดวยทรงรักและหวงใยพสกนิกร ที่จะทรงพระราชกรณียกิจอํานวย ประโยชนและความสุขแกอาณา ประชาราษฎร มิเคยขาด ทรงระลึก อยูในพระราชหฤทัย เสมอวา “ทุกข ของ ประชาชน คือ ทุกข ของ พระเจาแผนดิน” ทุกหนทุกแหงบนผืนแผนดินไทย ที่ รอยพระบาท ได ประทับลง ไดทรงขจัดทุกขยาก สรางความชุมชื่นแกชีวิตจิตใจ นําความผาสุข ประโยชนสุขของราษฎรใหบังเกิดขึ้นอยางแทจริง โดยมิได ทรงคํานึงถึงประโยชนสุขสวนพระองคเลย ดัง ทานผูหญิงสมโรจน สวัสดิกุล ณ อยุธยา ไดประพันธถวาย พระเกียรติคุณไววา ทุกลมหายพระทัยภูบดี คือประชาชี สุขทุกขรมเย็นเปนไฉน เฝาเสด็จเตร็ด ตลอดแหลงไทย บุกบั่นพงไพร โขดเขาหวยธารละหานหิน พรอมพระบรมวงศภูบดินทร ทุกพระองคทรงริน เสโทโดยเสด็จฦาสาย เยื่ยมเยือนพสกนิกรหมาย มลางทุกขใจกาย ใหเขาเหลาผูทุกขเข็ญ ”

สภาพรถยนตพระที่นั่งทอไอเสียหลุด จนตองเปลี่ยนรถยนตพระที่นั่งใหม ทรงฉายภาพพื้นถนนที่ขุรขระ ที่บานนํ้าดิบ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

37

ปฐมรอยพระบาท พระบารมีปกเกลา ฯ ชาวพิษณุโลก วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ เวลาเชา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และสมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ ประทับ รถไฟพระที่นั่งเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรตามจังหวัดตางๆ ในภาคเหนือ เวลา ๐๖.๕๐ น. ขบวนรถไฟพระที่นั่งออกจากสถานีจิตรลดา เวลา ๐๘.๑๑ น. ขบวนรถไฟพระที่นั่งถึงสถานีอยุธยา พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให พลตํารวจเอก หลวงชาติตระการโกศล ปลัดกระทรวงมหาดไทย เบิก นายสุทัศน สิริสวย ผูวาราชการจังหวัด พระนครศรีอยุธยา นําขาราชการและราษฎรเฝาทูลละอองธุลีพระบาท เวลา ๐๘.๑๖ น. ขบวนรถไฟพระที่นั่งออกจากสถานีอยุธยาถึงสถานีลพบุรีเมื่อเวลา ๐๙.๓๗ น. พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหปลัดกระทรวงมหาดไทยเบิก นายสันต เอกมหาชัย ผูวาราชการจังหวัด ลพบุรี นําขาราชการและราษฎรเฝาทูลละอองธุลีพระบาท เวลา ๐๙.๔๒ น. ขบวนรถไฟพระที่นั่งออกจากสถานีลพบุรี ถึงสถานีนครสวรรคเมื่อเวลา ๑๒.๐๘ น. พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหปลัดกระทรวงมหาดไทยเบิก นายศิริ วรนารถ ผูวาราชการจังหวัด นครสวรรค นําขาราชการและราษฎรเฝาทูลละอองธุลีพระบาท เวลา ๑๒.๑๑ น. ขบวนรถไฟพระที่นั่งออกจากสถานีนครสวรรค ถึงสถานีพิจิตรเมื่อเวลา ๑๔.๒๓ น. พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหปลัดกระทรวงมหาดไทยเบิก นายเยียน โพธิสุวรรณ ผูวาราชการจังหวัด พิจิตร นําขาราชการและราษฎรเฝาทูลละอองธุลีพระบาท เวลา ๑๔.๒๒ น. ขบวนรถไฟพระที่นั่งออกจากสถานีพิจิตร ถึงสถานีพิษณุโลก เมื่อเวลา ๑๕.๑๕ น.

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชปฏิสันถารกับ สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟา กัลยาณิวัฒนาฯ จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี ประธานสภาผูแทนราษฎร และคณะรัฐมนตรี ขาราชการชั้นผูใหญ เฝา ฯ สงเสด็จ ฯ ที่ สถานีรถไฟจิตรลดา


38

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ขบวนรถไฟพระที่นั่ง ถึงสถานีพิษณุโลก เมื่อเวลา ๑๕.๑๕ น. รวมระยะทาง กรุงเทพฯ ถึงพิษณุโลก ๓๘๙.๒๘ กิโลเมตร

นักเรียนฝกหัดครู และ นักเรียนการชางหญิงพิษณุโลก เฝาฯ รับเสด็จ ฯ ณ หนาสถานีรถไฟพิษณุโลก

นักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ( พ.ล. ๒ ) และประชาชนชาวจังหวัดพิษณุโลก เฝา ฯ รับเสด็จ ฯ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

39

พลตํารวจเอก หลวงชาติตระการโกศล ปลัดกระทรวงมหาดไทย กราบบังคมทูลพระกรุณา เบิก นายพวง สุวรรณรัฐ รักษาการผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก ทูลเกลา ฯ ถวาย พระแสงราชศัสตราประจําจังหวัดพิษณุโลก ปฐมรอยพระบาท ที่ สถานีรถไฟพิษณุโลก วันพฤหัสบดี ที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๐๑

รถยนตพระที่นั่ง เคลื่อนออกจากหนาสถานีรถไฟพิษณุโลก ไปตามถนนนเรศวร ถึง สามแยกหนา ทาเรือเขียว หรือ หนาสถานีตาํ รวจเกา (แยกสะพานเอกาทศรถ ปจจุบนั ) เลีย้ วขวาไปตามถนนพุทธบูชา ผาน หนาที่วาการอําเภอเมืองพิษณุโลก (เกา ปจจุบันสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก) โรงเรียนเฉลิม ขวัญสตรี โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก (ปจจุบัน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต ๑) เจดียเกายอด วัดราชบูรณะ เชิงสะพานนเรศวร (สะพานดํา) สูวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร


40

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เสด็จฯ ทรงนมัสการพระพุทธชินราช ครั้งปฐม รถยนตพระที่นั่ง ถึง หนาวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จลงจากรถยนตพระที่นั่ง หนา ศาลาเทพเยนทร ที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ เสด็จฯประทับเรือพายขามฟากจากทานํ้ามณฑลพิศณุโลก มาขึ้นที่ศาลาทานํ้า หนาวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหารในการเสด็จประพาสมณฑลฝายเหนือ ในป พุทธศักราช ๒๔๔๔


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จถึง วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร ทรงจุดธูปเทียนเครื่องสักการบูชา พระพุทธชินราช พระสงฆทรงสมณศักดิ์ เจริญ ชัยมงคลคาถาถวาย วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๐๑

41


42

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เสด็จฯ เยี่ยมราษฎรชาวจังหวัดพิษณุโลก ครั้งปฐม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน ทรงเยี่ยมราษฎรชาวจังหวัดพิษณุโลก ครั้งปฐม ณ พลับพลาทอง สนามหนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๐๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

43

เวลา ๑๖.๔๑ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ ลงพลับพลาทองหนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก พระราชทานพระราชวโรกาสให ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก และชาวจังหวัดพิษณุโลกเฝาทูลละอองธุลีพระบาท


44

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

นายพวง สุวรรณรัฐ กราบบังคมทูลพระกรุณานําขาราชการและราษฎรจังหวัดพิษณุโลก เฝาทูลละอองธุลีพระบาท


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

45


46

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินลงจากพลับพลาทอง ทรงเยี่ยมราษฎรที่มาเฝาทูลละอองธุลีพระบาท ที่สนามหนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

47


48

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ราษฎรชาวจังหวัดพิษณุโลกทยอยขามสะพานนเรศวร เพื่อมาเฝาฯ รับเสด็จฯ กันอยางเนืองแนน (สะพานนเรศวร สราง พ.ศ.๒๔๗๓ เสร็จ พ.ศ. ๒๔๗๕ ตอมอคอนกรีตเสริมเหล็ก คานเหล็ก พื้นปูไม นิยมเรียกสะพานดํา)

ชาวจังหวัดพิษณุโลก และ ศาสนิกชนทุกศาสนาในจังหวัดพิษณุโลก เฝารับเสด็จพระราชดําเนิน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

49


50

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

นายพล ศรีสมวงษ รานศรีอักษรและผูมีกลองถายรูปในสมัยนั้น ทูลเกลาฯ ถวายพระพุทธชินราช ใบเสมา ตลับนากบุหนาทองคํา และ นายเนียม สุขแกว รานแสงรัตนตรัย อดีตเลขาธิการพุทธสมาคม จังหวัดพิษณุโลก ทูลเกลา ฯ ถวายพระเครื่องเกา

ราษฎรชาวจังหวัดพิษณุโลก นําผามาปูลาดรองพระบาททั้งสองพระองคเพื่อนําไปบูชา

ราษฎรชาวจังหวัดพิษณุโลกทูลเกลา ฯ ถวายพระพุทธรูปบูชา และ สิ่งของที่มีคาแด ทั้งสองพระองค


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.