51 100

Page 1

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

51

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระราชดําเนินผาน ประตูรั้วศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งจัดเปนเขตพระราชฐาน ทรงเสด็จพระราชดําเนินขึ้นสูอาคารศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งจัดเปนที่ประทับแรมถวาย

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสวยพระกระยาหารคํ่าแลว ทรงมีพระเมตตาคุณ เสด็จลง พลับพลาทอง หนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ทรงโบกพระหัตถ ใหราษฎรชาวจังหวัดพิษณุโลก ที่ยังเฝาทูลละอองธุลีพระบาท รอชื่นชมพระบารมีของทั้งสองพระองค อยางเนืองแนนจนมืดคํ่า แลว เสด็จพระราชดําเนิน ขึ้นสูที่ประทับแรม ชั้น ๓ มุขหนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก


52

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พลับพลาทอง ศาลาทรงไทยตรีมขุ ไมสกั มุขหนาบันทัง้ สามดาน ประดิษฐานอักษรพระปรมาภิไธย ยอ ภ.ป.ร. ภายใตพระมหาพิชัยมงกุฎ มีพระรัศมี บนพานทอง พรอมลายกนกไทย สองขาง ประกอบ ดวย คันทวยไมสักแกะสลัก ปดทองงดงาม พรอมราชวัตร พรอมฉัตรทอง เครื่องสูง ๙ ชั้น ๔ มุมๆ ละ ๓ คัน รวมฉัตร ๑๒ คัน กั้นทั้งสี่ทิศ (บอกเขตมณฑลพิธี ที่ประทับ) ชาวพิษณุโลกจัดสรางถวาย พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงประทับ ในการเสด็จพระราชดําเนินทรง เยี่ยมราษฎรชาวจังหวัดพิษณุโลก ครั้งปฐม วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ (พลับพลา คือทีป่ ระทับชัว่ คราวสําหรับพระมหากษัตริย สรางขึน้ สําหรับงานพิธกี ลางแจงหรือเปนทีป่ ระทับชัว่ คราว พลับพลาโถง คือ พลับพลาที่ไมมีฝา)


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

53

สังเวยพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวร เทพารักษ เมืองพิษณุโลก ครั้งปฐม

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชืนีนาถ ทรงสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ เสด็จฯ โดยรถยนตพระที่นั่ง ถึง ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก ในการพระราชพิธีสังเวย พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ เทพารักษ วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๐๑ เวลา ๐๙.๓๕ น.เปนการเสด็จพระราชดําเนิน ถวายราชสักการะพระบรม รูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เปนครั้งแรก


54

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จขึน้ ศาลสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ทรงพระสุหรายสรง พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ เทพารักษ ทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งราชสักการบูชา และ สังเวย พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ เทพารักษ แลวพระราชทานตาดสีชมพู ใหเจาพนักงานผูกที่หนา ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราช วังจันทน เมืองพิษณุโลก สถานที่พระราชสมภพ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผูทรงกอบกูเอกราช ของชาติไทย เมื่อป พุทธศักราช ๒๕๐๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

55


56

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงจุดเครื่องนมัสการทายที่นั่ง เครื่องราชสักการะ พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และเทพารักษ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงสังเวยพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ เทพารักษ พระราชวังจันทน จังหวัดพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

57

สมาคมนักเรียนเกาพิษณุโลกพิทยาคม ทูลเกลา ฯ ถวายพระพุทธชินราช จําลองและรายงานสมาคมฯ และ ภาพพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช องคแรกของเมืองพิษณุโลก


58

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระพุทธชินราชจําลอง เสาร ๕ พ.ศ.๒๔๙๖ และรายงานสมาคม ฯ สิ่งที่ทูลเกลาฯ ถวายและคณะกรรมการสมาคมนักเรียนเกาพิษณุโลกพิทยาคม (กอตั้ง ๒๑ มกราคม ๒๔๗๗ ) อาทิ นายสุรินทร ดําริสถลมารค นายอุทัย แสงศิริ นายเสรี ปุญญฤทธิ์ (นายกสมาคมนักเรียนเกา ฯ คนที่ ๖) นายอรุณ ภักดิ์ประไพ นายพานิช ไทยดี เปนตน เฝาฯ รับเสด็จ ฯ

นายสุรินทร ดําริสถลมารค นายกสมาคมนักเรียนเกาพิษณุโลกพิทยาคม ลําดับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๕๐๑) และคณะฯ พรอม นายเจษฏ ปรีชานนท อาจารยใหญโรงเรียนพิษณุโลก พิทยาคม นายเชาว บุญอินทร เฝาฯ รับเสด็จฯ พรอมโตะหมู ถวายราชสักการะทรงพระเจริญ ที่หนา ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ศาลเทพารักษ) ศาลไมเกา พระราชวังจันทน ซึ่งขณะนั้นปกอักษรที่หนาอกเสื้อ (พ.ล. ๑) คือ เปน ลําดับที่ ๑ ของสถานศึกษาหรือโรงเรียนที่กอตั้งในจังหวัดพิษณุโลก (พ.ศ. ๒๔๔๒ )


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

59

สมาคมนักเรียนเกาพิษณุโลกพิทยาคม ทูลเกลา ฯ ถวายพระพุทธชินราช จําลองและรายงานสมาคมฯ และ ภาพพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช องคแรกของเมืองพิษณุโลก

นายหิรัณย วิจารณพล อดีตผูชวยผูบริหารโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม (พ.ล.๑ ) และคณะครู นักเรียน เฝาฯ รับเสด็จฯ

นักเรียนโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ( พ.ล.๑ )ในเครื่องแบบลูกเสือ ตั้งแถว รอรับเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ในการพระราชพิธีสังเวยพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ เทพารักษ พระราชวังจันทน โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑


60

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระราชพิธสี มโภชพระพุทธชินราช ตามราชประเพณี พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั สมเด็จ พระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชดําเนิน ในการ พระราชพิธสี มโภชพระพุทธชินราช ตามราช ประเพณีที่ สมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราชเจา แตโบราณทรงปฏิบตั ิ ณ วัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก สถาปนาเปนพระอารามหลวง ชั้นเอก ในป พ.ศ. ๒๔๕๘ เปนการเสด็จพระราชดําเนิน นมัสการพระพุทธชินราชเปนครั้งที่ ๒ นับแตเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

61

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระสุหราย สรงพระพุทธชินราช พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ถวายพัดรัตนาภรณ พระพุทธชินราช เปนพุทธบูชา ในฐานะทรงเปนพุทธมามกะ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเปลื้องสายสะพายอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ ถวายพระพุทธชินราชเปนพุทธบูชา

ทรงปฏิบัติตามราชประเพณีที่สมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราชเจาทรงปฏิบัติบูชาเปนราชประเพณี สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงเปลื้องผาทรงสะพักถวายพระพุทธชินราชเปนพุทธบูชา


62

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระสุหรายสรง พระพุทธชินราช ตามราชประเพณี


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

63

สายสะพาย และ ดวงตรามหานพรั ต น เครื่ อ งราชอิ ส ริ ย าภรณ อั น เป น โบราณมงคล นพรัตนราช วราภรณ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเปลื้อง ถวายพระพุทธชินราช เปนพุทธบูชา ตามราชประเพณีโบราณ ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๗ องคพระราชทานนาม ภูมิพลอดุลยเดช ทรงปฏิบัติบูชา ในป พ.ศ. ๒๔๖๙

ผาทรงสภัก (คําเดิม ในพระราชหัตถเลขา) ปจจุบัน ผาทรงสะพัก (ผาหม ผาสไบ เฉียง) พานธูป เทียน เครือ่ งสักการบูชา และ ตนไมทอง ตนไมเงิน ทีท่ รงถวายเปนพุทธบูชา ในฐานะพุทธศาสนูปถัมภก (พุทธมามกะ)


64

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระราชรัตนมุนี ( แชม จนฺทาโภ ป.ธ. ๗ ) และพระวรญาณมุนี ( ฟอน จินฺตามโย ป.ธ.๖ )วัดพระศรี รัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร รับถวายผาไตรและยาม ภ.ป.ร. จากพระหัตถพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ใน การพระราชพิธีสมโภชพระพุทธชินราช

พระพิศาลธรรมภาณี (เชื้อ สุขมวง) วัดกระบังมังคลาราม ตําบลหอกลอง อําเภอพรหมพิราม จังหวัด พิษณุโลก รับถวายผาไตรและยาม ภ.ป.ร. จากพระหัตถพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในการพระราชพิธี สมโภชพระพุทธชินราช พระสงฆ ๒๐ รูป รับถวาย ผาไตร และ ยาม แลวออกมาครองผาเสร็จแลว ถวายศีล แลวเจริญพระพุทธมนต

พระสุวรรณวิสุทธิคุณ ( ทองปลิว โสรโต ) วัดจอมทอง อ.เมืองพิษณุโลก (แถวหนา)พระครูวิจารณ ศุภกิจ (มวน) วัดตลาดชุม อ.วังทอง พระครูสถิตยวรี ธรรม (รอด ฐิตวิรโิ ย) วัดสันติกาวาส อ.พรหมพิราม พระครู ศรีวริ ยิ าภรณ ( วิไล )วัดศรีวสิ ทุ ธาราม พระครูนยิ มสีลาจารย (เฮียง) วัดทามะปรางค อ.เมืองพิษณุโลก พระครู เมธาประยุต (เชื่อม เกสโว) วัดโบสถ อ.วัดโบสถ พระครูประพันธสีลคุณ วัดบางสะพาน อ.วังทอง พระครู ประภัสสรศีล วัดหัวรอง อ.นครไทย ฯลฯ เจริญพระพุทธมนต ถวาย


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

65

พระสงฆเจริญพระพุทธมนตถวายจบแลวพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงประเคนภัตตาหาร

พระสงฆสมณศักดิ์ ๒๐ รูป รับพระราชทานฉัน (สํารับหลวง) ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให พระบรมวงศานุวงศ แมทัพภาคที่ ๓ ผูรักษาการในตําแหนง ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก และ ขาราชการชั้นผูใหญ ประเคนภัตตาหาร


66

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงถวายจตุปจจัยไทยธรรม (ถวายใบปวารณา และเครื่องสมณบริโภค ) ทรงหลั่งทักษิโณทก พระสงฆถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ถวายพระพรลา


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

67

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงจุดเทียนชนวนพระราชทานแกผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก พระราชทานอุทิศจุดดอกไมเพลิง ถวายเปนพุทธบูชา ที่หนาพระวิหารพระพุทธชินราช ตามราชประเพณี


68

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯให คณะพราหมณและโหรหลวง และพระบรมวงศานุวงศ ขาราชการ ชั้นผูใหญ เบิกแวนเวียนเทียนสมโภชพระพุทธชินราช ถวายเปนพุทธบูชา ตามราชประเพณี คติพราหมณ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

69

ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯให คณะพราหมณและโหรหลวง และพระบรมวงศานุวงศ ขาราชการชั้นผูใหญ เบิกแวนเวียนเทียนสมโภชพระพุทธชินราช ถวายเปนพุทธบูชา ตามราชประเพณี คติพราหมณ

พราหมณจลุ เจิมพระพุทธชินราช และติดใบมะตูม หลังจาก ดับเทียนแวนเวียนเทียนสมโภช ครบ ๓ รอบ เวียนเทียนสมโภช การเวียนเทียนในพระราชพิธี ใชเทียนติดกับแวนเทียน เวียนรอบบุคคล หรือ ปูชนียวัตถุสถาน ๓ รอบ (เวียนขวา ) เพื่อใหเปนสิริมงคลตามคติพราหมณ ประกอบดวย บายศรีปน ๕ ชั้น ประกอบดวย บายศรีแกว ๑ (กลาง) บายศรีทอง ๑ (ซาย) บายศรีเงิน ๑ (ขวา) ใสขาวตอก ดอกไม มงคล อาทิ ดอกจําปา ดอกจําป ดอกรัก ดอกมะลิ ดอกเข็ม ดอกกุหลาบ ฯลฯ มะพราวออน ๓ ผล และ ขันแกว ทอง เงิน ใสขาวสารสําหรับปกแวนเทียน ประกอบดวย แวนแกว แวนทอง แวนเงิน อยางละ ๕ แวน ติดเทียนขี้ผึ้ง แวนละ ๓ เลม รวม ๑๕ แวน และสังขนํ้าเทพมนต ใบมะตูม โถแปงเจิม และใบพลูดับเทียน


70

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ตนไมทอง ตนไมเงิน สูง ๓๓ เซนติเมตร แทนโลหะ สูง ๖ เซนติเมตร ประดับอักษร พระปรมาภิ ไ ธยย อ ภ.ป.ร. และพระมหาพิชัยมงกุฎ ดานหลังจารึกขอความวา พระบาทสมเด็ จ พระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ถวายเปนพุทธบูชาพระพุทธชินราช เนื่องในโอกาสเสด็จ พระราชดําเนินทรงเยี่ยมราษฎรภาคเหนือ พุทธศักราช ๒๕๐๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

71

ยาม ภ.ป.ร. พระราชทานถวายพระสงฆ ๒๐ รูป ในการพระราชพิธสี มโภชพระพุทธชินราช พุทธศักราช ๒๕๐๑ พระครูรังสีธรรมประโพธ (หรั่ง ยสวณฺโต) เจาคณะอําเภอบางกระทุม และ เจาอาวาสวัดสามเรือน ตําบลนครปาหมาก อําเภอบางกระทุม จังหวัดพิษณุโลก ๑ ใน พระสงฆสมณศักดิ์ ๒๐ รูป ไดรบั พระราชทาน ถวาย ผาไตรและยาม ภ.ป.ร. จากพระหัตถพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และรับพระราชทานฉัน เจริญ พระพุทธมนต ในการพระราชพิธสี มโภชพระพุทธชินราช ณ พระวิหารพระพุทธชินราช วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ (ภาพนี้ ถายเมื่อ ป พ.ศ. ๒๕๐๖ พระครูรังสีธรรมประโพธ สิริอายุ ๕๕ ป )

พระวรญาณมุนี ( ฟอน จินฺตามโย ป.ธ. ๖ ) รับถวายจตุปจจัย ในการพระราชพิธสี มโภชพระพุทธชินราช ณ พระวิหารพระพุทธชินราช เมือ่ วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ พระพิษณุบุราจารย นรเทพบริหาร สังฆปาโมกข (แพ พากุโล) เจาอาวาสวัดพระศรีรัตน มหาธาตุวรมหาวิหารและ เจาคณะจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเปน พระราชาคณะชั้นสามัญ (เปรียญ) รูปแรก ของชาวพิษณุโลก ใน แผนดินรัชกาลที่ ๙ ในป พ.ศ. ๒๔๙๐ พระสงฆ ที่ไดรับพระราชทานผาไตร ยาม ภ.ป.ร. และ รับพระราชทานฉัน เจริญพระพุทธมนตถวายในการพระราชพิธสี มโภชพระพุทธชินราช (มาตุภมู ิ อําเภอพรหมพิราม)


72

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

73

เสด็จฯ คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ พระราชอนุสรณ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชืนีนาถ เสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ พลตรีประพันธ กุลพิจิตร แมทัพภาคที่ ๓ กราบบังคมทูลพระกรุณานําทหารและครอบครัวกลาว คําสัตยปฏิญาณ พระราชทานพระบรมราโชวาท ลงพระปรมาภิไธยและพระนามาภิไธย ในแผนศิลา วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ ณ อาคารสโมสร กองทัพภาคที่ ๓ เกา


74

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

อาคารกองบัญชาการภาคทหารบกที่ ๓ สถานที่ ขาราชการทหาร เฝา ฯ ถวายสัตย ปฏิญาณ และได รื้อไปเพื่อกอสรางอาคาร ใหม ขึ้นแทนในราวป พ.ศ. ๒๕๐๒ (เดิม คือ อาคารโรงพยาบาลเชลลแมน ของ มิชชั่นนารี ที่เลิกกิจการไปและยกอาคารให กระทรวงกลาโหม


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

75

พระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระนามาภิไธย สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ในแผนศิลา พระราชอนุสรณ ในการเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยม คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑

พระราชอนุสรณ สถานที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน ประทับ บนพลับพลา พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให ขาราชการทหารและครอบครัว ถวายสัตยปฏิญาณ และพระราชทานพระบรมราโชวาท วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ เวลา ๑๔.๓๐ น. ที่หนา อาคารกองบัญชาการกองทัพภาคที่ ๓ คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในปจจุบัน พลตรีประพันธ กุลพิจิตร ทูลเกลาฯ ถวาย ภาพจิตรกรรมสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงพระคชาธาร ยุทธหัตถี ดวยสีนํ้ามันในกรอบไมสัก ฝมือการวาด ของ สิบโททวี บูรณเขตต


76

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระราชอนุสรณ เดิม ประดิษฐานอยู ณ อาคารสโมสร (สถานที่ตั้งพลับพลา ในป พ.ศ. ๒๕๐๑) ปจจุบันยายมาประดิษฐานที่หนา กองบัญชาการกองทัพภาคที่ ๓ คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวัดพิษณุโลก หลังจากปรับปรุงพัฒนาพื้นที่ และ รื้ออาคารเกา สรางอาคารกองบัญชาการใหมแลว เสร็จ ใหสงางามสมพระเกียรติคุณ สิบโททวี บูรณเขตต ไดรับมอบหมายจาก พลตรีประพันธ กุลพิจิตร เปนประติมากร ผูปนพระราชอนุสรณ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

77

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน ทรงเปดศาลยุติธรรมจังหวัดพิษณุโลก หลวงบริรักษจรรยาวัตร อธิบดีผูพิพากษาภาค ๖ กราบบังคมทูลพระกรุณา เสด็จพระราชดําเนิน ทรงลงพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย


78

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เสด็จฯ ทรงเปดศาลยุติธรรมจังหวัดพิษณุโลก อาคารศาลจังหวัดพิษณุโลก เปนอาคารทรงไทย จัตุรมุขสองชั้น คอนกรีตเสริมเหล็ก หนาบันมุข หนา ไดรับพระบรมราชานุญาตเชิญ พระครุฑประจําแผนดิน ประดิษฐาน พรอมตราตาชั่งบนพานสอง ชัน้ เปนเครื่องหมายราชการของกระทรวงยุติธรรม และคําวา ศาลจังหวัดพิษณุโลก กอสราง เมื่อวันที่ ๑ เมษายน ๒๔๙๙ แลวเสร็จ เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๐๐ งบประมาณคากอสราง ทั้งสิ้น ๑,๗๓๐,๐๐๐ บาท หลวงบริรกั ษจรรยาวัตร อธิบดีผพ ู พ ิ ากษาภาค ๖ (พ.ศ.๒๔๙๗ - ๒๕๐๒ ) เปนผูด าํ เนินการ จึงกราบ บังคมทูลฯ เชิญเสด็จฯทรงเปดศาลจังหวัดพิษณุโลก หลวงบริรักษจรรยาวัตร อธิบดีผูพิพากษาภาค ๖ นายเชา เฉลิมชวง ผูพิพากษาหัวหนาศาลจังหวัดพิษณุโลก (พ.ศ.๒๔๙๘ – ๒๕๐๐) และคณะผูพิพากษา ในสมัยนั้น (ภาพถาย วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๙๘)


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

79

รถยนตพระที่นั่ง เคลื่อนสู ศาลจังหวัดพิษณุโลก ตามถนนวังจันทนริมแมนํ้านานฝงตะวันตก

ศาลจังหวัดพิษณุโลก ทางฝงตะวันตกของแมนํ้านาน ที่ไดรับพระมหากรุณาธิคุณ จากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินทรงเปด เมื่อวันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑


80

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงลงพระปรมาภิไธยในสมุดเยี่ยม เสด็จฯ ทรงเปดศาลจังหวัดพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และ พระนามาภิไธย สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ในสมุดเยี่ยม เชิญเก็บรักษาไวที่ สํานักงานอธิบดีผูพิพากษา ภาค ๖ จังหวัดพิษณุโลกอยางสมพระเกียรติคุณ

81


82

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เสด็จ ฯ ทรงเยี่ยมกิจการโรงพยาบาลพุทธชินราชและตึกอานันทมหิดล แผนโลหะนูนสูง พระบรมสาทิสลักษณ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ ๘ ซึ่งเดิมเชิญติดอยู ใตปายชื่อ ตึกอานันทมหิดล (สราง พ.ศ. ๒๔๘๕ ) โรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก เชิญเก็บรักษาไวอยางสมพระเกียรติคุณ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก และตึกอานันทมหิดล วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๐๑

ตึกอานันทมหิดล และ เรือนคนไขโอสถชาย ( พ.พ. ๑) ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จทอดพระเนตร


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

83

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จ ฯ ทรงเยี่ยมโรงพยาบาลพุทธชินราช เรือนคนไขโอสถชาย (พ.พ. ๑) และ ทอดพระเนตร ตึกอานันทมหิดล ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ ๘ พระราชทานทรัพยสวนพระองค กอสรางไว

เดิมจังหวัดพิษณุโลกมีสถานรักษาพยาบาลของรัฐเพียงแหงเดียวคือ สุขศาลาเบญจมราชานุสรณ นอกเหนือ ไปจากโรงพยาบาลเชลลแมน ของคณะอเมริกันเพรสไบทีเรียน และปดกิจการในเวลา ตอมา ในป พ.ศ.๒๔๘๒ พ.ต.หลวงยุทธสารประสิทธิ์ ( เมีย้ น โรหิตเสรนี) ขาหลวงประจําจังหวัดพิษณุโลก ได ดําริสรางโรงพยาบาลขึน้ บริเวณสระแกว (กอสรางในสมัย พ.อ.พระศรีราชสงคราม(ศรี ศุขะวาที ) ขาหลวงคน ตอมา )และติดตอนายแพทย เบนทูล บุญอิต อดีตอาจารยคณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาลและผูอ าํ นวยการ โรงพยาบาลเชลลแมน มาเปนผูอํานวยการโรงพยาบาล โดยถือเอา วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน ๒๔๘๔ เปนวัน กําเนิดโรงพยาบาล ซึง่ ขอตัง้ ชือ่ ใหมโดยเพิม่ คําวา พุทธชินราช เพือ่ ความเปนสิรมิ งคล จึงชือ่ วา โรงพยาบาล พุทธชินราช พิษณุโลก (พ.พ.) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั อานันทมหิดล ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ พระราชทานทรัพย จํานวน ๑๐,๐๐๐ บาท สรางตึกผาตัดอานันทมหิดล ยาว ๑๐ เมตร กวาง ๘ เมตร พ.ศ. ๒๔๘๙ ทําพิธีวางศิลาฤกษ เรือนคนไขโอสถชาย (พ.พ. ๑) โดย พระมหาแพ พากุโล เจาคณะจังหวัด พิษณุโลก เปนประธาน สิ้นคากอสราง ๘๒,๕๓๐ บาท เปนอาคารในระยะแรกของ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก นับเปนพระมหากรุณาธิคุณ อยางหาที่สุดมิได แกชาวพิษณุโลกยิ่งนัก


84

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ตึกอํานวยการโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ที่สรางในยุคแรก พ.ศ. ๒๔๘๕ บนพื้ น ที่ สระแก ว สระนํ้ า ประวั ติ ศ าสตร คู  กั บ ทะเลแก ว เมื อ งพิ ษ ณุ โ ลก พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (ครั้งพระอิสริยยศ สยามมกุฎ ราชกุมาร) สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอเจาฟากรมพระยา นริศรานุวัติวงศ เคยเสด็จประพาส สระแกว สระแกว เคยเปนแหลงนํา้ สําคัญ ในการพลีกรรมตักนํา้ ศักดิส์ ทิ ธิ์ เพือ่ เสกเปนนํา้ สรงมูรธาภิเษก แต โบราณในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๖ พุทธศักราช ๒๔๕๔ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๗ พุทธศักราช ๒๔๖๘ และพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๙ วันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

85

เสด็จฯ ทรงเยี่ยมราษฎรอําเภอวังทอง พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย พระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินทรงเยี่ยมราษฎร ที่หนาที่วาการอําเภอวังทอง โรงเรียนพิณพลราษฏร จังหวัดพิษณุโลก วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ นายมนัส ไตรยสุนันท นายอําเภอวังทอง และหัวหนาสวนราชการ กราบบังคมทูลพระกรุณาฯ


86

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

87


88

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินทรงเยี่ยมราษฎรอําเภอวังทอง และ ซุมรับเสด็จ หนาที่วาการอําเภอวังทอง ที่จัดสรางถวายอยางสมพระเกียรติฯ

นายมนัส ไตรยสุนันท นายพุม สราญรมย ศึกษาธิการอําเภอวังทอง กับแผนพระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย พระราชทาน และ ถนนลูกรัง แยก จากถนนพิษณุโลก-วังทอง เลี้ยวเขาสู ที่วาการอําเภอวังทอง พรอมราษฎรที่มาเฝาฯ รับเสด็จ ฯ

พลับพลาตรีมุข ยอดมณฑป ที่ประทับ ในการเสด็จพระราชดําเนิน ที่ สนามหนาโรงเรียนพิณพลราษฏร และ อาคารที่วาการอําเภอวังทอง ซึ่งอยูทางทิศตะวันออกของ พลับพลารับเสด็จ ฯ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย พระราชทานชาวอําเภอวังทอง ๒๘ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๐๑ พระบารมีปกเกลา ฯ

89


90

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ศาลาสัญลักษณแหงสถานที่เสด็จพระราชดําเนิน เพื่อบําบัดทุกขบํารุงสุข เฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ หนาที่วาการอําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก เสด็จพระราชดําเนินทรงเยี่ยมราษฎร ชาวอําเภอวังทอง วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑

ที่วาการอําเภอปาหมาก หลังเกา กอนเปลี่ยนชื่อ อําเภอนครปาหมาก และเปน อําเภอวังทอง อําเภอวังทอง เดิมชื่อ อําเภอปาหมาก หรือ นครปาหมาก และยายมาตั้งที่ ตลาดชุม และภายหลัง เปลี่ยนชื่อเปน อําเภอวังทอง ในป พ.ศ. ๒๔๘๔ สวน นครปาหมากเดิม แยกตั้งเปน กิ่งอําเภอบางกระทุม ในป พ.ศ. ๒๔๗๓ และยกฐานะเปนอําเภอจนปจจุบัน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

91

ซุมรับเสด็จ ฯ ที่ปากทางเลี้ยวเขา สวนรุกขชาติวังนกแอน อําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก สภาพถนนลูกรังในขณะนั้น

รถยนตพระที่นั่ง ถึงบริเวณ หนาพลับพลา รับเสด็จ ฯ วนอุทยานวังนกแอน ซึ่งประกาศกอตั้งใน ป พ.ศ. ๒๔๙๘

เสนทางลูกรัง ที่ชาวจังหวัดพิษณุโลก และชาวอําเภอวังทอง รวมกันปรับปรุง และรดนํ้าที่ผิวถนน เพื่อลดฝุนละออง ในการเตรียมการรับเสด็จ ประทับรอยพระบาทไวเหนือแผนดินเมืองพิษณุโลก และ อําเภอวังทองเปนครั้งปฐม


92

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

รถยนตพระที่นั่ง ถึง หนาพลับพลา รับเสด็จ ฯ วนอุทยานวังนกแอน อําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ วนอุทยานวังนกแอน อําเภอวังทอง

คณะดนตรีนักเรียนพยาบาล โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ปที่ ๓ ขับรองเพลงประสานเสียงถวายการรับเสด็จฯ บริเวณ หนาพลับพลา รับเสด็จฯ วนอุทยานวังนกแอน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงประทับยืนทอดพระเนตรและทรงสดับการบรรเลงเพลงประสานเสียงอยางสนพระทัย

93


94

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงปลูกตนประดู สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงปลูกตนพะยอม บริเวณ หนาพลับพลารับเสด็จ ฯ วนอุทยานวังนกแอน อําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

95

สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จทอดพระเนตรความงามของนํ้าตกวังนกแอน ในการนี้ พระองคเจาวิภาวดีรังสิต ทรงเริ่มรับราชการสนองพระเดชพระคุณ ในป พ.ศ.๒๕๐๐ ตามเสด็จฯดวย


96

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ราษฎร ทูลเกลา ฯ ถวายพวงมาลัย ดอกไม และ ของปา ตลอดระยะทาง ที่หนาพลับพลา นํ้าตกวังนกแอน

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานชื่อ นํ้าตกวังนกแอน ใหมวา นํ้าตกสกุโณทยาน และศาลาสัญลักษณแหงสถานที่เสด็จพระราชดําเนิน เพื่อบําบัดทุกขบํารุงสุข เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษามหาราช

97


98

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ ประทับเสวยพระสุธารส บนพลับพลารับเสด็จฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานชื่อ นํ้าตกสกุโณทยาน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

99

พลับพลา ที่ เสด็จฯเสวยพระสุธารส และทรงพักพระอิริยาบถทอดพระเนตรทัศนียภาพ ความรื่นรมย ของนํ้าตกวังนกแอน หองปรุงพระสุธารส เคาเตอรไม วางพระสุธารส ในครั้งนั้น


100

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

นํ้าตกสกุโณทยาน ( วังนกแอน ) สวนรุกขชาติสกุโณทยาน อําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก

สวนรุกขชาติสกุโณทยาน อําเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลกริมถนนสายพิษณุโลก – หลมสัก หลั ก กิ โ ลเมตรที่ ๓๓ (ถนนสายนํ้ า ตก) เดิ ม เป น วนอุ ท ยานมี ชื่ อ ว า วนอุ ท ยานวั ง นกแอ น หลั ง จาก จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี (สมรสกับ ทานผูหญิงละเอียด พิบูลสงคราม คนพิษณุโลก บุตรีแมแชม พันธุกระวี)มาชมนํ้าตกวังนกแอน ประกาศเปน วนอุทยานวังนกแอน เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๙๗ ภายหลังไดรับพระราชทานนาม วา สกุโณทยาน จึงเปลี่ยนชื่อใหมเปน วนอุทยานสกุโณทยาน และเปน สวนรุกขชาติสกุโณทยาน ในป พ.ศ. ๒๕๐๔


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.