101 150

Page 1

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

101

เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๙ พระราชทาน แกขารองพระบาทจังหวัดพิษณุโลก

เหรียญรัตนาภรณ ชั้น ๓ ทองคําลงยาสีขาว แบบบุรุษ และ สตรี นายสุรินทร ดําริสถลมารค นายกสมาคมนักเรียนเกาพิษณุโลกพิทยาคม ลําดับที่ ๗ รับพระราชทาน เหรียญรัตนาภรณ ชั้น ๔ (ทองคํา ขอบเพชรสรงเงิน) วันที่ ๑ มีนาคม๒๕๐๑


102

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เหรียญรัตนาภรณ ชั้นที่ ๕ (ภ.ป.ร. ๕) นายเกรียง คชรัตน เสมียนตราจังหวัดพิษณุโลก ๑ ใน ๒๐ รายของ ขาราชการจังหวัดพิษณุโลก ที่ถวายงานรับเสด็จฯ ใน ป พ.ศ.๒๕๐๑ ที่ไดรับพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานเหรียญบําเหน็จความดีสวนพระองค ในแผนดินรัชกาลที่ ๙ นาย เกรียง คชรัตน นักเรียนเกาโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม พ.ศ.๒๔๘๐ เสมียนตราจังหวัด พิษณุโลก ในป พ.ศ.๒๕๐๑ผูถวายงานดูแลเขตพระราชฐานชั้นใน ในการรับเสด็จ ฯ ในครั้งนั้น ปจจุบัน อายุ ๙๕ ป เลาวา นายปรง พะหูชนม ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก ไดเตรียมการรับเสด็จฯอยางเต็มที่ ถึงกับพูดเปนลางวา “ทํางานครัง้ นีแ้ บบถวายหัวเลย” กอนหนาเสด็จฯ สัก ๑ เดือน กระทรวงมหาดไทยเรียก ผูว า ราชการจังหวัดทีเ่ กีย่ วของกับการรับเสด็จไปประชุมทีก่ รุงเทพ เทาทีท่ ราบวา ใหรายงานรายละเอียดการ เตรียมการรับเสด็จและแผนงบประมาณ ในขณะนัน้ ในสวน จังหวัดพิษณุโลกไดใชเงินหมดไปแลว ๔๐๐,๐๐๐ กวาบาท จึงเกิดวิตกกังวลวาจะถูกตัดงบที่จายไปแลว เพราะจังหวัดอื่นๆ โดนตัดปรับลดไปพอสมควร จึงโทรเลขมาตามตัวเสมียนตราจังหวัดใหลงไปชวยชีแ้ จง แตไมไดลงไปเพราะเห็นวา มีอกั ษรเลขติดตามทาน ผูว า ฯไปดวยแลว ภายหลังไดรบั โทรเลขแจงวาผูว า ปรงเครียดจัดจนเกิดช็อค กระทันหัน และเสียชีวติ ในระยะ เวลาตอมาไมนาน กระทรวงฯจึงสง นายพวง สุวรรณรัฐ ซึ่งเคยดํารงตําแหนงผูวาฯพิษณุโลกมาครั้งหนึ่ง แลว มาดูแลเตรียมการรับเสด็จฯแทน ภายหลังตนจึงไดลงไปกรุงเทพ ฯ ไปชี้แจงงบประมาณกับ อธิบดีกรม บัญชีกลาง นายบุญมา วงศสวุ รรณ ซึง่ เปนผูม อี าํ นาจอนุมตั งิ บกลาง เมือ่ ยืน่ บัญชีรายละเอียดพรอมภาพถาย ของงานที่ดําเนินการไปแลวอยางสมพระเกียรติประกอบ ทานอธิบดี ฉุนเฉียวมาก พูดดวยเสียงดังอยางมี อารมณ วา “เห็นเงินเปนกระเบื้องหรือไง สมัยราชาฯ เขายังไมทํากันอยางนี้” แลวก็เดินไปที่หนาตาง


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

103

สักครูคงนึกคิดขึ้นมาได จึงเดินกลับมาพูดวา “จายหมด ใหหมด” จึงรีบลากลับพิษณุโลกมาแจงทานผูวา พวง ใหทราบในทันที การเตรียมการรับเสด็จของจังหวัดพิษณุโลก เปนไปอยางสมพระเกียรติ แมชาวพิษณุโลกจะพึ่ง ประสบเคราะหกรรม ไฟไหมใหญเผาตลาดเมืองพิษณุโลกยอยยับ และกําลังอยูในระยะฟนฟูบานเมือง ซึ่ง เปนยานธุรกิจดวยความสํานึก จงรักภักดี และเปนบุญทีไ่ ดชนื่ ชมพระบารมีของทัง้ สองพระองค ชาวพิษณุโลก ทัง้ พอคา ประชาชน คนไทย คนจีน คนแขก และทุกศาสนา รวมกันจัดสรางซุม รับเสด็จ และตกแตงบานเมือง ถวายอยางสมพระเกียรติในสมัยนัน้ ทุกคนใบหนาแชมชืน่ เฝารอคอยวันเสด็จพระราชดําเนิน เมืองพิษณุโลก เปนครั้งแรก นับแตพระองคทรงครองราชสมบัติ ในสวนตัวนับเปนพระมหากรุณาธิคุณที่ไดรับโอกาสถวาย งานรับเสด็จฯ ในสวนของที่ประทับแรม ที่มุขหนาศาลากลาง ที่พึ่งสรางเสร็จใหม ๆ แทนศาลากลางหลัง เดิม ซึ่งเปนไมใตถุนสูง ตั้งอยูบริเวณที่วาการอําเภอเมืองพิษณุโลกในปจจุบัน ไดรับหนาที่ประสานกับสํานัก พระราชวัง ฝายทีป่ ระทับ เทาทีพ่ อจําได แทนพระบรรทม สํานักพระราชวังเชิญมาจากกรุงเทพฯ ๒ แทน และ เครือ่ งทรงอืน่ ๆ สวนทีท่ างจังหวัดจัดถวายก็มหี ลายอยาง ซึง่ เปนของเกา ทีเ่ ก็บรักษาไวที่ หองเก็บของและพึง่ ถูกไฟไหมไปกอนหนานี้ สวนใหญจะเปน เครื่องกระเบื้องจําไดวามี ตราชาง และ คําวาพิษณุโลก กํากับ แตเขียน พิศณุโลกย ดวย ศ.ศาลา และหลายสิ่งเทาที่เห็น อาทิ ชอน หมอ ถวย และ บางสิ่งที่จัดทําใหเปน เครื่องโลหะ เปนตน เปนบุญของผม ในวันสุดทายกอนเสด็จฯ พระราชดําเนินตอไปสุโขทัย ทรง พระราชทาน เหรียญรัตนาภรณ ใหทานผูวาพวง และคณะ มี หมอ ตํารวจ นายอําเภอ ที่ถวายงานในสมัยนั้น เกือบ ๒๐ คน ที่โถงชั้นลางของศาลากลาง แลวจึงเสด็จลงจากศาลากลาง ผมไดรับพระมหากรุณาธิคุณดวย เปนบุญ ของชีวิตผมซึ่งเปนขาราชการชั้นผูนอย ขาราชการบานนอกเปนยิ่งนัก มาจนทุกวันนี้ ในป พ.ศ. ๒๕๐๕ ผมก็ไดมโี อกาสถวายการรับเสด็จฯ อีกครัง้ เสด็จฯทรงเปดศาลสมเด็จพระนเรศวร ผมมีหนาที่ดูแลเรื่องอาหารการกินของเจาหนาที่สํานักพระราชวัง เกือบ ๗๐ คน ตองไปอาศัยโรงเรียน จาการบุญ เปนที่ประกอบเลี้ยง หลังจากนั้นไมนาน ผมก็ไดเปนนายอําเภอบางกระทุม และตระเวนไป หลายอําเภอ อาทิ กงไกรลาส ศรีสําโรง ลาดยาว จนมาเกษียณอายุราชการ ในตําแหนงนายอําเภอวัดโบสถ ในป พ.ศ. ๒๕๒๒ ทุกวันเฉลิมพระชนมพรรษา ผมจะหยิบเหรียญรัตนาภรณที่ติดอยูในแถบเหรียญตราที่ ไมมีโอกาสไดประดับเครื่องแบบเพราะพนหนาที่ราชการมายาวนานแลวหยิบใสมือมาดูและนึกถึงพระองค ทุกครั้งไปจนกวาชีวิตจะหาไม นายแพทยเบนทูล บุญอิต อดีตผูอํานวยการ โรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก คนแรก ผูไดรับพระราชทาน เหรียญรัตนาภรณ ชั้น ๓ (ภ.ป.ร.๓ ) ทองคําลงยาสีขาว ขอบเพชร สรงทองคํา และ นางผกา บุญฮิต หัวหนาพยาบาล ฯ คนแรก

นายนมัส ไตรยสุนันท นายอําเภอวังทอง ผูถวายงานรับเสด็จ ผูไดรับพระราชทาน เหรียญรัตนาภรณ ชั้น ๕ (เงิน ขอบสรงเงิน)


104

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จลงจากศาลากลางจังหวัดพิษณุโลกที่ประทับแรม ขึ้นประทับรถยนตพระที่นั่ง เสด็จพระราชดําเนินออกจากศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ไปยังจังหวัดสุโขทัย นายพวง สุวรรณรัฐ รักษาการผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก และ ขาราชการ ทหาร ตํารวจ และประชาชน เฝาฯ สงเสด็จ ฯ วันเสารที่ ๑ มีนาคม ๒๕๐๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ซุมรับเสด็จ ฯ ที่พสกนิกรชาวจังหวัดพิษณุโลก (เมืองที่มีความยิ่งใหญประดุจเมืองของพระนารายณ) จัดสรางถวายความจงรักภักดี ในการเสด็จพระราชดําเนิน ครั้งปฐม ใน ป พ.ศ. ๒๕๐๑

สถานีรถไฟพิษณุโลก ปฐมรอยพระบาท เหนือแผนดินเมืองพิษณุโลก วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ เวลา ๑๕.๑๕ น.

105


106

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ซุมรับเสด็จ ฯ หนา พระวิหารพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร

ซุมรับเสด็จ ฯ ที่ ๑ ธนาคารกสิกรไทย บริเวณ หนาสถานีรถไฟพิษณุโลก (ขณะนั้นยังไมไดสราง วงเวียนหนาสถานีรถไฟพิษณุโลก ซึ่งทางรถไฟกรุงเทพฯ พิษณุโลก สรางเสร็จและเปดเดินรถจาก กรุงเทพฯ ถึงพิษณุโลกในป พ.ศ. ๒๔๕๐)


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

107

ซุมรับเสด็จ ฯ ชาวจีนพิษณุโลก พรอมองคเทพเจาที่อัญเชิญมา ประทานพร ในการถวายการรับเสด็จ ฯ

ซุมรับเสด็จ ฯ ชาวจีนพิษณุโลก ซึ่งเปนซุมที่ ๒ จากสถานีรถไฟ ที่ขบวนรถพระที่นั่ง เคลื่อนผาน บริเวณสี่แยกถนนนเรศวร ตัดกับถนนบรมไตรโลกนาถ (แยกสถานีตํารวจ) ขณะที่กองลูกเสือโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม (พ.ล. ๑) กําลังเคลื่อนขบวน รอดผานซุม จะปรากฏเห็น ซุมรับเสด็จชาวอินเดียในพิษณุโลก อยูดานหลัง บริเวณ แยกถนนพุทธบูชา (ริมนํ้านาน ทาเรือเขียว)


108

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ซุมรับเสด็จ ฯ บริเวณถนนพุทธบูชา บริเวณ หนาโรงเรียนอนุบาล พิษณุโลกเกา (ปจจุบัน สพป. เขต ๑ )

ซุมรับเสด็จ ฯ ชาวอินเดียในจังหวัดพิษณุโลก บริเวณ สามแยกริมแมนํ้านาน (สะพานเอกาทศรถ ปจจุบัน) และซุมรับเสด็จ หนาที่วาการอําเภอเมืองพิษณุโลกเกา (บริเวณ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก ปจจุบัน)


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

109

ซุมรับเสด็จฯ บริเวณถนนพุทธบูชา กอนถึง เชิงสะพานนเรศวร (สะพานดํา) ดานตะวันออกเฉียงใต ของคอสะพาน อัญเชิญ รูปพระมาลาเบี่ยง และพระแสงของาวแสนพลพาย ประดิษฐาน เห็นศาลาโรงโขนเกา

ซุมรับเสด็จ ฯ ทหารและ ครอบครัว คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช บริเวณถนนริมนํ้ามุม ศาลากลางจังหวัด ซุมรับเสด็จฯ กองทัพภาคที่ ๓ อัญเชิญ เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๙ จําลองและตรากองทัพภาคที่๓ สิบโททวี บูรณเขตต คณะทหารชางออกแบบกอสราง และซุมรับเสด็จ คณะครู และ นักเรียน โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม


110

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สะพานนเรศวร (สะพานดํา) ประดับ อักษรพระปรมาภิไธย และ ราชสีห พรอม ริ้วธงชาติ อยางงดงามสมพระเกียรติคุณ

ซุมเฉลิมพระเกียรติฯ บริเวณหนาโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี (พ.ล. ๒) มองเห็นตนพะยอม ปลูกเปนทิวแถว ริมแมนํ้านานถนนพุทธบูชา และ สะพานนเรศวร (สะพานดํา) งดงามยิ่ง


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

111

อาคารศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก หลังเกา นับแตเปนมณฑลพิศณุโลก บริเวณที่วาการอําเภอ เมืองพิษณุโลก ในปจจุบัน และกองกํากับการตํารวจจังหวัดพิษณุโลก หันหนาสูแมนํ้านาน เสนทาง เสด็จพระราชดําเนินผาน ในปพ.ศ.๒๕๐๑ นํ้าทวมใหญ ในป พ.ศ. ๒๔๘๕ (หรือ นิยมเรียกวา ปนํ้าแดง) ชวงสงครามอินโดจีน เปนมหาอุทกภัย ครั้งประวัติศาสตรของไทย

สภาพเรือเอี้ยมจุน เรือมอญ บรรทุกขาวเปลือกและ สิ่งของ จอดเรียงรายริมแมนํ้านาน บริเวณ ดานใตสะพานนเรศวร (สะพานดํา) และ สภาพเรือนแพ เรือที่จอดในแมนํ้านานเปนทิวแถวตลอดสองฟาก ฝง บงบอกถึง ความอุดมสมบูรณของเมืองพิษณุโลก แผนดินศักดิ์สิทธิ์ ดินแดนประวัติศาสตร ราชธานี สองแผนดิน (สมัย พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไท) กรุงสุโขทัย เสด็จมาประทับ ๗ ป และ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กรุงศรีอยุธยา เสด็จมาประทับ ๒๕ ป มาแตโบราณ

สะพานนเรศวร ยุค ๒ เมื่อสรางใหมเปนสะพานคอนกรีต (สะพานเดี่ยว) ตัดถนนมิตรภาพเชื่อม คอสะพาน หลัง ป พ.ศ. ๒๕๐๓ ตัด วัดนางพญา กับ วัดราชบูรณะ ซึ่งเดิมพื้นที่ติดกัน ใหแยกขาดออก จากกัน มีถนนคั่นกลางมาจนปจจุบัน (ภาพป พ.ศ. ๒๕๑๒)


112

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

นายปรง พหูชนม ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก ในงานฉลองรัฐธรรมนูญ ที่ หนาเทศบาลเมืองพิษณุโลกเกา ในป พ.ศ. ๒๔๙๘ ผูถวายงานรับเสด็จ ฯ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ครั้งปฐม พ.ศ. ๒๕๐๑ แบบถวายหัว และ ได ช็อค หมดสติ และ เสียชีวิตอยางกะทันหันในเวลาตอมา (๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๐๑) กอนเสด็จพระราชดําเนิน จนในวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๐๑ นายพวง สุวรรณรัฐ จึงมารักษาการแทนฯ ในตําแหนงผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก เปนครั้งที่ ๒

113


114

พระบารมีปกเกลา ชาวพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ปฐมประพาส ประชาราษฎรช่นื ชมพระบารมี ครั้งปฐมอุดมฤกษเบิกฟากฟา ยี่สิบเจ็ดกุมภาฟาอําไพ องคภูมิพลลนเกลาเจาประเทศ เสด็จเยือนเมืองสองแควแลตระการ พระเสด็จพรอมองคพระทรงศรี โดยรถไฟไกลพารามหานคร พระเสด็จสูอารามงามสงา พระชินราชงดงามลํ้าธานินทร ปสองพันหารอยกอนเสด็จ อัคคีผลาญบานเรือนสุดพรรณนา พิษณุโลกโศกตรมระทมจิต โอเวรกรรมนําซัดแตปางไหน แตความโศกพลันสูญอาดูลยสิ้น ดุจนํ้าฝนชโลมจิตชุบชีวา แลวประทับพลับพลาวราอาสน ตางแซซองรองถวายพระพรชัย ครั้นรุงแจงแสงทองผองโอภาส ทรงบวงสรวงบูรพกษัตรา แลวเสด็จสูอารามงามรุงโรจน ถวายพัดรัตนาภรณบูชาพลี ตนไมเงินตนไมทองของสิ่งสรรพ บริขารถวายสงฆพงศชินวร พราหมณเบิกเทียนสมโภชชินราช เปนมงคลเลิศดิถีพิธีการ แลวเสด็จคายทหารทัพภาคสาม ทรงเปดศาลพิพากษาสถาพร ณ อําเภอวังทองในทองถิ่น วังนกแอนมีนํ้าตกทกธารา ใกลนํ้าตกวิหคผินบินถลา อนุสรณนามใหมพระราชทาน

สองพันหารอยหนึ่งถึงสมัย ชาวประชาพาสุขใจไดสําราญ ปนปกเกตุชาวไทยในสถาน ประดิษฐานรอยพระบาทยาตราจร สิริกิติ์ราชินีศรีสมร เพื่อดับรอนชาวประชาพาสุจินต กราบองคพระปฏิมาสงาศิลป ทั่วแผนดินยกยองกองโลกา เกิดอาเพศวิปโยคโศกทั่วหนา ชาวประชาสุดสลดรันทดใจ มิไดคิดจะประสบพบเคราะหใหญ นํ้าตาไหลไรซึ่งที่พึ่งพา เมื่อภูมินทรเสด็จถึงซึ่งเคหา ซับนํ้าตาบรรเทาคลายเศราใจ ประชาราษฎรชื่นชมสมสมัย ดังเกริกไกรกึกกองทองนภา พระเยื้องยาตรสูวังจันทนอันสูงคา ตามจรรยาราชาประเพณี ทรงสมโภชพระชินราชตามดิถี อีกมณีนพรัตนวราภรณ นอมภิวันทนปฏิมาวราสรณ ประนมกรนอมหัตถนมัสการ โหรประกาศเชิญเทวามาสมาน ตามโบราณประเพณีศรีบวร ลงพระนามแผนศิลาอนุสรณ เสด็จจรโรงพยาบาลการวิชา องคภูมินทรเสด็จไปพบไพรฟา พระยาตราประทับชมสมสําราญ รองเริงรารื่นรมยสมสถาน สกุโณทยาน ขานขับประทับใจ ฯ พิษณุ เมืองพระงาม ประพันธ ถวายพระเกียรติคุณ

115


116

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ (อังกฤษ: The Ancient and Auspicious Order of the Nine Gems) อักษรยอวา (น.ร.) เปนเครื่องราชอิสริยาภรณที่มีความเปน มาสืบแตครั้งกรุงศรีอยุธยา เปน สายสรอยพระสังวาลประดับนพรัตน (พลอย ๙ สี) ทําดวยทองคําลวน มี ๓ เสน ยาวประมาณ ๑๒๔ เซนติเมตร เปน เครื่องราชูปโภคสําหรับพระพิชัยสงคราม และ สําหรับ พระมหากษัตริยทรงเมื่อพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เสด็จขึ้นประทับพระที่นั่งภัทรบิฐ พราหมณทูลเกลาฯ ถวาย เพื่อทรงสวมพระองคกอนจะทรงรับเครื่องเบญจราชกกุธภัณฑ๖ เมื่อ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเปนปฐมกษัตริยแหง ราชวงศจักรี ก็ทรงไดรับ “พระสังวาลพระนพ” นี้เปนของสําหรับแผนดินสืบมา และไดโปรดเกลาฯ ใหสราง “พระมหาสั ง วาลนพรั ต นราชวราภรณ ” เพิ่มขึ้นอีกสายหนึ่ง เปน สั ง วาลแฝดประดั บ เนาวรั ต น (นพรัตน ) ยาว ๑๗๖ เซนติเมตร ประกอบ ดวย เพชร ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทาย ไพฑูรย มีลักษณะเปนดอก ๓๖ ดอก วางสลับกันตลอดสาย๗

๑. พระสังวาลพระนพ สรางมาแตครั้งกรุงศรีอยุธยา ๒. พระมหาสังวาลนพรัตนราชวราภรณในรัชกาลที่ ๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

117

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๔ ทรงพระบรมราชกระแสวา ตามธรรมเนียม เดิมของสยามนัน้ จะมี “แหวนนพเกา” สําหรับพระเจาแผนดินทรงและพระราชทานแกเสนาบดี ซึง่ โดยปกติ จะสอดไวในประคดทีค่ าดกับเอว และเมือ่ มีงานพิธที เี่ ปนมงคลก็จะนํามาสวมทีน่ วิ้ ชีท้ างขวาเพือ่ ประกอบกิจ ในงานมงคลนั้น ๆ เชน เจิมใหแกคูบาวสาว วางศิลาฤกษ เปนตน และเมื่อพระองคเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ ก็ไดพระราชทานแหวนดังกลาวแกพระบรมวงศานุวงศและเสนาบดีผใู หญรวม ๒๐ วง ทรงพระกรุณาใหสราง ดารานพรัตน ดอกประจํายาม (ดารารัศมี ๘ แฉก) ประดับพลอยทั้งเกา ขึ้นสําหรับใชประดับที่เสื้อแสดง ยศอยางสูง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๑ ทรงเรียกวา “เครื่องประดับสําหรับยศ” เปนเครื่องราชอิสริยาภรณไทยที่ ถือ กําเนิดขึ้น๘

๑. แหวนนวรัตน (นพรัตน) พระราชทานฝายหนา ๒. ดารานพรัตน รัชกาลที่ ๔ ทําดวยทองคํา ลงยาราชาวดี ประดับเพชรพลอย ๙ สี ขนาด ๖ เซนติเมตร ประดับฉลองพระองคเบื้องซาย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๐๑ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๕ ไดทรงสราง ดวงตรามหานพรัตน ขนาด เล็กลักษณะแบบดอกประจํายามใชสําหรับหอยกับแพรแถบสายสะพายสีเหลืองขอบเขียวริ้วแดงริ้วนํ้าเงิน ทรง ตราพระราช บัญญัติ เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ ขึ้นเมื่อ พุทธศักราช ๒๔๑๒ กําหนดใหมีเครื่องราชอิสริยาภรณตระกูลนี้ ๒๐ สํารับ ตามจํานวนแหวนที่พระบาท สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงสรางขึ้นแบงเปนสําหรับพระมหากษัตริย ๑ สํารับ และพระราชทาน แกพระบรมวงศานุวงศอีก ๑๙ สํารับ ขึ้นเปนครั้งแรกของเครื่องราชอิสริยาภรณไทย และไดเปลี่ยนคําที่เรียก “เครื่องราชอิสริยยศ” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงบัญญัติไวเปนครั้งแรกเปน “เครื่อง ราชอิสริยาภรณ” ทรงแกไขพระราชบัญญัติเกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณ โดยแยกออกเปนแตละตระกูล ตระกูลนีต้ ามพระราชบัญญัตใิ หมเรียกวา “พระราชบัญญัตสิ าํ หรับเครือ่ งราชอิสริยาภรณอนั เปนโบราณ มงคล นพรัตนราชวราภรณ รัตนโกสินทรศก ๑๑๒ ประกาศเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม (พ.ศ. ๒๔๓๖) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาฯ ใหเพิ่มจํานวนเครื่อง ราชอิสริยาภรณ ตระกูลนี้อีก ๗ สํารับ รวมเปน ๒๗ สํารับ เทากับ พระสังวาลนพรัตนราชวราภรณ


118

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงสรางขึ้นนั้น มีจํานวนเนาวรัตนดอกพระสังวาลสลับกัน ๒๗ ดอก สําหรับ องคพระมหากษัตริย ๑ สํารับ และพระราชทานแกพระบรมวงศานุวงศและขาราชการ ชั้นผูใหญ ๒๖ สํารับ ทรงยกเลิกกฎหมายเกี่ยวกับเครื่องราชอิสริยาภรณนี้ทั้งหมด แลวตราพระราชบัญญัติ ขึ้นใหมเรียกวา “พระราชบัญญัติอันเปนโบราณมงคลยิ่ง นพรัตนราชวราภรณ พุทธศักราช ๒๔๘๔” ซึ่งยังคงรักษาราชประเพณีพระราชทาน พระธํามรงคนพรัตน หรือ แหวนนพรัตน พระราชบัญญัตินี้ได บังคับใชจวบจนถึงปจจุบัน ”

๑. พระบรมฉายาทิสลักษณ รัชกาลที่ ๖ ฉลองพระองค ขัตติยราชภูษิตาภรณ ครุยนพรัตนราชวราภรณ ๒. ผาทรงสะพัก ฝายในผูสูงศักดิ์ เวลาฉลองพระองคประดับเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคล ปกดิ้นเงินดิ้นทองประดับอัญมณี ดารานพรัตน ลอมขอบดวยสรอยพระสังวาลนพรัตน ชายสุดของผา รูปมหานพรัตน เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ มีเฉพาะชั้นสายสะพาย ชัน้ เดียว ทัง้ นี้ ผูร บั พระราชทานตองเปนพุทธมามกะ และจะประดับเครือ่ งราชอิสริยาภรณนใี้ นงานมงคล หรืองานที่มีหมายกําหนดการระบุไวเทานั้น ประกอบดวย ๑. สําหรับพระมหากษัตริย มีรูปลักษณ เชน เดียวกับทีพ่ ระราชทานกับฝายหนา แต ดวงตรานพรัตน ประดับดวยเพชรทัง้ สิน้ และมี พระสังวาลนพรัตน เพิ่มขึ้นเปนพระสังวาลแฝด ที่มีมาตั้งแตสมัยรัชกาลที่ ๑ ใชประกอบพระราชพิธีสําคัญ ๒.สําหรับสมเด็จ พระราชินี มีรูปลักษณ เชนเดียวกับที่พระราชทานแกฝายใน ดวงตราประดับเพชรอยางกษัตริย แตไมมี พระสังวาล


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

119

๑. ดวงตรามหานพรัตน ดานหนาเปนดอกประจํายาม ๘ ดอก ประดับ ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทาย ไพฑูรย ใจกลางเปนเพชร รวมพลอย ๙ อยางดานหลังลงยาสีแดง สีเขียว สีนาํ้ เงิน และอุณาโลมอยูกลาง มี จุลมงกุฏประดับเพชร อยูเบื้องบน ใชสําหรับหอยกับแพรแถบสายสะพายกวาง ๑๐ เซนติเมตร สีเหลือง ขอบเขียว มีริ้วสีแดง และนํ้าเงินคั่นระหวาง สีเหลืองขอบเขียวสะพายบาขวาเฉียง ลงทางซาย ๒. ดารานพรัตน เปนรูปดารา ๘ แฉก ทําดวยเงินจําหลักเปนเพชรสรง กลางเปนดอกประจํายาม ฝงพลอย ๘ อยาง ใจกลางเหมือน ดวงตรามหานพรัตน สําหรับประดับอกเสือ้ เบือ้ งซาย (สําหรับองคทเี่ ปน เครื่องตน ของพระมหากษัตริย ประดับเพชรลวน ) ๓. แหวนนวรัตน ทําดวยทองคําเนือ้ สูงฝงพลอย ๙ อยาง สําหรับสวมนิว้ ชีม้ อื ขวา มีเฉพาะฝายหนา (บุรุษ) เครือ่ งราชอิสริยาภรณอนั เปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ จัดเปนเครือ่ งราชอิสริยาภรณ ทีม่ ลี าํ ดับเกียรติเปนลําดับที่ ๓ รองจาก เครือ่ งราชอิสริยาภรณอนั เปนมงคลยิง่ ราชมิตราภรณ และ เครือ่ ง ขัตติยราชอิสริยาภรณอนั มีเกียรติคณ ุ รุง เรืองยิง่ มหาจักรีบรมราชวงศ และ เปนเครือ่ งราชอิสริยาภรณ ชั้นสูงสุดที่สามัญชนจะไดรับพระราชทาน พระมหากษัตริยไทย ทรงเปนพุทธมามกะ ทรงมีพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาสูงสง การพระราชทานจัด เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ เพื่อถวาย พระพุทธรูปสําคัญ อันเปน พุทธสัญลักษณแทนองคสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา เปนพุทธบูชา ปรากฏมี ดังนี้ พระบรมราชานุสาวรียพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช ฉลองพระองคบรมขัตติยราชภูษิตาภรณ พระสังวาลพระนพ และพระมหาสังวาลนพรัตนราชวรา ภรณ เฉวียงพระอังสา พระมาลาเสาสูง ประดับพระยี่กาเพชร ปกขนนกการเวก ฉลองพระบาทเชิงงอน และทรง พระแสง ดาบคาบคาย ประทับเหนือพระที่นั่งพุดตานกาญจนสิงหาสน ออกแบบโดย สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ ปนโดย นายโคราโด เฟโรจิ (ศ. ศิลป พีระศรี) หลอขึ้นที่ประเทศอิตาลี


120

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั ทรงเปลือ้ ง เครือ่ งราชอิสริยาภรณอนั เปนโบราณ มงคลนพรัตนราชวราภรณ (น.ร.) ถวาย พระพุทธชินราชจําลอง วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ๑๓ ธันวาคม ๒๔๔๔ เวลาบาย ๕ โมงเศษ๙ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงเปลื้อง เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณ มงคลนพรัตนราชวราภรณ (น.ร.) คลองที่นิ้วพระหัตถพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร พิษณุโลก ถวายเปนพุทธบูชา ในการ พระราชพิธีสมโภชพระพุทธชินราช ตามราช ประเพณี เมื่อวันที่ ๗ มกราคม ๒๔๖๙ เวลา ๑๐.๐๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน โบราณ มงคลนพรัตนราชวราภรณ (น.ร.) แดพระพุทธสิหงิ ค ซึง่ เปนพระประธาน ณ พระอุโบสถ วัดพระศรีมหาธาตุ ราชวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพฯ ตามที่รัฐบาลกราบบังคมทูล เมื่อวันที่ ๒๔ มิถนุ ายน ๒๔๘๘

ดารานพรัตน พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงเปลื้องสายสะพาย เครื่องราช อิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวราภรณ (น.ร.) ถวายพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ วรมหาวิหาร พิษณุโลก เปนพุทธบูชา ในการพระราชพิธีสมโภชพระพุทธชินราช ตามราชประเพณี เมื่อ วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

121

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ พระราชทานเครื่องราชอิสยาภรณ อันเปนโบราณมงคล นพรัตนราชวราภรณ เเกพระบรมวงศศานุวงศหลายพระองคเเละขาราชการ ชั้นผูใหญดังนี้ ๑. สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ (พ.ศ. ๒๔๙๓) ๒. สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (พ.ศ. ๒๕๐๔) ๓. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร (พ.ศ.๒๕๑๖) ๔. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี (พ.ศ. ๒๕๒๐) ๕. สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร (พ.ศ.๒๕๒๖) ๖. สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี (พ.ศ.๒๕๓๖) ๗. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต (พ.ศ.๒๕๐๙) ๘. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท (พ.ศ.๒๕๓๑) ๙. นายสัญญา ธรรมศักดิ์ (พ.ศ. ๒๕๓๙)

๑. เครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคล นพรัตนราชวราภรณ ร.ศ. ๑๑๒ ๒. มหานพรัตน หอยกับแพรแถบ ผูกเปนรูปแมลงปอ สําหรับ ฝายใน(สตรี ) ประดับที่หนาบาซาย รัชสมัยรัชกาลที่ ๘ กําหนดใหพระราชทานทั้งฝายหนา (บุรุษ) และเพิ่ม ฝายใน


122

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ดวงตรามหานพรัตน และ แถบแพรสายสะพาย เครือ่ งราชอิสริยาภรณอนั เปนโบราณมงคล นพรัตนราชวราภรณ เชิญสวมคลองในพระหัตถพระพุทธชินราช ตามราชประเพณี ในพระราชพิธีถวายผากฐินหลวง (๑ ใน ๑๖ พระอาราม สงวนไวสําหรับ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว เสด็จพระราชดําเนิน หรือ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหพระบรมวงศานุวงศ เปนผูแทนพระองค เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค ตามราชประเพณี หรือเสด็จฯ ปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจ ณ พระวิหารพระพุทธชินราช (ภาพเกา กอนป พ.ศ. ๒๕๐๐)


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

123

พัดรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๙ พั ด รั ต นาภรณ หรื อ พั ด ประจํ า รั ช กาล เป น พั ด ที่ เ ริ่ ม สร า งมาตั้ ง แต ส มั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ สําหรับ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ นั้น ไดเสด็จ เถลิงถวัลยราชสมบัติ เมื่อวันที่ ๙มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ทรงเปนพระมหากษัตริยพระองคที่ ๙ แหงพระบรม ราชวงศจักรี และมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเปนกษัตริยตามโบราณราชประเพณี เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางพัดรัตนาภรณขึ้นสําหรับพระราชทานแกพระสงฆที่ทรง เคารพนับถือและคุนเคยโดยเฉพาะ ถือวาเปนพัดยศและใชไดเฉพาะผูไดรับพระราชทานเทานั้นผูอื่นจะนํา ไปใชไมได และใชไดเฉพาะเวลาถวายอนุโมทนาในงานพระราชพิธีฉัตรมงคลเทานั้น ไดทรงพระกรุณาโปรด พระราชทานถวายพัดรัตนาภรณ แกพระมหาเถระ ๕ รูป คือ ๑. สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว. ชื่น นพวงศ) วัดบวรนิเวศวิหาร ๒. สมเด็จพระสังฆราช (อยู ญาโณทยมหาเถร) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร ๓. สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฐายีมหาเถร) วัดมกุฏกษัตริยาราม ๔. สมเด็จพระสังฆราช (วาสน สาสนมหาเถร) วัดราชบพิธ ๕. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช ( เจริญ สุวฑฺฒนมหาเถร ) วัดบวรนิเวศวิหาร และทรงถวายเปนพุทธบูชาพระพุทธปฏิมากรสําคัญของประเทศ คือ พระพุทธชินราช วัดพระศรีรตั นมหาธาตุ วรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก ใน การพระราชพิธสี มโภชพระพุทธชินราช เมือ่ วันศุกรที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๐๑ พัดรัตนาภรณ ลักษณะเปนพัดหนานาง ทําดวยผาตวนพืน้ สีนาํ้ เงิน ตรงกลางปกดิน้ เงินอักษร พระปรมาภิไธย ยอ “ภ.ป.ร.” ภายในวงกลมมีรัศมี ๒๘ แฉก (ลักษณะเชนเหรียญรัตนาภรณ ) มีเลข ๙ อยูดานบน รอบขอบ ในพัดเปนแถบสีเหลือง และสีขาว ๒ ริ้ว สวนดานบนสุดปกดิ้นเงินเปนลายกนกหนากาฬ ปกตราจักรี ( จักร และตรีศลู ) สวนตรงกลางนมพัดปกเปนรูปกลีบบัว และ พระมหาพิชยั มงกุฎ สําหรับ พัดรัตนาภรณ ดาม ที่ถวายพระพุทธชินราช เปนพุทธบูชา จะปกดิ้นทอง เพิ่ม เปนเลขไทย ๒๕๐๑ (พุทธศักราช ที่ทรงถวาย) ดามเปนไม คอและสันพัดเปนโลหะ ดานหลังพัดหุมผาไหมสีเหลืองทอง


124

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ตราพระจักรี และอักษรพระปรมาภิไธยยอ ภ.ป.ร. พัดรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๙ ถวายพระพุทธชินราช เปน พุทธบูชา

พระแสงจักร และ พระแสงตรีศูล พระราชศัสตราวุธ หนึ่งในรัชกาลที่ ๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

125

เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๙ เหรียญรัตนาภรณ เปน เหรียญราชอิสริยาภรณอนั เปนบําเหน็จในพระองคพระมหากษัตริย เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๙ สรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๕ สําหรับพระราชทานเปนสวนพระองค พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีลักษณะเปนวงกลม มีอักษรพระปรมาภิไธย (ภ.ป.ร.) อยูในขอบวงกลมซึ่งมีรัศมี ๒๘ แฉก และมีหูสําหรับรอยแพรแถบ พื้นสีเหลือง มีริ้วขาว๒ ขาง โดยสําหรับ สตรีใชผูกเปนรูปแมลงปอ สวนบุรุษไมผูก ใชกลัดอกเสื้อโดยแบงออกเปน ๕ ชั้น ไดแก ชั้นที่ ๑ ยอวา ภ.ป.ร.๑ มีลักษณะเปน อักษรพระปรมาภิไธย ภ.ป.ร. ขอบเรือนเงินประดับเพชรทั้งดวง ชั้นที่ ๒ ยอวา ภ.ป.ร.๒ มีลักษณะเปน อักษรพระปรมาภิไธย ภ.ป.ร.ทองคําลงยาสีขาว ขอบเรือนเงิน ประดับเพชร ชั้นที่ ๓ ยอวา ภ.ป.ร.๓ มีลักษณะเปน อักษรพระปรมาภิไธย ภ.ป.ร. ทองคําลงยาสีขาว ขอบเพชรสรงทองคํา ชั้นที่ ๔ ยอวา ภ.ป.ร.๔ มีลักษณะเปน อักษรพระปรมาภิไธย ภ.ป.ร. ทองคํา ขอบเพชรสรงเงิน ชั้นที่ ๕ ยอวา ภ.ป.ร.๕ มีลักษณะเปน อักษรพระปรมาภิไธย ภ.ป.ร. เงิน ขอบสรงเงิน๑๐

เหรียญรัตนาภรณ จัดเปนเหรียญราชอิสริยาภรณอันเปนบําเหน็จในพระองคพระมหากษัตริย นับเปนเครื่องหมายในพระมหากรุณาสวนพระองค พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จะทรงพระราชทาน แกผูใดก็แลวแตจะทรงพระราชดําริเห็นสมควร ผูที่ไดรับพระราชทานจะไดรับประกาศนียบัตรทรงลง พระปรมาภิไธยและประทับพระราชลัญจกรประจําพระองคกาํ กับไว หากไดรบั พระราชทานเหรียญฯในชัน้ ที่ สูงขึ้นตองสงเหรียญดวงเดิมคืน แตหาก ผูไดรับพระราชทานเหรียญวายชนม เหรียญก็จะตกทอดแกทายาท ซึง่ พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหทายาทสามารถใชเหรียญรอยสรอยสวมคอไดแตจะนําไปรอยแพรแถบ เพือ่ เอาไปประดับไมได นอกจากนี้ ผูไ ดรบั พระราชทานสามารถเขียนอักษรยอของเหรียญทีไ่ ดรบั พระราชทาน ไวทายชื่อดวย


126

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เหรียญรัตนาภรณ สถาปนาครัง้ แรกขึน้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๑๒ โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว๑๓ สําหรับพระราชทานผูที่มีความดีความชอบทั้งฝายหนาและฝายใน เดิมชื่อ เหรียญรจนาภ รณ เปน ชั้นที่ ๑ และ เหรียญบุษปมาลา เปนชั้นที่ ๒ และภายหลังจากการตราพระราชบัญญัติเครื่องราช อิสริยาภรณ พ.ศ. ๒๔๑๖ เปลี่ยนชื่อเปน เหรียญรัตนาภรณ แตการสถาปนาเหรียญรัตนาภรณในครั้งนั้นก็ ไมไดพระราชทานใหผใู ด จนกระทัง่ ป พ.ศ. ๒๔๔๔จึงโปรดเกลาฯ ใหสราง เหรียญรัตนาภรณ ขึน้ ใหม โดยให แบงออกเปน ๕ ขัน้ อักษรพระบรมนามาภิไธย (จ.ป.ร.) อยูใ นพวงมาลาเปนรูปวงกลมและมีหสู าํ หรับรอยแพร แถบ ริว้ สีขาวซึง่ อยูร ะหวางกลางริว้ แดง ๒ ขางเพือ่ พระราชทานเปนบําเหน็จความชอบแกผโู ดยเสด็จประพาส เกาะชวา ตองลําบากตรากตรําในเมือ่ ชวยรักษาพยาบาลสมเด็จพระเจาลูกยาเธอเจาฟาอัษฏางคเดชาวุธ กรมขุนนครราชสีมา ซึ่งประชวรหนัก ทั้งฝายหนาและ ฝายใน และพระราชทานแกผูอื่นเปนบําเหน็จความ ชอบอยางอื่นตอมา๑๑ ในป พ.ศ.๒๔๔๗ ในโอกาสครบรอบ ๑๐๐ ป วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดฯ ใหสราง เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๔ มีลักษณะเปนวงกลม มีอักษรพระบรมนามาภิไธย (ม.ป.ร.) อยูในพวงมาลาเปนรูปวงกลมและ มีหสู าํ หรับรอยแพรแถบ โดยแบงออกเปน ๕ ชัน้ สําหรับพระราชทานพระบรมวงศานุวงศและขาราชการผูร บั ราชการมาในรัชกาลที่ ๔ หรือผูเปนสมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณอันเปนโบราณมงคลนพรัตนราชวรา ภรณ หลังจากนั้น ไดมีการสถาปนาเหรียญรัตนาภรณขึ้น ในทุกรัชกาลจนถึงปจจุบัน เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๖ สรางขึน้ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๓ โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูห วั มีลกั ษณะเปนรูปไข มีอกั ษรพระบรมนามาภิไธย (ว.ป.ร.) อยูใ นพวงมาลามีหสู าํ หรับรอยแพรแถบ พื้นสีเหลือง มีริ้วดํา ๒ ขาง๑๒ เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๗ สรางขึ้น พ.ศ. ๒๔๖๙ โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยูหัว มีลักษณะเปนวงรี มีอักษรพระบรมนามาภิไธย ( ป.ป.ร. ) อยูในขอบวงรีหยิกทแยงสี่แง แพรแถบพื้น สีเหลือง มีริ้วเขียว ๒ ขาง๑๓ เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๘ สรางขึ้น เมื่อพ.ศ. ๒๔๘๐ สําหรับพระราชทานเปนสวนพระองค พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เปนวงกลม มีอักษรพระบรม นามาภิไธย ( อ.ป.ร.) อยูในขอบวงกลมซึ่งมีรัศมี แพรแถบพื้นสีเหลือง มีริ้วแดง ๒ ขาง เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่๙ ทั้ง ๕ ชั้น และ ใบกํากับ เ ห รี ย ญ รั ต น า ภ ร ณ  เหรียญบําเหน็จ ความดีสวนพระองค ใน รัชกาลที่ ๙


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

127

พระปรมาภิไธย และพระนามาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ปร สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ บนแผนศิลา พระราชอนุสรณ กองทัพภาคที่ ๓ พ.ศ.๒๕๐๑ พระปรมาภิไธย พระเจาแผนดิน พระปรมาภิ ไ ธย หรื อ พระบรมนามาภิ ไ ธย หมายถึง พระนามของ สมเด็ จ พระมหา กษัตริยาธิราชเจา ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร หรือ ชื่อที่จารึกในพระสุพรรณบัฏ หรือ ลายมือชื่อ (ลายเซ็น) ของพระมหากษัตริยท ไี่ ดมพ ี ระราชพิธี บรมราชาภิเษกแลว๑๗ เริม่ มีครัง้ แรกในสมัย พระบาท สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ ทรงโปรดใหเฉลิม พระปรมาภิไธยของพระองคแรก และเฉลิมพระปรมาภิไธยถวายแดสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจา ดังนี้ ๑. รัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (มติคณะรัฐมนตรี ๒๒ กันยายน ๒๕๒๔ ) ๒. รัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ๓. รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว ๔. รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ ฯ พระจอมเกลาเจาอยูหัว แตเนื่องจาก พระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย ตามจารึกพระสุพรรณบัฏ มีความยาวมาก ดังนั้น จึงนิยมกลาว พระปรมาภิไธยประโยคตนเพียงประโยคเดียว และใสเครื่องหมายไปยาลนอย (บางแหงใช ไปยาลใหญ ) ไว อาจตามดวยสรอยพระปรมาภิไธยประโยคทาย เชน ๕. รัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณฯ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ๖. รัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธฯ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ๗. รัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปกฯ พระปกเกลาเจาอยูหัว ๘. รัชกาลที่ ๘ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลฯ สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ๙. รัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุยเดชฯ สยามมินทราธิราช


128

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย ใชคํา พระบาทสมเด็จพระ นําพระปรมาภิไธย และ ยังมีวิธีเขียน พระปรมาภิไธย ได ๓ อยางคือ พระมหากษัตริย ทรงมี พระปรมาภิไธย อยางเต็ม หรือ อยางยิ่ง ซึ่ง สมณชีพราหมณาจารย เสนามาตย ราชบัณฑิต ชวยกันผูกเปนอักษรลักษณแสดงอรรถ และ จารึกไวใน พระสุพรรณบัฏ สําหรับ รับการทูลเกลาฯ ถวาย ในการ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ประกอบดวย คํานําพระนาม เชน พระบาทสมเด็จพระปรมินทร สําหรับ รัชกาลคี่ และ พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทร สําหรับ รัชกาลคู (เริ่มใชในรัชสมัย รัชกาลที่ ๔) แลวตอดวย พระนามเดิม แตครั้งไดรับ การเฉลิมพระยศ กอนทรงรับสิริราชสมบัติ ถัดมาก็เปน สรอยพระนาม หลากลวนดวยคํามงคล แลวเปน คําลงทาย อาทิ รัชกาลที่ ๘ คําลงทายวา สยามมินทราธิราช, รัชกาลที่ ๙ คําลงทายวา สยามมินท ราธิราช บรมนาถบพิตร อาทิ “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ” พระปรมาภิไธย อยางกลาง (อยางมัธยม) ละสรอยพระปรมาภิไธย พระบรมนามาภิไธย เสียบาง เชน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ พระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั หรือ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ฯลฯ พระปรมาภิไธยอยางยอ คือ ยอเอาแตสวนที่สําคัญของพระปรมาภิไธยไว เชน พระบาท สมเด็จพระ แลวตอดวยพระนามเดิม แลวตัดคําสรอยพระนามออกไป เชน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว ,หรือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช หรือ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ภูมพิ ลอดุลยเดช หรือ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ๑๕ (คําเรียกพระมหากษัตริยอ ยางไมออกพระนามเฉพาะ พระมหากษัตริยที่ทรงรับพระบรมราชาภิเษกแลว) อักษรพระปรมาภิไธย หรือนิยมเรียกวา อักษรพระปรมาภิไธยยอ คือ อักษรที่ยอมาจาก พระปรมาภิไธยใหเหลือเพียง ๓ ตัวอักษร มักใชประกอบตราหรือพระราชลัญจกรซึ่งเปนสัญลักษณ แทนพระองค และตราสัญลักษณงานพระราชพิธี งานเฉลิมพระเกียรติในโอกาสตาง ๆ อักษรแรกจะตางกัน ตามพระนามของแตละรัชกาล สวน ๒ อักษรหลัง คือ “ ปร” หมายถึง ปรมราชาธิราช หรือ บรมราชาธิราช คือ หมายถึง “มหาราชผูยิ่งใหญ” ศาสตราจารย (พิเศษ) จํานง ทองประเสริฐ ไดกลาวถึง อักษรพระปรมาภิไธย แตละรัชกาลไวดังนี้ รัชกาลที่ ๑ มีอักษรพระปรมาภิไธยยอ วา “จ.ป.ร.” มาจากคําวา “มหาจักรีบรมนาถ ปรมราชาธิราช” รัชกาลที่ ๒ มีอักษรพระปรมาภิไธยยอ วา “อ.ป.ร.” มาจากคําวา “ มหาอิศรสุนทร ปรมราชาธิราช” รัชกาลที่ ๓ มีอักษรพระปรมาภิไธยยอ วา “จ.ป.ร.” มาจากคําวา “มหาเจษฏาบดินทร ปรมราชาธิราช” รัชกาลที่ ๔ มีอักษรพระปรมาภิไธยยอ วา “ม.ป.ร.” หมายถึง มาจากคําวา “มหามหามงกุฎ ปรมราชาธิราช”


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

รัชกาลที่ ๕

129

มีอักษรพระปรมาภิไธยยอ วา “จ.ป.ร.” หมายถึง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ ปรมราชาธิราช รัชกาลที่ ๖ มีอักษรพระปรมาภิไธยยอ วา “ว.ป.ร.” มาจากคําวา “มหาวชิราวุธ ปรมราชาธิราช” รัชกาลที่ ๗ มีอักษรพระปรมาภิไธยยอ วา “ป.ป.ร.” มาจากคําวา “มหาประชาธิปก ปรมราชาธิราช” รัชกาลที่ ๘ มีอักษรพระปรมาภิไธยยอ วา “อ.ป.ร.” มาจากคําวา “มหาอานันทมหิดล บรมราชาธิราช” รัชกาลที่ ๙ มีอักษรพระปรมาภิไธย วา “ภ.ป.ร.” มาจากคําวา “มหาภูมิพลอดุลยเดช ปรมราชาธิราช” โดย พระปรมาภิไธย หรือ อักษรพระปรมาภิไธย ของบางพระองคอาจจะซํ้ากัน เพื่อใหทราบวา เปน รัชกาลใด เมื่อประดิษฐเปน ตราสัญลักษณ จะตองเขียนหมายเลขประจํารัชกาลไว ระหวาง พระจอน ของพระมหาพิชัยมงกุฎ หรือ ถาเขียนเปนขอความตองใชเลขประจํารัชกาลตอทาย พระปรมาภิไธย คือ ชือ่ ของพระมหากษัตริยท ปี่ รากฏในพระสุพรรณบัฏ พระมหากษัตริยท ยี่ งั มิไดรับ พระบรมราชาภิเษกพระมหากษัตริยในอดีต ใช สมเด็จพระ นํา เชน สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ เมื่อมีการพระบรมราชาภิเษก ปรากฏพระนามวา สมเด็จพระสรรเพชญที่ ๒ (สมเด็จพระนเรศวรมหาราช) สมเด็จพระสรรเพชญที่ ๓ (สมเด็จพระเอกาทศรถ) เปนตน ในสมั ย รั ต นโกสิ น ทร มี คํ า ขานถวาย พระราชสมั ญ ญา อาทิ พระมหาเจษฎาธิ ร าชเจ า (พระมหาราชเจาผูม พี ระทัยตัง้ มัน่ ในการบําเพ็ญพระราชกรณียกิจ) พระปยมหาราช,พระมหาธีรราชเจา เปนตน พระมหากษัตริยในอดีต นั้น ใชคํานําตามที่ปรากฏในพระราชพงศาวดาร เชน พอขุนศรีอินทราทิตย พอขุนรามคําแหง พระมหาธรรมราชา ที่ ๑ (พระยาลิไท) พระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามณี พระยาคําแหงพระราม เปนตน๑๖ พระนามาภิไธย (ชื่อที่จารึกในพระสุพรรณบัฎ) อักษรพระนามาภิไธย (อักษรยอชื่อ) ใชแก สมเด็จพระบรมราชินนี าถสมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนก สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช กุมารี, พระบวรภิไธย (สมเด็จพระบวรราชเจา) พระนาม และ อักษรพระนาม (อักษรยอชื่อ)ใชกับ พระราชวงศตั้งแต สมเด็จเจาฟา ถึง หมอมเจา๑๗ พระบรมวงศานุวงศ หมายถึง พระราชวงศตงั้ แตสมเด็จพระบรมราชินนี าถ ถึง หมอมเจา (มจ.) ราชตระกูล ราชสกุล ราชนิกุล ราชนิกูล (บุคคลผูอยูในราชสกุลทุกมหาสาขาซึ่งสืบสายมาแต พระปฐมวงศ พระมหากษัตริย กรมพระราชวังบวรสถานมงคล และกรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ในพระบรมราชจักรีวงศ ราชินิกุล ราชินิกูล (บุคคลผูอยูในราชสกุลทุกมหาสาขา ที่เปนพระญาติขาง สมเด็จพระบรมราชิน)ี


130

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระแสงราชศัสตราประจํามณฑลพิศนุโลก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระราชทาน วันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๔ ร.ศ. ๑๒๐ เวลาบาย ๓ โมง พระยาสุรสีหวิศิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร) ครั้งเปน พระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร สมุหเทศาภิบาลมณฑลพิศนุโลก ผูรับพระราชทาน “ เวลาบาย ๓ โมง ทําการใหพระแสงที่ปะรํานา ที่วาการมณฑล ( พระราชหัตถเลขา ฉบับที่ ๑๒ ) ” ใบพระแสงดานซาย จารึกวา พระแสงสําหรับมณฑลพิศนุโลก ดามทอง ฝกทองลงยาราชวดี ประดับอัญมณี ยาว ๑๐๘.๕ เซนติเมตร ดามยาว ๓๓ เซนติเมตร ฝกยาว ๗๕.๕ เซนติเมตร ใบยาว ๖๗.๓ เซนติเมตร ใบกวาง ๓.๔ เซนติเมตร พานเงินทอดพระแสงฯ จารึกวา ผูบังคับการพิเศษ ใหแกกองเสือปามณฑลพิศนุโลก ร. ศ.๑๓๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

131

ในป พ.ศ. ๒๔๓๗ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เมืองพิษณุโลก ไดรับการยก ฐานะขึ้นเปน มณฑลพิศณุโลก พ.ศ. ๒๔๖๐ เปลี่ยนคําวา เมือง เปน จังหวัด พ.ศ.๒๔๗๖ ยุบเลิก “มณฑล ทั่วราชอาณาจักร” เปลี่ยนเปน “จังหวัด” พระแสงราชศัสตรา หมายถึง อาวุธมีคมของพระมหากษัตริยท ใี่ ชสาํ หรับเปนเครือ่ งฟนแทง หมายรวมถึงอาวุธทุกชนิด พระแสงราชศัสตรา มีความสําคัญยิ่งในฐานะที่เปน สัญลักษณ หรือ สิ่งแทน พระราชอํานาจ ของพระมหากษัตริย ในสมัยการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย ซึ่งปรากฏในธรรมเนียมวา เมื่อ ใดที่ พระมหากษัตริยทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระแสงราชศัสตรา หรือ พระแสง ดาบ ใหแกเจานาย หรือขุนนางผูใด ยอมมีความหมายวา พระองคมีพระราชประสงคใหผูนั้นมีอํานาจ เด็ดขาด ในการปฏิบัติราชกิจแทนพระองคในงานสําคัญๆ เชน การพระราชทานพระแสงดาบใหแก แมทัพเมื่อยามเกิดศึกสงคราม ซึ่งหลักฐานจากพงศาวดาร กลาววา “ผูถืออาญาสิทธิ์ ” จะไดรับสิ่งสําคัญ คือ พระแสงดาบ ที่เรียกวา “พระแสงอาญาสิทธิ์” ผูที่ถือดาบนี้จะมีอํานาจเด็ดขาดทุกเรื่องแมกระทั่งการ ลงโทษผูกระทําความผิดขั้นสูงสุด โดยไมตองกราบบังคมทูลใหทราบกอน พระแสงราชศัสตรา ใชในการประกอบพระราชพิธีที่สําคัญ ๆ ซึ่งมีสืบมาตั้งแตสมัยสุโขทัย โดยใช พระแสงราชศัสตรา ทีเ่ รียกวา “พระขรรค” เปนเครือ่ งประกอบ พระราชอิสริยยศ ในชุดเครือ่ ง เบญจราช กกุธภัณฑ ที่แสดงฐานะความสําคัญและพระราชอํานาจอันสูงสุดในการปกครองแผนดินของพระมหา กษัตริย เปนพระแสงดาบ สําคัญที่ใชในพระราชพิธี เชน พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีถือนํ้า พระพิพัฒนสัตยา คําวา “พระขรรค” ปรากฏในศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ ๒ (วัดศรีชุม ) ดานที่ ๑ บรรทัดที่ ๓๓ ไดกลาวถึง “ พระขรรคชยั ศรี ” ซึง่ เจาเมืองศรีโสธรปุระ หรือ พระเจาชัยวรมันที่ ๗ ไดพระราชทาน แก พอขุนผาเมือง เจาเมืองราด และยกให พอขุนศรีอินทราทิตย สืบตอมา สมัยรัตนโกสินทร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ มีพระราชประสงค ในการพระราชทานพระแสงราชศัสตราประจําเมืองขึ้นในรัชสมัยของพระองค เพื่อเปนเครื่องหมายแหง พระราชอํานาจในการปกครองแผนดิน แตไมมีอํานาจสิทธิเด็ดขาดที่จะใชลงโทษเหมือนพระแสง ดาบอาญาสิทธิ์ในสมัยกอน ผูรับอาจเปน เทศาภิบาลหรือผูวาราชการเมือง ตลอดจน ทรงใหใชสําหรับ แทงนํ้าในพระราชพิธีถือนํ้าพิพัฒนสัตยาในหัวเมืองเปนสําคัญ และไดพระราชทานเปนหลักเกณฑไว วา เมื่อพระองคเสด็จไปประทับแรมในเมืองใด ใหทูลเกลาฯ ถวาย พระแสงราชศัสตรา มาไวประจําพระองค ตลอดเวลาที่ประทับอยูในเมืองนั้น และเมื่อเสด็จพระราชดําเนินกลับก็จะไดพระราชทานพระแสง ราชศัสตราใหผูวาราชการเมืองเก็บรักษาไวตามเดิมตอไป ซึ่งถือเปนธรรมเนียมโบราณราชประเพณี สืบตอกันมา ทั้งนี้พระแสงราชศัสตราประจําเมืองแตละองคมีการบงบอกถึงลําดับขั้นความสําคัญของเมือง


132

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ทีไ่ ดรบั พระราชทาน คือ เมืองสําคัญทีเ่ ปนสถานทีต่ งั้ มณฑลเทศาภิบาล เชน มณฑลพิศณุโลก พระราชทาน พระแสงฝกทองคําลงยาราชาวดีประดับ อัญมณี สวนเมืองสามัญทั่วไปพระราชทานพระแสงดาม ฝกทองคํา

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรง พระแสงราชศัสตรา ฝกทองคําลงยาราชาวดี ประจํามณฑลพิศณุโศก พ.ศ.๒๕๐๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

133

การอัญเชิญพระแสงราชศัสตรา ประจํามณฑลพิศณุโลก (จังหวัด) ประกอบดวย เครื่องราชสักการะ ธูปเทียนแพ และพวงมาลัยดอกไมสด ประดิษฐานบนพานสองชั้น (บนพานเงิน และพานเงินปากกระจับ) ในป พ.ศ.๒๕๐๑และ พ.ศ. ๒๕๐๕


134

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระแสงราชศัสตรา ประจํามณฑลพิศณุโลก ฝกทองคําลงยาราชาวดีประดับอัญมณี


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

135

ลวดลายอันงดงามของ ฝกและดามทองคําลงยาราชาวดี พระราชศัสตรา ประจํามณฑลพิศณุโลก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ พระราชทาน พุทธศักราช ๒๔๔๔


136

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

หนังสือพระแสงราชศัสตราประจําเมือง ไดสรุปขอมูล มณฑลและเมืองไดวามีเมืองที่ตางๆที่ไดรับ พระมหากรุณาธิคุณพระราชทานพระแสงราชศัสตราประจํามณฑลและเมืองรวม ๓๒ เมือง ไวในชวง ๓ รัชกาล ดังนี้ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว สมัยรัชกาลที่ ๕ ๑. มณฑลกรุงเกา ๒. เมืองอางทอง ๓. เมืองสิงหบุรี ๔. เมืองชัยนาท ๕. เมืองอุทัยธานี ๖. มณฑลนครสวรรค ๗. เมืองพิจิตร ๘. มณฑลพิษณุโลก ๙. เมืองพิชัย* ๑๐. เมืองกําแพงเพชร ๑๑. เมืองตราด ๑๒. มณฑลจันทบุรี ๑๓. มณฑลปราจีนบุรี รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ ๑. มณฑลราชบุรี ๒. เมืองเพชรบุรี ๓. เมืองประจวบคีรีขันธ ๔. มณฑลปตตานี ๕. เมืองสายบุรี* ๖. เมืองนราธิวาส ๗. มณฑลนครศรีธรรมราช ๘. เมืองตรัง ๙. เมืองนครศรีธรรมราช ๑๐. มณฑลชุมพร* ๑๑. เมืองระนอง ๑๒. มณฑลภูเก็ต ๑๓. มณฑลนครชัยศรี รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๗ ๑. เมืองลําปาง ๒. เมืองแพร ๓. เมืองเชียงราย ๔. เมืองเชียงใหม ๕. เมืองลําพูน ๖. เมืองพังงา หมายเหตุ. พระแสงราชศัสตราประจําเมืองพิชัย และ เมืองสายบุรี ตอมาเมื่อมีการยุบรวม เมืองพิชัย เขากับ เมืองอุตรดิตถ และยุบรวม เมืองสายบุรี เขากับ เมืองปตตานี จึงไดถวายพระแสงราชศัสตราคืน เทวรูปพระนารายณบรรทมสินธุ นาค ๓ เศียร สิ่งที่ระลึก ผูวาราชการเมือง กรมการ กํานัน ผูใหญบาน ประชา ราษฏรเมืองพิศณุโลก ทูลเกลาทูลกระหมอม ถวาย พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั (รัชกาลที่ ๕) ในคราวเสด็จฯ มณฑลพิศณุโลก พ.ศ.๒๔๔๔ และพระราชทาน พระแสงราช ศัสตราประจํามณฑลพิศณุโลก วันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๔๔ ร.ศ. ๑๒๐๑๘


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

137

มุขหนา ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ชั้น ที่ประทับแรม พุทธศักราช ๒๕๐๑ จากเอกสาร “ประวัติศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก “นายเยียน โพธิสุวรรณ ผูวาราชการจังหวัด พิษณุโลก ลําดับที่ ๒๔ ( ๒๗ มีนาคม ๒๕๐๑ ถึง ๓ เมษายน ๒๕๐๗ ) ไดมหี นังสือแจงไปยังกระทรวงมหาดไทย เมื่อป พ.ศ. ๒๕๐๕ นั้น วา จังหวัดพิษณุโลกไดของบประมาณกอสรางศาลากลางใหม ( แทนอาคารเรือนไม ชั้นเดียว ยกพื้นใตถุน หลังคามุงกระเบื้อง บริเวณที่วาการอําเภอเมืองพิษณุโลกในปจจุบัน ) ไปยังกระทรวง มหาดไทย ตั้งแตป พ.ศ. ๒๔๙๕ และไดรับอนุมัติงบประมาณใหกอสรางไดในป พ.ศ. ๒๔๙๘ และกอสราง ในที่ราชพัสดุ เลขทะเบียน ๕๐๒๓ และ ๕๐๒๔ โฉนดเลขที่ ๓๙๗ ลักษณะอาคารทรงไทย ๓ ชั้น มีตรีมุข ทั้งหนาและหลัง หลังคาแบบไทยประดับปูนปน มุขหนาบันหนา ประดับ ตราพระครุฑพาห ลงรักปดทอง มีพื้นที่ทั้งสิ้น ๔,๙๐๒ ตารางเมตร ภายนอกมีรั้วลอมรอบทั้ง ๔ ดาน พื้นที่ ๒๐,๙๒๕ ตารางเมตร หรือ ๒๐ ไร เศษ แลวเสร็จในป พ.ศ. ๒๕๐๐ โดย กรมโยธาเทศบาล ( กรมโยธาธิการและผังเมือง ปจจุบนั ) เปนผูอ อกแบบ และกอสราง สิ้นคากอสราง ๗,๑๐๗,๖๕๙,๔๔ บาท และยายสวนราชการตาง ๆ เขามาปฏิบัติงานในเดือน สิงหาคม ๒๕๐๐ จังหวัดพิษณุโลก โดย นายพวง สุวรรณรัฐ รักษาการผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก ( ดํารงตําแหนง ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ - ๓ มีนาคม ๒๕๐๑ เปนลําดับที่ ๒๓/ นายพวง สุวรรณรัฐ เคยดํารงตําแหนงผูวา ราชการจังหวัดพิษณุโลก ครั้งแรก เปนลําดับที่ ๑๘ เมื่อ ๑ กันยายน ๒๔๙๓ ถึง ๑๐ กุมภาพันธ ๒๔๙๔) เนื่องจาก นายปรง พระหูชนม ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก ในขณะนั้น (๑ สิงหาคม ๒๔๙๗–๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๐๑) ไดลมปวยกระทันหันและเสียชีวิตในเวลาตอมา ไดจัดหองมุขหนา ชั้น ๓ ของศาลากลางจังหวัด ถวายเปน ที่ประทับแรม ในคราว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จเยีย่ มราษฎรจังหวัดตาง ๆ ภาคเหนือ ทีจ่ งั หวัดพิษณุโลกเปนจังหวัดแรก เมือ่ วันที่ ๒๗ – ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ จํานวน ๒ ราตรี และไดจดั ใหประชาชนเขาเฝาทูลละอองธุลพี ระบาทรับเสด็จ บริเวณสนามหนาศาลา กลางจังหวัดพิษณุโลกพรอม จัดสราง พลับพลาทอง ตรีมขุ ทรงไทย ถวายเพือ่ เสด็จออกประทับ พระราชทาน พระราชดํารัส และทรงเยี่ยมประชาชนที่มาเฝาทูลละอองธุลีพระบาท


138

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลกหลังเกา (ตั้งอยูบริเวณที่วาการอําเภอเมืองพิษณุโลกในปจจุบัน) เดิมเปนศาลาวาการ มณฑลพิศณุโลก สรางเมือ่ พ.ศ. ๒๔๔๒ รือ้ ออกในราวเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๐๔ ภาพ นี้ ถายพ.ศ. ๒๔๗๖

อาคารที่วาการอําเภอเมืองพิษณุโลก (เดิมตั้งอยูบริเวณสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลกในปจจุบัน )


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

139

หองประทับแรม ที่จังหวัดพิษณุโลก จัดถวาย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนาง เจาฯ พระบรมราชินีนาถ มุขหนา ชั้น ๓ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๗ และวันศุกร ที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑ ปจจุบัน นายปรีชา เรืองจันทร ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก ลําดับ ที่ ๔๕ ปรับปรุง ใหสงางามถวายพระเกียรติคุณ

เครื่องกระเบื้องเคลือบ ตราชาง สามเศี ย ร และ พิ ศ ณุ โ ลกย ที่จัดทําขึ้นถวายเปนเครื่องใช ในการเสด็จฯ จังหวัดพิษณุโลก (รัชกาลที่ ๗ ) แตอดีตที่จังหวัดเก็บรักษาไว และนํามาถวายใน คราวเสด็จ พระราชดําเนิน ในปพุทธศักราช ๒๕๐๑ เครื่องใชสวนพระองค ที่จังหวัดพิษณุโลก จัดถวาย ในคราว เสด็จฯ ประทับแรม ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก


140

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ถวยชามเครื่องตน (ถวยชาม) จานเครื่องตน (จานอาหาร)


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ที่พระสุคนธ (ชุดเครื่องนํ้ารอน นํ้าเย็น)

141


142

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ขันสรง รูปของวิเศษ อาทิ จักร ตรี กระบอง สังข คชาธาร กนขันรูปราชสีห ฯลฯ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

143

พระเตา เงิน ลงถมเงิน

พานเงินทรงสูง สําหรับรองอัญเชิญพระแสงราชศัสตรา ประจํามณฑลพิศณุโลก ในป พ.ศ. ๒๕๐๑ และ ๒๕๐๕ และใชในการ ทูลเกลา ฯ ถวายสิ่งของ


144

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พานเงิน ทรงสูง ตองลายฉลุ

ขันเงิน ๑๒ นักษัตร และถาดพระสุธารส


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

อางชําระพระหัตถ (อางลางมือ) อางสรงพระพักตร (อางลางหนา)

ปนโต เครื่องเสวย เครื่องตนคาว เครื่องตนหวาน

145


146

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

กระบวนรถยนตพระที่นั่ง และรถยนตในการเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมราษฎร จังหวัดตาง ๆ ภาคเหนือ พุทธศักราช ๒๕๐๑ หมายเลข

๑ ๒ ๓ ๔

รถ รถตํารวจทองที่ ตรวจเสนทางลวงหนา ๑ ชั่วโมง รถวิทยุตํารวจ ส ๒ ตรวจเสนทางลวงหนา ไมนอยกวา ๒ กม. รถพระที่นั่ง เดอลาเฮย ก.ท.ค. ๐๖๙๒ รถรองสมุหราชองครักษ อารมสตรอง

ผูจัด กรมตํารวจ กรมตํารวจ สํานักพระราชวัง สํานักพระราชวัง

รถชางภาพยนตรและชางภาพสวน สํานักพระราชวัง พระองค ซิมคาร ก.ท.ค.๗๖๕๘ รถรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย กรมตํารวจ

รถทหารมหาดเล็ก

กระทรวงกลาโหม

รถแพทยประจําพระองค อารมสตรอง ร.ย.ล. ๒๙

สํานักพระราชวัง

รถผูอํานวยการกองมหาดเล็ก

สํานักพระราชวัง

อารมสตรองร.ย.ล. ๓๐

ผูนั่ง ผบภ. ,ผกก.ภ และเจาหนาที่ตํารวจ ไมเกิน ๕ นาย เจาหนาที่ไมเกิน ๔ คน สมุหราชองครักษ ตามเสด็จ ฯ รองสมุหราชองครักษ ราชองครักษและนายตํารวจราช สํานัก ชางภาพยนตรและชางภาพสวน พระองค พล.ท.หลวงกัมปนาทแสนยากร พล.ต.ท.หลวงวรยุทธวิชัย และ เจาหนาที่ตํารวจสันติบาล ทหารมหาดเล็ก ๑๐ คน ม.ล.จินดา สนิทวงศ นางเกนหลง สนิทวงศ นางสนองพระโอษฐ นางพระกํานัล หลวงสรรสารกิจ นายมังกร ภมร บุตร ม.ล.ติว ชลมารคพิจารณ นาย อาณัติ บุญนาค พระยาอนุรักษราชมณเฑียร คุณ หญิงอนุรักษ ราชมณฑียร นางพระ กํานัล จาแผลงฤทธิรอนราน นาย เทอม อัญชันวัต

รถผูอํานวยการกองวัง ก.ท.พ. ๑๐๓๕

กระทรวงมหาดไทย

๑๐

รถรองราชเลขาธิการ ก.ท.พ. ๕๓๙๘

กระทรวงมหาดไทย

๑๑

รถยนตพระที่นั่งรอง ก.ท.ค. ๐๖๙๕

สํานักพระราชวัง

๑๒

รถประธานองคมนตรี อารมสตรอง ร.ย.ล. สํานักพระราชวัง ๓๕

พระวรวงศเธอ กรมหมื่น พิทยลาภพฤฒิยากร ม.ล.เดช สนิทวงศ

๑๓

รถเลขาธิการพระราชวัง ดอดจ ก.ท.ค. ๖๔๘๕

หมอมทวีวงศถวัลยศักดิ์ ม.ร.ว.พร พรรณ ทวีวงศถวัลยศักดิ์ คุณ หญิงประคอง สนิทวงศ ณ อยุธยา คุณหญิงสุรณรงค

สํานักพระราชวัง

นายจํานง ราชกิจ ม.ร.ว.กิตินัดดา กิติยากร นายวินิต นาวิกบุตร นายเปลื้อง ตรงคําสัตย


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

หมายเลข

รถ

ผูจัด

๑๔

รถพระราชวงศ โพลคฯ ก.ท.ว. ๑๒๒๖

สํานักพระราชวัง

๑๕

รถสํานักพระราชวัง ก.ท.ป. ๐๘๘๙

กระทรวงมหาดไทย

๑๖

รถแพทย

กระทรวงมหาดไทย

๑๗

รถเจาหนาที่หนวยกลาง ก.ป.ท. ๓๖๕๕

กระทรวงมหาดไทย

๑๘

รถวิทยุสื่อสารทหารบก

กองทัพบก

๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓

รถวิทยุสื่อสารตํารวจ รถวิทยุสื่อสารตํารวจ รถมหาดเล็ก รถตํารวจสันติบาล เชฟฯ ตรวจการ รถปลัดกระทรวงมหาดไทย ก.ท.พ. ๑๐๓๗ รถปลัดกระทรวงมหาดไทย ก.ท.พ. ๕๑๕๕ รถผูอํานวยการกระบวนรถยนต รถผูชวยผูอํานวยการกระบวนรถยนต รถกระทรวงคมนาคม รถวิทยุสื่อสารกองทัพบก รถวิทยุสื่อสารกองทัพบก รถสํารอง รถซอม รถซอม รถซอม รถปดทายกระบวน รถตํารวจทองที่ รถพิเศษเจาหนาที่กรมประชาสัมพันธ รถพิเศษสํานักพระราชวัง รถพิเศษสํานักพระราชวัง รถพิเศษสํานักพระราชวัง รถพิเศษสํานักพระราชวัง

กรมตํารวจ กรมตํารวจ กระทรวงมหาดไทย กรมตํารวจ กระทรวงมหาดไทย

๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔

กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม กองทัพบก กองทัพบก กระทรวงคมนาคม สํานักพระราชวัง กรมตํารวจ กระทรวงคมนาคม กรมตํารวจ กรมตํารวจ กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม

147

ผูนั่ง ม.จ.ปยรังสิต รังสิต ม.จ.วิภาวดี รังสิต ม.ล.ปย มาลากุล น.ส.ผุสสดี ศรวิถี น.ส.ออมทรัพย สุจริตกุล นางสมลิ้ม สาระสุคนธ น.ส.ปริดา อสุนี ณ อยุธยา น.ส.จุรี แสวงธรรม มหาดเล็กหองพระบรรทม ๑ น.พ.มณเฑียร บุนนาค นายฉลอง สุธี นายชัชวาล บุนนาค นายกลัน จุยประเสริฐ เจาหนาที่หนวยกลาง ๔ คน ของ ๔ หีบ พ.ท.ประวัติ ชุษณะโยธิน , เจาหนาที่ ๒

มหาดเล็กทั้งหมด เจาหนาที่ตํารวจไมเกิน ๕ นาย พล.ต.อ.หลวงชาติตระการโกศล และเจาหนาที่กระทรวงมหาดไทย นายศักดิ์ ไทยวัฒน และเจาหนาที่ กระทรวงมหาดไทย นายมงคล เนาวจําเนียร นายถวัลย หงสกุล


148

¾ÃкÒÃÁÕ»¡à¡ÅŒÒÏ ªÒǾÔɳØâÅ¡

¤ÃÑ駷Õè ò


149

¾ÃкÒÃÁÕ»¡à¡ÅŒÒÏ ªÒǾÔɳØâÅ¡ ¤ÃÑ駷Õè ò Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ·Õè òõ Á¡ÃÒ¤Á ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõðõ


150

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๒ วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๕ เวลา ๑๐.๐๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน โดยเครือ่ งบินพระทีน่ งั่ ถึงสนามบินจังหวัดพิษณุโลก พลตรีประพันธ กุลพิจติ ร แมทพั ภาคที่ ๓ และขาราชการ ชั้นผูใหญและประชาชนเฝาทูลละอองธุลีพระบาท พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนินขึน้ แทน ทรงรับการถวายความเคารพจากทหารกองเกียรติยศ แลวเสด็จประทับรถยนต พระที่นั่ง ไปยังวัดพระศรีรัตน มหาธาตุวรมหาวิหาร ณ ที่นั้น นายเยียน โพธิสุวรรณ ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก กราบบังคมทูลพระกรุณา ถวายพระแสงราชศัสตราประจําจังหวัดพิษณุโลก แลวเสด็จฯ เขาสูพ ระวิหารพระพุทธชินราช ทรงจุดธูป เทียนเครื่องนมัสการ พระพุทธชินราช แลวเสด็จออกจากพระวิหาร ทรงมีพระราชปฏิสันฐานกับราษฎรที่มา เฝารับเสด็จฯ แลวเสด็จฯ ขึ้นประทับรถยนตพระที่นั่งไปยัง ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน สถานที่ พระบรมราชสมภพสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม เสด็จฯ ขึ้นสู อาคารระบิล สีตะสุวรรณ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งนมัสการ พระพุทธรูปปาง ประจํ า รั ช กาลสมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช ทรงศี ล แล ว เสด็ จ ออกประทั บ ณ มุ ข หน า อาคาร จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต นายกรัฐมนตรี กราบบังคมทูลถวายรายงานจบ ทรงมีพระราชดํารัสตอบ ตอจาก นั้นทั้งสองพระองค เสด็จลงจากอาคารหอสมุดระบิล สีตะสุวรรณ แลวเสด็จฯ ขึ้น ศาลสมเด็จพระนเรศวร มหาราช ทรงตัดแถบแพรเปดศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระสงฆสมณศักดิ์ ๑๐ รูป เจริญชัยมงคล คาถา ชาวพนักงานประโคมฆองชัย สังขแตร บัณเฑาะว และดุริยางค แลวเสด็จเขาสูศ าล ทรงพระสุหรายสรงพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวสมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะ แลว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งสังเวย เสร็จแลว เสด็จฯ ลงจากศาลออกไปยังอาคาร พิธี พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงประเคนจตุปจจัยไทยธรรมแกพระสงฆสมณศักดิ์ ๑๐ รูป ทรง หลัง่ ทักษิโณทก พระสงฆถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก แลวเสด็จพระราชดําเนินไปทรงจุดธูปเทียนเครือ่ งราช สั ก การะ พระบรมรู ป สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช ภายใน ค า ยสมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช กองทัพภาค ที่ ๓ แลวเสด็จฯ ประทับรถยนตพระที่นั่งไปประทับ ณ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก และ ทรงเยี่ยมราษฎรที่มาเฝา ฯรับเสด็จ ฯ อยางใกลชิด เวลา ๑๕.๐๐ น. เสด็จโดยเครื่องบินพระที่นั่งออกจากสนามบินจังหวัดพิษณุโลกกลับพระมหานคร เวลา ๑๖.๒๐ น. เครื่องบินพระที่นั่งถึงสนามบินกองทัพอากาศ ดอนเมือง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.