151 200

Page 1

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

151

เวลา ๑๐.๐๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน โดยเครื่องบินพระที่นั่งถึงสนามบินจังหวัดพิษณุโลก


152

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จประทับเครื่องบินพระที่นั่ง จากสนามบินดอนเมือง พระมหานคร ถึง สนามบินจังหวัดพิษณุโลก วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๐๕ เวลา ๑๐.๐๐ น. ในรัฐพิธี เปดพระบรมราชานุสาวรีย และ ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน ประทับรอยพระบาท เหนือแผนดินเมืองพิษณุโลก เปนครั้งที่ ๒


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงขึ้นประทับบนแทนรับการถวายความเคารพ และทรงตรวจพลทหารกองเกียรติยศ กองทัพภาคที่ ๓ ที่สนามบินจังหวัดพิษณุโลก

153


154

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

รถยนตพระที่นั่ง เทียบหนา อาคาร สนามบินจังหวัดพิษณุโลก

รถยนตพระทีน่ งั่ เคลือ่ นมาตามถนนสนามบินพิษณุโลก ถึงสามแยกสนามบินเลีย้ วซายไปตามถนน ราเมศวรขามทางรถไฟแลวเลี้ยวขวา สูถนนเอกาทศรถ ถึงสามแยกโรงเรียนเสริมสวย เกศรินทร เลี้ยวซาย สูถนนลิไท ผานตลาดเมืองพิษณุโลกซึ่งสรางเปนตึกแถวเสร็จเรียบรอยแลวหลังเหตุการณพิษณุโลกวิปโยค ในปพ.ศ. ๒๕๐๐ แลวเลี้ยวขวาสูถนนบรมไตรโลกนาถ ผานตรงไปถึงบริเวณ จุดตัด มุมวัดราชบูรณะ เลี้ยว ขวา เขาสูถนนพุทธบูชาไปยังวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

155

นายเยียน โพธิสุวรรณ ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก ลําดับที่ ๒๔ และ นายกสมาคมนักเรียนเกาพิษณุโลกพิทยาคม ลําดับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๔๙๑) ถวาย พระแสงราชศัสตรา ประจําจังหวัดพิษณุโลก ตามราชประเพณี


156

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินทรงถวายสักการะพระพุทธชินราช ตามราชประเพณี ที่สมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราชเจาทรงปฏิบัติ วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๕


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

157

พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระราชทานในพิธีเปด ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน ๒๕ มกราคม ๒๕๐๕ ขาพเจาและพระราชินีมีความยินดีที่ไดมีโอกาสมารวมในพิธีเปดศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ไดจัดสรางขึ้นใหมในอาณาบริเวณซึ่งเปนที่พระราชสมภพแหงนี้ สมเด็จอดีตมหาราชพระองคนี้ ไดทรง บากบั่น กอบกูเอกราช และสรางความมั่นคงใหแกชาติของเราดวย พระวิริยะอุตสาหะอยางยิ่ง ดังที่นายก รัฐมนตรีไดกลาวมาแลว พระราชวีรกรรมของพระองค เดนชัดอยูใ นประวัตศิ าสตร ทรงมีพระคุณปู การแกชาติ บานเมือง และ พสกนิกรชาวไทยยิง่ นัก ฉะนัน้ การทีท่ างราชการไดรว มมือกับบรรดาพอคาประชาชนจัดสราง ศาลของพระองค ขึ้นใหม แทนของเดิมใหเหมาะสม จึงสมควรอยางยิ่ง เพราะนอกจากจะเปนการแสดง ความเพียรพยายามที่จะเทิดพระเกียรติ ทุกวิถี ทางแลว ยังเปนการแสดงกตัญูกตเวทิตาธรรมอันควรแกการสรรเสริญและอนุโมทนาในการกอบกูเ อกราช และเสริมสรางความมัน่ คงแกชาติบา นเมืองเปนลําดับมานัน้ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และบรรพบุรษุ ของ เราทัง้ หลายตองฝาฟน อุปสรรคนานับประการมาดวยความเหนือ่ ยยาก และความเสียสละแลวเพียงไรก็ทราบ กันอยูแ ลว ฉะนัน้ ควรทีเ่ ราทัง้ หลายจะพยายามชวยกันรักษามรดกอันลํา้ คา ซึง่ ไดตกทอดมาถึงเราไวใหดี อยา ใหสูญสลายไปได ไดเวลาแลว ขาพเจาจะไดประกอบพิธีเปดศาล ขอใหศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จงสถิตสถาพร เปน อนุสรณเฉลิมพระเกียรติเมืองนี้ ในวีรมหาราชพระองคนั้นชั่วกาลนาน สมดังปณิธานที่ไดจัดสรางขึ้น เทอญ๑๙


158

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

รัฐพิธีเปดศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมืองพิษณุโลก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินในรัฐพิธี เปด และ สังเวย พระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน พิษณุโลก วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๕ พระอิริยาบถประทับนั่ง หลั่งทักษิโณทกจากพระสุวรรณภิงคาร ประกาศอิสรภาพพระองคแรกของสยามรัฐสีมา ครั้นเมื่อ สมเด็จพระนเรศวร นําทัพมาถึงเมืองแครง พักทัพใกล ๆ วัดมหาเถรคันฉอง และเสด็จไป เยี่ยมพระมหาเถรคันฉอง ซึ่งนํา พระยาเกียรติ พระยาราม สองพระยาชาวมอญมาสวามิภักดิ์ เมื่อทรงทราบ วา หงสาวดีคิดไมซื่อ จึงสั่งใหประชุมทัพ ประกาศอิสรภาพทรงหลั่งทักษิโณทก จากสุวรรณภิงคาร เหนือพื้น ปฐพีเมืองแครง ประกาศแกเทพยดา ตอหนาที่ประชุม วา “พระเจาหงสาวดี มิไดตั้งอยูโดยครองสุจริตมิตรภาพ ขัตติยราชประเพณี เสียสามัคคี รสธรรม ประพฤติพาลทุจริตคิดจะทําภยันตรายแกเรา สืบแตนเี้ ปนเดิมหนา ศรีอยุธยาขาดพระราช ไมตรี กับ หงสาวดี มิไดเปนสุวรรณปฐพีเดียวกันดุจกาลกอน ขาดกัน แตวันนี้ จนชั่วกัลปาวสาน” เมื่อ วันพฤหัสบดี เดือน ๖ แรม ๒ คํ่า ปวอก พุทธศักราช ๒๑๒๗ พระชันษาได ๒๙ พรรษา


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

159

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระสุหรายสรง พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (สมเด็จพระสรรเพชญที่ ๒) ทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะ และ สังเวยบูชาฯ ณ พระราชวังจันทน เมืองพิษณุโลก ตามราชประเพณี วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๕


160

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

อาคารหอสมุดระบิล สีตะสุวรรณ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม สถานที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชืนีนาถ เสด็จฯ ทรง ประทับ พระราชทานพระราชดํารัส และ ทรงจุดธูปเทียนสักการะพระพุทธรูปปางประจํารัชกาลสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช และพิธีสงฆ ในรัฐพิธี เปดศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน เมืองพิษณุโลก นายเจษฏ ปรีชานนท อาจารยใหญโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม นําคณะครู นักเรียน เฝาทูลละอองธุลีพระบาทฯ อาคารหอสมุดระบิล สีตะสุวรรณ สมาคมนักเรียนเกาพิษณุโลกพิทยาคม สราง ใน พ.ศ. ๒๔๘๗ อาคารไมสกั ทรงปน หยา มูลคา ๗๐,๐๐๐ บาท ภายหลังยายมาตัง้ ทางทิศใตของศาลสมเด็จ พระนเรศวรมหาราช (ปจจุบัน ไดรื้อถอนเพื่อขุดสํารวจบูรณะพระราชวังจันทน ไปแลว)


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

161

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน ขึ้น ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงตัดผาแพรเปดศาล แลวเสด็จทรง พระสุหรายสรง ทรงจุดเครื่องราชสักการะและ ทรงสังเวย พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน เมืองพิษณุโลก พระราชวังโบราณแหงเดียวของเมืองพิษณุโลก ที่ประทับของสมเด็จพระบูรพกษัตริยาธิราชเจา แตอดีตสถานทีพ่ ระราชสมภพของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พุทธศักราช ๒๐๙๘ สมเด็จพระเอกาทศรถ และ พระสุพรรณกัลยาณี ( พระนิพนธในสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ พงศาวดารพมา เรียก อะเมี้ยวโหยง แปลวา นางผูเชื่อมั่นในเผาพันธุแหงตน พงศาวดารพมา ฉบับหอแกว เรียก พระอินทร เทวี เอกสารไทยฉบับอืน่ ๆ เรียก พระสุพรรณเทวี , พระสุวรรณเทวี) พระราชโอรส พระราชธิดา ใน สมเด็จ พระมหาธรรมราชา หรือ สมเด็จพระสรรเพชญที่ ๑ (ขุนพิเรนทรเทพ เจานายเชือ้ สายราชวงศสโุ ขทัย กับ พระวิสุทธิกษัตรีย หรือ พระสวัสดิราชา พระธิดาใน สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ กับ สมเด็จ พระศรีสรุ โิ ยทัย พระราชทานเปนบําเหน็จความดีให สมเด็จพระมหาธรรมราชา ในคราวปราบ กบฏทาว ศรีสุดาจันทร ทรงอภิเษกใหเปนพระชายาและตั้งใหเปน พระอุปราชครองเมืองพิษณุโลก พุทธศักราช ๒๐๙๑) สมเด็จพระนเรศวร พระชันษาได ๙ พรรษา เสด็จเปนองคประกัน ณ เมืองหงสาวดี พุทธศักราช ๒๑๑๔ ทรงเปน พระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลก พระชนมายุได ๑๖ พรรษา เสด็จขึ้นครองสิริราช สมบัติ เปนพระมหากษัตริย ลําดับที่ ๑๘ แหง กรุงศรีอยุธยา ราชวงศสุโขทัย วันอาทิตยที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๑๓๓ ตรงกับ วันแรม ๑๓ คํา่ เดือน ๘ ปขาล พุทธศักราช ๒๑๓๓ พระชนมายุได ๓๕ พรรษา เฉลิมพระนาม วา สมเด็จพระสรรเพชญที่ ๒


162

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงชนะศึกยุทธหัตถีมีชัยแกราชศัตรู วันจันทรที่ ๑๘ มกราคม ๒๑๓๕ (วันจันทร เดือนยี่ แรม ๒ คํา่ มะโรงศก จ.ศ. ๙๕๔ เวลา ๕ โมงเชา) พระบรมเดชานุภาพเปนทีป่ รากฏ แผไพศาลไปทั่วทุกทิศานุทิศ ศัตรูไมกลามารุกราน กรุงศรีอยุธยานานถึง ๑๕๐ ป เสด็จสวรรคต ขณะ ทรงยาตราทัพไปตีเมืองอังวะ ณ เมืองหาง หางเปาหมายการศึกประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตร หรือ เมือง หางหลวง (ปจจุบันอยูในเขตรัฐฉาน พมา) เมื่อ วันจันทรที่ ๒๕ เมษายน พุทธศักราช ๒๑๔๘ ตรงกับ วันจันทร เดือน ๖ ขึ้น ๘ คํ่า ปมะเส็ง จ.ศ. ๙๖๗ พระชนมายุ ๕๐ พรรษา เสวยราชสมบัติ ได ๑๕ ป

๑. พลโทประพันธ กุลพิจิตร แมทัพภาคที่ ๓ จุดธูปเทียน เครื่องราชสักการะ เครื่องสังเวยบูชา ดวงพระวิญญาณ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่หนาศาลสมเด็จพระนเรศวรฯ ในภาคเชาวันพฤหัสบดี ที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๐๕ , ๒. หัวหนาคณะพราหมณกองพระราชพิธี สํานักพระราชวัง ประกาศโองการสังเวย ดวงพระวิญญาณ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ๓. ผาแพร สําหรับ ทรงตัดเปดศาลสมเด็จพระนเรศวร มหาราช ในรัฐพิธี ๔. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต นายกรัฐมนตรี กราบบังคมทูลถวายรายงาน ในรัฐพิธีเปด พระบรมราชา นุสาวรีย และศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน เมืองพิษณุโลก วันพฤหัสบดี ที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๐๕


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

163

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน ไปทรงจุดเครื่องสักการะ พระบรมรูป สมเด็จพระนเรศวรมหาราช คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ จังหวัดพิษณุโลก วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๕


164

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

แผนศิลา พระปรมาภิไธย และ พระนามาภิไธย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และ สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ประดิษฐาน ที่ แทน พระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราช คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ จังหวัดพิษณุโลก วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๕


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

165

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯเยี่ยมราษฎรและทรงประทับ ณ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก (รอยพระบาทประทับไว เปนครั้งที่ ๒) กอนเสด็จโดยรถยนตพระที่นั่ง ไปประทับเครื่องบินพระที่นั่ง กลับพระมหานคร

พระพุทธชินราช จําลอง งาชาง และ สิ่งของ ที่ราษฎรชาวจังหวัดพิษณุโลก ทูลเกลา ฯ ถวาย พระราชาผูทรงธรรม ทรงเปน พระเจาแผนดิน และ เจาชีวิต มหาชนชาวสยาม


166

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระพุทธรูปประจํารัชกาล สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พุทธลักษณะ ปางหามสมุทร (ประทับยืนยกพระหัตถสองขาง เหนือปทมาสน ประกอบดวยกลีบ บัวหงาย ซอนกันสามชั้นเหนือฐานเขียงรูปแปดเหลี่ยม ) แบบรัตนโกสินทร (พ.ศ.๒๓๖๗ - ๒๓๙๔) ขนาดสูง เฉพาะองค ๒๑ .๐๕ เซนติเมตร สูงจากฐานถึงพระเกตุรัศมี ๓๒.๘๐ เซนติเมตร โลหะ ทองแดง กะไหลทอง ปจจุบัน ประดิษฐาน ภายใน หอราชกรมานุสร วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ ทรงโปรดเกลาฯใหคิดประดิษฐพระพุทธรูป เพิ่มขึ้นจากทาปางในสมัยโบราณ ดวยพระราชประสงคจะทรงบําเพ็ญพระราชกุศลใหเหมือนอยางพระมหา กษัตริยใ นสมัยอยุธยาจึงโปรดให สมเด็จพระสมณเจา กรมพระปรมานุชติ ชิโนรส ทรงคนควาตรวจสอบ จากคัมภีรพุทธประวัติทั้งหลาย เพื่อเลือกพุทธอิริยาบถสรางเปนปางพระพุทธรูปเพิ่มเติม ประดิษฐานไวใน หอราชกรมานุสร อุทิศพระราชกุศลถวายแดสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจาแหงกรุงศรีอยุธยา ( ปาง ทาทางของพระพุทธรูปทีแ่ สดงอิรยิ าบถตาง ๆ ยังหมายรวมถึง พุทธกิจ พระพุทธจริยา ) และกําหนด ให ปางหามสมุทร หรือ อภัยมุทรา (พระพุทธองคทรงแสดงพุทธปาฏิหาริย ฝนตกหนักนํ้าไหลบา ทวมทน ทรงเดินจงกรมกลางแจงโดยไมทรงเปยกและนํา้ มิไดทว มพระองคแตประการใดเพือ่ ลดทิฐิ มานะของชฎิล ๓ พี่นอง จึงแสดงอาทิตตปริยายสูตรโปรดจนบรรลุธรรมวิเศษ) เปน ปางประจํา รัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๔ ทรงโปรดใหหลอฐานชัน้ ลางแลวใหกาไหล ทอง ทรงโปรดให จารึกขอความทีฐ่ านวา ทรงอุทศิ พระราชกุศลถวายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช สยาม รัชกาลที่ ๑๘ ซึ่งได ราชาภิเษกเถลิงถวัลยราชสมบัติ ในกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยามหานคร สืบพระวงศ เมื่อจุลศักราช ๙๔๐ ปขาล (พุทธศักราช๒๑๒๑) สัมฤทธิศก ดํารงอยูในราชสมบัติ ๑๕ ป เสด็จสวรรคต เมื่อจุลศักราช ๙๕๕ ปมะเส็ง เบญจศก (พุทธศักราช๒๑๓๖)๒๑ หมายเหตุ ปจจุบันเชื่อวา เสวยราชสมบัติปพุทธศักราช ๒๑๓๓ – ถึง ๒๑๔๘


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

167

พระราชอาสน และ โตะหมูบ ชู าลายคางคาว พรอมเครือ่ งนมัสการกระบะมุก ซึง่ อัญเชิญ พระพุทธ รูปประจํา รัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จาก หอราชกรมานุสร วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง มาประดิษฐาน บนโถงชั้น ๒ อาคารหอสมุดระบิล สีตะสุวรรณ ในรัฐพิธีเปดศาล สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เครื่องนมัสการกระบะมุก ใชในงานหลวงทั่วไป และ พระราชวงศชั้นพระองคเจาทรงบูชาพระรัตนตรัย ในการทรงบําเพ็ญพระกุศล ประกอบดวย กระบะยอ มุมไมสิบสองลงรักประดับมุก สําหรับตั้งกรวยเชิงทํา ดวยแกวใส พุมดอกไม ๔ พุม เชิงแกวปกเทียน ๔ เชิง ปกธูประกํา ๔ เชิง


168

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระมาลาเบี่ยง เปน ราชศิราภรณ เครื่องสวมศีรษะสําหรับพระมหากษัตริย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โปรดใหสรางเลียนแบบ พระมาลาเบี่ยง องคเดิมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่สูญหายในคราวเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ ๒ พ.ศ.๒๓๑๐ ทําดวยไมไผสานทรงลูกฟกตัด มีปกคลุมโดยรอบ ลงรักทั้งดานในและดานนอกสีดําเปนมัน ดานในองค พระมาลามีรังสานดวยไมไผอยางรังงอบ ทรงรูปฟกตัด ขอบพระมาลาดานนอกประดับดวยพระพุทธรูปปาง หามสมุทร และปางสมาธิ (ทรงเทริด ) ทองคํา ๒๑ องค ปจจุบนั ประดิษฐานอยูภ ายใน พระทีน่ งั่ จักรพรรดิพมิ าน ในหมูพ ระมหามณเฑียร ในพระบรมมหาราชวัง เปน ๑ ใน ๑๔ ของ ราชศิราภรณ ในเครือ่ งราชกกุธภัณฑ (เครื่องประกอบ พระบรมราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย)๒๑ พระมาลาเบี่ยง สูง ๒๐ เซนติเมตร เสนผาศูนยกลางปกพระมาลา ๓๗.๕๐ เซนติเมตร พระพุทธรูป รายรอบพระมาลาเบีย่ ง พระพุทธรูปยืน ๑ องคสงู ๖.๘๐ เซนติเมตร พระพุทธรูปนัง่ ๒๐ องค สูง ๓ เซนติเมตร ทรงศิราภรณ วัสดุทองคํา สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ (ในหนังสือสาสนสมเด็จ ระบุจาํ นวนพระพุทธ รูปรอบพระมาลาเบี่ยง มี ๒๘ องค ) รับสั่งวา คนทอดแหไดในแมนํ้ามูล ซึ่งอาจจะ ตรงกับวังปลัด แขวงเมือง นครราชสีมา ตอมาพระยานครราชสีมาไดทูลเกลาฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราช รัชกาลที่ ๑ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหอัญเชิญมาประดิษฐาน ที่พระมาลาองคน๒๒ ี้


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

169

พระแสงดาบคาบคาย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงโปรดฯ ใหสราง ขึ้นมาใหมแทนพระแสงดาบคาบคาย ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ทรงรบแบบกองโจรปนปลน คายขาศึก ในคืน เดือน ๔ขึ้น ๑๐ คํ่า พ.ศ. ๒๑๒๙ พระองคเดิมที่สูญหายในคราวเสียกรุงศรีอยุธยาดาบฝก และดามทําดวยทองคําลงยา ฝงเพชร เปน ๑ ใน ๘ ของ พระแสงราชศัสตราวุธ (อาวุธของพระมหากษัตริย) ที่สําคัญตามราชประเพณี๕ ประกอบดวย ๑. พระแสงราชศัสตรา (ดาบที่ รัชกาลที่ ๕ โปรดฯ ใหสรางขึ้นพระราชทานแกเมืองสําคัญๆ เปน พระแสงอาญาสิทธิแ์ ทนพระองคในการปกครอง ) ๒. พระแสงอัษฏาวุธ (อาวุธในการแตงตัง้ ในการพระราช พิธบี รมราชาภิเษก และพระราชพิธสี าํ คัญ รัชกาลที่ ๑ โปรดฯใหสรางขึน้ ๘ องค คือ ๑.พระแสงตรี ๒.พระแสง จักร ๓.พระแสงธนู ๔.พระแสงของาวแสนพลพาย ๕.พระแสงปนคาบชุดขามแมนาํ้ สะโตง ๖.พระแสง หอกเพชรรัตน หรือ พระแสงหอกชัย ๗.พระแสงดาบเชลย ๘. พระแสงดาบมีเขน) ๓. พระแสงดาบ คาบคาย (ดาบและ ฝกทําดวยทองคํา) ๔.พระแสงดาบใจเพชร ๕.พระแสงเวียด (พระเจาเวียดนาม ญาลองถวายรัชกาลที่ ๑) ๖. พระแสงฟนปลา ๗.พระแสงแฝด ๘.พระแสงฝกทองเกลี้ยง๖

พระแสงธนู และ พระแสงดาบใจเพชร


170

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระราชวังจันทน เมืองพิษณุโลก บันทึกของ นิโกลาซ แซรแวส ราชฑูตชาวฝรัง่ เศส ในราว พ.ศ. ๒๒๓๐ กลาวไวถงึ พระราชวังจันทน เมืองพิษณุโลก ความตอนหนึ่งวา “...เมืองพิษณุโลก เปนเมืองอันดับสอง ของอาณาจักร เมืองนี้แต กอนเปนที่ประทับแปรพระราชฐานของพระเจาแผนดิน นี้ยังมีพระที่นั่งเกา ๆ เหลืออยู...” พระราชวังจันทน พระราชวังโบราณแหงเดียวของเมืองพิษณุโลก ตั้งอยูภายในกําแพงเมือง พิษณุโลก ฝงตะวันตกของแมนํ้านาน ซึ่งไหลผานใจกลางตัวเมือง เนื้อที่ ๖๑ ไรเศษ สันนิษฐานวา สรางมา แตสมัยสุโขทัย แยกเปน พระราชวัง ๓๑ ไร และ พระราชอุทยาน และ พลับพลา (เกาะกลางสระสองหอง) ๓๐ ไร นับเปนศิลปกรรมสมัยอยุธยา ฐานอิฐสูง โครงสรางไม มุงกระเบื้อง ไมปรากฏถาวรวัตถุเหลือมากนัก คงมีการบูรณปฎิสงั ขรณ ครัง้ ใหญ ในสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จมาครองเมืองพิษณุโลก เปน เวลา ๒๕ ป พ.ศ. ๒๐๐๖ – ๒๐๓๑ พระราชวังจันทน คงไดรับผลกระทบทรุดโทรมมากใน สงครามอะแซ หวุน กีต้ เี มืองพิษณุโลก พ.ศ. ๒๓๑๘ และในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โปรดให รือ้ ปอมปราการ กําแพงเมืองและวังจันทน มิใหขา ศึกใชเปนทีต่ งั้ มัน่ ในการมาโจมตีพระนคร ไดตอไปเชนในอดีต สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงกลาวใน หนังสือสาสนสมเด็จ วา ”.. เรือนพระเจา แผนดินและเจานายที่สูงศักดิ์จะสรางดวยไมจันทนที่มีกลิ่นหอม..” เรียกวา พระราชวังจันทน วังจันทน ตําหนักจันทน ตามฐานันดร อิสริยศักดิ์ของผูที่ประทับในแตละยุคสมัย พระราชวังจันทน กําแพงวัง และรากฐานอาคารเปนอิฐ เสา และ เครื่องบน พระตําหนัก และ พระราชมณเฑียร สรางดวย ไมจันทนหอม ตามคตินิยมของเจานายชั้นสูงในสมัยนั้น จึงเปนปฐมนามของ พระราชวังจันทน และ เรียกวา วังจันทน ตาม อิสริยยศ ฐานันดรศักดิ์ ของเจานายแตละพระองคที่ประทับ ในแตละยุคสมัย


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

171

โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม กอตั้ง ในป พ.ศ. ๒๔๔๒ เดิมตั้งอยูที่วัดนางพญา เเลวยายมาอยูที่ ศาลาโรงโขน วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ (วัดใหญ) แลวยายกลับมาอยูที่ วัดนางพญา จนในป พ.ศ. ๒๔๗๕ ทางราชการสรางสะพานนเรศวรเเลวเสร็จ (สะพานดํา) (สะพานเหล็ก) โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมจึงยาย จากฝ  ง ตะวั น ออกของแม นํ้ า น า น มาตั้ ง บริ เ วณพระราชวั ง จั น ทน แ ทนโรงเรี ย นฝ ก หั ด ครู มู ล (เกษตร) “พิษณุวิทยายน” ซึ่งยายไปอยูบริเวณ “สระแกว” โรงพยาบาลพุทธชินราช

ในป พ.ศ. ๒๕๓๕ โรงเรียนไดกอ สรางอาคารเรียน ๔ ชัน้ บริเวณสนามบาสเกตบอล ใกลตน โพธิใ์ หญ ขณะทีค่ นงานกอสรางขุดหลุมเสาฐานรากไดพบซากอิฐเกา เปนแนวกําแพง จังหวัดพิษณุโลกจึงแจงใหกรม ศิลปากรไดมาตรวจสอบ จึงยุตกิ ารกอสราง กรมศิลปากรไดประกาศขึน้ ทะเบียนโบราณสถานพระราชวัง จันทน ครั้งแรก ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๕๓ ตอนที่ ๓๔ วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๔๗๙ และ มีประกาศที่ดินโบราณสถาน พื้นที่ ๑๒๘ ไร ๒ งาน ๕๐ ตารางวา รวมโบราณสถานใกลเคียง ไดแก วัดวิหารทอง วัดศรีสุคต วัดโพธิ์ทอง สระสองหองและคลองมะดัน เปนโบราณสถาน ตามประกาศราชกิจจา นุเบกษา เลม ๑๑๑ ตอนที่ ๕๒ ง วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๓๗ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมไดยายออกไป ตั้งในสถานที่แหงใหม บึงแกงใหญ ตําบลทาทอง อําเภอเมืองพิษณุโลกใน ป พ.ศ. ๒๕๔๒ จนปจจุบัน


172

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เทพารักษ พระราชวังจันทน เทพารักษ เปน เทวรูปไมแกะสลัก ทรงเครื่องอยางกษัตริย พระหัตถขวาทรงพระขรรค ประทับยืน บนฐานไมทรงกลมลดหลัน่ ๓ ชัน้ สูง ๖๘ เซนติเมตร แทนอดีตมหาราช ผูค รองเมืองพิษณุโลกแตโบราณ และสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เดิมประดิษฐาน อยูที่ ศาลเทพารักษ ( ศาลไม ) ใน พระราชวังจันทน แตโบราณ พระเจาแผนดิน และ เจานายบางพระองค ที่เสด็จมาถึงเมืองพิษณุโลกไดเคยเสด็จไปกระทํา สังเวย เทพารักษ พระราชวังจันทน คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ เสด็จสังเวยเทพารักษ ปรากฏในพระ ราชหัตถเลขาคราวเสด็จมณฑลฝายเหนือ พ.ศ. ๒๔๔๔ ฉบับที่ ๑๒ เมืองพิศณุโลก วันที่ ๑๗ ตุลาคม รัตน โกสินทรศก ๑๒๐ วา เวลาเย็นไปที่พระราชวัง ซึ่งตั้งอยูตอนเหนือพลับพลา..”และความวา “..ไดตั้ง เครื่องสังเวยบูชาเจาผูครองเมืองแตที่สําคัญ ..” และทรงเห็นศาลทรุดโทรม จึงโปรดฯใหสรางศาลไมขึ้น ใหม กวาง ๑ วา ๒ ศอก ยาว ๒ วา ๓ ศอก สูง ๓ ศอก..” พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖ เมื่อครั้งดํารงพระอิสริยยศ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ในคราวเสด็จเมืองพิษณุโลกเพือ่ นมัสการ พระพุทธชินราช พุทธศักราช ๒๔๕๐ ( ร.ศ. ๑๒๖ ) พระราชนิพนธไวใน เทีย่ วเมืองพระรวง ตอนที่ ๒๑ หนาที่ ๒๓๓ ตอนหนึ่งวา “... นอกจากการสมโภชพระพุทธชินราช ยังมีสิ่งที่เปนธรรมเนียมตองกระทํา อีกอยางหนึ่ง คือ ไปบวงสรวงเทพารักษที่วังจันทน เพราะฉะนั้นพอเสร็จการสมโภชแลว รุงขึ้นวันที่ ๒ มีนาคม เวลาเชาไดไปวังจันทน กระทําการบวงสรวงที่ศาลกลางวัง แลวเดินดูวังตอไป ในวังนี้มีสระอยู แหงหนึ่งเรียกวา สระสองหอง…” วันเสารที่ ๘ มกราคม ๒๔๖๙ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๗ พรอมสมเด็จ พระบรมราชินี เสด็จโดยรถยนตพระทีน่ งั่ ออกจากทีป่ ระทับไป ทรงบวงสรวงอดีตมหาราชทีโ่ บราณราชวัง จันทน มีกองทหารและเสือปาพรอมดวยแตรวงธงประจํากองเฝารับเสด็จ เมือ่ เสด็จถึงขึน้ ประทับบนศาล ทรง พระสุหรายที่เทวรูป ทรงจุดเครื่องสักการะพรอมดวยสมเด็จพระบรมราชินี แลวพนักงานประโคมดุริยางค เจาพนักงานถวายผาตาดและแพรสีชมพู พระราชทานใหเจาพนักงานผูกทีห่ นาศาล แลวเสด็จพระราชดําเนิน ไปทอดพระเนตรสระสองหอง...”


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

173

เทวรูปเทพารักษ แทนอดีตมหาราชผูครองพิษณุโลกและ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช มาแตโบราณ ประทับยืน พระหัตถขวาทรง พระขรรค พระหัตถซา ยจับทีบ่ นั้ พระองค (เอว) ทรงศิราภรณชฎา มงกุฏทรงสูงแหลม กรองพระศอ ทรงพาหุรตั สองขาง (กําไรตนแขน) ทรง สังวาลทับทรวง รัดพระองค (เข็มขัด) ปนแหนงหัวลายประจํายาม (หัวเข็มขัด) ทรงภูษาลาย เหนือปทมาสนทรงกลมสามชั้น ประดิษฐานใน พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพุทธชินราช (วิหารพระพุทธชินสีห) วัสดุไมแกะสลัก ลงรักษปดทอง


174

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ศาลเทพารักษ ศาลเจาพอนเรศวร พระราชวังจันทน (ศาลไมหลังเกา) ศาลเทพารั ก ษ พระราชวั ง จั น ทน สถานที่ พ ระราชสมภพสมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช พุทธศักราช ๒๐๙๘ เดิมเปนศาลไมประดิษฐาน เทพารักษ แทนอดีตมหาราช ผูครองเมืองพิษณุโลกแต โบราณ ศาลเดิมทรุดโทรม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ เสด็จ โปรดเกลาฯให สรางขึ้นใหม ในคราวเสด็จทอดพระเนตรและสังเวยบูชาเทพารักษ เจาผูครองเมือง เมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม รัตนโกสินทรศก ๑๒๐ (พ.ศ. ๒๔๔๔) เปนศาลไมสักทอง กวาง ๑ วา ๒ ศอก ยาว ๒ วา ๓ ศอก สูง ๓ ศอก ในป พุทธศักราช ๒๔๗๕ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม ยายจากที่ตั้งเดิม บริเวณวัดนางพญา มาอยู ที่พระราชวังจันทน ซึ่งรกรางทรุดโทรมหลังศึกอะแซหวุนกี้ตีเมืองพิษณุโลก ในป พ.ศ. ๒๓๑๘ ในป พ.ศ. ๒๔๘๙นายระบิล สีตะสุวรรณ อาจารยใหญขณะนั้นไดให กรมศิลปากร สรางพระบรมรูปสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชพระองคแรกของเมืองพิษณุโลก ขึ้นโดย นายสิทธิเดช แสงหิรัญ เปนชางปนและ หลอดวยปูนปาสเตอร ประทับยืน สวมพระมาลา พระหัตถขวาทรงพระแสงดาบคาบคาย พลโทผิน ชุณหวัน พลโทกาจ กาจสงคราม ประกอบพิธีอัญเชิญดวงพระวิญญาณสถิตในองคพระบรมรูปฯที่หนาพระวิหาร พระพุทธชินราช แลว อัญเชิญประดิษฐานที่ ศาลเทพารักษ พระราชวังจันทน คูกับองค เทพารักษ จึงเรียกกันวา ศาลเจาพอนเรศวร หรือ ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นับแตนั้นเปนตนมา ใน วันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๐๒ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต นายกรัฐมนตรี มาตรวจราชการที่จังหวัด พิษณุโลก และไดมาสักการะพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทีศ่ าลเกา ไดพจิ ารณาเห็นวา พระบรม รูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและศาลที่ประดิษฐานมีสภาพชํารุดไมสงางามสมพระเกียรติคุณ พระมหาราชผูท รงกอบกูเ อกราชของชาติไทยจึงมีคาํ สัง่ ใหสรางศาลทีป่ ระดิษฐาน และ หลอพระบรม รู ป สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราชพระองค ใ หม ขึ้ น พระอิ ริ ย าบถประทั บ นั่ ง หลั่ ง ทั ก ษิ โ ณทกจาก พระสุวรรณภิงคารประกาศอิสรภาพ ณ เมืองแครง พุทธศักราช ๒๑๒๗ เปนพระองคแรกของ ประเทศไทย จัดสรางโดยกรมศิลปากรเมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๐๒ ตามคํารองขอของสมาคมนักเรียน เกาพิษณุโลกพิทยาคม (นายอุทัย แสงศิริ นายกสมาคมฯ พ.ศ. ๒๕๐๒ -๒๕๐๔) และอนุมัติงบประมาณ จํานวน ๕๘๕,๐๐๐ บาท สมทบกับเงินบริจาค ของขาราชการประชาชนจังหวัดพิษณุโลกอีกจํานวน ๒๑๘,๙๖๕ . ๓๓ บาท


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

175

โดยมี พลโทประพันธ กุลพิจิตร แมทัพภาคที่ ๓ นายเยียน โพธิสุวรรณ ผูวาราชการจังหวัด พิษณุโลก นายธนิต อยูโพธิ์ อธิบดีกรมศิลปากร นายอรุณ ภักดิ์ประไพ นายกเทศมนตรีเทศบาลเมือง พิ ษ ณุ โ ลก นายสุ ริ น ทร ดํ า ริ ส ถลมารค นายอํ า เภอเมื อ งพิ ษ ณุ โ ลก เป น กรรมการจั ด สร า ง นายมานะ เอี่ยมสกุล อาจารยใหญโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม นายเฉลิมศักดิ์ นุชนาถ ผูชวยอาจารยใหญ ฯ รวมเปนกําลังสําคัญในการดูแลการกอสรางจนแลวเสร็จ เปน ศาลทรงไทยตรีมุข คอนกรีตเสริมเหล็ก เสร็จ เมื่อ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๐๔ สวน ศาลเทพารักษ และ พระบรมรูปพระองคเดิม ขณะกอนศาลใหม ไดยา ยศาลไปประดิษฐาน ที่บริเวณตนโพธิ์ และทําหมุดทองเหลือง แสดงตําแหนงที่ตั้งศาลเดิมไว บนลานคอนกรีตทางทิศตะวันตก เฉียงใตของศาลปจจุบัน ภายหลังไดมีการอัญเชิญพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราชพระองคแรก ไป ประดิษฐาน ณ ระเบียงวิหารคตดานตะวันออกของวิหารพระพุทธชินสีห วัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร และในป พ.ศ. ๒๕๒๑ ไดอญ ั เชิญพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จากระเบียงวิหารคต ไปประดิษฐาน ที่ คายนเรศวรมหาราช กองกํากับการที่ ๕กองบังคับการฝกพิเศษ อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม เทวรูปเทพารักษ ไดขึ้นทะเบียนเปนโบราณวัตถุ ลําดับที่ ๓๗ ในป พ.ศ. ๒๕๓๓ หมายเลขทะเบียน ๙๙๑ ปจจุบันประดิษฐานอยูใน วิหารพระพุทธชินสีห พิพิธภัณฑสถานแหงชาติพุทธชินราช สวน ศาลเทพารักษ หลังเดิมไดอัญเชิญไปประดิษฐาน เทพารักษจําลอง และ พระบรมรูป ๕ พระองค ราชวงศสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา (สมเด็จพระมหาธรรมราชา พระวิสุทธิกษัตรีย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จ พระเอกาทศรถ และพระสุพรรณกัลยา) ที่ พระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โรงเรี ย นพิ ษ ณุ โ ลกพิ ท ยาคม (ย า ยไปตั้ ง ที่ บึ ง แก ง ใหญ ใ นป พ.ศ.๒๕๔๒ กรมศิ ล ปากรขึ้ น ทะเบี ย น พระราชวังจันทน เปนโบราณสถาน ในป พ.ศ. ๒๕๓๖) ตําบลทาทอง อําเภอเมืองพิษณุโลกจวบจนปจจุบัน

จอมพล ป.พิบลู สงคราม นายกรัฐมนตรีสกั การะ องคเทพารักษ และพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวร มหาราช พระองคแรก ของเมืองพิษณุโลก ในโอกาสมาเปนประธานเปด หอประชุมนเรศวร วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๗


176

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ภาพพระราชวังจันทน โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม หลังจากสราง ศาลสมเด็จพระนเรศวรฯ แลวเสร็จ ใน ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๐๔

อาคาร ๑ และ ๒ อาคารเรียนยุคแรก โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม พระราชวังจันทน สรางตอเนื่อง กัน พ.ศ.๒๔๗๙ - ๒๔๘๐ แนวเหนือใต คูกับ หอประชุมนเรศวร (สราง พ.ศ.๒๔๙๕ – ๒๔๙๗ หอประชุมไม จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เปดหอประชุมวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๙๗) ซึ่งตัดถนนเขา สูศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผานกลาง ระหวางอาคารกับหอประชุมฯ กอนจะรื้อเนื่องจากบดบัง ทัศนียภาพของศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและไดรับงบประมาณสรางอาคารเรียนใหม แทนในป พ.ศ. ๒๕๐๔ - ๒๕๐๗


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

177

สภาพพระราชวังจันทน โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม เมื่อรื้ออาคาร ๑ คงเหลือแตหอประชุมนเรศวร เพื่อไมใหบดบังทัศนียภาพ ของ ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ สนามกีฬาวังจันทน ซึ่งปรับปรุงพรอม อัฒจรรย มีหลังคา ที่สรางเสร็จใหม ๆในราว ปพ.ศ.๒๕๐๓


178

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พิธีอัญเชิญ พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองคแรกของเมืองพิษณุโลก จาก ศาลเทพารักษ (โคน ตนโพธิ์) ไปประดิษฐานภายในระเบียงวิหารคต ทิศตะวันออกของวิหารพระพุทธ ชินสีห พิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติพทุ ธชินราช วัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร พิษณุโลก ภายหลังอัญเชิญ ไปประดิษฐานที่ คายนเรศวรมหาราช (ตชด.) กองกํากับการที่ ๕ กองบังคับการฝกพิเศษ อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหม ในป พ.ศ.๒๕๒๑ จนปจจุบัน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

179

ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน (สถานที่พระบรมราชสมภพ จุลศักราช ๙๑๗ พุทธศักราช ๒๐๙๘) เมืองพิษณุโลก สูง ๙.๗๙ เมตร กวาง ๑๔ เมตร ยาว ๑๗ เมตร ประดิษฐาน พระบรมราชานุสาวรีย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระอิรยิ าบถประทับนัง่ หลัง่ ทักษิโณทก จากสุวรรณภิงคาร ประกาศอิสรภาพ ณ เมืองแครง พุทธศักราช ๒๑๒๗ เปนพระองคแรกของประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน ทรงเปด เมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๐๕ เปนแหงที่ ๒ หลังจากเสด็จพระราชดําเนินทรงสังเวยพระบรมรูป สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและเทพารักษ พระราชวังจันทน เปนครั้งแรกนับแตเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ เปนตนมา เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ พุทธศักราช๒๕๐๑ เสด็จพระราชดําเนิน ทรงเปด พระบรมราชานุ ส าวรี ย  ส มเด็ จ พระนเรศวรมหาราช ทรง พระคชาธารศึกยุทธหัตถีมชี ยั แกอริราชศัตรู อนุสรณสถาน ดอนเจดีย อําเภอดอนเจดีย เปนแหงแรก ของประเทศไทย ใน วันที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๒

พระคาถาบูชาสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน ตั้ง นะโม ๓ จบ นอมสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณ แลวภาวนาวา นะมามิ สิระสา พิมพัง พุทธะ ญาณะ นะเรศวร สัพพะ ทุกขะ สะเมตตารัง สันติทัง สุขะทัง สะทาติ หมายเหตุ ...หนังสือคําใหการ ชาวกรุงเกา ระบุวา พระราชสมภพ วันพฤหัสบดี ปเถาะ จุลศักราช ๙๐๔ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ระบุวา พระราชสมภพ ปมะโรง จุลศักราช ๙๐๔


180

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

นเรศวรมหาราชานุสรณ พระกริ่งนเรศวร รุนแรก

พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จําลอง และ พระกริ่งนเรศวร และ พระกริ่งนเรศวร นอย (ปม – หรือ พระชัยวัฒน) จัดสรางเปนครั้งแรก ของพระราชวังจันทน เมืองพิษณุโลก พ.ศ.๒๕๐๗ และ ภาพลักษณะ ศีรษะมนุษยลอยเดนเหนือเตาหลอมทองที่รอนระอุ ในภาพยนตรที่เจาหนาที่สํานักขาวสารอเมริกา ชื่อพิพัฒน มาลากร เปนผูถายไว เมื่อลางฟลมฉายออกมาดู จึงพบภาพความอัศจรรย ขณะ สมเด็จ พระวันรัต (ปุน ปุณณ ฺ สิร)ิ วัดพระเชตุพน ฯ กรุงเทพฯ จุดเทียนชัย ทองฟาปกคลุมดวยเมฆฝนเปดเปนชอง ให แ สงพระอาทิ ต ย ท รงกรด สาดตรงเฉพาะ ปะรํ า พิ ธี น าน ๕ นาที แล ว มื ด ครึ้ ม เหมื อ นเดิ ม เปนที่อัศจรรยใจแกผูรวมพิธีเปนยิ่งนัก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

181

นายเฉลิมศักดิ์ นุชนาถ ผูชวยอาจารยใหญโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม เขาเฝาฯ พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั และทูลเกลาฯ ถวายพระเครือ่ ง สมาคมนักเรียนเกาพิษณุโลกพิทยาคม สรางในป พ.ศ. ๒๕๐๗ แด สมเด็จพระเจาลูกยาเธอเจาฟาวชิราลงกรณ ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ ในคราวเสด็จสักการะพระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม

ภาพนิมิตรมงคลขณะพิธีพุทธาภิเษกเททอวงพระกริ่งนเรศวร ๒๕๐๗


182

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สระสองหอง นํ้าสรงมุรธาภิเษก รัชกาลที่ ๙ สระสองหอง เปน สระนํา้ โบราณ คูเ มืองพิษณุโลก ขนาดกวาง ๔๐ เมตร ยาว ๑๖๐ เมตร ตรงกลาง สระเปนเกาะ ขนาด ๑๕ –๑๕ เมตร เปนที่ตั้งของ พลับพลา หรือ พระที่นั่งเย็น สําหรับเปนที่ ประทับ พักผอนพระอิริยาบถของพระมหากษัตริยและเจานายชั้นสูง ที่ประทับ ณ พระราชวังจันทน พระราชวังโบราณแหงเดียวของ เมืองพิษณุโลก หรือ สระหลวงสองแคว มีความสําคัญทางประวัตศิ าสตร ไทยมานับสมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระบูรพ กษัตริยาธิราชเจา เสด็จมาประทับ ปกครอง และ ปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ตามที่ปรากฏในพระราชพงศาวดาร ไมนอยกวา ๒๒ พระองค พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชวินิจฉัยไวใน พระราชหัตถเลขา ฉบับที่ ๑๒ เมืองพิษณุโลก วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๔๔๔ ปรากฏ ตอนหนึ่งวา “...นาจะยังมีพระที่นั่งอันใดอันหนึ่งตั้งอยูริมสระนั้น เพราะเห็นมีอิฐอยูมาก...” สระสองหอง เปนสถานทีป่ ระกอบพิธพ ี ลีกรรมตักนํา้ ศักดิส์ ทิ ธิข์ องจังหวัดพิษณุโลก ใช เปน นํ้าอภิเษก หรือ นํ้าสรงมูรธาภิเษก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ ตามโบราณ ราชประเพณี ๔ ครั้ง คือ ครั้งที่ ๑. พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ฯ สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิตร มหาราช วันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ครัง้ ที่ ๒. พระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐ พิธพี ลีกรรม ตักนํ้าสระสองหอง พระราชวังจันทน ในวันพุธที่ ๔ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๓๐ เวลา ๐๙.๐๐ น. ครั้งที่ ๓. พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ พิธีพลี กรรมตักนํ้าสระสองหอง พระราชวังจันทน ในวันพฤหัสบดี ที่ ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๔๒ เวลา ๑๖.๓๙ น. ครัง้ ที่ ๔ ใน พระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๐ ประกอบพิธีพลีกรรมตักนํ้าศักดิ์สิทธิ์ สระสองหอง พระราชวังจันทน วันศุกรที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐ เวลา ๑๕.๔๙ น. - ๑๖.๑๙ น. กอนประกอบพิธีบูชาเทวดาอารักษ ไดปรากฏมี งูเหา ขนาดใหญ เลื้อยลงมาวายนํ้าขามสระสองหอง หรือ หนองสองหอง มาจากฝงตะวันออก ที่กวาง เกือบ ๕๐ เมตร มา ขึน้ ทีข่ อบฝง ตะวันตกทีป่ ระกอบพิธี แลวเลือ้ ยขึน้ มุดหายไปใตพนื้ ไมอดั ทีป่ พู นื้ ตัง้ โตะเครือ่ งสังเวย ริมขอบสระ ฝงตะวันตก อยางรวดเร็ว ทามกลางความตะลึงของผูเขารวมพิธีจํานวนมาก จนเสร็จพิธี ก็ไมมีผูใดพบเห็น งูเหา หรือโพรงรูงู ในบริเวณนั้นแตประการใดอีกเลย


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

183

ภาพเกาพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ (โลหะ) ในราว พ.ศ. ๒๕๐๕ และพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ ในปจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๕

๑. พระบรมรู ป สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช ปู น ป  น ฝ มื อ สิ บ โททวี บู ร ณเขตต ในป พ.ศ.๒๕๐๒ประติมากรรมตนแบบ ปจจุบนั ประดิษฐาน ณ พิพธิ ภัณฑกองทัพภาคที่ ๓ คายสมเด็จพระนเรศวร มหาราช พิษณุโลก เปนพระบรมรูป สมเด็จพระนเรศวรมหาราช องคที่ ๒ ของเมืองพิษณุโลก ๒. แผนภาพภาพจิตกรรมพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พิมพมอบแกผูรวมบริจาค บูชาสมทบทุนสรางพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ พ.ศ.๒๕๐๒ ๓. พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลอดวยโลหะ ประดิษฐาน ณ คายสมเด็จพระนเรศวร มหาราช กองทัพภาคที่ ๓ พ.ศ.๒๕๐๒ สิบโททวี บูรณเขตต เปนประติมากรและชางหลอ เปนพระบรมรูป สมเด็จพระนเรศวรมหาราช องคที่ ๓ ของเมืองพิษณุโลก


184

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พิธีเททองหลอพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในป พ.ศ. ๒๕๐๒ พระครูประพันธศี คุณหลวงพอพัน สุสิโม วัดบางสะพาน พิษณุโลก พระครูนิกรธรรมรักษ หลวงพอไซร วัดชองลม อุตรดิตถ รวมนั่งปรก พราหมณหลวงบวงสรวงดวงพระวิญญาณ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

185

พระบรมราชานุสาวรีย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระอนุชาธิราช สมเด็จ พระเอกาทศรถ (เสด็จฯทรงเปด ในป พ.ศ.๒๕๓๖) ในคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาค ที่ ๓ จังหวัดพิษณุโลก ในปจจุบัน พระอิริยบถ ประทับยืน ทรงพระมาลาเบี่ยง พระหัตถขวาทรงหลั่ง ทักษิโณทกพระสุวรรณภิงคาร ประกาศอิสรภาพ พระหัตถซายทรงพระแสงดาบ คาดฝกพระแสงดาบ ที่พระปฤษฎางค (หลัง)

พระบรมรูปขนาดบูชา สมเด็จพระนเรศวรมหาราชจําลอง จัดสรางเปน รุนแรก ครั้งแรก ของเมืองพิษณุโลก พ.ศ. ๒๕๐๒ กองทัพภาคที่ ๓ จัดสราง เพื่อมอบใหแกผูรวมสมทบทุนสรางพระบรมรูป สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (โลหะ) กองทัพภาคที่ ๓


186

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯทรงเปดพระบรมราชานุสาวรีย สมเด็จพระนเรศวรมหาราชโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม (บึงแกงใหญ ) วันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๕๒

ศาลเทพารักษ หรือ ศาลพระนเรศวร เกา ยายจาก พระราชวังจันทน ไปประดิษฐานที่ ลาน พระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม (บึงแกงใหญ) ประดิษฐานเทพารักษ จําลองและพระบรมรูป ๕ พระองค คือ สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช พระวิสุทธิกษัตริย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ และ พระสุพรรณกัลยา


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

187

ถุงผาแพรสีธงชาติ ใสเหรียญบาท พ.ศ. ๒๕๐๕ พระราชทาน พลเอกจิรเดช คชรัตน อดีตรองผูบ ญ ั ชาการทหารบก และนายกสมาคมนักเรียนเกาพิษณุโลก พิทยาคม คนที่ ๖ บุตรชาย นายเกรียง คชรัตน อดีตเสมียนตราจังหวัดพิษณุโลก (ไดรบั พระราชทานเหรียญ รัตนาภรณ ชั้นที่ ๕ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๐๑) ซึ่งมีบานพักอยูบริเวณใกลๆ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก (สนามเทนนิส ปจจุบัน) ในป พ.ศ. ๒๕๐๕ ขณะนั้นเรียนอยูชั้น ม.ศ. ๒ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม (พ.ล. ๑) ภาคเชาแตงชุดลูกเสือไปเฝาฯรับเสด็จฯ ที่ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม เสร็จพิธีแลว จึงรีบวิ่งกลับ มาที่บานพัก รีบไปตัดดอกไม ที่พอปลูกในบานพัก แลววิ่งตรงไปรอเฝารับเสด็จฯ ที่หนาศาลากลางจังหวัด พิษณุโลก เมือ่ เสด็จฯ มาถึงและเสด็จเยีย่ มราษฎรมีผทู ลู เกลาฯถวายสิง่ ของหลายราย จึงไดมโี อกาสทูลเกลาฯ ถวายดอกไม แดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และไดรบั พระราชทานของทีร่ ะลึกจากพระหัตถพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว เปนถุงผาแพรแถบธงชาติ ภายในบรรจุเหรียญหนึ่งเหรียญ ในภายหลัง ถุงผาแพร แถบสีธงชาติไดเปอยขาดที่ขอบขางดานหนึ่ง จะพบวา เปนเหรียญหนึ่งบาท ผลิตในป พ.ศ. ๒๕๐๕ นับเปนพระมหากรุณาธิคณ ุ อยางหาทีส่ ดุ มิไดในชีวติ นี้ จึงตัง้ ใจศึกษาเลาเรียนและปฏิบตั หิ นาทีด่ ว ย ความสํานึกในพระบารมีปกเกลา ฯ ตลอดมา จึงทําใหไดมีโอกาสรับราชการทหารสนองพระเดชพระคุณ จนมีความเจริญกาวหนาในชีวิตราชการ ดวยพระเมตตาคุณอยางแทจริง และ ยังคงเก็บรักษาถุงผาแพร แถบธงชาติ และเหรียญบาทพระราชทานไวเปนสิริมงคลแกตนเองและครอบครัว มาจนทุกวันนี้


188

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

189

ทุติยประพาส ทวยราษฎรแซซอง ครั้งที่สองผองประชาพาสุขสม สองพันหารอยหาพาชื่นใจ พรอมเอกองคราชินีศรีสยาม ทรงเปดศาลองคนเรศวรคูธานี ทรงสักการะบูรพกษัตริยศักดิ์ ชาติรุงเรืองวัฒนาสถาพร ตอจากนั้นเสด็จกองทัพภาคสาม อนุสาวรียมีสถิตนิจนิรันดร ยุทธหัตถีทินวารผานปรากฏ องคนเรศวรเชษฐบุรุษสุดเมธี ยี่สิบหามกราอนุสรณ มหาราชชาติชนลนบูชา ตอจากนั้นพลันเสด็จสูวิหาร ประดิษฐองคปฏิมาพารุจี ณ ที่นั้นประชาชนลนแหแหน ไดชื่นชมบารมีเอกราชา

ยี่สิบหามกราคมสมสมัย ภูวนัยเสด็จมาฟาเรืองศรี เทิดพระนามสิริกิติ์พิสิฐศรี ณ วังจันทนสถานที่ศรีบวร ผูพิทักษรักษามาแตกอน เกียรติขจรบวรรัตนถึงปจจุบัน เทิดพระนามนเรศวรลวนเสกสรร องคราชันยเสด็จเปดเทิดบารมี เกียรติยศแผไปในถิ่นที่ รัฐพิธีสืบสานผานเวลา เกียรติขจรทั่วไปในทิศา เทิดคุณคายิ่งใหญในปฐพี พุทธสถานลํ้าคาสงาศรี ชินราชนามนี้กองโลกา ดูเนืองแนนชื่นบานสุขหรรษา ทุกทิวาจําไวไมมีเลือน ฯ

พิษณุ เมืองพระงาม ประพันธ ถวายพระเกียรติคุณ


190

¾ÃкÒÃÁÕ»¡à¡ÅŒÒÏ ªÒǾÔɳØâÅ¡

¤ÃÑ駷Õè ó


191

¾ÃкÒÃÁÕ»¡à¡ÅŒÒÏ ªÒǾÔɳØâÅ¡ ¤ÃÑ駷Õè ó ÇѹàÊÒà ·Õè òõ Á¡ÃÒ¤Á ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõð÷


192

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

¾ÃкÒÃÁÕ»¡à¡ÅŒÒÏ ªÒǾÔɳØâÅ¡ ¤ÃÑ駷Õè ó วันเสารที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๗ เวลา ๐๙.๐๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั และ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จพระราชดําเนินโดยเครื่องบินพระที่นั่งที่กองทัพอากาศจัดถวายจากจังหวัดเชียงใหม ไปยังจังหวัดตาก เสด็จประทับเฮลิคอปเตอรพระทีน่ งั่ เสด็จไปยังจังหวัดสุโขทัย เมือ่ เสด็จพระราชดําเนินถึงสนามโรงเรียนบาน เมืองเกาศรีอินทราทิตย เสด็จฯ ประทับรถยนตพระที่นั่งไปทรงบําเพ็ญพระราชกุศลและทรงบวงสรวงสังเวย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทีพ่ ระมณฑป วัดศรีชมุ และทอดพระเนตรวัดศรีชมุ จากนัน้ เสด็จพระราชดําเนิน ไปทรงเปดพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ รามคําแหง จังหวัดสุโขทัย และทอดพระเนตรโบราณวัตถุตาง ๆ ที่จัด แสดงภายในพิพิธภัณฑ เวลา ๑๒.๓๐ น. เสวยพระกระยาหารกลางวันที่อาคารรับรองในบริเวณพิพิธภัณฑ เสร็จแลว พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหราษฎรเฝาทูลละอองธุลีพระบาท จากนั้น ประทับรถยนตพระที่นั่ง เสด็จพระราชดําเนินไปทอดพระเนตรปูชนียสถานและโบราณสถานตาง ๆ ในจังหวัดสุโขทัย เวลา ๑๕.๐๐ น. เสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระที่นั่งมายังจังหวัดพิษณุโลก เพื่อทรงวางศิลา ฤกษตกึ อํานวยการโรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ จังหวัดพิษณุโลก เสด็จพระราชดําเนิน ทรงสักการะ พระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราช วังจันทน แลวเสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระที่นั่งตอไปยังคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ ที่นั้น พลโทประพันธ กุลพิจิตร ผูชวยผูบัญชาการทหารบก พลตรีอรรถ ศศิประภา แมทพ ั ภาคที่ ๓ กราบบังคมทูลถวายรายงาน และ พระกรุณานําขาราชการทหารเฝารับเสด็จพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห วั ทรงพระสุหราย ทรงเจิม และ ทรงวางศิลาฤกษและทอดพระเนตรแบบจําลองอาคารตึกอํานวย การโรงพยาบาล ฯ ทรงลงพระปรมาภิไธยและพระนามาภิไธย ในสมุดเยี่ยม และในโอกาสนี้ ไดเสด็จ พระราชดําเนินไป ทรงนมัสการพระพุทธชินราช ณ วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก แลวเสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระทีน่ งั่ ไปยัง สถานีรถไฟพิษณุโลก เพือ่ ประทับรถไฟพระทีน่ งั่ ขบวนเดียวกับที่ สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา พรรณวดีสมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาวชิราลงกรณ ฯ สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาสิรินธรเทพรัตนสุดาฯ สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาจุฬาลงกรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี ประทับมาจากสถานีรถไฟเชียงใหม เมื่อขบวนรถไฟพระที่นั่งขบวนนี้มาถึงสถานีรถไฟพิษณุโลก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและสมเด็จ พระนางเจา ฯ พระบรมราชินนี าถ เสด็จขึน้ ประทับเสด็จพระราชดําเนินกลับพระนคร นายเยียน โพธิสวุ รรณ ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก พรอมราษฎรชาวจังหวัดพิษณุโลก เฝาทูลละอองธุลีพระบาทสงเสด็จฯ เปนจํานวนมาก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะ และทรงสวมคลองมาลัยพระกร พระบรมราชานุสาวรีย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน จังหวัดพิษณุโลก ในการเสด็จพระราชดําเนินศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ครั้งที่ ๓ วันที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๗

193


194

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระที่นั่ง จากจังหวัดสุโขทัย ถึง ศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชวังจันทน โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก วันที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๗ นายเยียน โพธิสุวรรณ ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก และนางอํานวย โพธิสุวรรณ ทูลเกลาฯถวายพวงมาลัยพระกร นายมานะ เอี่ยมสกุล อาจารยใหญ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม นําคณะครู –อาจารย และ นักเรียน เฝาทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จ ฯ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงวางศิลาฤกษตึกอํานวยการโรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ วันที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๗

195


196

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทอดพระเนตรแบบจําลอง ตึกอํานวยการโรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ จังหวัดพิษณุโลก โดยมี พลโทประพันธ กุลพิจิตร ผูชวยผูบัญชาการทหารบก พลตรีอรรถ ศศิประภา แมทัพภาคที่ ๓ กราบบังคมทูลถวายรายงาน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

197

พระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พระนามาภิไธย สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงลงไวในสมุดเยี่ยม พิธีวางศิลาฤกษตึกอํานวยการโรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ วันที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๗ เชิญเก็บรักษาไว เปนพระบารมีปกเกลา ที่ โรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราชแหงใหม


198

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ภาพแผนศิลาพระฤกษ ที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงวางศิลาฤกษตึกอํานวยการโรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ วันที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๗


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

199

เกรียงเงินลงถมเงิน ที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงใชตักปูนซีเมนตวางอิฐทอง อิฐเงิน วางศิลาฤกษตึกอํานวยการโรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กองทัพภาคที่ ๓ วันที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๗ จัดทําโดย บริษัทไทยนคร จํากัด โดยไดรับพระบรมราชานุญาต กรุงเทพฯใบเกรียงแกะจารึกขอความวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาเจาภูมิพลอดุลยเดช ฯ เสด็จพระราชดําเนินทรงวางศิลาฤกษอาคารนี้ เมื่อ วันเสารที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๐๗


200

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตึกอํานวยการโรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เกา (พระองคที่ ๕ ของเมืองพิษณุโลก) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต พระราชทานนามโรงพยาบาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อเปนอนุสรณถวายพระเกียรติคุณ แด สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผูทรงกอบกูเอกราชของชาติไทย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.