381 420

Page 1

381

¾ÃÐÁËÒ¡ÃسҸԤس ¾ÃÐÃÒª·Ò¹á¡‹¾Ê¡¹Ô¡Ã¨Ñ§ËÇÑ´¾ÔɳØâÅ¡


382

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระมหากรุณาธิคุณแก พสกนิกรชาวจังหวัดพิษณุโลก วันพฤหัสบดีที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๓๙ เวลา ๑๗.๓๙ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จออก ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให คณะบุคคลตางๆ เฝาทูลละอองธุลีพระบาท ตามลําดับดังนี้ - นายเกษม ชัยสิทธิ์ ผูว า ราชการจังหวัดสระแกว และคณะ เฝาทูลละอองธุลพี ระบาท นอม เกลานอมกระหมอมถวายยอดเสาหลักเมืองประจําจังหวัดสระแกวและแผนทองดวงเมือง เพือ่ ทรงพระสุหราย และทรงเจิม - นายสวัสดิ์ สงสัมพันธ ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก และคณะ เฝาทูลละอองธุลี พระบาทนอมเกลานอมกระหมอมถวายยอดหลักเมืองประจําจังหวัดพิษณุโลกและแผนทองดวงเมือง เพื่อทรงพระสุหรายและทรงเจิม - นายประยูร พรหมพันธ ผูวาราชการจังหวัดสุราษฎรธานี และคณะ เฝาทูลละอองธุลี พระบาทนอมเกลานอมกระหมอมถวายยอดเสาหลักเมืองประจําจังหวัดสุราษฎรธานีและแผนทองดวงเมือง เพื่อทรงพระสุหรายและทรงเจิม - นายเสริมศักดิ์ พงษพานิช ผูว า ราชการจังหวัดนครพนม และคณะ เฝาทูลละอองธุลพี ระบาท นอมเกลานอมกระหมอมถวายยอดเสาหลักเมืองประจําจังหวัดนครพนมและแผนทองดวงเมือง เพื่อทรง พระสุหรายและทรงเจิม

นายสวัสดิ์ สงสัมพันธ ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก กราบบังคมทูลพระกรุณา นอมเกลาฯ ถวายยอดหลักเมืองประจําจังหวัดพิษณุโลกและแผนทองดวงเมือง เพื่อทรง พระสุหรายและทรงเจิม


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

383


384

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมให สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จฯ แทนพระองค ในพิธีเปดศาลหลักเมืองพิษณุโลก วันอังคารที่ ๘ เมษายน ๒๕๔๐ เวลา ๑๗.๔๐ น. นายนิธิศักดิ์ ราชพิตร ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

385

เสาหลักเมืองพิษณุโลก เสาหลักเมืองพิษณุโลก สลักจากไมมงคล ๓ สวน ประกอบดวย ๑. สวน เสาจาก โคน ถึงลูกฟก ทําจากไมราชพฤกษ ๒. ทอนลูกแกว ทอนบน ทําจาก ไมชิงชัน ๓. ลูกแกวยอดบัวตูม ทําจาก ไมสักตาย พราย หลวงปูโงน โสรโย วัดพระพุทธบาทเขาลวก อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร พระมหาเถรรัตตัญู ผูเปนเอกในนวกรรมเปนผูแกะสลักเสาหลักเมือง พรอมกันนี้ หลวงปูโงน โสรโย นํา เสาหลักเมืองพิษณุโลก เขารวมในพิธีพุทธาภิเษก ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแกว) ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๘ พิธีวางศิลาฤกษศาลหลักเมือง วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๓๘ เวลา ๐๙.๓๙ น. สมเด็จ พระพุฒาจารย วัดสระเกศ กรุงเทพฯ นายสวัสดิ์ สงสัมพันธ ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก เปนประธานพิธี พิธีประดิษฐานเสาหลักเมือง บรรจุดวงเมืองสวมยอดหลักเมือง วันพุธที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๓๙ เวลา ๑๐.๐๙ น. สมเด็จพระพุฒาจารย (เกี่ยว) วัดสระเกศ กรุงเทพฯ นายสวัสดิ สงสัมพันธ ผูวาราชการ จังหวัดพิษณุโลก ประธานพิธี พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหจังหวัดพิษณุโลก สราง ศาลหลักเมืองได ตามหนังสือที่ มท.๐๒๐๑/๓๐๙๑๓ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๓๘


386

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

วัดนางพญา ศิลาพระฤกษพระราชทานอุโบสถ ภ.ป.ร. หลังแรกในสังฆมณฑลพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

387

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทาน แผนศิลาพระฤกษ กอสรางอุโบสถหลังใหม วัดนางพญา (ตนกําเนิดพระพิมพนางพญา) เมืองพิษณุโลก วันพุธที่ ๒๙ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๒ เวลา ๙ นาฬกา ๑๒ นาที เปนปฐมฤกษ จนถึงเวลา ๙ นาฬกา ๔๘ นาที เปนที่สิ้นสุดแหงฤกษ ลัคนาสถิตราศี มีน ปจจุบัน เชิญ แผนศิลาพระฤกษ ประดิษฐานที่ ผาทิพย ฐานชุกชี เบื้องหนา สมเด็จนางพญาเรือนแกว พระครูบวรชินรัตน (บุรัชย หรือ มวน ปุรตฺโต สุดเกตุ) อดีตเจา อาวาสวัดนางพญา นําศรัทธาประชาชนสรางถวายเปนพุทธบูชาในพระพุทธศาสนาและเฉลิมพระเกียรติฯ


388

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พระราชทาน พระฤกษ สรางพระอุโบสถ วัดนางพญา อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ณ วันพุธที่ ๒๙ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๑๒ เวลา ๙ นาฬกา ๑๒ นาที เปนปฐมฤกษ จนถึงเวลา ๙ นาฬกา ๔๘ นาที เปนที่สิ้นสุดแหงฤกษ ลัคนาสถิตราศี มีน ศิลาพระฤกษ ปจจุบันประดิษฐานที่ ผาทิพย ฐานชุกชีเบื้องหนา สมเด็จนางพญาเรือนแกว พระพุทธปฎิมากรประธานอุโบสถ ภ.ป.ร. วัดนางพญา (ตนกําเนิดพระพิมพนางพญา) อุโบสถวัดนางพญา สรางแบบสถาปตยกรรมวิหารหลังเดิม คือ ทรงโรง แบบอยุธยา มีเสาประธานใน ประกอบดวย ชอฟา ใบระกา หางหงสนาคสามเคียร


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

389

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให อัญเชิญ อักษรพระปรมาภิไธย ยอ ภ.ป.ร. ประดิษฐานทีม่ ขุ หนาบันอุโบสถวัดนางพญา ประติมากรรมปูน ป  น ลงรั ก ป ด ทองประดั บ กระจกสี ง ดงามสมพระเกี ย รติ คุ ณ ยิ่ ง นั ก อุ โ บสถวั ด นางพญา สร า งแบบ สถาปตยกรรมวิหารหลังเดิม คือ ทรงโรง แบบอยุธยา มีเสาประธานใน ประกอบดวยปูนปน ชอฟา ใบระกา หางหงสนาคสามเคียร ผนังอุโบสถหองคูหาพระประธาน เปนชองลมแบบสุโขทัย (ตาม แบบวิหารโบราณ เสาไมหลังเดิม ไมมีประตูหลัง และเชิงชาย มุขหนาบัน เชนดานหนา เปนเจดีย ยอไมสิบสอง โบราณ )


390

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบรมรูปสมเด็จพระมหาธรรมราชา และ พระวิสุทธิกษัตริย พระองคแรกของประเทศไทย ที่ วัดนางพญา พิษณุโลก วัดนางพญา ตนกําเนิดพระพิมพนางพญา เปนวัดโบราณคูเมืองพิษณุโลก พระวิสุทธิกษัตริย ทรงมีพระราชศรัทธาบูรณะคูกับ สมเด็ จ พระมหาธรรมราชา ทรงบูรณะวัดราชบูรณะเมื่อทรงเปน พระมหาอุปราชครองเมืองพระพิษณุโลก เมื่อพุทธศักราช ๒๐๙๑ และทรงสรางพระนางพญาบรรจุไวใน พุทธเจดียเปนพุทธบูชาในพระพุทธศาสนาและแจกแกทหารเพื่อบํารุงขวัญกําลังใจในการศึกสงครามใน สมัยนั้น วัดนางพญา เดิมไมมีอุโบสถมีแตวิหารโบราณประดิษฐานพระพุทธปฏิมากรโบราณศักดิ์สิทธิ์ ปูนปนลงรักปดทอง พรอมพระอัครสาวก ที่มีพุทธลักษณะงดงามองคหนึ่งของเมืองพิษณุโลก นามวา พระพุทธนางพญา ภายหลัง ไดรื้อวิหารเกาสรางเปนอุโบสถใหมขึ้น และบูรณะแปลงพุทธศิลป พระพุทธ นางพญา มาเปน สมเด็จนางพญาเรือนแกว ในปจจุบัน วัดนางพญา ขึ้นทะเบียนโบราณสถาน คือวิหาร และเจดีย ๒ องค เมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๙ และ พื้นที่ ๔ ไร ๓ งาน ๓๕ ตารางวา เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๔๔ พระพิมพนางพญา เปนพระเครือ่ งทีม่ ชี อื่ ของวัดนางพญา พิษณุโลก จัดเปนพระเนือ้ ดิน รูปทรงสามเหลีย่ ม ทีม่ พี ทุ ธคุณสูง เปนพระพิมพยอดนิยม หนึง่ ในชุด พระเบญจภาคี ยอดนิยมของเมือง ไทย ซึง่ ประกอบดวย พระสมเด็จวัดระฆังจักรพรรดิแหงพระเครือ่ งเมืองสยามพระนางพญาพิษณุโลก จึงเปรียบเสมือน ราชินีแหงพระเครื่องเมืองสยาม พระรอด ลําพูน พระผงสุพรรณ สุพรรณบุรี และ พระซุมกอ กําแพงเพชร


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

391

ภาพพระพุทธนางพญาเกา กอนบูรณะเปน สมเด็จนางพญาเรือนแกว ปรากฏ พระพิมพนางพญา ที่ปลายยอดเรือนแกว และ พระพิมพนางพญาเขาโคง วัดนางพญา ราชินีแหงเบญจภาคี สยามประเทศ พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ฉบับที่ ๑๒ เมือง พิศณุโลก (๑๗ ตุลาคม ๒๔๔๔) ความตอนหนึ่งกลาววา “… อนึ่งที่เลามาถึงเวลาเชานี้ขาดไปหนอยหนึ่ง เมือ่ จุดเทียนไชยแลวไปดูวดั นางพระยา ซึง่ อยูต อ วัดมหาธาตุตดิ กันทีเดียว วัดนีม้ วี หิ ารไมมอี โุ บสถ มีโรงเรียน พิศณุโลกพิทยาคม ตั้งอยูในนั้นโรงหนึ่งพระสอนมีนักเรียนมากที่คับแคบไมพอ ออกจากวัดนางพระยานั้น ตอลงไปก็ถึงวัดราชบูรณะไมมีบานเรือนคั่น ……” พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ฉบับที่ ๑๔ เมืองพรหมพิราม อนุสนธิรายงานวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒ โมงเชา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ลงเรือขามฟาก ไปขึ้นทานํ้าวัดมหาธาตุ แลวเดินตามถนนริมนํ้าไปเขา วัดนางพระยา เดินไปตามริมคูหาสระนํ้ารอบ วัดมหาธาตุ ไปจนถึงที่สิ้นสุดถนนอันเปนถนนเดิมปูอิฐลายสอง ตรง ประตูซึ่งเรียกกันวา ประตูผี ...” พ.ศ. ๒๔๔๔ พระเจดีย วัดนางพระยา พังทลายลง พบ พระพิมพนางพญา จํานวนมากมีราษฏร เก็บรักษาและ ได ทูลเกลาฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ในคราวเสด็จทอดพระเนตร วัดนางพญา

เหรียญพระฤกษ หลัง (แผนศิลาพระฤกษ ภ.ป.ร.พระราชทาน) สราง อุโบสถ ภ.ป.ร. วัดนางพญา เหรียญพระฤกษรุนแรก พ.ศ.๒๕๑๒ (บัวหงาย) และ เหรียญพระฤกษรุน ๒ (บัวควํ่าบัวหงาย)


392

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. เมืองพิษณุโลก พุทธานุภาพ และ พระบารมีปกเกลาฯ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

393

พระบารมีปกเกลาฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหอัญเชิญอักษรพระปรมาภิไธยยอ ภ.ป.ร ประดิษฐานที่ผาทิพย เปนครั้งแรก พลโทสําราญ แพทยกุล แมทพ ั ภาคที่ ๓ ไดรบั พระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหอญ ั เชิญอักษร พระปรมาภิไธยยอ (ภ.ป.ร.) ประดิษฐานที่ผาทิพยพระพุทธชินราช และ พระเครื่องพระพุทธชินราช ขณะ ไปเฝาถวายอารักขาในคราวเสด็จแปรพระราชฐานประทับที่จังหวัดเชียงใหม จัดสรางเปนครั้งแรก ประกอบ ดวย พระบูชาพระพุทธชินราช พระกริ่งพระพุทธชินราช และเหรียญ พระพุทธชินราช และเหรียญ ในหลวงทรงผนวช ภ.ป.ร. และ เหรียญพระพุทธชินราช หลัง พระบรมรูปในหลวงทรงผนวช ซึง่ เปน พระบรมรูปในหลวงทรงผนวช คูก บั พระพุทธรูปศักดิส์ ทิ ธิ์ ไดรบั พระราชทานพระบรมราชา นุญาตใหจัดสรางเปนครั้งแรก จึงเปนเหรียญประวัติศาสตรที่เปยมลนไปดวยพุทธานุภาพและพระบารมี ปกเกลา แหงพระมหากษัตริยผูทรงเปนธรรมราชาผูยิ่งใหญ นับเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางหาที่สุดมิได เพื่อหารายไดจัดตั้ง “มูลนิธิ เย็นศิระเพราะพระบริบาล (ใบอนุญาตเลขที่ ๑๖๑/๒๕๒๓ ลงวันที่ ๗ กรกฏาคม๒๕๒๓ ) นําเงินไปชวยเหลือ ทหาร ตํารวจ พลเรือน อาสารักษาดินแดน ( อส. )และครอบครัวผู เสียชีวิตไดรับบาดเจ็บ จากการปราบปรามผูกอการรายคอมมิวนิสต (ผ.ก.ค.)ซึ่งขณะนั้นสถานการณมีการ ตอสูกันดวยอาวุธสงครามอยางรุนแรง และปฏิสังขรณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุฯ จังหวัดพิษณุโลก และ พระบรมราชานุสาวรียส มเด็จพระนเรศวรมหาราช คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ ประกอบ พิธีพุทธาภิเษก เททอง ณ พระอุโบสถวัดสุทัศนเทพวราราม ๓ วัน ๓ คืน ในระหวาง วันที่ ๒๒ – ๒๓ -๒๔ กรกฎาคม ๒๕๑๖ โดยมี สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช ฯ (ปุน ปุณณฺสิริ) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพ ฯ เปนประธานฝายสงฆ พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. (๑ ) ประกอบพิธีมหาพุทธาภิเษก สมโภช ณ พระวิหารพระพุทธชินราช และพระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร (วัดใหญ) จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฏาคม ๒๕๑๗ โดยมี สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช ฯ (วาสน) วัดราชบพิธ กรุงเทพฯ เปน ประธานจุดเทียนชัย พระเกจิอาจารยผูทรงวิทยาคุณ ๘๐ รูปนั่งปรก ตลอดคืน มี พระพุทธมนตวราจารย (สุพจน) วัดสุทัศนฯ เปนเจาพิธี


394

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

วันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๑๖ เวลา ๑๖.๔๙ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนาง เจ า ฯ พระบรมราชิ นี น าถ เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเททองหลอ พระพุ ท ธชิ น ราช ภ.ป.ร. ทรง พระสุหราย ทรงเจิมตนแบบ ปูนปาสเตอร เหรียญพระพุทธชินราช ภ.ป.ร. เหรียญในหลวงทรงผนวช ภ.ป.ร. กองกษาปน กรมธนารักษ กระทรวงการคลัง และ พระพุทธชินราชจําลอง ภ.ป.ร. ฝมอื จ.ส.อ.ทวี บูรณเขตต ฝายการแผนที่ กองทัพภาคที่ ๓ เปน ประติมากร วัตถุมงคลซึง่ กองทัพภาคที่ ๓ จังหวัดพิษณุโลก ไดรบั พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหจดั สราง ณ มณฑลพิธวี ดั สุทศั นเทพวราราม กรุงเทพฯ บังเกิด นิมิตมงคลขณะพิธี อากาศแจมใส รมเย็น ในขณะที่ทองฟาทางดานเหนือ ปรากฏฟาแล็บ ฟารอง ดังสนั่นหวั่นไหวอยูตลอดเวลา จนเสร็จพิธี จึงเสด็จพระราชดําเนินกลับ พลโทสําราญ แพทยกุล แมทัพภาคที่ ๓ ไดตรากตรํากับงานขจัดลัทธิคอมมิวนิสต ในเขตพื้นที่ ภาคเหนือ กองทัพภาคที่ ๓ เปนเวลา ๕ ป ในป พ.ศ. ๒๕๑๖ จึงไดรับพระราชทานเลื่อนยศเปน พลเอก และ ไดรับตําแหนง ผูชวยผูบัญชาการทหารบก รับราชการสนองพระเดชพระคุณจนเกษียณอายุราชการ เมื่อวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๑๘และไดรับโปรดเกลาฯ ใหดํารงตําแหนง องคมนตรี วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๑๘และถึงแกอสัญกรรมเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๒๙ สิริอายุ ๗๑ ป ๓ เดือน พระบาท สมเด็จพระเจาอยูห วั สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จฯ พระราชทานเพลิงศพพลเอก สําราญ แพทยกุล ม.ป.ช., ม.ว.ม., ท.จ.ว. ,ภ.ป.ร. ๒ วันจันทรที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๒๙ เวลา ๑๗.๐๐ น. ณ เมรุหลวงพลับพลาอิศริยาภรณ วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

395

วัตถุมงคล พระพุทธชินราชจําลอง ภ.ป.ร. และ เหรียญพระพุทธชินราช – ภ.ป.ร. พระบรมรูปในหลวงทรงผนวช ภ.ป.ร. พระกริ่งพระพุทธชินราช ภ.ป.ร. และ เหรียญพระพุทธชินราชหลัง พระบรมรูปในหลวงทรงผนวช (นวโลหะ) พระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหกองทัพภาคที่ ๓ จัดสราง กอตั้ง “มูลนิธิ เย็นศิระเพราะพระบริบาล”


396

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. (๑) พ.ศ.๒๕๑๗ ขนาดบูชา ๑๒ นิ้ว (กรรมการ)

พระบรมรูป และ เหรียญ สมเด็จพระนเรศวร แล ะสมเด็จพระเอกาทศรถ (ตนแบบพระบรมราชานุสาวรียกองทัพภาคที่ ๓) พลโทสําราญ แพทยกุล แมทัพภาคที่ ๓ สราง ในป พ.ศ. ๒๕๑๗ พรอม พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. (๑)

พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวร ฯ สมเด็จพระเอกาทศรถ ที่ พลโท สําราญ แพทยกุล จัดสราง ในป พ.ศ.๒๕๑๗ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทาน เหรียญรัตนาภรณ ชั้นที่ ๒ ให พลเอกสําราญ แพทยกุล วันที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๒๒


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

397

พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. (๒) ปฏิสังขรณ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๐ พระราชทานพระราชานุญาตจัดสราง อัญเชิญ พระปรมาภิไธย ยอ ภ.ป.ร. ประดิษฐานที่ ผาทิพย พรอม พระกริ่ง และเหรียญพระพุทธชินราชเสมา ภ.ป.ร. พระพุทธชินราช ภปร. (๒) รุน ปฏิสังขรณ พ.ศ. ๒๕๓๐ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรง พระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให กองทัพภาคที่ ๓ (พลโทรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร ) และ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก อัญเชิญ อักษรพระปรมาภิไธย ยอ ภ.ป.ร. ประดิษฐานที่ผาทิพย พระพุทธชินราชบูชา พระกริ่งและเหรียญเสมา พระพุทธชินราช( หนังสือที่ รล.๐๐๐๓ / ๑๔๑๓๑ ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๒๙) เนื่องในวโรกาส ทรงเจริญพระชนมพรรษา ครบ ๖๐ พรรษา ในป ๒๕๓๐ เพื่อหารายไดในการบูรณปฏิสังขรณพระวิหารพระพุทธชินราช พระพุทธชินสีห พระศรีศาสดา และ วิหารคต จึงนิยมเรียกกันวา รุนปฏิสังขรณ และ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุ ฎ ราชกุ ม าร เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น แทนพระองค ทรงเททองหล อ พระพุ ท ธชิ น ราช ภ.ป.ร. รุ  น ปฏิ สั ง ขรณ ณ พระวิหารพระพุทธชินราช เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๓๐ เวลา ๑๔.๓๙ น.และ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนิน แทนพระองค และทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให นายประกอบ หุตสิงห องคมนตรี เปนผูแทนพระองค ประกอบพิธีจุดเทียนในพิธีมหาพุทธาภิเษก ณ พระวิหารพระพุทธชินราช พิษณุโลก เมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๓๑ พระเกจิอาจารย ๑๐๘ รูปนั่งปรก


398

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค ทรงยกชอฟาพระวิหารพระพุทธชินราช และ ทรงเททองหล อ พระพุ ท ธชิ น ราช (๒) ภ.ป.ร. รุ  น ปฏิ สั ง ขรณ ณ พระวิ ห ารพระพุ ท ธชิ น ราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๓๐ เวลา ๑๔.๓๙ น. ในป พุทธศักราช ๒๕๓๕ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให กองทัพ ภาคที่ ๓ และ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก อัญเชิญอักษรพระปรมภิไธย ยอ ภ.ป.ร. ประดิษฐานทีฐ่ าน ผาทิพยพระพุทธชินราช จําลอง และพระกริง่ พระพุทธชินราช (๓) เฉลิมพระนาม วา รุนพุทธญาณนเรศน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯทรงเททอง เมื่อวันที่๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ พระพุ ท ธชิ น ราช ภ.ป.ร. จึ ง เป น สุ ด ยอดพระพุ ท ธรู ป ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ที่ มี พุ ท ธานุ ภ าพและ มีสิริเทพยดาอภิบาลรักษาเปนเทวานุภาพ ่มีพุทธลักษณะงดงามเปนเอกอุในสยามประเทศ มีพุทธา นุภาพแหงพระคุณสูงสงของ พระพุทธชินราช สุดยอดพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่มีพุทธลักษณงดงามที่สุดใน สยาม และดวย พระบารมีปกเกลา ของ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวภูมิพลอดุลยเดช (ภูมิพล อดุลยเดช หมายถึง ผูทรงกําลังอํานาจ ไมมีอะไรเทียบในแผนดิน) พระผูทรงเปน กําลังของแผนดิน พระผูทรงครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม ทรงเปน ธรรมิกราช ธรรมราชาผูยิ่ง ใหญ แกผูมีไวสักการบูชาเปนยิ่งนัก เพื่อ นอมสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณแหงพระองค และพระราชจักรี วงศทรงมีพระคุณอันประเสริฐแกแผนดิน เพือ่ รวมกัน สนองคุณแผนดิน สืบสานพระราชปณิธาน แหงพระองค พระผูทรงมีพระราชปณิธาน ทุกลมหายใจเสมอวา “ทุกขของประชาชน คือ ทุกขของพระเจาแผนดิน” อยางแทจริง เปน พระบารมีปกเกลา ฯ แกผูมี พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. ที่เปยมลมไปดวย พุทธานุภาพแหง พระพุทธคุณ ไวสกั การบูชา และเปน อุเทสิกเจดีย ยึดเหนีย่ วจิตใจ มัน่ ในธรรม ตัง้ ตนประพฤติตนชอบ บําเพ็ญ คุณประโยชนตอสังคมประเทศชาติ ใหบังเกิดความรมเย็นเปนสุข เจริญกาวหนาแกชีวิต อยางแทจริง


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

399

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานพระบรมราชวโรกาส ให พลโทยิ่งยศ โชติพิมาย แมทัพภาคที่ ๓ พระราชรัตนมุนี (บํารุง ฐานุตฺตโร มากกอน ธ.ป.๗) เจาอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก และคณะเขาเฝา ฯ ทูลเกลา ฯ ถวาย พระพุ ท ธชิ น ราช ภปร. ขนาดหน า ตั ก ๑๒ นิ้ ว พระกริ่ ง และเหรี ย ญพระพุ ท ธชิ น ราช ภ.ป.ร. ที่ คายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๓๖

พระราชรัตนมุนี (บํารุง ฐานุตฺตโร) ปจจุบัน พระธรรมเสนานุวัตร พิพัฒนกิจจานุยุต พุทธชินราชวรธาดา ตรีปฎกวราลงกรณ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี พระราชาคณะชั้นธรรมรูปแรกของสังฆมณฑลพิษณุโลก


400

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

อาคารหลวงพอพระพุทธชินราช พุทธบารมี และ พระบารมีปกเกลา ฯ ชาวพิษณุโลก

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงวางศิลาฤกษ อาคารหลวงพอพระพุทธชินราช (อายุรกรรมและสงฆอาพาธ) เปนตึก ๖ ชั้น ๒ หลังขนานกัน คากอสราง ๙๓.๓๕ ลานบาท โดยเงินบริจาคจากการสรางวัตถุมงคล พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. ๒ รุนปฏิสังขรณ (พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหจัดสราง ในป พ.ศ. ๒๕๓๐) จํานวน ๔๓.๓๔ ลานบาท เมื่อวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๓๖ และ เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดอาคารหลวงพอพระพุทธชินราช (อายุรกรรม และสงฆอาพาธ) โรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก เมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๓๙


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

401

พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. ทองคํา พระพุทธชินราชจําลอง ภ.ป.ร. (ทองคํา) ขนาดหนาตัก ๙ นิ้ว พระราชรัตนมุนี (บํารุง ฐานุตฺตโร) เจาอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร พิษณุโลก ไดจัดสรางขึ้นทูลเกลา ฯ ถวาย พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั ภูมพ ิ ล อดุลยเดช ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๗๒ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ นํ้าหนักทองคํา ๒๒ กิโลกรัม มูลคา ๖,๖๔๔,๘๒๐ บาท ประกอบพิธีเททอง ณ มณฑลพิธีลาน พระอัฏฐารส วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๑พระบาทสมเด็จ พระเจ า อยู  หั ว พระราชทานพระราชวโรกาสให พระราชรั ต นมุ นี ประธานจั ด สร า งฝ า ยบรรพชิ ต พลเอกดร.ศิริ ทิวะพันธ ประธานจัดสราง ฝายฆราวาสคณะขาราชการ จังหวัดพิษณุโลกจํานวน ๑๒ คน และพระภิกษุ จํานวน ๒ รูป เขาเฝาฯ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงปฏิบัติหนาที่ แทนพระองค เพื่อทูลเกลา ฯ ถวาย พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. ทองคํา หนัก ๒๒ กิโลกรัม และทูลเกลาฯ ถวายเงิน จํานวน ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยเสด็จพระราชกุศลตามอัธยาศัย ณ วังศุโขทัย ในวันศุกรที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๔๒ เวลา ๑๘.๐๐ น.


402

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระพุทธชินราช จําลอง อักษรประนามาภิไธยยอ ส.ก. ทองคํา ขนาดหนาตัก ๙ นิ้ว นํ้าหนักทองคํา ๑๘ กิโลกรัม

พิธีเททองหลอ พระพุทธชินราช จําลอง ส.ก. ทองคํา ที่หนาพระวิหารพระพุทธชินราช นายนิวัต กลิ่นรอด โรงหลอพระอนุรักษไทย ตําบลหัวรอ อําเภอเมืองพิษณุโลก เปนชางหลอ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

403

พระธรรมเสนานุวัตร (บํารุง ฐานุตฺตโร มากกอน ป.ธ.๗) เจาอาวาสวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก และ รองเจาคณะภาค ๕ ทูลถวาย พระพุทธชินราช จําลอง ส.ก. ทองคํา ขนาด หนาตัก ๙ นิว้ นํา้ หนักทองคํา ๑๘ กิโลกรัม แด สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ ณ มหาวิหารพระพุทธ สุโขทัยไตรมิตร วัดไตรมิตรวิทยาราม กรุงเทพ ฯ เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๗.๑๐ น.

สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให จัดสรางพระพุทธ ชินราชจําลอง ส.ก.(ทองคํา) วันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๔๙ มูลคา ๑๓,๒๔๘,๐๐๐ บาท (ราคาทองคํา ณ วันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๐) ประกอบพิธีเททอง บริเวณ หนาพระวิหารพระพุทธชินราช


404

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระปรางค วั ด พระศรี รั ต นมหาธาตุ ว รมหาวิ ห าร จังหวัดพิษณุโลกฯ บรรจุพระทันตธาตุ สุคนธเจดีย เปนประธานหลัก แกพระอาราม ( จารึกสุโขทัย หลักที่ ๒ วัดศรีชุม “..สมเด็จสุ...ที่นั้นกอพระ ทันตธาตุสุคนธเจดียมีสาม...นั้น...ใน นครสรลวงสองแคว...”) เปนคติความเชื่อทางพระพุทธศาสนา เกี่ยวกับการบูชามหาธาตุเจดียที่เจริญรุงเรืองแพรหลายอยางยาวนานมานับในสมัยทวารวดี เปนตนมาการ สรางบานแปงเมือง นิยม อัญเชิญพระมหาธาตุ หรือ พระบรมสารีริกธาตุ บรรจุในพระสถูปพุทธเจดียกลาง ธานี จึงปรากฏนาม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ, วัดพระศรีมหาธาตุ, วัดมหาธาตุ, วัดพระบรมธาตุ, วัดหนาพระ ธาตุ ในทุกนคราธานีสําคัญแตโบราณกาล จึงเปนปฐมนาม ของวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ เมืองพิษณุโลก เดิมเปนสถูปเจดีย ภายหลัง พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) บูรณะเปน เจดียทรงพุมขาวบิณฑ หรือ เจดียทรงดอกบัวตูม ตามคติสุโขทัย และ เชื่อกันวา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงบูรณปฏิสังขรณ สรางครอบสถูปเดิม แปลงสถาปตยกรรมเปน พระปรางค ตามคติอยุธยา ดังปรากฏใน พระราชพงศาวดาร กรุงเกาฉบับหลวงประเสริฐฯ วา “...ศักราช ๘๔๔ ขาลศก ( พ.ศ. ๒๐๒๕ ) ทานใหเลนการมหรสพ ๑๕ วัน ฉลองพระศรีรัตนมหาธาตุ แลวจึงพระราชนิพนธมหาธาตุคําหลวงจบบริบูรณ ..” ใน พงศาวดารเหนือ พระยาวิเชียรปรีชา (นอย) กลาวถึง ตํานาน พระเจาศรีธรรมไตรปกฎ เจาเมืองเชียงแสน ทรงโปรดฯ ให จานกรอง จาการบุญ มาสรางเมืองพิศณุโลก และ พระมหาธาตุทรงมี พระราชศรัทธาหลอ พระพุทธชินราช พระชินสีหและ พระศรีศาสดา จนเกิดเปนตํานานตาปะขาวหาย มาจนทุกวันนี้ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล า เจ า อยู  หั ว รั ช กาลที่ ๖ ทรงโปรดสถาปนาขึ้ น เป น พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิด วรมหาวิหาร เมื่อป ๓ ตุลาคม ๒๔๕๘ (ราชกิจานุเบกษา เลมที่ ๓๒ หนา ๒๙๔) จึงมีชื่อเต็มวา “วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร” แตประชาชนทั่วไปเรียกวา วัดใหญ หรือ วัดพระพุทธชินราช เปน ๑ใน ๑๖ พระอารามหลวง ที่สงวนไวสําหรับพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จ พระราชดําเนินดวยพระองคเอง หรือทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให พระบรมวงศานุวงศ เสด็จแทนพระองคฯ ในการถวาย ผาพระกฐินหลวง ตามราชประเพณี วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร แหงนี้ยังมีความสําคัญทางดานประวัติศาสตร โบราณคดี ศิลปศาสตร สถาปตยกรรม และ พุทธศาสตร อันทรงคุณคารวมทั้งเปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสําคัญของ ชาติอันเปนเกียรติประวัติของชาติ คือพระพุทธชินราช พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์มีพุทธลักษณะสวยงามเดนสงา ที่สุดในประเทศ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

405

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา โปรดกระหมอมใหพระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาศรีรัศมิ์ พระวรชายา ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จ พระราชดําเนินแทนพระองค ถวายผาพระกฐิน ณ วัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก ทรง สายสะพาย ปฐมจุลจอมเกลา (ป.จ.) ทรงประดับ เหรียญรัตนาภรณ ชั้นที่ ๑ (ภ.ป.ร. ๑)


406

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระอุณาโลม พระพักตรพระพุทธชินราชคอนขางกลมทํานองผลมะตูมแบบอินเดีย พระพุทธชินราช สุดยอดพระพุทธปฏิมากรศักดิ์สิทธิ์ ที่มีพระพุทธลักษณะงดงามยิ่ง พุทธศิลป สุโขทัย สกุลชางพิษณุโลก พระอุณาโลม ที่ พระนลาฏ (หนาผาก ) ระหวางพระขนง (คิ้ว )ทั้งสอง แตโบราณ เชื่อกันวา เปนทิพยเนตร ของ พระอินทร ที่นฤมิตตนเปน ตาปะขาว มาชวยปนและหลอจนแลวเสร็จมีพทุ ธ ลักษณะงดงามสม พระราชศรัทธา พระเจาศรีธรรมไตรปฎก เมือ่ วัน ๕ (พฤหัสบดี)เดือน ๖ ขึน้ ๘ คํา่ ปมะเส็ง จุลศักราช ๓๑๙ (พ.ศ. ๑๕๐๐ หยอน ๗ วัน) และ ทําตรีศูล เปน เทวสัญลักษณไว ใหทราบวา พระอินทรเปน ผูสราง (พงศาวดารเหนือ ฉบับพระยาวิเชียรปรีชา เจากรมราชบัณฑิต แตงในสมัยรัชกาลที่ ๑พ.ศ. ๒๓๕๐ ) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงสันนิษฐานไวใน เที่ยวเมืองพระรวง วา พระเจา ศรีธรรมไตรปฎก คือ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) กษัตริยพระองคที่ ๖ แหงราชวงศพระรวง กรุงสุโขทัย ในราว พ.ศ. ๑๙๐๐ ศิลาจารึก หลักที่ ๘ (เขาสุมนกุฏ.เขาพระบาทใหญ สุโขทัย) พ.ศ.๑๙๐๕ ๑๙๑๒ กลาวถึง “...พระญาศรีสุริยพงศมหาธรรมราชาธิราช (พระญาลิไ ท) เสด็จไปปราบหัวเมืองลุมแมนํ้าปาสัก และ เสด็จกลับมาประทับเมืองสรลวงสองแคว ๗ ป และ บุพระมหาธาตุ ปลูกพระศรีมหาโพธิ์ ...”( คําวา บุ คือ บูรณะ สวนคําวา สราง ในจารึกสุโขทัย นิยมใชคําวา กอ) “... ความงามของ พระพุทธชินราช เปนความงามที่สามารถ หนวงเหนี่ยวใจ มนุษย แมไมเคยนับถือพุทธศาสนาเลย ก็ใหเพลิดเพลินในการชม พุทธลักษณะ ขององคพระ ไดตั้งหลายชั่วโมง ..”

เทวรูปตาปะขาว วัดตาปะขาวหาย ตํานานตาปะขาวเดินออกจากเมืองพิษณุโลกมาหายตัว และ แหลงโบราณคดี เตาเผาโบราณ แบบเตาทุเรียง จนเปนภูมนิ ามวา บานเตาไห และพระบรมรูปพระมหาธรรม ราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) วัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก ทรงนิพนธ วรรณคดีทางพระพุทธ ศาสนาเลมแรก คือ ไตรภูมิพระรวง เตภูมิคาถา


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

407

พระพุทธชินราช พุทธศิลปสโุ ขทัย สกุลชางพิษณุโลกเปน พระพุทธรูป ศักดิส์ ทิ ธิท์ มี่ ี พุทธลักษณะงดงามยิง่ มีพทุ ธลักษณะเฉพาะองคทโี่ ดดเดน ดังนี้ พระพักตร รูปทรงผลมะตูมนิ้ว พระหัตถขวา ยาวเสมอกัน ๔ นิ้ว

นิ้วพระหัตถขวา ยาวเรียวเสมอเทากัน ๔ นิ้ว มี เสนจีวร คาดที่ พระชานุ (เขา ) ทั้ง ๒ ขาง

ตัวมกร หนานางคางหยิก (พระหนุ ) ตัวเหรา เรือนแกวพระพุทธชินราชเปนไมสกั แกะสลัก ลงรักปดทองในสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงสรางถวายเปนพุทธบูชา สุดยอดประติมากรรมที่งดงามทรงคุณคายิ่ง ประกอบดวย สัตวในปาหิมพานต ๒ ตัว คือ มกร และ เหรา และเปนตนแบบพุทธศิลป เรือนแกว พระพุทธปฏิมากรองคแรกในสังฆมณฑล สยามประเทศ


408

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ผนังเปนจิตรกรรมลงรักปดทองรูป เทวดา โปรย ดอกมณฑาสวรรค ในพุทธประวัติ สงผลใหองคพระ ลอยเดน งดงามยิง่ กวา พุ ท ธปฎิ ม ากรอื่ น ใดในสยามรั ฐ สี ม า ประดิษฐานบนฐานปูนบัวควํ่า บัวหงาย บนฐานสิงหและฐานเขียง ลดหลัน่ ๕ ชัน้ ฐานสํ า เภาอ อ น ลงรั ก ป ด ทองประดั บ กระจกสี พระพุทธชินราช หลอดวยทองสัมฤทธิ์ ปางมารวิชัย ลงรักปดทอง มีหนาตักกวาง ๕ ศอก ๑ คืบ ๕ นิ้ว สูง ๗ ศอก มีสิริเทพยดา อภิบาลรักษา พระมหากษัตริยเกือบทุกพระองค เสด็จมาทรงนมัสการสมโภชตามราชประเพณี

ทาวอาฬวกยักษ มีผาแดงวิเเศษเปนอาวุธ เทินบนศีรษะ และ ทาวเวสสุวัณโณ (กุเวร ) มีกระบองวิเศษเปนอาวุธ

รูปหลอจาการบุญ จานกรอง ที่ โรงเรียนจาการบุญ / พงศาวดารเหนือ / ประตูเมืองทิศเหนือ (วัดโพธิญาณ )ที่ตาปะขาวเดินออกจากเมือง หลังหลอพระพุทธชินราช แลวเสร็จ ทํา ตรีศูล ไวเปน เทวสัญลักษณวา พระอินทรสราง ตามที่ปรากฏใน พงศาวดารเหนือ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

คาถาบูชาพระพุทธชินราช แบบที่ ๑ (ปจจุบัน) ตั้งนะโม ๓ จบ แลวภาวนาวา

อิเมหิ นานาสักกาเรหิ อะภิปูชิเตหิ ทีฆายุโก โหมิ อะโรโค สุขิโต สิทธิกิจจัง สิทธิกัมมัง ปยัง มะมะ ปะสิทธิลาโภ ชะโย โหตุ สัพพะทา พุทธะชินะราชา อะภิปาเลตุ มัง นะโมพุทธายะ

คาถาบูชา พระพุทธชินราช แบบที่ ๒ ในพิธีจักรพรรดิมหาพุทธภิเษก พ.ศ. ๒๕๑๕ พุทธสมาคมจังหวัดพิษณุโลก และพระครูศีลสารสัมบัน วัดสระแกวปทุมทอง พิษณุโลก นิพนธ ตั้งนะโม ๓ จบ แลวภาวนาวา

นะชาลีติ ปะสิทธิลาภา ปะสันนะจิตตา สะทา โหติ ปยัง มะมะ สัพเพชะนา สัพเพทิสา สะมาคะตา กาละโภชะนา วิกาละโภชะนา อาคัจฉันติ ปยัง มะมะ

409


410

¾ÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃÐ਌ÒÍÂÙ‹ ·Ã§¾ÃСÃسÒâ»Ã´à¡ÅŒÒÏ ãËŒ ÊÁà´ç¨¾ÃкÃÁâÍÃÊÒ¸ÔÃÒª Ï ÊÂÒÁÁ¡Ø®ÃÒª¡ØÁÒà àʴ稾ÃÐÃÒª´íÒà¹Ô¹á·¹¾ÃÐͧ¤ ·Ã§» ´·Í§·Õè¾Ãоѡμà ¾Ãоط¸ªÔ¹ÃҪ໚¹»°ÁÄ¡É ã¹¡ÒÃŧÃÑ¡» ´·Í§ ¤ÃÑ駷Õè ó ¶ÇÒÂ໚¹¾Ø·¸ºÙªÒ ÇѹÍѧ¤Ò÷Õè ö ¡Ã¡®Ò¤Á ¾.È. òõô÷ àÇÅÒ ñô.ñõ ¹. ໚¹¡ÒÃŧÃÑ¡» ´·Í§¾Ãоط¸ªÔ¹ÃÒª ¶ÇÒÂ໚¹¾Ø·¸ºÙªÒ ໚¹¤ÃÑ駷Õè ó


411

แผนศิลา อักษรพระปรมาภิไธยยอ และ พระนามาภิไธย สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎ ราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค ฯ ทรงปดทองที่พระพักตรพระพุทธชินราชเปนปฐมฤกษ วันอังคารที่ ๖ กรกฏาคม ๒๕๔๗ เวลา ๑๔.๑๕ น.


412

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระพุทธชินราช หลอดวยโลหะทองสําริด ขัดเกลี้ยง พุทธศิลปะสุโขทัย สกุลชางพิษณุโลก สราง ในสมัย พระเจาศรีธรรมไตรปฎก เจาเมืองเชียงแสน ตามที่ปรากฏใน พงศาวดารเหนือ สันนิษฐานวา คือ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) กษัตริย รัชกาลที่ ๖ แหงกรุงสุโขทัย ในปพุทธศักราช ๒๑๔๓ รัชสมัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลังจาก สมเด็จพระนเรศวร มหาราช และพระอนุชาธิราช เลิกทัพกลับจาก ตองอู สมเด็จพระเอกาทศรถ พระมหาอุปราชครองเมือง พิษณุโลก เสด็จฯกลับถึงเมืองพิษณุโลก ทรงโปรดฯ ใหนําทองนพคุณเครื่องราชูปโภคสําหรับเปนทองประสี ลงรักปดพระพุทธชินราช ดวยพระหัตถจนแลวเสร็จบริบูรณ โปรดใหตั้งการสมโภช ๗ วัน ๗ คืน จึงเสด็จฯ ไปเฝาฯ พระเชษฐาธิราช ที่เมืองเพชรบุรี จึงเปน การลงรักปดทองพระพุทธชินราช ครั้งปฐม ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทรงประกอบพิธีปดทอง พระพุทธชินราชซึง่ มีวรรณ ทองเศราหมองมาตามกาลเวลา จึงทรงประกอบพระราชพิธลี งรักปดทอง และทรง หลอพระพุทธชินราชจําลอง เพือ่ อัญเชิญไปประดิษฐาน ณ พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสติ วนาราม กรุงเทพ ฯ พรอมการพิธีสมโภชตามราชประเพณี เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๔๔๔ จึงเปนการลงรักปดทองครั้งที่ ๒

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสเลียบมณฑลฝายเหนือ โดย เรือพระที่นั่งอรรคราชวรเดช เสด็จขึ้น ณ ทานํ้ามณฑลเมืองพิษณุโลก ประทับบนพลับพลาฝงตะวันตก ของแมนํ้านาน เมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๔๔๔ เวลา บาย ๒ โมงเศษ มี พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (เชย กัลยาณมิตร ) ขาหลวงเทศาภิบาลผูส าํ เร็จราชการมณฑลพิศณุโลก (ภายหลังไดเปน เจาพระยาสุรสีหว สิ ษิ ฐศักดิ์ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย สืบตอจาก สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ )


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

413

¾ÃÐÃÒªËÑμ¶àÅ¢Ò ¾ÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃШØŨÍÁà¡ÅŒÒ਌ÒÍÂÙ‹ËÑÇ ©ºÑº·Õè ñò วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๔๔๔ เวลา บาย ๓ โมงเศษ เสด็จลงประทับ เรือขามฟาก เสด็จขึ้น ณ ทานํ้า ศาลาเทพเยนทร หนาวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ฯ แวะนมัสการพระเหลือ ซึ่งฉันไดปฏิสังขรณแตยังเปนเณร เห็นรูปชัดเจนดวงพระพักตรงามอยูเ กินกวาฉันไดเคยเห็นมา เวลาบาย ๕ โมงเศษสวดมนตตงั้ นํา้ วงดวยเวลา คํ่าเสด็จกลับ เวลายํ่ารุง ๕๒ นาที เสด็จฯขึ้นเกยทรงปดทองที่พระพักตร พระพุทธชินราช ซึ่งมี วรรณะทอง เศราหมอง มาตามกาล ทรงมีพระราชศรัทธาลงรักปดทองใหมจนแลวเสร็จตามอยาง สมเด็จพระเอกาทศ รถ สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงปดทองพระพุทธชินสีห แลวจุดเทียนไชย โดย พระราชมุนี ๓ (เขม) วัดมหาธาตุ ซึ่งมาจําพรรษา อยูกอน เปนผูจุด แลวทรงโปรดให พระบรมวงศานุวงศ แลชางรักปดตอไป แลวเสร็จเวลาบาย ๒ โมง แลวไปดูวัดนางพญา วัดราชบูรณะ เวลาบาย ๓ โมง พระราชทานพระแสงราช ศัสตราทีป่ ะรําหนาทีว่ า การมณฑล เวลาเย็นเสด็จทอดพระเนตรพระราชวังจันทน สังเวยบูชาเจาผูค รองเมือง (เทพารักษ )เวลาพลบไปวัดมหาธาตุ ปดทองแลวงามรุง โรจนเปนอันมาก ทรงถวายเครือ่ งบรรณาการ ตัง้ การ พิธสี มโภชพระพุทธชินราช พราหมณเบิกแวนเวียนเทียนสมโภชสองคํารบ ทรงถวายเครือ่ งบรรณาการพระพุทธ ชินราช ตามราชประเพณี มี พระสังวาลเพชร สําหรับทรงสาย ๑ ผาคูตาดผืน ๑ ตนไมทอง ตนไมเงิน ๑ คู เทียนทอง เทียนเงิน ๒ คู ตะเกียงตามนํ้าหอม ๒ คู ผาทรงสภักตรแพรสีนวลซึ่งเปนพระภูษา ของ พระบาท สมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระอัยยิกาเธอ คลองไวที่นิ้วพระหัตถ พระพุทธชินราช ถวายเปนพุทธบูชา สวดมนตจบแลว ทรงจุดดอกไมเพลิง ถวายเปนพุทธบูชา ของวันที่ ๑๗ , ๑๘,๑๙ ตุลาคม ทรงเสด็จลงเรือ พระทีน่ งั่ พายขามฟากไปกลับวัดมหาธาตุและพลับพลามณฑล ทุกเชา คํา่ เพือ่ บําเพ็ญพระราชกุศลแลวทอด พระเนตรชางหลอ และ เสด็จฯทอดพระเนตรโบราณสถานตาง ๆ ทั่วเมืองพิศณุโลก ในวันที่ ๒๐ตุลาคม ในเวลายํ่ า รุ  ง ทรงเสด็ จ ประทั บ เรื อ พระที่ นั่ ง พายข า มฟากมา ทรงเททองหล อ พระพุ ท ธชิ น ราชจํ า ลอง ณ วัดพระศรีรตั นมหาธาตุฯ เพือ่ อัญเชิญไปประดิษฐาน ณ พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสติ วนาราม กรุงเทพฯ จนแลวเสร็จ จึงเสด็จลงเรือพระที่นั่งประพาสหัวเมืองฝายเหนือ (อุตรดิตถ)๒๘ พระราชหัตถเลขา ฉบับที่ ๒๐ เมืองพิศณุโลกขาลอง ครั้นวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๔๔๔ (ร.ศ.๑๒๐) ๒ โมง เชาเสด็จออกจากพลับพลาเมืองพิไชย เรือกลไฟถึงเมืองพิศณุโลก บาย ๔ โมงทรงเสด็จไปนมัสการ พระพุทธชินราชลงเรือเล็กขามไปดูพระชินราชหลอใหม แลว ปลูกตนโพธิ ในทีซ่ งึ่ หลอพระองคหนึง่ ตามแบบ แตกอน จนเวลา ๔ ทุมกลับพลับพลา วันที่ ๒๘ ตุลาคม เวลา ๔ โมง ไป ทอดกฐินที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พระปรากรมมุนีครองกฐินแลว กลับมาที่พระวิหารนมัสการพระพุทธชินราช แจกรางวัลชางหลอ เวลาคํ่า ลอยกระทงเครื่องสด แลมี การแหผาปาแลราษฎรเลนแขงเรือตามประเพณีเมือง เวลาเชา ๒ โมง วันที่ ๒๙ ตุลาคม ไปนมัสการลา พระชินราช เวลา ๓ โมงเชาออกเรือจากเมืองพิศณุโลก กลับพระนคร๒๙


414

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค ทรงถวายนพรัตนสังวาล พระพุทธชินราช เปนพุทธบูชา ในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติ ครบ ๖๐ ป ๙ มิถุนายน พุทธศักราชการ ๒๕๔๙ วันพฤหัสบดีที่ ๕ เมษายน ๒๕๕๐ เวลา ๑๗.๑๙ น.


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

415

นพรัตนสังวาล และนพรัตนสังวาล ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว พระราชทานทรัพยสวนพระองค ใหกรมศิลปากร ซอม ในป พ.ศ. ๒๔๖๘ ถวายเปนพุทธบูชา นพรัตนสังวาล สํารับที่ ๒ ถวายพระพุทธชินราช เปนพุทธบูชา ในโอกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ป ในป พ.ศ. ๒๕๔๙ รัฐบาล มอบหมายให กรมศิลปากรไดดําเนินการจัดทํา สรอยนพรัตนสังวาล ขึ้นมาใหมอีก ๑ เสน เพื่อเฉลิม พระเกียรติและถวายเปนพระราชกุศล ถวายพระพุทธชินราช เปนพุทธบูชา ดวย งบประมาณ ๑๓ ลานบาท การจัดทํานพรัตนสังวาลในครั้งนี้ ทําดวย ทองเนื้อนพเกา (ทองสีดอกบวบ) ใชสวนประกอบของทองคําบริสุทธิ์ ๙๖.๙๙% นํ้าหนักรวม ๑๒,๖๖๙.๔ กรัม ประดับดวย รัตนชาติ ๙ สี ประกอบดวย ทับทิม มรกต บุษราคัม เพชร เพทาย โกเมน ไพฑูรย นิลกาฬ มุกดาหาร พลอยหุงจํานวน ๑,๐๐๘ เม็ด จํานวน ๓๖ ดวง เสนผาศูนยกลาง ๑๑ เซนติเมตร มี หวงเกี่ยวรอยเชื่อมตอกัน สวนดานหลัง องคพระไมมีนพรัตนประดับทําเปนสายสรอยแทน ความยาวเมื่อ ตอเรียงกันยาว ๘.๒๐ เมตร

แบบจําลองนพรัตนสังวาลใหม ถอดได ๔ ชิ้น สูง ๔ เซนติเมตร และ ดวงตรานพรัตนสังวาลเกา และใหม


416

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สังวาลนพรัตน สํารับใหม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ป พุทธศักราช ๒๕๔๙


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

417

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงพระมหาสังวาลนพรัตน และ พระมหา สังวาลนพรัตน (สังวาลแฝด ทําดวยทองคํา มีดอกประจํายามฝงนพรัตนมณี ๙ ชนิด จํานวน ๒๗ ดอก) ที่รัชกาลที่ ๑ ทรงสรางขึ้น นพรัตนสังวาล แปลวา สายสรอยสวมสะพายเฉียงบา ประดับดวยอัญมณีมงคล ๙ สี ประกอบดวย เพชร, ทับทิม, มรกต, บุษราคัม, โกเมน, นิลกาฬ, มุกดาหาร, เพทาย , ไพฑูรย นพรัตนสังวาล ถือวา เปน สายสะพายของพระราชวงศ เจานายชั้นสูง นับแตพระมหากษัตริย เปนตนในฐานะทีพ่ ระมหากษัตริยไ ทย ทรงเปนพุทธมากะ ตามราชประเพณี โดยเฉพาะในสมัยกรุงรัตนโกสินทร เมื่ อ รั บ บรมราชาภิ เ ษกแล ว ต อ งเป น ในพระราชพิ ธี แ สดงตนเป น พุ ท ธมามกะ ณ พระอุ โ บสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงใหความเคารพสักการะพระพุทธรูปสําคัญองคใดยิ่ง จะทรงมีพระราชศรัทธา ถวายนพรัตนสงั วาลเปนพุทธบูชา ซึง่ ก็ปรากฏวามีพระพุทธรูปสําคัญในสยามรัฐสีมาไมกอี่ งคไดรบั การถวาย เครื่องสักการะสูงยิ่งเพียงนี้

ริ้วขบวนพระราชอิสริยยศ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในการเสด็จพระราชดําเนินขบวนราบ ใหญไปวัดพระศรีรตั นศาสดารามเพือ่ ทรงปฏิญาณพระองคเปน พุทธศาสนูปถัมภก (พุทธมามกะ)ในวันบรม ราชาภิเษก ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ตามขัตติยโบราณราชประเพณี


418

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

นพรัตนสังวาล พระพุทธชินราช สุดยอดพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่มีพุทธลักษณะงดงามเปนเอกอุในสยาม พระพุทธชินราช เปนพระพุทธรูปสําคัญของชาติที่สมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราชเจา เกือบจะ ทุกรัชสมัยเสด็จพระราชดําเนินมาทรงนมัสการสมโภช นพรัตนสังวาล พระพุทธชินราช ปรากฏใน พระราช กิจรายวัน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ เสด็จมณฑลฝายเหนือ เมื่อครั้งเสด็จ มาทรงเททองหลอพระพุทธชินราชจําลอง ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก เมื่อป พุทธศักราช ๒๔๔๔ ฉบับที่ ๑๒ ความวา “ ครัน้ รุง ขึน้ วันที่ ๑๗ ตุลาคม รัตนโกสินทรศก ๑๒๐ เวลาเชายํา่ รุง ๕๒ นาที เปนฤกษปด ทองพระพุทธ ชินราช ไดปดทองดวยมือทั่วทั้งพระภักตรแลวจุดชนวนเทียนไชย อธิษฐานใหพระราชมุนีจุดเทียนไชย แลเลีย้ งพระสงฆ ๓๐ รูปแลวเริม่ สวดภาณวารปลายพุทธาภิเศกตัง้ แตเวลาเชานีไ้ ป แลเริม่ การสมโภชพระพุทธ ชินราชดวยการมหรสพ ละครเปนตน เวลาบาย ๒ โมงการปดทองพระพุทธชินราชแลวสําเร็จ เห็นพระศิริรูป โอภาษ ผองใสเปนทีช่ นื่ ชมยินดียงิ่ นัก ไดถวายแพรคาดสีนวลซึง่ เปนพระภูษาในพระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกลา เจาอยูห วั อันพระเจาอัยยิกาเธอกรมหลวงวรเสรษฐสุดาประทานถวายเปน พุทธบูชา แตครัน้ จะทรงทีพ่ ระองค ก็ไมเปนที่พอใจในการพระพุทธรูปองคงามมีผาไปหุมหอเสีย จึงไดคลองไวที่น้ิวพระหัตถ ที่พระองคนั้น ไดถวาย สังวาลเพ็ชรทรงสายหนึ่ง สวนตาดซึ่งสําหรับจะทรงนั้นไดประดับไวที่ฐานแลว ไดถวายเครื่อง บรรณาการตนไมทอง ตนไมเงิน เทียนทองเทียนเงิน ตะเกียงนํา้ มันหอมตามแบบเครือ่ งบรรณาการเจดียส ถาน ที่สําคัญทั้งปวง แตบายศรีปนดวยรัก ๒ สํารับ ตามแบบอยางในรัชกาลที่ ๔ แตเติมเห็นแลแวนสําหรับเวียน เทียนซึ่งทําดวยรัก ปดทองปดเงินเปนสํารับกันขึ้นนั้น ไดตั้งใหพราหมณเบิกแวนเวียนเทียนสมโภชตั้งแตวัน นี้เปนตนไป การเวียนเทียนนั้นชามากจนตองสวดมนตไปพลาง ดังปรากฏในพระราชหัตถเลขา เสด็จประพาสมณฑลฝายเหนือ ร.ศ. ๑๒๐ ฉบับที่ ๑๒ เมืองพิษณุโลก ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๔๔๔ ความตอนหนึ่งวา “ เวลาพลบคํ่าไปที่วัดพระมหาธาตุ ปดทองแลวงามรุงโรจน เปนอันมาก ไดถวายเครื่องบรรณาการแลตนไมทองเงิน แลวถวาย สังวาล แตตาดหาไดทรงที่พระองคไม หุม ไวเพียงฐาน กลับจะบังรูปเสียไมเห็นถนัด แลไดถวายแพรคาดทรงพัก พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกลาเจาอยู หัว ซึ่งพระเจาอัยยิกาเธอ กรมหลวงวรเสรฐสุดา ประทานที่ไดใชอยูเสมอเปนเครื่องบูชา แลวตั้งบายสีซึ่งทํา ดวยขี้รักปดทองสํารับ ๑ ปดเงินสํารับ ๑ เวียนเทียน การเวียนเทียนนั้น ไมแลวจน ๒ ทุม เพราะ ราษฎรนิยม กันมาก ตองสวดมนตไปพลาง ครัน้ เวลาสวดมนตจบแลว จุดดอกไมเพลิง แลวมีหนังขาราชการเลนอยางเมือ่ ครั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จขึ้นมา ” ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชการที่ ๗ แหงพระบรมราชจักรีวงศไดมีการ ซอมสรอยนพรัตนสังวาลเสนดังกลาว โดยกรมศิลปากร เปนผูดําเนินการ และไดนําคลองไวที่องคพระพุทธ ชินราชตามเดิมโอกาสฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๖๐ ป ๙ มิถนุ ายน ๒๕๔๙ รัฐบาล มอบหมายให กรมศิลปากร ไดดําเนินการจัดทําสรอยนพรัตนสังวาลขึ้นมาใหม ถวายเปนพุทธบูชาเปน สํารับ ที่ ๒


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

419

พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๗ และ สมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงสายสะพาย เครื่องราชอิสริยาภรณ อันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ ในการ พระราชพิธีสมโภช พระพุทธชินราช แลวเสด็จพระราชดําเนินเสด็จเปดโรงเรียนพิษณุโลกวิทยายน วันที่ ๘ มกราคม พ.ศ.๒๔๖๙

ขณะเสด็จพระราชดําเนินลงศาลาทานํ้าหนามณฑล กอนเสด็จประทับพระเสลี่ยงคานหามขามแมนํ้า นานและ เสด็จฯ ทรงทอดพระเนตร ศิลาจารึกรัชกาลที่ ๕ และ ตนโพธิ์ ที่ รัชกาลที่ ๕ ทรงปลูกไว ในป พ.ศ. ๒๔๔๔


420

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระธํามรงครัตนวราวุธ สําหรับ พระมหากษัตริยทรงในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ลักษณะอัญมณีของ สายนพรัตนสังวาลแกวนพรัตน ประกอบดวย แกว ๙ ประการ ประกอบดวย เพชร, ทับทิม, มรกต, บุษราคัม, โกเมน, นิล, มุกดา,,เพทาย ,ไพฑูรย, รวม ๙ ชนิด ๑. เพชร ทีเ่ ราทราบกันวา แกววิเชียร นัน่ เอง มีสขี าวเปนประกายแวววาว เมือ่ ถูกแสงไฟหรือแสงแดด ๒. ทับทิม เปนพลอยสีแดง ๓. มรกต เปนแกวสีเขียวใบไม ๔. บุษราคัม เปนพลอยสีเหลือง นํ้าทองคํา มีประกายเล็กนอย ๕. โกเมน เปนพลอยสีแดงเขมคอนขางดํา สีแกกวา ทับทิม ๖. นิล เปนพลอยสีดํา หรือสีขาบ ดําสนิทแข็งดุจหิน ๗. มุกดา เปนแกวไขมุก สีขาวนวลหมากๆ คลายไขมุก ๘. เพทาย เปนพลอยสีแดงสลัวๆ ขุนๆ มัวๆ ระวังจะหลงผิดคิดไปวาใช อาจจะเปนโกเมน ๙. ไพฑูรย เปนพลอยสีเขียว มีนํ้าเปนรุงกลอกไปมา บางทานเรียกวา เพชรตาแมว หรือ แกวสีไมไผ ก็เรียก ตามคติโบราณาจารยบางทานผูกเปนโคลงกลอนสอดคลองกัน เพื่อจดจํางายๆ อยางนี้:เพชรดี (๑) มณีแดง (๒) เขียวใสแสงมรกต (๓) เหลืองใสสดบุษราคัม (๔)แดงแกกํ่าโกเมนเอก (๕) สีหมอกเมฆนิลกาฬ (๖) มุกดาหารสีหมอกมัว (๗) แดงสลัวเพทาย (๘) สังวาลสายไพฑูรย (๙) ๑.พระสังวาลพระนพ สรอย ออน ๓ เสน ทําดวยทองคํา มีดอกประจํายามประดับดวย นพรัตนมณี ๙ สี ๒.พระธํารงคองคตางๆสําหรับ พระมหากษัตริยทรงในพระราช พิธีบรมราชาภิเษก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.