421 466

Page 1

พระบารมีปกเกลา ชาวพิษณุโลก

421


422

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั พระราชทานผาทรงสะพัก ประดิษฐ อักษรพระปรมาภิไธยยอ ภ.ป.ร. เปนพุทธบูชา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนิน ทรงสมโภช พระพุทธชินราช และทอดพระเนตรการขุดสํารวจตกแตงโบราณสถาน เนินวิหารพระอัฏฐารส วัดพระศรีรตั น มหาธาตุวรมหาวิหาร วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๗


พระบารมีปกเกลา ชาวพิษณุโลก

¾Ãоط¸ÃÙ» »Ãзҹ¾Ã À.».Ã. ÈÒÅÒà·¾ÃÑμ¹ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇÃ

423


424

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระพุทธรูป ภ.ป.ร. ( จําลอง) หนาตัก ๓๙ นิ้ว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทาน พระบรมราชานุญาตใหจัดสราง ประดิษฐาน ณ ศาลาเทพรัตน กลางสระนํ้า มหาวิทยาลัยนเรศวรจําลอง จาก พระพุทธรูป ภ.ป.ร. (กฐินตน) วัดเทวสังฆาราม (วัดเหนือ) จังหวัดกาญจนบุรี และพระกริ่ง ภ.ป.ร. เมื่อ วันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๓๗ (ที่รล ๐๐๐๓ / ๘๐๒๕ ลงวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๓๗) ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ ฯทรงเททองหลอ ณ ลานหนาพระบรมราชา นุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมื่อ วันพฤหัสบดีที่ ๘ กันยายน ๒๕๓๗ โดย ชางบรรพรต เคลือบแกว โรงงานตรีบูรติก พุทธมณฑล นครปฐม ผูถวายงานหลอพระพุทธรูป ภ.ป.ร. พ.ศ. ๒๕๐๘ เปน คณะชางปน และหลอในครั้งนี้ โลหะผสมลงรักปดทอง

( หนังสือที่ รล ๐๐๐๓ / ๘๐๒๕ ลงวันที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๓๗ )


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

425

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงเปด หอพระเทพรัตน ถวายผาทรงสะพัก พระพุทธรูป ภ.ป.ร. และทรงสักการะ พระพุทธรูปปางนาคปรก ศิลปะศรีวิชัย ที่ซุมดานหลัง หอพระเทพรัตน พระราชทานนาม หอพระเทพรัตน และพระนามาภิไธยยอ (ส.ธ.) ทรงปลูกตนจําปสิรินธร ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก วันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๐ ศิลปนแหงชาติ สาขาสถาปตยกรรม (แบบประเพณี) อาจารยวนิดา พึ่งสุนทร เปนสถาปนิก มูลคา ๑๑ ลานบาท ในโอกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๕๐ พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๔๘


426

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

427

พระพุทธรูปประทานพร ภ.ป.ร. องคตนแบบ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานพระพุทธรูปประทานพร ภ.ป.ร. ถวายวัดเทวสังฆารามจังหวัดกาญจนบุรี และไดรับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให มหาวิทยาลัยนเรศวร จัดสราง พระพุทธรูปประทานพร ภ.ป.ร.จําลอง และพระกริ่ง ภ.ป.ร. จํานวน ๓๐,๔๓๘ องค เพื่อมอบใหผูบริจาคเงินสมทบ “ทุนพระราชทานการศึกษาของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร”

พระคาถาบาลี จารึก ที่ ฐาน พระพุทธรูป ภ.ป.ร. ทยฺยชาติยา สามคฺคิยํ สติสฺชานเน โภชิสิยํ รกฺขนฺติ คนชาติไทยจะรักษาความเปนไทย อยูได ดวยมี สติ สํานึก อยูใน ความสามัคคี


428

ÇÈ.¾Å, ÁÈÇ. ¾Å. ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹàÃÈÇà ¹ÒÁ¾ÃÐÃÒª·Ò¹


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

429

ÇÔ·ÂÒÅÑÂÇÔªÒ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¾ÔɳØâÅ¡

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๑๐ ม.ล.ปน มาลากุล รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนผูลงนาม ในประกาศการกอตั้ง วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก ขึ้นอยางเปนทางการ บนที่ดินของกรมการฝกหัดครู ๑๒๐ ไร ตั้งอยูที่บริเวณ “สนามบินเกา” ถนนสนามบินเกา ตําบลในเมือง อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัด พิษณุโลก เรียกชือ่ ยอวา “วศ.พล.” เริม่ รับนิสติ รุน แรก เมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๑๐ เขาเรียนในชัน้ ปที่ ๓ จํานวน ๑๒๐ คน แตเนื่องจากสถานศึกษายังไมพรอม จึงตองฝากนิสิตเรียนที่วิทยาลัยวิชาการศึกษา บางแสน จํานวน ๖๐ คน และที่วิทยาลัยวิชาการศึกษาปทุมวัน จํานวน ๖๐ คน โดยมี ผูชวยศาสตราจารย ดร.พนัส หันนาคินทร อาจารยจากวิทยาลัยวิชาการศึกษาบางแสน ชลบุรี ดํารงตําแหนงรองอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก เปนคนแรก ตอมาในปการศึกษา ๒๕๑๑ ไดเริ่มเปดทําการสอนที่จังหวัดพิษณุโลก สังกัดกรมการฝกหัดครู ไดรบั พระมหากรุณาธิคณ ุ จาก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั สมเด็จพระนางเจา ฯพระบรมราชินนี าถ เสด็จฯ พระราชทานปริญญาบัตรใหแกนักศึกษาผูสําเร็จการศึกษารุนแรก ณ สวนอัมพร พระราชวังดุสิต กรุงเทพฯ

มหาวิทยาลัยศรินครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก (๒๙ มิถุนายน ๒๕๑๗ – ๙ ตุลาคม ๒๕๓๓) วันที่ ๒๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๗ ไดมีประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหยกฐานะ วิทยาลัยวิชาการ ศึกษาพิษณุโลก ขึน้ เปนมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลกดวยเหตุผล เนือ่ งจากวิทยาลัยวิชาการศึกษา ไดทาํ การสอนและวิจยั ในระดับอุดมศึกษามาตัง้ แต พ.ศ. ๒๔๙๗ ไดผลิตบัณฑิตขัน้ ปริญญาตรี และปริญญา โท มาแลวจํานวนมาก และยังมีโครงการทีจ่ ะผลิตบัณฑิตขัน้ ปริญญาเอกในระยะตอไป จึงประกาศยกฐานะ วิทยาลัยวิชาการศึกษา พิษณุโลก สังกัดกรมการฝกหัดครู กระทรวงศึกษาธิการ เปนสถาบันอุดมศึกษาทีส่ อน วิชาชีพครูระดับปริญญาขึ้นเปน มหาวิทยาลัยศรินครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก โอนมา สังกัดทบวง มหาวิทยาลัยตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลมที่ ๙๑ ตอนที่ ๑๑๒ ฉบับพิเศษ เรียกชื่อยอวา “ มศว. พล.”


430

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตามหนังสือดวนมากของสํานักพระราชวัง รล. ๐๐๐๒/๑๖๐๑ลงวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๑๗และไดพระราชทาน ความหมายกํากับวา “ศรีนครินทรวิโรฒ” (มหาวิทยาลัย) ที่เจริญเปนศรีสงาแกมหานคร คําวา “วิโรฒ” แผลงมาจาก “วิรูฒ” ซึ่งเปนภาษาสันสกฤต แปลวา งอกงามหรือเจริญ อันเปนความหมายเดียวกับ “วิรุฬห” (บาลี) นามมหาวิทยาลัยจึงเปนการรักษาปรัชญาเดิมของวิทยาลัยวิชาการศึกษาที่วา “การศึกษาคือความ เจริญงอกงาม” “ศรีนครินทร” คือสวนหนึ่งของพระนามสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี จึงนับวาชื่อ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเปนมหามงคลนามอยางยิง่ และคงจะเปน มหาวิทยาลัย “ทีเ่ จริญเปนศรีสงา แกมหานคร” สืบไป ไดมกี ารกําหนดใหมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร กรุงเทพมหานครเปนศูนยกลางของ การบริหารงาน มีสาขา ในฐานะวิทยาเขต ๗ แหง คือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตปทุมวัน ,มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ วิ ท ยาเขตบางแสน, มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ วิ ท ยาเขต พิษณุโลก,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตมหาสารคาม, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขต สงขลา,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางเขน และมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขต พลศึกษา ศาสตราจารย ดร.พนัส หันนาคินทร บุคคลสําคัญ ในการบุ ก เบิ ก พั ฒ นาวิ ท ยาลั ย วิ ช าการศึ ก ษา พิ ษ ณุ โ ลก จนกระทั่ ง มาเป น มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒพิษณุโลกและมหาวิทยาลัย นเรศวรในปจจุบัน

มหาวิทยาลัยนเรศวร (๒๙ กรกฎาคม ๒๕๓๓ ถึง ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๓๕) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตพิษณุโลก ไดรับการยกฐานะขึ้นเปน “มหาวิทยาลัย นเรศวร” เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๓๓ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนเรศวร ไดประกาศในราชกิจจา นุเบกษา ฉบับพิเศษ เลมที่ ๑๐๗ ตอนที่ ๑๓๑ ลงวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๓๓ รัฐสภาจึงนํากราบ บังคมทูลเสนอตอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เพื่อลงพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงลง พระปรมาภิไธย ในวันอาทิตยที่ ๒๙ กรกฏาคม ๒๕๓๓ ซึ่งตรงกับสุริยคติ วันขึ้นครองราชสมบัติ ครบ ๔๐๐ ป ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พ.ศ. ๒๑๓๓ ถึง ๒๕๓๓) และทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหอญ ั เชิญพระนามาภิไธยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เปนชือ่ มหาวิทยาลัย นเรศวร เมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๓๔


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

431

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีฯ เสด็จเปดอาคารมิง่ ขวัญ (นามพระราชทาน) และวางศิลาฤกษพระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๓๒ และ เสด็จฯทรงเททองพระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ ๒๕๓๕

อัญเชิญพระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประดิษฐาน มหาวิทยาลัยนเรศวร (หนองออ )


432

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เมื่อคืนวันที่ ๒๕ ตอกับวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๐๕ ไดเกิดพายุโซนรอนชื่อ “แฮเรียต” พัดผานทาง ตอนใตของประเทศไทย ยังความเสียหายใหเกิดแกจังหวัดภาคใตถึง ๑๒ จังหวัด พระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯใหสถานีวิทยุ อส. พระราชวังดุสิต ประกาศโฆษณาเชิญชวน ผูมีจิตศรัทธาบริจาคทรัพย และ สิ่งของ เพื่อชวยเหลือผูประสบภัย โดยทรงรับและพระราชทานสิ่งของดวย พระองคเอง ความชวยเหลือได หลั่งไหลเขาสูสถานีวิทยุ อส. ชั่วระยะเวลา ๑ เดือน มีผูบริจาคทรัพยถึง ๑๑ ลานบาท และสิ่งของประมาณ หาลานบาทสวนผูที่ ไมสามารถบริจาคทรัพย และสิ่งของไดก็บริจาค แรงงาน ที่นาปลื้มใจก็คือ งานนี้ทําโดยอาสาสมัคร ซึ่งสวนมากเปนนิสิต นักศึกษา ลูกเสือและนักเรียน ไดทําการจัดและขนสงสิ่งของเหลานั้นไปบรรเทาภัยแกประชาชน พระบาทสมเด็จเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม พระราชทานเงินใหกระทรวง ศึกษาธิการ สรางโรงเรียนประชาบาลที่ถูกพายุพัดพัง รวม ๑๒ โรงเรียน ใน ๖ จังหวัดภาคใต และภายหลัง พระราชทานชื่อวา “โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๑,๒,๓,๔,๕ ถึง ๑๒” ตามลําดับ พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว จึงพระราชทานเงินสามลานบาท ใหเปนทุนประเดิมกอตั้งมูลนิธิ และพระราชทานนามวา “มูลนิธิราชประชานุเคราะห และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให อยูใน “พระบรมราชูปถัมภ กับทรงดํารง ตําแหนง พระบรมราชูปถัมภกแหงมูลนิธินี้ดวย ชื่อของมูลนิธินี้ หมายความวา “พระราชา” และ “ประชาชน” อนุเคราะหซึ่งกันและกัน เปนการแสดงนํ้าพระทัยวา เวลาทํางานควรจะไดใหประชาชน มีสวนรวมดวยมูลนิธิราชประชานุเคราะห ในพระบรมราชูปถัมภ จึงไดกอกําเนิดขึ้นและจดทะเบียนเปน นิติบุคคลตามกฎหมาย เมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๐๖


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

433

ดวยพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ทรงมีตอพสกนิกรของพระองค โดยไดทรงมีพระราชดําริวาภัยธรรมชาติ หรือสาธารณภัยอาจเกิดขึ้นเมื่อใดก็ได ไมมีผูใดจะคาดหมายได ดังที่ไดเกิดขึ้นที่แหลมตะลุมพุก นครศรีธรรมราช และหลายจังหวัด ภาคใต เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๕ และทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตั้งสํานักงานอยูในกรมประชาสงเคราะห วัตถุประสงค: ๑. เพื่อใหการสงเคราะหชวยเหลือผูประสบสาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ ๒. เพื่อใหการสงเคราะหดานการศึกษา ๒.๑.ทุนการศึกษาแกนกั เรียนทีเ่ รียนดีเยีย่ มในโรงเรียนราชประชานุเคราะห และเด็กกําพรา หรืออนาถา ที่ ครอบครัวประสบสาธารณภัย ๒.๒. บูรณะ ซอมแซม ปรับปรุง โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๓. เพื่อใหมีการปองกันสาธารณภัยที่เกิดขึ้นทั่วประเทศ ๔. เพือ่ ใหการสงเคราะหชว ยเหลือเปนสวนรวมแกประชาชนทีไ่ ดรบั ความทุกขยากเดือดรอนประการ อื่น ซึ่งคณะกรรมการบริหารพิจารณาเห็นสมควร และไดรับความเห็นชอบจากนายกมูลนิธิฯ

โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๒๓ อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก โรงเรียนราชประชานุเคราะหที่ ๒๓ ตัง้ อยูท ี่ อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก เปนโรงเรียนในพระบรม ราชูปถัมภพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ตามโครงการของกระทรวงศึกษาธิการ โดยไดพระราชทานทุน ทรัพย ๑ ลานบาท และไดเปดดําเนินการสอนตั้งแตวันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๗ เปนโรงเรียนประจํา ซึ่งนักเรียนสวนใหญจะกลับบานในวันหยุดที่เปนชวงวันหยุดยาวนักขัตฤกษ และเด็กที่เรียนในโรงเรียน จะเปนเด็กทีอ่ าศัยอยูท งั้ ในบริเวณใกลเคียง รวมทัง้ จังหวัดใกลเคียง และ เด็กนักเรียนทีม่ ถี นิ่ ฐานอยูบ นภูเขา


434

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานชื่อพระพุทธปฏิมากร ประธาน อุโบสถเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ วัดอรัญญิก ตําบลในเมือง อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก วา “พระพุทธสักย มุนีชินสีห ” “พระพุทธเจาทรงเปนนักปราชญ เชื้อสายศากยวงศ ทรงชนะมาร ทรงเปนผูประเสริฐ สู ง สุ ด ” เปนพระพุทธปฏิมากร องคแรกในสังฆมณฑลเมืองพิษณุโลกที่ไดรับพระราชทานถวายนาม (หนังสือที่ รล 000๓.๔ / ๒๓๓๑ ลงวันที่ ๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ )

นางสุธาสินี นิตสาครินทร (ปฐมดิเรกคุณาภรณ) ผูมีกุศลศรัทธา เปนเจาภาพสราง พระพุทธสักยมุนีชินสีห ถวายเปนพุทธบูชา ถวายเปนพระราชกุศล เฉลิมพระเกียรติ ฯ มูลคา ๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

435

พระวรญาณมุนี (แจม สุธมฺโม) ประธานสรางอุโบสถเฉลิมพระเกียรติ ฯ วัดอรัญญิก ไดรับอนุญาตใหเชิญตราสัญลักษณ พระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๐ ประดิษฐานที่หนาบันอุโบสถ ถวายเปนพุทธบูชา


436

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ผูทรงพระคุณอันประเสริฐ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานถวยรางวัลชนะเลิศ การแขงขันเรือยาวประเพณีสงกรานต สรงนํ้าพระมหาธาตุ เมืองพิษณุโลก นอมสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทาน เขื่อนแควนอยบํารุงแดน บรรเทาปญหา นํ้าทวม นํ้าแลง และ ความอุดมสมบูรณใหแกพสกนิกรชาวจังหวัดพิษณุโลก และใกลเคียง วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๓ ขอนอมสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ดวยเศียรเกลา ณ ชาวพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

437

นายปรีชา เรืองจันทรผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก ลําดับที่ ๔๔ ประกาศราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติฯ ในพิธเี ปด การแขงขันเรือยาวประเพณีสงกรานต สรงนํา้ พระมหาธาตุ พระพุทธชินราช เมืองพิษณุโลกจัดโดย ชมรมเรือยาวจังหวัดพิษณุโลก สมาคมกํานันผูใ หญบา นจังหวัดพิษณุโลกและ จังหวัดพิษณุโลก (พระราชทาน หนังสือที่ รล 000๓.๓ /๕๖๒๑ ลงวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๓)


438

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

วชิรญาโณภิกขุ เปรียญธรรม ๙ ประโยค รูปแรกของพิษณุโลก รับพระราชทานพัดยศเปรียญ จากพระหัตถ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

439

¾ÃÐÁËÒÃÐÇѧ ǪÔà ÚÒâ³ à»ÃÕÂÞ¸ÃÃÁ ù »ÃÐ⤠ÃÙ»áá¢Í§¾ÔɳØâÅ¡ พระเมธีสุทธิพงษ หรือ พระมหาระวัง วชิรฺาโณ สกุลเดิม เม็งเกตุ เกิดวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๔๘๔ ที่ บานพราว ตําบลไชยนาม อําเภอ วังทอง จังหวัดพิษณุโลก เปนบุตรนายหลา นางสาย เม็งเกตุ มีพี่นอง ๙ คน เสียชีวิตนับแตเด็ก ๆ ๕ คน คงเหลือ ๔ คน คือ ๑.นายแวว เม็งเกตุ (ป.ธ. ๗) ๒.นางถวิล ครุฑบึงพราว ๓. พระมหาระวัง เม็งเกตุ (วชิรฺาโณ) ๔.นายเชวง เม็งเกตุ จบชั้นประถมศึกษาจากโรงเรียนประชาบาลบานบึงพราว แลวมา บรรพชา ที่ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร วันที่ ๒ มิถุนายน ๒๔๙๗ มี พ ระพิ ษ ณุ บุ ร าจารย (แพ พากุ โ ล) เจ า คณะจั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลกเป น พระอุปชฌาย จึงยายไปศึกษาที่สํานักวัดราชบูรณะ กับ พระปลัดวัลลภ ฐานวโร (พระครูอนุโยคศาสนกิจ พ.ศ.๒๕๑๑) จนสอบไดเปรียญ ๖ ประโยค ใน ป พ.ศ. ๒๕๐๔ และไดอุปสมบท ณพัทธสีมาวัดราชบูรณะ พิษณุโลก เมื่อ วันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๐๔ มีพระราชรัตนมุนี (แชม จนฺทาโภ) เปนพระอุปช ฌาย พระวรญาณมุนี (ฟอน จินฺตามโย) เปนพระกรรมวาจารย พระปลัดวัลลภ ฐานวโร เปนพระอนุสาวนาจารย วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ ยายไปจําพรรษาศึกษาบาลีที่สํานักวัดสระ เกศราชวรมหาวิหาร กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๑๓ สําเร็จการศึกษาพุทธศาสตรบณ ั ฑิต (พธ.บ. รุน ๑๖) พ.ศ. ๒๕๑๔ สอบไดเปรียญธรรม ๙ ประโยค เปนรูปแรกของพระสงฆจงั หวัดพิษณุโลก อายุได ๓๐ พรรษา ๑๐ เปนลําดับ ที่ ๑๘๓ นับแตมีการสอบบาลีประโยค ๙ดวยการสอบขอเขียน ในป พ.ศ. ๒๔๖๙ (เดิมสอบปากเปลา )และ เปนลําดับที่ ๗ ในจํานวน ๑๔ รูปทีส่ อบไดในป ๒๕๑๔ ( สอบไดปเ ดียวกับ พระมหาเทีย่ ง อคฺคธมฺโม อายุ ๓๕ พรรษา ๑๓ปจจุบันคือ พระธรรมธีราชมหามุนี เจาอาวาสวัดระฆังโฆษิตาราม กรุงเทพฯ ) พระมหาระวัง วชิรญาโณ เขารับ ผาไตร พระราชทานประกาศนียบัตร พัดยศเปรียญธรรม ๙ ประโยค จากพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ในการพระราชพิธีทรงบําเพ็ญพระราชกุศลวิสาขบูชา ในวันอาทิตยที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๑๔ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง ทรงพระกรุณาโปรด เกลาฯ พระราชทานรถยนตหลวง สงที่ พระอุโบสถวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร และไดรับพระราชทาน สมณศั ก ดิ์ เ ป น พระราชาคณะชั้ น สามั ญ (เปรี ย ญ) ราชทิ น นามที่ “พระเมธี สุ ท ธิ พ งศ ” เมื่ อ วั น ที่ ๕ ธันวาคม๒๕๑๖ รับพระราชทานสัญญาบัตรพัดยศและผาไตร จาก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พ.ศ.๒๕๒๖ สอบไดปริญญาเอกจาก Banaras Hindu University รูปแรกของสังฆณฑลพิษณุโลก พ.ศ.๒๕๓๐ เป น รองอธิ ก ารบดี ฝ  า ยวิ ช าการ มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ ไดถึงแกมรณภาพ เมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๔๐ สิริอายุได ๕๖ ป ๓๖ พรรษา


440

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

โปรดเกลา ฯ พระราชทานรถยนตหลวง สง พระมหาระวัง วชิรญาโณ ถึงพระอุโบสถวัดสระเกศราชวรมหาวิหาร

คณะสงฆจงั หวัดพิษณุโลกโดย พระสุวรรณวิสทุ ธิคณ ุ (ทองปลิว โสรโต) เจาคณะจังหวัดพิษณุโลก และสหภูมิจังหวัดพิษณุโลก (พระอุดรคณารักษ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพฯ) นายพัฒน บุญยรัตพันธุ ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก จัดงานฉลองพัดยศเปรียญธรรม ๙ ประโยค ถวายมุทิตาฯ ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก วันที่ ๓ – ๔ กรกฎาคม ๒๕๑๔


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

๘ พระราชาคณะ ๓ พระครูสัญญาบัตร เมืองพิษณุโลก รับพระราชทานสัญญาบัตร พัดยศ ผาไตรพระราชทาน จาก พระหัตถ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภาพ พระครูธรรมจักรสุนทร (ณรงค ปภสฺสโร เอี่ยมพิษณุวงศ) รับพระราชทานพัดยศพระราชาคณะ (สามัญยก ) ราชทินนาม ที่ พระโสภณปริยัติธรรม จากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ในพระบรมมหาราชวัง วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๗

441


442

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระราชาคณะ จังหวัดพิษณุโลก ที่ไดรับพระราชทานสัญญาบัตร พัดยศ ผาไตร จากพระหัตถ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ และพระสงฆในการพระราชพิธีสมโภชพระพุทธชินราช พ.ศ. ๒๕๐๑

๑. พระศรีรัตนมุนี (แชม จนฺทาโภ ป.ธ.๗) วัดพระศรีรัตนมหาธาตุฯ พ.ศ.๒๔๙๓ เลื่อนเปน พระราชรัตนมุนี (แชม) พ.ศ.๒๕๐๑

๒. พระวรญาณมุนี ( ฟอน จินฺตมโย ป.ธ.๖) วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร พ.ศ.๒๔๙๖ ๓. พระพิศาลธรรมภาณี (เชื้อ สุขมวง) วัดกระบังมังคลาราม อ.พรพมพิราม จ.พิษณุโลก พ.ศ.๒๔๙๗

๔. พระสุวรรณวิสุทธิคุณ ( ทองปลิว โสรโต ) วัดพระศรีรัตนมหาธาตุฯ พ .ศ. ๒๔๙๙ เลื่อน เปน พระราชรัตนรังษี พ.ศ.๒๕๑๗


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

443

พระราชาคณะ จังหวัดพิษณุโลก ที่ไดรับพระราชทานสัญญาบัตร พัดยศ ผาไตร จาก พระหัตถ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙

๕. พระศรีรัตนมุนี ( บํารุง ฐานุตฺตโร มากกอน ป.ธ.๗ )วัดพระศรีรัตนมหาธาตุฯ พ.ศ. ๒๕๒๑ เลื่อนเปน พระราชรัตนมุนี พ.ศ.๒๕๓๕ เลื่อนเปน พระเทพรัตนกวี พ.ศ. ๒๕๔๒ (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร) และ พระธรรมเสนานุวัตร พิพัฒนกิจจานุ ยุติ พุทธชินราชวรธาดา ตรีปฎกวราลงกรณ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี พ.ศ.๒๕๔๘

๖. พระปญญาภิมณฑมุนี (บุญมี ปฺญาวุโธ ป.ธ. ๗) วัดบางระกํา (ปจจุบัน วัดเจดียยอดทอง ) จ.พิษณุโลก พ.ศ. ๒๕๒๘ ๗. พระวรญาณมุนี (เชื่อม เกสโว ป.ธ. ๓) วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จ.พิษณุโลก พ.ศ. ๒๕๓๖ เลื่อนเปน พระราชมงคลรังสี พ.ศ. ๒๕๔๗ (สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร) ๘. พระโสภณปริ ยั ติ ธ รรม (ณรงค ปภสฺ ส โร เอี่ ย มพิ ษ ณุ ว งศ ) วั ด ธรรมจั ก ร จ.พิ ษ ณุ โ ลก พ.ศ. ๒๕๓๗


444

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

๓ พระครูสญ ั ญาบัตร ผูช ว ยเจาอาวาสพระอารามหลวง (ผจล. )วัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร พิษณุโลก ไดรับพระราชทานพระราชวโรกาสใหเขารับพระราชทาน สัญญาบัตร พัดยศ และ ผาไตร จาก พระหัตถ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ในพระบรมมหาราช วัง ๓ รูป ประวัติศาสตร ของ สังฆมณฑลจังหวัดพิษณุโลก ๑. พระครูปริยตั กิ จิ จานุกรม (สายพิน ฉิมนาลโย ป.ธ. ๓) ผูช ว ยเจาอาวาสวัดพระศรีรตั นมหาธาตุ วรมหาวิหาร พ.ศ. ๒๕๓๗ (พัด ผจล.ชท. จ.ป.ร.) ปจจุบันดํารงตําแหนง เจาอาวาสวัดจันทรตะวันออก ๒. พระครูสุวิธานศาสนกิจ (ไพรินทร ทนฺตจิตโต ครามมี) ผูชวยเจาอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร พ.ศ. ๒๕๓๘ (พัด ผจล.ชท. จ.ป.ร.) ปจจุบัน เจาคณะอําเภอเมืองพิษณุโลก พระปลัด ไพรินทร ทนฺตจิตโต (ครามมี) เจาคณะตําบลในเมืองเขต ๑ รับพระราชทานสัญญาบัตร พัดยศ ผาไตร พระครู สัญญาบัตร ผูชวยเจาอาวาสพระอารามหลวงชั้นโท (จ.ป.ร.) ราชทินนาม ที่ พระครูสุวิธานศาสนกิจ จาก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ในพระบรมมหาราชวัง และใชพัดยศถวาย อนุโมทนา ในพระทีน่ งั่ ฯ เมือ่ วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๘ ปจจุบนั พระครูสญ ั ญาบัตรผูช ว ยเจาอาวาสพระอาราม หลวง ชั้นพิเศษ พ.ศ. ๒๕๕๐ (ผจล.ชพ) ๓. พระครูพิมล ธรรมาทร (นมัส ตุฏฐมโน) ผูชวยเจาอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร พ.ศ. ๒๕๓๙ (พัด ผจล.ชท. จ.ป.ร.) (ลาสิกขา)


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

หนึ่งเดียว คนพิษณุโลก ไดรับพระราชทานพระราชวโรกาส ขับรองเพลง รวมวง ในหลวง ทรงดนตรี จุฑาทิพย สิทธิวงศ (สกุลเดิม บุญญฤทธิ์)

445


446

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

จุฑาทิพย สิทธิวงศ หรือ แดง บุตรนายสรวง –นางสนิทร ปุญญฤทธิ์ เปนชาวพิษณุโลกโดยกําเนิด จบชัน้ มัธยมศึกษาจากโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี สอบเขาศึกษาตอทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพ ฯ ในป พ.ศ. ๒๕๐๖ คณะเกษตรศาสตรและสหกรณไดมีโอกาสเขารวมเปนสมาชิกของวงดนตรี KU BAND ซึ่งมี ครูอวบ เหมะรัชตะ อาจารยฝายกิจการนิสิต ซึ่งรวมกอตั้ง วงดนตรี KU BAND รุนแรก ๆมาพรอมกับ ศาสตราจารย ดร.ระพี สาคริก ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๐๗ ครูอวบไดใหสมาชิกวง KU BAND เตรียมตัว ฝกซอมดนตรีและขับรองเพลงพระราชนิพนธ อยางเขมขน เพราะไดรับพระราชทานพระราชวโรกาสเขา เฝา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ สถานีวิทยุ อส. ในเขตพระราชฐาน สวนจิตรลดา เพื่อรวมขับรอง และบรรเลงดนตรีรวมกับพระองค นับเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางหาที่สุดมิได ภาพพระพักตรที่เปยมไป ดวยพระเมตตา ทรงฉลองพระองคดวยกางเกงสแล็คสีเทา เสื้อทีเชิ๊ตสีขาวผอง ทรงเครื่องดนตรีแซกโซโพน อยางพระเกษมสําราญในหองสง วิทยุ อส. ในตน ป พ.ศ. ๒๕๐๘ พระบาทสมเด็จพระเจาอยู เสด็จพระราชดําเนินทรงดนตรี ณ หองประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน ไดรับพระราชทานพระราชวโรกาส ขับรองเพลง ถวาย ทรงเครื่องดนตรี แซกโซโพน ทรงประทับทรงดนตรีอยูประมาณ ๒ ชั่วโมง ทรงมีพระสุนทรีภาพและพระอัจฉริยภาพทางดนตรี ตลอดเวลาพระองคทานจะทรงตรัสโตตอบเยาแหยกับ ศาสตราจารย ดร.ระพี สาคริก อยางสนุกสนาน และทรงเปนกันเอง โดยมิถือพระองค อันบงบอกถึงนํ้าพระราชหฤทัยทรงเปยมลนไปดวย มัทวะ คือ ความ สุภาพออนโยนตอประชาชนเปนยิง่ นัก ยังความปลาบปลืม้ และประทับใจแกนสิ ติ ทุกๆคน ทีเ่ ขาเฝาฯ การทรง ดนตรีของพระองคในวันนัน้ ยังเปนภาพความทรงจําทีไ่ มรลู มื จนกวาชีวติ จะหาไม และจักเทิดทูนบูชาไวเหนือ เกลาเหนือกระหมอมตลอดไป


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

447

พิษณุโลก ใตรมพระบารมีจักรีวงศ องคภูมิพลมหาราชา พิษณุโลกนามนี้มีปรากฏ สรางแตครั้งสุโขทัยแตโบราณ เปนเมืองเอกหนาดานปราการแกรง เปนเมืองพุทธสุดยิ่งใหญใหจดจํา เปนแดนดินถิ่นพระงามอรามเลิศ เปนแดนดินอุปราชแตกอนมา มีองคพระปฏิมาสงาลักษณ พระชินราชศักดิ์สิทธิ์หาใดปาน ทั้งราชาสามัญชนคนทุกทิศ องคลิไททรงสรางอยางศรัทธา พระนเรศวรเลื่องลือระบือยศ พระกูชาติแผนดินถิ่นเมืองไทย เปนเมืองชัดประวัติศาสตรชาติสยาม เมืองสถิตบรรพกษัตริยจรัสวงศ เมืองสองแควแนนักประจักษแจง สองนทีไหลหลั่งพรั่งธารา ทั้งภูเขาแมกไมไพรพฤกษา ประวัติศาสตรชาติชนดลตํานาน แมองคพระกษัตริยเจาทุกสมัย กราบองคพระชินราชปฏิมา ถึงเอกองคพงศบดีจักรีราช องคภูมิพลจอมบดินทรปนนคร พระเสด็จประทับรอยพระบาท พระเมตตาหาใดไมเทียบทัน ในปาเขาลําเนาไพรไกลปนเที่ยง ที่หางไกลแหงแลงแหลงกันดาร ราษฎรมีอยู ณ ที่ใด เพื่อดับรอนดับภัยใหทันที

เกียรติยศบทบันทึกจารึกสาสน เปนตํานานเมืองเกาเลาลํานํา เปนเมืองแหงนักปราชญฉลาดลํ้า เปนเมืองธรรมเมืองชนลนเมตตา เปนแดนดินถิ่นเกิดกษัตริยกลา เปนแดนดินนักรบกลาบรรพกาล เดนประจักษศิลปศาสตรปราชญรํ่าขาน คนกลาวขานยกยองกองโลกา ตางมีจิตเลื่อมใสกันถวนหนา กราบองคพระปฏิมาพาชื่นใจ ถิ่นกําเนิดปรากฏยศยิ่งใหญ เกริกเกียงไกรดวยบุญญาพายิ่งยง เทิดพระนามองคพิษณุผูสูงสง เกียรติวรงคนามระบิลถิ่นพารา นามแถลงเมืองเกาเลาคุณคา สายเลือดใหญเลี้ยงปชาพาสําราญ สายธารานานาสัตวในสถาน ไดสืบสานผานกาลเนิ่นนานมา ใสพระทัยประพาสถิ่นถวิลหา ดวยศรัทธาองคมุนินทรชินวร บรมนาถบพิตรอดิศร เสด็จจรถึงถิ่นแผนดินธรรม นิกรราษฎรปรีดิ์เปรมเกษมสันต เปนมิ่งขวัญชาวประชาพาสําราญ พระองคเสี่ยงดั้นดนไปในสถาน พระภูบาลเสด็จไปดวยไมตรี เสด็จไป ณ ที่นั่นทุกถิ่นที่ ประชาชีตางรมเย็นเปนสุขใจ


448

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระเสโททุกหยดที่ลดหลั่ง ชโลมจิตชุบชีวาประชาไทย มาบัดนี้ไดชวยกันกลั่นกรองจิต เฉลิมพระเกียรติภูมิพลองคราชา ทั้งนักปราชญฆราวาสและพระสงฆ ไดคนควาสาระพันทันเหตุการณ เปนหนังสือสําคัญอันวิเศษ พิษณุโลกมีเหตุการณที่ผานมา สิบสามครั้งยังตราตรึกจารึกจิต มีเหตุการณมากมายหลายรอยพัน ขอเดชะพระกรุณาประชาราษฎร ขอพระราชทานอภัยโทษโปรดนิกร ชาวพิษณุโลกตางสํานึกระลึกคุณ จะยึดมั่นกตัญูสามัคคี ขอพระองคทรงพระเกษมสันต เดชไตรรัตนรงั สฤษฏทรงฤทธา

ประดุจดังสายธารตระการใส เหมือนเกิดใหมไดสุขทุกทิวา เขียนลิขิตหนังสือทรงคุณคา ทรงยาตราเมืองสองแควแลตระการ ไดบรรจงเรียงรอยถอยประสาน ทั้งเลาขานและเรื่องจริงสิ่งนานา จดหมายเหตุบันทึกจารึกคา เปนตําราสืบคนลนรําพัน องคบพิตรเสด็จเยือนเตือนใจมั่น ไดรังสรรคบันทึกไวใหถาวร แมผิดพลาดพลั้งไปในอักษร เพื่อเปนพรมงคลดลสิ่งดี จะเทิดทูนองคนรินทรปนเกศี ตอบแทนที่พระองคทรงเมตตา เปนมิ่งขวัญชาวไทยทุกถวนหนา ขอราชาจงทรงพระเจริญ ฯ พิษณุ เมืองพระงาม ประพันธถวายพระเกียรติคุณ

ไหลายอุ บานเตาไห พิษณุโลก (ลายขูดขีดและปนติด) แหลงโบราณคดี เตาเผาระบายความรอนแนวนอน ริมแมนํ้านาน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

449

พระบรมราชานุสาวรีย และ พระบรมรูปสมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราช ในแผนดินเมืองพิษณุโลก (เมืองบรรพกษัตริย)

๑. พระบรมราชานุสาวรีย พระบรมรูปพอขุนศรีอินทราทิตย (พอขุนบางกลางทาว) ๘ แหง ๑.๑. พระบรมรูปพอขุนบางกลางทาว เจาเมืองบางยาง (นครไทย) ๓ แหง ๑. วัดกลาง นครไทย ๒ องค (พระบรมรูปองคแรกของประเทศไทย พ.ศ.๒๕๑๐ และพระบรม รูป องคใหม พ.ศ. ๒๕๓๙) ๒. โรงเรียนนครไทย อําเภอนครไทย ๑.๒. พระบรมราชานุสาวรียพอขุนศรีอินทราทิตย ๒ แหง ๑.โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๒๓ อําเภอนครไทย ๒. พระบรมราชานุสาวรีย หนองปู อําเภอนครไทย ๑.๓. พระบรมรูปพอขุนศรีอินทราทิตย ๓ แหง ๑. หนวยพัฒนาการเคลือ่ นที่ ๓๔ (โรงทอผาเกา) ต.หัวรอ อ.เมืองพิษณุโลก ๒. วัดอรุณวนาราม (เขายาสราง) ต.ทาหมืน่ ราม อ.วังทอง ๓. โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๒๓ อ.นครไทย (พระบรมรูปตนแบบ องคเล็ก) ๒. พระบรมรูปพระนางเสือง ๓ แหง ๑. วัดอรุณวนาราม (เขายาสราง) ต.ทาหมื่นราม อ.วังทอง ๒. วัดกลาง นครไทย (ไมขนุนแกะสลัก) ๓. วัดตาลสุวรรณ ต.ดอนทอง อ.เมืองพิษณุโลก ๓. พระบรมรูปพระมหาธรรมราชาที่ ๑ พระยาลิไท ๒ แหง ๑. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร (วัดใหญ) ๒. ศาลหนาเจดียดอกบัวตูม(พุมขาวบิณฑ) วัดเจดียยอดทอง ๔. พระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ๑ แหง ๑. กองพลพัฒนาที่ ๓ คายสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ อ.วังทอง


450

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

๕. พระบรมรูปสมเด็จพระมหาธรรมราชา ๕ แหง ๑. ตําหนักวัดนางพญา (ตนกําเนิดพระพิมพนางพญา) ๒. ศาลเกา โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม(บึงแกงใหญ) ๓. เจดียศรีบวรชินรัตน วัดสระสองพี่นอง บนเขาสมอแคลง อ.วังทอง ๔. พลับพลา วัดนางพญา พิษณุโลก ๕. ศาลสมเด็จพระมหาธรรมราชา (คติชนวิทยา) ริมคลองปลักแรต ต.ปลักแรต อ.บางระกํา ๖. พระบรมรูปพระนางวิสุทธิกษัตริย ๓ แหง ๑. ตําหนักวัดนางพญา (ตนกําเนิดพระพิมพนางพญา) ๒. ศาลเกา โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม(บึงแกงใหญ ) ๓. พลับพลา ยอดมหามณฑป วัดนางพญา พิษณุโลก ๗. พระบรมราชานุสาวรีย, พระบรมรูป สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ๓๑ แหง ๗.๑. พระบรมราชานุสาวรีย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ๕ แหง ๑. ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน ๒. คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ทภ. ๓) ๒ แหง ๓. (พระบรมราชานุสาวรีย กองทัพภาคที่ ๓ , พระบรมราชานุสาวรีย ฯโรงพยาบาล คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ) ๔. มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก ๕. โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ( บึงแกงใหญ ) ๗.๒. พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ๒๙ แหง ๑. พิพิธภัณฑ กองทัพภาคที่ ๓ ๒. โรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ทภ. ๓) ๓. ศาล วัดคูหาสวรรค (คูเมืองพิษณุโลก) ๔. ในพระวิหารพระพุทธชินราช (วัดใหญ ) ๕. วัดเขื่อนขันธ ต. อรัญญิก อ.เมืองพิษณุโลก ๖. ศาลฯ วัดบึงพระ ต.บึงพระ อ.เมืองพิษณุโลก ๗. วิหาร วัดโพธิญาณ ต.หัวรอ อ.เมืองพิษณุโลก ๘. ศาลฯ วัดหนองพยอม ต.ชุมแสงสงคราม อ.บางระกํา ๙. ศาลฯ วัดทางาม ต.ทางาม อ.วัดโบสถ ๑๐. ศาลาปฏิบัติธรรม วัดถํ้าลอด อ.เนินมะปราง ๑๑. ศาลเกา โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม(บึงแกงใหญ ) ๑๒. โรงเรียนอนุบาลญาณนเรศ อ.วัดโบสถ ๑๓. โรงเรียนเนินมะปรางวิทยศึกษา อ.เนินมะปราง ๑๔. หนาที่วาการอําเภอบางกระทุม อ.บางกระทุม ๑๕. เทศบาลนครพิษณุโลก ๑๖. ศาลพระนเรศวรฯบานแมระหันต.บานกราง อ.เมือง ๑๗. สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดพิษณุโลก ๑๘. วัดปาสมเด็จพระนเรศวร นํ้าตกแกงซอง อ.วังทอง ๑๙. สวนปฏิบัติธรรม หทัยญาณนเรศ อ.วังทอง ๒๐. บริษัทวงษวาณิชย จํากัด (สวนบุคคล) ๒๑. วัดตาลสุวรรณ ต.ดอนทอง อ.เมือง พล. ๒๒. พุทธมณฑล จ.พิษณุโลก (แยกเรือนแพ) ๒๓. การไฟฟาภูมิภาค ๖ ภาคเหนือ จ.พิษณุโลก ๒๔. พลับพลา ยอดมหามณฑป วัดนางพญา พิษณุโลก ๒๕. วิทยาลัยสงฆพุทธชินราช ต.บึงพระ อ.เมืองพิษณุโลก ๒๖.วัดหอกลอง ต.หอกลอง อ.พรหมพิราม ๒๗. พิพธิ ภัณฑพระราชวังจันทน ๒๘. เขื่อนนเรศวร อ.พรหมพิราม ๒๙.สี่เเยกสันติบันเทิง อ.บางกระทุม และประติมากรรมธรรมชาติ หินงอก หินยอย รูปพระมาลาเบี่ยง ฯ ถํ้านเรศวร ผาทาพล อ.เนินมะปราง


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

๘. พระบรมราชานุสาวรีย, พระบรมรูป สมเด็จพระเอกาทศรถ ๑๑ แหง ๘.๑. พระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระเอกาทศรถ ๒ แหง ๑. คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ( กองทัพภาคที่ ๓ ) ๒. คายสมเด็จพระเอกาทศรถ ( บ.ช.ร. ๓ ) ๘.๒. พระบรมรูปสมเด็จพระเอกาทศรถ ๙ แหง ๑. ในพระวิหารพระพุทธชินราช (วัดใหญ ) ๒. ศาลเกา โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม(บึงแกงใหญ ) ๓. วิหารวัดโพธิญาณ ต.หัวรอ อ.เมืองพิษณุโลก ๔. โรงเรียนอนุบาลญาณนเรศ อ.วัดโบสถ ๕. ศาล ฯ คายสมเด็จพระเอกาทศรถ( บ.ช.ร. ๓ ) ๖. พุทธมณฑลจังหวัดพิษณุโลก ( แยกเรือนแพ ) ๗. บริษัทวงษวาณิชย จํากัด ( สวนบุคคล ) ๘. พลับพลา ยอดมหามณฑป วัดนางพญา พิษณุโลก ๙. ศาลวัดคลองโปรงนก ต.หอกลอง อ.พรหมพิราม

451


452

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

๙. พระบรมรูปพระสุพรรณกัลยา สมเด็จเจาฟาผูเสียสละพระชนมชีพเพื่อแผนดินไทย ๑๓ แหง ๑. คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ( กองทัพภาคที่ ๓ ) ๒. ในพระวิหารพระพุทธชินราช ( วัดใหญ ) ๓. ศาลเกา โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม(บึงแกงใหญ ) ๔. วิหารวัดโพธิญาณ ต.หัวรอ อ.เมืองพิษณุโลก ๕. โรงเรียนอนุบาลญาณนเรศ อ.วัดโบสถ ๖. วัดจันทรตะวันออก อ.เมืองพิษณุโลก ๗. วัดสุดสวาสดิ์ ต.บานคลอง อ.เมืองพิษณุโลก ๘. พุทธมณฑล จ.พิษณุโลก ๙. วัดตาลสุวรรณ ต.ดอนทอง ๑๐.ตําหนักทรง บานกราง ( สวนบุคคล ) ๑๑. บริษัทวงษวาณิชย จํากัด ( สวนบุคคล ) ๑๒. วัดหอกลอง ต.หอกลอง อ.พรหมพิราม ๑๓. พลับพลา ยอดมหามณฑป วัดนางพญา พิษณุโลก ๑๐. พระบรมรูปสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช ๑ แหง ๑. ศาลสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช วัดปากพิงตะวันตก ต.งิ้วงาม อ.เมืองพิษณุโลก (สถานที่ ทรงตั้งทัพหลวงในคราวศึกอะแซหวุนกี้ ตีเมืองพิษณุโลกพ.ศ. ๒๓๑๘)

๑๑. พระบรมราชานุสาวรีย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช เมือ่ ดํารงพระอิสริยยศ เจาพระยาจักรี ๒ แหง ๑. ศาล ฯ คายเจาพระยาจักรี (กก.ตชด. ๓๑) ๒. เนินอะแซหวุนกี้ขอดูตัวเจาพระยาจักรี พระบรมรูปเจาพระยาจักรี หรือ สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก ๓ แหง ๑. ศาลเจาพอปูดํา กําแพงเมืองพิษณุโลก (ประตูทวาย) ๒. พระบรมรูปตนแบบ ภายในพิพิธภัณฑ ประกอบพระบรมราชานุสาวรีย เนินอะแซหวุนกี้ดูตัวเจาพระยาจักรี (หลังกําแพงเมือง จําลอง) ๒ องค


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

453

๑๒. พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๕) ๖ แหง ๑. หนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ๒. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ ๓. ในวิหารพระพุทธชินราช (วัดใหญ) ๔. สํานักสงฆถํ้าลอด อ.เนินมะปราง ๕. ตําหนักพระมหาธรรมราชา วัดนางพญา พิษณุโลก ๖. หนาที่วาการอําเภอพรหมพิราม ๖. หนาโรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (เกา) กอ.รมน.ภาค ๓

๑๓. พระราชานุสาวรียสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกและสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ๒ แหง ๑. หนาอาคารสิรินธร มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก ๒. โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก พิษณุโลก เมืองบรรพกษัตริย มีพระบรมราชานุสาวรียพ ระบรมรูปสมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราชเจา และพระบรมราชวงศ รวม ๑๓ พระองค (พระมหากษัตริย ๙ พระองค พระวีรสตรี ๓ พระองค ๑ พระบรม ราชชนก และพระบรมราชชนนี) รวมจํานวนไมนอยกวา ๑๐๐ แหง พิษณุโลก จึงเปนเมืองที่มีพระบรม ราชานุสาวรียและพระบรมรูป ฯ มากที่สุดในประเทศไทย พิ ษ ณุ โ ลก แผ น ดิ น ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ดิ น แดน ประวัติศาสตร ราชธานีสองแผนดิน รวมรวมถวายพระเกียรติคณ ุ ดวยเศียรเกลาฯ โดย ขวัญทอง สอนศิริ (ครูโจ) ศูนยพษิ ณุโลกศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ พิษณุโลก


454

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ประติมากรรมไมจําหลัก รูปพระนารายณทรงครุฑยุคนาค หนาบันพระวิหารพระพุทธชินราช

พิษณุโลก คือ เมืองที่มีความยิ่งใหญ ประดุจ เมืองของพระนารายณ หรือ เมืองสรลวงสองแคว ปรากฏใน จารึกสุโขทัย หลักที่ ๑ หรือ ศิลาจารึกพอขุนรามคําแหงมหาราช กลาวถึง เมืองสรลวงสองแคว เปนเมืองหนาดานทางทิศตะวันออก ของสุโขทัย และ ปรากฏใน ศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ ๒ (วัดศรีชุม) กลาวถึง เจานายพระองคหนึ่ง คือ พระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามณี หลาน พอขุนศรีนาวนําถม เมือง เชลียง เกิดในนครสรลวงสองแคว เปนพระโอรส ของ พระยาคําแหงพระราม พระอนุชาของ พอขุนผาเมือง พระ เชษฐา พระนางเสือง พระสหายของ พอขุนบางกลางทาว (พ.ศ. ๒๕๑๙ อานจารึกใหมวา บางกลางหาว) เมืองบางยางสันนิษฐานวา คือ อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ในปจจุบัน เพราะมีภูมินามที่สอดคลอง และมีเรื่องราวสถานที่ตลอดจนคติชนวิทยาที่เกี่ยวเนื่องกับ พอขุนบางกลางทาว (พอขุนศรีอินทราทิตย พระปฐมบรมกษัตริย กรุงสุโขทัย) ชัดเจนมากที่สุดกวาทุกแนวคิดในเรื่องนี้ สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานวา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรง เปลืย่ นชือ่ เมืองใหมเปน เมืองพระพิษณุโลก (ประติมากรรม ไมจาํ หลัก รูปพระนารายณขคี่ รุฑยุดนาค หนา บันพระวิหารพระพุทธชินราช บูรณะเครือ่ งบนพระวิหารพระพุทธชินราชเปนแบบสถาปตยกรรมแบบอยุธยา และ ปูนปน รูปพระนารายณขี่ครุฑยุดนาค ที่ซุมหนาบันปรางควัดจุฬามณี ในสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลก นาถ เสด็จมาทรงประทับครองเมืองพิษณุโลก เปนเวลา ๒๕ ป พุทธศักราช ๒๐๐๖ ถึง ๒๐๓๑)

ประติมากรรมปูนปนรูปพระนารายณทรงครุฑยุคนาค ปรางควัดจุฬามณี พิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

455

ประติมากรรมแผนโลหะทองแดง พระบรมสาทิสลักษณ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว พระราชวัดโบสถ พิษณุโลก พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๗ พระราชทานในวโรกาสเสด็จเปดโรงเรียนพิษณุโลกวิทยายน และ พระราชทานธงประจํากองลูกเสือมณฑลพิษณุโลก วันที่ ๘ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๖๙ “...มณฑลพิษณุโลกนี้ เคยเปนถิ่นเดิมถิ่นเกาของคนไทยแตกอนนี้ เมืองพิษณุโลกเปนราชธานี มากที่สุดเมืองหนึ่งของประเทศสยามพวกคนเมืองพิษณุโลก เคยเปนนักรบสําคัญ อยูชานาน ครั้นภายหลัง จึงไดถูกขาศึกมาทําลายเสียจนหักพังหมด บัดนี้ พวกเจาทั้งหลาย ผูเปนลูกหลาน ของ นักรบโบราณนั้นเอง เปนลูกหลานของพวกไทยเดิมทีอ่ ยูใ นถิน่ นี้ ตองตัง้ ใจ ทีจ่ ะบํารุงฐานะของมณฑลของตนเองซึง่ เปนบานเกิด เมืองมารดรเดิมนั้นใหเจริญรุงเรื่อง เหมือนกับที่เปนมาแตกอนนั้น ...”


456

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เชิงอรรถ ๑. สมมตอมรพันธุ, พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระ. เรื่องตั้งพระราชาคณะผูใหญในกรุง รัตนโกสินทร เลม ๑. กรุงเทพ: กรมศิลปากร , ๒๕๔๕.หนา ๑๓ - ๑๔ ๒. เรื่องเดียวกัน หนา ๑๓ – ๑๔ ๓. ภาวาส บุญนาค. พระปรมาภิไธย สมเด็จพระมหากษัตริยแหงกรุงรัตนโกสินทร ,กรุงเทพฯ. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. โรงพิมพ, ๒๕๔๓. หนา ๔๗ ๔. เรื่องเดียวกัน หนา ๑๕ ๕. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี, สํานัก ,สํานัก. เหรียญรัตนาภรณ. กรุงเทพฯ: ดานสุธาการพิมพ .บริษัท, ๒๕๕๐. หนา ๙๙ ๖. สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนต. เครื่องราชอิสริยาภรณไทย. กรุงเทพฯ: ดานสุธาการพิมพ. บริษัท. (สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดพิมพเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๑๒ สิหาคม ๒๕๓๕ ) หนา ๒๒ – ๒๓ ๗. เรื่องเดียวกัน หนา ๒๔ – ๒๕ ๘. เรื่องเดียวกัน หนา ๒๖ ๙. วัดเบญจมบพิตร. ประวัติวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้งพับลิช ชิ่ง จํากัด (มหาชน ). บริษัท, ๒๕๕๓. หนา ๘๐ ๑๐. เรื่องเดียวกัน หนา ๑๑ ๑๑. เรื่องเดียวกัน หนา ๑๕ ๑๒. เรื่องเดียวกัน หนา ๒๗ ๑๓. เรื่องเดียวกัน หนา ๓๕ ๑๔. สํานักงาน เอกลักษณแหงชาติ. ราชาศัพท. กรุงเทพฯ: ดานสุธาการพิมพจํากัด, ๒๕๕๕.หนา ๘๕ ๑๕. เรื่องเดียวกัน หนา ๑๖-๑๗ ๑๖. เรื่องเดียวกัน หนา ๑๗ ๑๗. เรื่องเดียวกัน หนา ๘๕ ๑๘. สํานักพระราชวัง. สิ่งของในการเสด็จประพาสและพระราชทานพระแสงราชศัสตรา สําหรับเมือง เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๔๔.กรุงเทพ: กวงเชียง เฟรมแอนดซัพพลาย. บริษัท. ๒๕๕๓ ๑๙. สํานักราชเลขาธิการ. พระราชดํารัสและประกาศบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระนเรศวร มหาราช. กรุงเทพฯ: ทาพระจันทร .โรงพิมพ ,๒๕๑๗. หนา ๓ – ๔ ๒๐. สํานักราชเลขาธิการ. พระพุทธรูปในพระบรมมหาราชวัง. กรุงเทพ: อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิซซิ่ง จํากัด. บริษัท, ๒๕๓๙. หนา ๒๑๙ – ๒๒๐


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

457

เชิงอรรถ ๒๑. สํานักงานเอกลักษณแหงชาติ. ราชาศัพท . กรุงเทพฯ : ดานสุธาการพิมพจํากัด ,๒๕๕๕.หนา ๒๑๘ ๒๒. สํานักราชเลขาธิการ. พระพุทธรูปในพระบรมมหาราชวัง. กรุงเทพ: อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิซซิ่ง จํากัด. บริษัท, ๒๕๓๙. หนา ๓๙-๔๐ ๒๓. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พระพิษณุบุราจารย (แพ ปานกลิ่น) พากุโล ป.ธ.๖ อดีตเจาคณะจังหวัดพิษณุโลกและ เจาอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ, กรุงเทพฯ : มิตรสยาม . โรงพิมพ , ๒๕๑๖ . หนา ๒๙ ๒๔. สมมตอมรพันธุ ,พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระ. เรื่องตั้งพระราชาคณะผูใหญใน กรุงรัตนโกสินทร เลม ๑. กรุงเทพ :กรมศิลปากร, ๒๕๔๕.หนา ๘ ๒๕. เรื่องเดียวกัน หนา ๙ ๒๖. เรื่องเดียวกัน หนา ๑๙ ๒๗. เรื่องเดียวกัน หนา ๒๐ ๒๘. โรงเรียนสาธิตวิทยาลัยสงฆพระพุทธชินราช .ชีวิตคืองาน งานคือชีวิต พระธรรมเสนานุวัตร. พิษณุโลก . ๒๕๔๙ หนา ๑๐๔ ๒๙. วัดเบญจมบพิตร. ประวัติวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง พับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน ). บริษัท, ๒๕๕๓ . หนา ๗๑


458

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

บรรณานุกรม กมล มโนชญากร. จดหมายเหตุ เสด็จพระราชดําเนินเลียบมณฑลฝายเหนือ พระพุทธศักราช ๒๔๖๙. พระนคร : โรงพิมพโสภณพิพรรณธนากร , ๒๔๗๓. กรมศาสนา. กองพุทธสถาน . ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักร เลม ๗ .กรุงเทพ :กรมการศาสนา ,๒๕๓๙. กรมยุทธศึกษา. กองบัญชาการทหารสูงสุด, สมเด็จพระนเรศวรมหาราช. กรุงเทพฯ:ประชุมชาง จํากัด. บริษัท , ๒๕๔๘. กรมศิลปากร. พระพุทธรูปสําคัญ . พิมพ ครั้งที่ ๒ : กรุงเทพ. กรมศิลปากร , ๒๕๕๔. กรมศิลปากร. พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา เลมที่ ๑ ,กรุงเทพฯ .กองวรรณคดีและ ประวัติศาสตร, ๒๕๓๔. กระทรวงศึกษาธิการ. พระเจาอยูหัว . กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัดชวนการพิมพ ,๒๕๒๗. กัลยาณิวัฒนา .สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร, เจานายเล็ก ๆ – ยุวกษัตริย. พิมพครั้งที่ ๘ . กรุงเทพฯ : บรรณกิจ , ๒๕๕๐. กองขาวในพระองค .สํานักราชเลขาธิการ , ขาวในพระราชสํานัก พระบรมมหาราชวัง .วันเสารที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๗, สําเนาเอกสาร. ............สํานักราชเลขาธิการ , ขาวในพระราชสํานัก พระบรมมหาราชวัง .วันพุธที่ ๒๓ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๑๓ , สําเนาเอกสาร. ............สํานักราชเลขาธิการ , ขาวในพระราชสํานัก พระบรมมหาราชวัง .วันอังคารที่ ๒๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๙ , สําเนาเอกสาร. ............ สํานักราชเลขาธิการ , ขาวในพระราชสํานัก พระบรมมหาราชวัง .วันศุกรที่ ๒ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๒๒, สําเนาเอกสาร. ............สํานักราชเลขาธิการ , ขาวในพระราชสํานัก พระบรมมหาราชวัง .วันพุธที่ ๒๕ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๒๕ . สําเนาเอกสาร. กําหนดการเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมราษฎรจังหวัดตาง ๆ ภาคเหนือ วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ ถึง วันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๐๑ . ม.ป.ท. , ม.ป.ป. ขวัญทอง สอนศิริ. ตามรอยบรรพกษัตริยไทย. ใตเบื้องพระยุคลบาทในเมืองพิษณุโลก . เอกสารประกอบการตรวจสอบขอมูล ประชาพิจารณ .พิษณุโลก , ๒๕๔๙ . ขวัญทอง สอนศิริ. พุทธนาคบริรักษ ๘๔ พรรษาสยามบรมราชกุมารี , กองงานในพระองคสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สํานักราชเลขาธิการ : เพชรเกษมการพิมพ , ๒๕๔๖ ขวัญทอง สอนศิริ . ตามรอยบรรพกษัตริยไทย. ใตเบื้องพระยุคลบาทในเมืองพิษณุโลก . เอกสารประกอบการตรวจสอบขอมูล ประชาพิจารณ. พิษณุโลก . ๒๕๔๙ .


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

459

............บางกลางหาว บางกลางทาว เขาเลากันวาอยางไร .เอกสารประกอบคําบรรยาย. พิษณุโลก, : ม.ป.พ , ๒๕๕๕. ............บางยางคือนครไทยจริงหรือ .เอกสารประกอบคําบรรยาย . พิษณุโลก : ม.ป.พ , ๒๕๕๕ ............ พระเครื่องเมืองพิษณุโลกยอดนิยมเมืองพิษณุโลก .เอกสารประกอบคําบรรยาย : ม.ป.พ. ,๒๕๕๔ ............พอขุนศรีอินทราทิตย (พอขุนบางกลางทาว) พระปฐมบรมกษัตริย ผูสรางชาติไทย . เอกสารประกอบการตรวจสอบขอมูล ประชาพิจารณ ,พิษณุโลก : ม.ป.พ. , ๒๕๕๓ . ............สิ่งละอันพันละนอย รอยเรียงเรื่องเมืองสองแคว, ที่ระลึก แขงเรือสงกรานต สรงนํ้าพระมหาธาตุ พระพุทธชินราช เมืองพิษณุโลก ; ม.ป.พ. , ๒๕๕๔. ............๔๐๐ ป แหงการสวรรคต สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พ.ศ. ๒๑๔๙ – ๒๕๔๘ .พิษณุโลก : ม.ป.พ. , ๒๕๔๘ . ขุนปทุมโรคประหาร.พลตรี , สมุดภาพพระราชประวัติ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช. พิษณุโลก : โพกัส พริ้นติ้ง จํากัด .บริษัท. ๒๕๕๓. คณะกรรมการฝายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ . พระแสงราชศัสตราประจําเมือง. กรุงเทพ : เกรทโปร กราฟฟค จํากัด. บริษัท , (เนื่องในมหามงคลสมัยฉลองสิริราชสมบัติ ครบ ๕๐ ป พุทธศักราช ๒๕๓๙ ) , ๒๕๓๙. คณะสงฆจังหวัดพิษณุโลก, งานฉลองพัดยศเปรียญธรรม ๙ ประโยค พระมหาระวัง วชิรญาโณ ป.ธ.๙.,พธ.บ. ๓ - ๔ กรกฎาคม ๒๕๑๔ . พระนคร : มิตรเจริญการพิมพ . ๒๕๑๔. คณะสงฆวัดสระเกศ .เศรษฐศาสตรตามแนวพุทธศาสตร พระธรรมปฎก ( ป.อ. ปยุตฺโต ) พิมพเปน อนุสรณ พระเมธีสุทธิพงศ ( ระวัง วชิรฺาโณ ป.ธ.๙ , ph.d ) .มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย :โรงพิมพ . ๒๕๔๐. จังหวัดสุโขทัย. สุโขทัยใตรมพระบารมี , มปท. ม.ป.ป. ,๒๕๔๔. จิรวัฒน พิระสันต ,รศ. ดร. ศิลปกรรมทองถิ่น จังหวัดพิษณุโลก .กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย , ๒๕๔๗. จิราภรณ สถาปนะวรรธนะ , รศ. ดร. ประวัติศาสตรสังคมเมืองพิษณุโลก ๒๔๗๕ ถึง ๒๕๐๓ .พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร, ๒๕๔๒. ชัยรัตน โมไนยพงศ , วัตถุมงคลเครื่องรางของขลัง เลม ๑ ,กรุงเทพ ฯ :มิตรเจริญการพิมพ ดํารงราชานุภาพ , สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยา . ไทยรบพมา ,กรุงเทพ : โรงพิมพรุงวัฒนา. ๒๕๑๔ ตรียัมปวาย , ปริอรรถาธิบายแหงพระเครื่องเลมที่ ๒ เรื่อง พระนางพญาและพระเครื่องสําคัญ จังหวัด พิษณุโลก, กรุงเทพ :สํานักพิมพคลังวิทยา , ปราณี แจมขุนเทียน,ร.ศ. , แนวทางอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมเมืองพิษณุโลก. พิมพเนื่องในโอกาส ที่พระศรีรัตนมุนี เลื่อนสมณศักดิ์เปน พระราชารัตนมุนี ๕ ธันวาคม ๒๕๓๕. เชียงใหม : ส.ทรัพยการพิมพ , ๒๕๓๕.


460

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระมหานิรุตต ฐิตสฺวโร . คูมือสมณศักดิ์ พัดยศ ฉบับสมบูรณ . กรุงเทพฯ :ทรงธรรม . สํานัก , ๒๕๕๐ , มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช , ๒๕๔๗. พระราชดํารัสและประกาศบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช.พระนคร : โรงพิมพทา พระจันทร, ๒๕๐๙. พระราชวังจันทร “ วังนเรศวร ” เมืองพิษณุโลก ที่ประสูติ ประทับของสมเด็จพระนเรศวร .กรุงเทพฯ, : มติชน จํากัด ( มหาชน ) . บริษัท , ๒๕๔๖. พระราชหัตถเลขา ฉบับพงศาวดาร. พระนคร : อักษรสัมพันธ . โรงพิมพ , ๒๕๐๕. พวงทอง สุดประเสริฐ . ประวัติศาสตรเมืองพิษณุโลก . พิษณุโลก , วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม พิษณุโลก,๒๕๒๖. ภาวาส บุญนาค .พระปรมาภิไธย สมเด็จพระมหากษัตริยแหงกรุงรัตนโกสินทร ,กรุงเทพฯ . จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย . โรงพิมพ , ๒๕๔๓ . มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก . พิธีพระราชทานปริญญาบัตรแกนิสิตและนักศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ๒๘มิถุนายน ๒๕๑๙ , กรุงเทพ :พิฆเนศ . โรงพิมพ , ๒๕๑๙ รอยแกว สายยิ้ม . มณีวิสุทธิ์ พระพุทธชินราช .กรุงเทพฯ : ธนาเพส , ๒๕๕๔. รังสรรค วัฒนะ , ผ.ศ. , มหาวิทยาลัยนเรศวร บันทึกจากวิทยาลัยวิชาการพิษณุโลก ถึง มหาวิทยาลัยนเรศวร. กรุงเทพ : เนติกุคการพิมพ , ๒๕๓๗. โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม . สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ๑๐๐ ป พิษณุโลกพิทยาคม พิธีจักรพรรดิมหาพุทธาภิเษก ( ครั้งที่ ๓ ของกรุงรัตนโกสินทร ) ๓ พฤษภาคม ๒๕๔๒ , พิษณุโลก :โรงพิมพรัตนสุวรรณ ๓ , ๒๕๔๒. เลาขานถึงวันวาร ยั่งยืนนาน ๖๐ ป อนุสรณโรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก . พิษณุโลก : ตระกูลไทย . โรงพิมพ , ๒๕๔๓. วศิน ปญญาวุธตระกูลและคนอื่นๆ . โครงการพัฒนาหอประวัติศาสตรมหาวิทยาลัยนเรศวร (ระยะที่ ๑) . พิษณุโลก : โรงพิมพตระกูลไทย, ๒๕๕๕ . วัดเบญจมบพิตร .ประวัติวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม .กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน ) . บริษัท , ๒๕๕๓ . วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร . ที่ระลึกฉลองสัญญาบัตรพัดยศ ที่ พระธรรมเสนานานุวัตร ๒๓ – ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๔๙ .พิษณุโลก, ๒๕๔๙. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร .ที่ระลึกทําบุญอายุ ๖ รอบ พระราชรัตนรังษี โครงการสัมมนา เรื่องวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร ,พิษณุโลก . ๒๕๒๕. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร. พระพุทธชินราช . กรุงเทพฯ :บางกองสาสน ,๒๕๔๘. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร. ๖๕๐ ปพระพุทธชินราช . พิษณุโลก :แสงอักษรการพิมพ, ๒๕๕๐. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร. อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ พระพิษณุบุราจารย (แพ ปานกลิ่น) พากุโล ป.๖ อดีตเจาคณะจังหวัดพิษณุโลกและ เจาอาวาสวัดพระศรีรัตน มหาธาตุ, กรุงเทพฯ : มิตรสยาม . โรงพิมพ . ๒๕๑๖ .


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

461

วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม ,การสัมมาประวัติศาสตรเมืองพิษณุโลก .โดยสํานักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรม แหงชาติรวมกับวิทยาลัยครูพิบูลสงคราม พิษณุโลก . พิษณุโลก: วิทยาลัยครู พิบูลสงคราม พิษณุโลก, ๒๕๒๒. ศรีศักร วัลลิโภดม . ลุมนํ้านาน ประวัติศาสตรโบราณคดี ของพิษณุโลก “เมืองอกแตก”. กรุงเทพฯ :มติชน จํากัด ( มหาชน ) . บริษัท , ๒๕๔๖. สมมตอมรพันธุ .พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระ . เรื่องตั้งพระราชาคณะผูใหญในกรุงรัตนโกสินทร เลม ๑ . กรุงเทพ :กรมศิลปากร , ๒๕๔๕. สาหรี แพทยกุล, คุณหญิง. พลเอกสําราญ แพทยกุล , กรุงเทพ : ป.สัมพันธพาณิชย . หจก ,๒๕๒๙. สํานักงานเอกลักษณแหงชาติ. ราชาศัพท . กรุงเทพฯ : ดานสุธาการพิมพจํากัด ,๒๕๕๕. สํานักพระราชวัง. ภาพยนตรสวนพระองค ขาวการเสด็จพระราชดําเนิน จังหวัดตาง ๆภาคเหนือ วันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ ถึง วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๐๑. สํานักพระราชวัง. สิ่งของในการเสด็จประพาสและพระราชทานพระแสงราชศัสตรา สําหรับเมือง เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๔๔.กรุงเทพ : กวงเชียง เฟรมแอนดซัพพลาย. บริษัท . ๒๕๕๓ . สํานักพระราชวัง . เสด็จ ฯ เยี่ยมราษฎร พ.ศ. ๒๔๙๘ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. ๒๕๐๑ ภาคเหนือ พ.ศ. ๒๕๐๒ ภาคใต .กรุงเทพฯ :อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิซซิ่ง จํากัด .บริษัท , ๒๕๔๒. จํากัด .บริษัท , ๒๕๓๙. สํานักพระราชวัง .รวบรวม. เสด็จฯ เยี่ยมราษฎร. ครั้งที่ ๒ ,กรุงเทพ: อมรินทรพริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง , ๒๕๔๒. สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี . เครื่องราชอิสริยาภรณไทย . กรุงเทพฯ :ดานสุธาการพิมพ.บริษัท . (สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดพิมพเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๑๒ สิหาคม ๒๕๓๕ ) สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี . พระราชสัญจกร, กรุงเทพ: อัมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลิชซิ่ง จํากัด (มหาชน) ,๒๕๓๘. สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. เหรียญรัตนาภรณ. กรุงเทพฯ : ดานสุธาการพิมพ. บริษัท , ๒๕๕๐ สํานักราชเลขาธิการ . ประมวลพระราชกรณียกิจ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เลม ๑ ปพุทธศักราช ๒๕๙๓ – ๒๕๐๒ ,เลม ๒ ปพุทธศักราช ๒๕๐๓ – ๒๕๐๗ ,เลม ๔ ป พุทธศักราช ๒๕๑๖ – ๒๕๑๘ พิมพเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ ทรงเจริญ พระชนมพรรษา ๕ รอบ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๓๕ . กรุงเทพ : อมรินทร พริ้นติ้ง แอนด พับลิซซิ่ง จํากัด .บริษัท , ๒๕๓๙. สํานักราชเลขาธิการ. พระราชกรณียกิจ ตุลาคม ๒๕๑๒ – กันยายน ๒๕๑๓ . กรุงเทพฯ , สํานักราชเลขาธิการ. (ม.ป.ป ). สํานักราชเลขาธิการ. พระราชกรณียกิจ ตุลาคม ๒๕๑๓ – กันยายน ๒๕๑๔ . กรุงเทพฯ, สํานักราช เลขาธิการ, (ม.ป.ป ).


462

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สํานักราชเลขาธิการ. พระราชกรณียกิจ ตุลาคม ๒๕๑๕ – กันยายน ๒๕๑๖ . กรุงเทพฯ: ศิริมิตรการพิมพ, ๒๕๑๖. สํานักราชเลขาธิการ .พระราชกรณียกิจ ตุลาคม ๒๕๑๖ – กันยายน ๒๕๑๗. กรุงเทพฯ : ศิริมิตรการพิมพ, ๒๕๑๖. สํานักราชเลขาธิการ .พระราชกรณียกิจ ตุลาคม ๒๕๑๗ – กันยายน ๒๕๑๘. กรุงเทพฯ : ศิริมิตรการพิมพ, ๒๕๑๖. สํานักราชเลขาธิการ .พระราชกรณียกิจ ตุลาคม ๒๕๑๘ – กันยายน ๒๕๑๙. กรุงเทพฯ : ศิริมิตรการพิมพ, ๒๕๑๖. สํานักราชเลขาธิการ .พระราชกรณียกิจ ตุลาคม ๒๕๒๐ – กันยายน ๒๕๒๑. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๑ สํานักราชเลขาธิการ .พระราชกรณียกิจ ตุลาคม ๒๕๒๑ – กันยายน ๒๕๒๒. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๑. สํานักราชเลขาธิการ .พระราชกรณียกิจ ตุลาคม ๒๕๒๒ – กันยายน ๒๕๒๓. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๑. สํานักราชเลขาธิการ.พระราชกรณียกิจ ตุลาคม ๒๕๒๔ – กันยายน ๒๕๒๕ .กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๑. สํานักราชเลขาธิการ. พระราชดํารัสและประกาศบวงสรวงสังเวยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช . กรุงเทพฯ : ทาพระจันทร .โรงพิมพ ,๒๕๑๗ . เสนอ นิลเดช , สองแควเมื่อวาน พิษณุโลกวันนี้ ,กรุงเทพ : โรงพิมพอักษรสัมพันธ , ๒๕๓๒. หวน พินธุพันธุ , พิษณุโลกของเรา . กรุงเทพฯ : โรงพิมพกกรุงสยามการพิมพ , ๒๕๑๔.

ไหลายอุ บานเตาไห พิษณุโลก (ลายขูดขีดและปนติด) แหลงโบราณคดี เตาเผาระบายความรอนแนวนอน ริมแมนํ้านาน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

463

พจนสุนทรประกาศ หนังสือ พระบารมีปกเกลา ชาวพิษณุโลก จัดทําขึ้นมาตามดําริ ของ ดร.ปรีชา เรืองจันทร ผู  ว  า ราชการจั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก ลํ า ดั บ ที่ ๔๕ เป น สิ่ ง ที่ บ  ง บอกถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี เทิ ด ทู น บู ช าใน พระเจาอยูหัว และสถาบันพระมหากษัตริย ของคนพิษณุโลก ซึ่งเปนเมืองที่มีความสําคัญผูกพัน กับประวัติศาสตรการสรางชาติไทยมาทุกยุคสมัย ครั้งนี้เปนครั้งแรกที่เปนประวัติศาสตรของเมืองพิษณุโลก ที่ลูกหลานชาวพิษณุโลกทุกรูปนาม ไดรวมมือรวมใจกันในการสืบคน ภาพและขอมูลเกา ๆ ของบรรพชน ที่บันทึกเรื่องราวและเก็บรักษาภาพอันทรงคุณคาในพระมหากรุณาธิคุณของพระเจาอยูหัว และพระบรม วงศานุวงศในพระราชจักรีวงศ ที่ได เสด็จพระราชดําเนินประทับพระบาทไวเหนือแผนดินเมืองพิษณุโลก นับแตครั้งปฐม ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ จนถึง พ.ศ. ๒๕๒๕ รวมเปนเวลากวา ๕๕ ปที่ผานมาและเหตุการณ พิษณุโลกวิปโยค ในป พ.ศ. ๒๕๐๐ กอนเสด็จพระราชดําเนินครั้งปฐม หนึ่งปสี่สิบหาวัน ความสําเร็จในการจัดทําหนังสือเฉลิมพระเกียรติ ฯ ที่ชาวพิษณุโลกทุกรูปนาม มีสวนชวยผลักดัน ใหเกิดความสําเร็จในครัง้ นี้ ประกอบดวย นางอัมพร อยูค ง ทายาท นายพูนผล ศรีสมวงษ คหบดี ผูส ะสม กลองถายรูปและชื่นชอบการบันทึกภาพรายละเอียดตาง ๆ ในอดีต อันเปนภาพประวัติศาสตรที่ทรงคุณคา ยิง่ ของเมืองพิษณุโลกในปจจุบนั รศ. สาลืนี (สุวจั นานนท) วรบัณฑูร หองภาพเมไล หองภาพมิตรภาพ รานบรรณาลักษณ (ฉายาศรีฟา) รานแสงรัตนตรัย คุณวิชัย ศรีวันทนียกุล คุณสุพจน มั่นเจริญศรี รานแสงเจริญ รวมทั้งผูอาวุโส ซึ่งเปนปราชญ และหลักของเมืองพิษณุโลก หลาย ๆทาน อาทิ จ.ส.อ.ดร. ทวี บูรณเขตต นางยาใจ ภรรยา นายมนัส ไตรยสุนนั นท อดีตนายอําเภอวังทองพ.ศ.๒๕๐๑ นายเสริม รังสีวงษ อดีตปลัดอําเภอวังทอง คุณไชยยง เมฆจําเริญ สูทอลงกรณ กรุงเทพฯ นายเกรียง คชรัตน อดีต เสมียนตราจังหวัดพิษณุโลก พ.ศ.๒๕๐๑ สํานักราชเลขาธิการ อาทิ นายสนอง บูรณะ รองราชเลขาธิการ นายอินจันทร บุราพันธ รองราชเลขาธิการ คุณจันทนี ธนะรักษ รองราชเลขาธิการ นายประยูร ผองแผว รองราชเลขาธิการ นายดิสธร วัชโรทัย รองเลขาธิการพระราชวัง นายสําเริง เอี่ยมสะอาด รองราช เลขานุการ ในพระองคสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี นายวิรัช โพธิ์พุก นิติกร ผูทรงคุณวุฒิ (๑๐) ศูนยสารสนเทศ ไอซีที่ สํานักราชเลขาธิการ (หองสมุดเฉพาะสํานักราชเลขาธิการ เดิม) ฝายชางภาพสวนพระองค สํานักพระราชวัง พลเอกมนัส คลายมณี นายทหาร นักรบกลาแหงยุทธการบาน รักไทย ขวัญใจประชาชนในพื้นที่สีชมพู นายชัยชนะ ตัญจพัฒนกุล อธิบดีผูพิพากษาภาค ๖ ดร.สวาง ภูพัฒนวิบูลย อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม นายไพโรจน เทพวัลย, นายธนากร บุญสุวรรณโณ และคณะ พระมหาธนศักดิ์ จินตฺกวี ป.ธ. ๘


464

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

รวมทัง้ ทุกหนวยงานทีใ่ หการสนับสนุนภาพและขอมูล อาทิ วัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิวหิ าารร พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติพทุ ธชินราช พิษณุโลก กองทัพภาคที่ ๓ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก มหาวิทยาลัยนเรศวร เขือ่ นนเรศวร สํานักงานประชาสัมพันธจงั หวัดพิษณุโลก เสมียนตราจังหวัด พิษณุโลก ที่ทําการปกครองจังหวัดพิษณุโลก สํานักงานจังหวัดพิษณุโลก โรงเรียน เเละ อบต.ชมพู คลังจังหวัด ศูนยพิษณุโลกศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก โดยเฉพาะอยางยิ่ง บุคลากรสําคัญ ในการประสานสัมพันธจนไดขอมูลอันทรงคุณคาจากผูอาวุโส และภาพเกาอันเปนประวัตศิ าสตรของบานของเมืองเมืองพิษณุโลกแตอดีต มาบันทึกไวในหนังสือพระบารมี ปกเกลา ชาวพิษณุโลก มากที่สุดในครั้งนี้ คือ นายยงยศ เมฆอรุณ อดีตรองผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก และรองประธานมูลนิธิสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นายขวัญทอง สอนศิริ รางวัลประกาศเกียรติคุณคนดี ศรีพิษณุโลก พ.ศ. ๒๕๔๙ รวมทั้งดวยนํ้าใจ ไมตรี ความรัก ความภาคภูมิใจในแผนดินเมืองพิษณุโลก อัน เปนแผนดินเกิด เมืองมารดร และ ความจงรักภักดี ตอสถาบันพระมหากษัตริย ผูเปนศูนยรวมจิตใจไทยทั้ง ชาติ ของคนพิษณุโลก ทุก ๆทานทุกรูปนาม ที่มีสวนรวมในการขับเคลื่อน ใหบังเกิดความสําเร็จและสมบูรณ ของหนังสือ พระบารมีปกเกลา ชาวพิษณุโลก เลมนี้ แบบ ปดทองหลังองคพระปฏิมา ดั่งบทเพลง พระราชนิพนธ ความฝนอันสูงสุดเปนปณิธาน รวมใหการสนับสนุน ดวยความสํานึก เทิดทูนบูชา ดวยเศียร เกลา ฯ ในฐานะ ขาของแผนดิน เพื่อประมวล เรียงรอยให หนังสือพระบารมีปกเกลาชาวพิษณุโลก เลมนี้ เปนจดหมายเหตุอนั ทรงคุณคาของเมืองพิษณุโลกและเฉลิมพระเกียรติฯ พระมหากษัตริยน กั พัฒนา ผูทรงงานหนักที่สุดในแผนดิน รวมกันสืบไป จัดทําโดย จังหวัดพิษณุโลก

ไหลายอุ บานเตาไห พิษณุโลก (ลายขูดขีดและปนติด) แหลงโบราณคดี เตาเผาระบายความรอนแนวนอน ริมแมนํ้านาน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

465

ตราจังหวัดพิษณุโลก สีมวงสีประจําจังหวัดพิษณุโลก (สีมวงคือสีผิว พระวรกายพระนารายณ) เทวรูปไมจํารัส ลงรักษปดทอง พระนารายณยุคนาค หนาบันพระวิหาร พระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก

ลงรักษปดทองเสา พระวิหารพระพุทธชินราช

ปฏิมากรรมหงสคาบดอกไม ปรางควัดจุฬามณี พิษณุโลก

ปฏิมากรรมพฤษชาติ ปรางควัดจุฬามณี พิษณุโลก

ไหลายอุ บานเตาไห ตําบลหัวรอ พิษณุโลก (ลายขูดขีดและปนติด)


466

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ : ISBN ๙๗๘ - ๖๑๖ - ๒๓๕ - ๑๗๔ - ๗ พิมพครั้งที่ ๑ : ๒๕๕๖ จํานวนพิมพ : ๒,๐๐๐ เลม ๔๘๒ หนา จัดทําโดย : จังหวัดพิษณุโลก หนวยงานรับผิดชอบ: สํานักงานจังหวัดพิษณุโลก / สํานักงานประชาสัมพันธจังหวัดพิษณุโลก ลิขสิทธิ์ : จังหวัดพิษณุโลก ประธาน : นายปรีชา เรืองจันทร ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก ที่ปรึกษา : พระธรรมเสนานุวัตร รองเจาคณะภาค ๕ : เจาอาวาสวัดวังทองวนาราม : พระมหาธนศักดิ์ จินตกวี : แมทัพภาคที่ ๓ : อธิบดีผูพิพากษาภาค ๖ : พลเอก ดร. ศิริ ทิวะพันธุ : รศ.ดร. มังกร ทองสุขดี : นายพันธเทพ ศรีวนิชย : นายเจน รัตนพิเชฏฐชัย : นายบุญธรรม เลิศสุขีเกษม : จาสิบเอก ดร.ทวี บูรณเขตต / นางสุเนตร ทองคําพงษ ฝายวิชาการ : นายยงยศ เมฆอรุณ / รศ.ดร.จิราภรณ สถาปนะวรรธนะ : นายมานพ ชูเตชะ / นายบัญชา วาจาสุวรรณ : นางสุเพ็ญ ทาเกิด / พันตรี ผดล อินเทศน : นายรอยแกว สายยิ้ม / นายธีระ พงศภิญโญโอภาส : พันตํารวจเอก พิษณุ รักการศิลป / นางสาวอรสา ตั้งใจจิต : นายอมร กวางทอง / นางสุวิมล เกตุศรีบุรินทร บรรณาธิการ : นายขวัญทอง สอนศิริ / นายวิรุฬ อัคคะ กองบรรณาธิการ : นางสาวพรรณี สัสดีแพง / นายอธิปไตย ไกรราช : นางปฏิมา ทองนอย / รศ.ดร.จิรวัฒน พิระสันต : ดร.วศิน ปญญาวุธตระกูล / นายสันต จันทรสมศักดิ์ : รศ. ประจักษ ฉายแสง / นายเจนต คันทะ : ผศ. ศิริสุภา เอมหยวก นางสาวยุพิน เกิดเจริญ : นายวิม เกาเทียน / นางพัชราภรณ เถื่อนเครีอวัลย : นายวรัญู บุญลือ / นางอรัญญา คุมครอง ภาพถาย : นายเสรีย ศรีพราย / นายขวัญทอง สอนศิริ นายธนากร บุณสุวรรณโณ / นายมานพ ชูเตชะ จัดพิมพ : โรงพิมพรัตนสุวรรณการพิมพ 055-258101


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.