341 380

Page 1

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

341

พารสมประพาส สกลราษฎรสํานึกคุณ ยี่สิบเกากุมภามาสศักราชคลอย พิษณุโลกไดรองรับพระภูมี เริ่มโครงการพัฒนาลุมนํ้าเข็ก พัฒนาเริ่มตนเปนแนวทาง อางเก็บนํ้าบานรักไทยในพงปา ปลอยปลานิลเปนมงคลดลสิ่งดี เสด็จเยี่ยมโรงเรียนบานรักไทย พระราชทานสิ่งของทุกถวนหนา แมถิ่นที่แหงแลงแหลงกันดาร ทั้งปาเขาลําเนาไพรในสากล ทั้งแดดลมฝนตกปารกชัฏ ในที่ใดปวงราษฎรมีทุกขรอน ในปาเขาใครเลาจักคิดถึง พระเจาอยูหัวคํานี้มีหรือไร เคยไดยินคนเลาเขาพูดขาน อยูในวังมหานครบวรวงศ จะไดเห็นพระองคคงยากยิ่ง ในปาเขาพระองคคงไมมา แตเหมือนฟามาโปรดโสตสดับ นํ้าพระทัยของพระองคที่ทรงมี ทั้งคนเขาคนดอยพลอยสุขสันต ไดเขาเฝาชมชื่นรื่นกมล

สองพันหารอยยี่สิบสามตามดิถี ในถิ่นที่กิ่งอําเภอเนินมะปราง แมเรื่องเล็กแตพระองคทรงสรรสราง เปนแบบอยางพอเพียงเลี้ยงชีวี ทรงดําริเพื่อประชาพาสุขศรี ประชาชีไดแนวทางสรางชีวา ทั้งครูเด็กชื่นใจสุดหรรษา อีกทั้งหมอใหรักษาแกปวงชน พระภูบาลเสด็จไปทุกแหงหน พระดั้นดนเสด็จไปไมอาทร องคกษัตริยเสด็จไปไมผันผอน เสด็จจรไปประทับดับทุกขภัย เปนที่ซึ่งไกลเหลือจะหาไหน มิมีใครเคยประสบพบพระองค วาภูบาลเปนดังเทพผูสูงสง ไกลปาพงสุดที่จะพรรณนา ไมมีสิ่งเปนไปไดจริงหนา วาสนาคนดงคงไมมี ไดเฝารับพระราชาพาสุขศรี ดุจวารีไหลหลั่งดั่งสายชล โอความฝนเปนจริงสิ่งเลิศลน เปนมงคลชีวิตนิจนิรันดร ฯ

พิษณุ เมืองพระงาม


342

¾ÃкÒÃÁÕ»¡à¡ÅŒÒÏ ªÒǾÔɳØâÅ¡

¤ÃÑ駷Õè ñó


343

¾ÃкÒÃÁÕ»¡à¡ÅŒÒÏ ªÒǾÔɳØâÅ¡ ¤ÃÑ駷Õè ñó Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ·Õè òõ ¡ØÁÀҾѹ¸ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõòõ


344

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

¾ÃкÒÃÁÕ»¡à¡ÅŒÒÏ ªÒǾÔɳØâÅ¡ ¤ÃÑ駷Õè ñó วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๒๕ เวลา ๑๑.๒๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระทีน่ งั่ พรอมดวย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎ ราชกุมาร จากพระตําหนักภูพิงคราชนิเวศน ไปยังทาอากาศยานเชียงใหม เพื่อประทับเครื่องบินแอฟโร พระที่นั่ง เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเปดเขื่อนนเรศวร และทรงเยี่ยมราษฎรจังหวัดพิษณุโลก ครัน้ เสด็จพระราชดําเนินถึงสนามบินจังหวัดพิษณุโลก ผูว า ราชการจังหวัดพิษณุโลก และขาราชการ ชัน้ ผูใ หญ เฝา ฯ รับเสด็จ ฯ แลวประทับรถยนตพระทีน่ งั่ ไปยังวัดพระศรีรตั นมหาธาตุวรมหาวิหาร ทรงนมัสการ พระพุทธชินราช แลว เสด็จพระราชดําเนินตอไปยังเขือ่ นนเรศวร อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เสด็จ เขาพลับพลาพิธี พลเอกเปรม ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรี กราบบังคมทูลถวายรายงานเกีย่ วกับวัตถุประสงค ในการกอสรางเขื่อนนเรศวรซึ่งเปนหัวงานของโครงการชลประทานพิษณุโลก ความวา รัฐบาลไดดําเนินการ พัฒนาลุมนํ้านานใหเกิดประโยชนทั้งในดานการพลังงานไฟฟา และการเกษตรกรรม จึงไดสรางโครงการ ชลประทาน พิษณุโลกเพื่อรับนํ้าจากเขื่อนสิริกิติ์ ซึ่งใชผลิตกระแสไฟฟาแลวโดยมีโครงการระยะยาว ตาม กําลังฐานะเศรษฐกิจของประเทศในการสงนํ้าใหพื้นที่เพาะปลูกในเขตจังหวัดพิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค เปนเนื้อที่ประมาณ ๑,๔๔๓,๐๐๐ ไร จบแลว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเปด เขื่อนนเรศวร ตอจากนั้น เสด็จพระราชดําเนินไปยังเรือนรับรองเพื่อประทับเสวย พระกระยาหารกลางวัน เสร็จแลว เสด็จ พระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรที่เฝาทูลละอองธุลีพระบาท อยูอยางลนหลาม ณ บริเวณนั้น ในโอกาสนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหคณะแพทยพระราชทานทีโ่ ดยเสด็จพระราชดําเนิน ทําการตรวจ รักษาราษฎรที่เจ็บปวย และทรงรับไวเปนคนไขใน พระบรมราชานุเคราะห สมควรแกเวลา จึงเสด็จ พระราชดําเนินโดยรถยนตพระที่นั่ง ไปยังสนามบินจังหวัดพิษณุโลก ทรงพระดําเนินเยี่ยมราษฎรที่เฝาทูล ละอองธุลีพระบาทอยูเปนจํานวนมาก ณ บริเวณสนามบิน แลวประทับเครื่องบินแอฟโรพระที่นั่ง เสด็จ พระราชดําเนินกลับจังหวัดเชียงใหม ตอจากนัน้ เสด็จพระราชดําเนินโดยรถยนตพระทีน่ งั่ กลับถึงพระตําหนัก ภูพิงคราชนิเวศน เมื่อเวลา ๒๑.๐๕ น. พลเอกเปรม ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรี กราบ บังคมทูลถวายรายงาน ฯ และทูลเชิญเสด็จ ฯ ทรงเปดเขื่อนนเรศวร


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงจุดเครื่องนมัสการบูชาพระรัตนตรัย สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (วาสน) วัดราชบพิธ กรุงเทพ ฯ ประธานสงฆ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ) วัดบวรนิเวศ กรุงเทพ ฯ เจริญชัยมงคลคาถา

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงกดปุมเปด เขื่อนนเรศวร และพระราชทานพระราชดําริ โครงการเขื่อนแควนอย เปนครั้งแรก เมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๒๕

345


346

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงลงพระปรมาภิไธย บนแผนศิลา

สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี ทรงลงพระนามาภิไธย บนแผนศิลา


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

347

พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย ทั้งสี่พระองค พระราชทานในพิธีเปดเขื่อนนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

แผนศิลา พระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ฯ สยามมินทรา ธิราช และ พระนามาภิไธย พระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหเชิญพระนาม สมเด็จพระนเรศวร มหาราช เป น นาม เขื่ อ นนเรศวร เมื่ อ เดื อ นตุ ล าคม ๒๕๒๐ และเสด็ จ พระราชดํ า เนิ น ฯ ทรงเป ด เขื่อนนเรศวร เมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๒๕ เวลา ๑๑.๓๐ น.


348

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พลเอกเปรม ติณสูลานนท นายกรัฐมนตรี ถวายการรับเสด็จ ฯ สูพลับพลาพิธีเขื่อนนเรศวร สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน) องคที่ ๑๘ ของ กรุงรัตนโกสินทร วัดราชบพิตร กรุงเทพ ฯ ถวายศีล ทรงศีล

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชปฏิสันถาร กับ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ) วัดบวรนิเวศวิหาร รูปที่ ๒ ซึ่งเปนพระอภิบาล เมื่อครั้งทรงผนวช พุทธศักราช ๒๔๙๙ สมเด็จพระสังฆราช องคที่ ๑๙ กรุงรัตนโกสินทร


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เสด็จพระราชดําเนินประทับ ณ เรือนรับรอง เขื่อนนเรศวร

349


350

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระราชปฏิสันถารกับราษฏรที่มาเฝาฯ รับเสด็จฯและทูลเกลาฯถวายสิ่งของ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

351


352

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนิน ทรงเยี่ยมราษฏรชาวอําเภอพรหมพิราม ที่รอเฝา ฯ รับเสด็จ ฯอยางใกลชิด


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

353


354

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

355

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และ พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรชายาใน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จฯ ทรงเยี่ยมราษฏรที่รอเฝา ฯ รับเสด็จ ฯ อยางใกลชิด

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ตางพระเนตรพระปตุรงคองคราชา แทนพระกรรณ พระมารดาราชินี


356

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ราษฎรชาวอําเภอพรหมพิรามและใกลเคียงมาเฝาฯ รับเสด็จ ฯ กันเนื่องแนนเต็มไปหมดเปนการเสด็จพระราชดําเนิน ประทับพระบาทไวเหนือแผนดิน อําเภอพรหมพิราม เปนครั้งที่ ๒ นับแตครั้งแรกใน ป พ.ศ.๒๕๑๓


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

357

เขื่อนนเรศวร พิษณุโลก โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาเขื่อนนเรศวร เปนโครงการหนึ่งของโครงการพัฒนาการเกษตร ชลประทานพิษณุโลก โดยใชนาํ้ ตนทุนจาก เขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ จังหวัดอุตรดิตถ มีหวั งานเปนเขือ่ นทดนํา้ ขนาดใหญ สามารถระบายนํา้ ผานเขือ่ นไดสงู สุด ๑,๕๕๐ ลบ.ม./วินาที เริม่ กอสรางตัวเขือ่ น เมือ่ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๒๐ กัน้ ลํานํา้ นาน ทีบ่ ริเวณบานหาดใหญ ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ซึง่ เขือ่ นทดนํา้ แหงนี้อยูดานทายนํ้าของ เขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ เปนระยะทางตามลํานํ้าประมาณ ๑๗๖ กิโลเมตร พรอมทั้งกอสรางระบบสงนํ้า ระบบระบายนํ้า-บรรเทาอุทกภัย และระบบชลประทานในแปลงนา พรอมทั้ง กอสรางอาคารประกอบตางๆ เพือ่ จัดสรรนํา้ ใหแกพนื้ ทีเ่ พาะปลูกทัง้ ๒ ฝง ของแมนาํ้ นาน คิดเปนพืน้ ทีป่ ระมาณ ๑,๔๕๔,๗๐๐ ไร ในบริเวณพื้นที่ในเขตจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดใกลเคียง ไดแก อําเภอพรหมพิราม อําเภอเมือง อําเภอบางระกํา และ อําเภอบางกระทุม และ จังหวัดพิจติ ร ไดแก อําเภอสามงาม อําเภอ ตะพานหิน อําเภอโพธิป์ ระทับชาง อําเภอโพทะเล และ อําเภอบางมูลนาก ตลอดจนพืน้ ทีต่ อนบนของ จังหวัดนครสวรรค ไดแก อําเภอชุมแสง เปนตนแลวเสร็จเมื่อ กรกฎาคม ๒๕๒๓ เพื่อเปน การเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ซึ่งทรงพระราชสมภพ ณ พระราชวัง จันทน เมืองพิษณุโลก ในปพุทธศักราช ๒๐๙๘ กรมชลประทาน จึงไดขอพระราชทานนาม เขื่อนทดนํ้า ตาม พระบรมนามาภิไธย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงกรุณา โปรดเกลาโปรดกระหมอม พระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหขนานนามเขื่อนแหงนี้วา “เขื่อนนเรศวร” เมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๒๓ และ เสด็จพระราชดําเนินทรงเปด เขื่อนเรศวร เมื่อวันที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๒๕


358

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๒๕ เมื่อครั้ง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนินทรง เปดเขือ่ นนเรศวร ณ ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ไดพระราชทานพระราชดําริโดย สรุป คือ “ใหวางโครงการและกอสรางเขื่อนเก็บกักนํ้าแควนอยโดยเรงดวน” วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เสด็จพระราชดําเนิน ณ พื้นที่ปา ชายเลนแปลงปลูกปา ณ อําเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ พระราชทานพระราชดําริให นายสุวิทย คุณกิตติ รองนายกรัฐมนตรี ในขณะนั้นวา “ใหพิจารณาดําเนินการโครงการเขื่อนแควนอย” คณะรัฐมนตรี ไดสนองพระราชดําริ มีมติอนุมตั เิ ปดโครงการเขือ่ นแควนอยฯ เมือ่ วันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๖ แผนงานกอสราง ๙ ป (๒๕๔๖ – ๒๕๕๔) งบประมาณโครงการทั้งสิ้น ๖,๗๘๐,๘๐ ลานบาท และ วันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๖ กรมชลประทานเริม่ ดําเนินงานโครงการเขือ่ นแควนอย อันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ และ ในวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๐ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติขยายวงเงินคากอสรางเปน ๘,๘๘๑.๖๒ ลาน บาท โดยยังคงระยะเวลากอสรางโครงการ ๙ ป ตามแผนงานเดิม โครงการพระราชดําริ เขื่อนแควนอย ตั้งอยูที่ หมูที่ ๔ ตําบลคันโชง อําเภอวัดโบสถ จังหวัด พิษณุโลก ประกอบดวย ๓ เขือ่ นหลัก รวมกัน คือ เขือ่ นปดชองเขาตํา่ เปนลักษณะเขือ่ นดินสูง ๑๖ เมตร ยาว ๖๔๐ เมตร เขื่อนแควนอย เปนลักษณะเขื่อนหินทิ้งดาดหนาคอนกรีต สูงจากพื้น ๗๕ เมตร ยาว ๖๘๑ เมตร และ สุดทายคือ เขื่อนสันตะเคียน เปนลักษณะเขื่อนหินทิ้งแกนดินเหนียว สูง ๘๐ เมตร ยาว ๑,๒๗๐ เมตร


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

359

“พิจารณาวางโครงการและกอสรางเขื่อน เก็บกักนํ้าแควนอยโดยเรงดวน ในเขตอําเภอวัดโบสถ จังหวัดพิษณุโลก เพือ่ บรรเทาอุทกภัยในลุม นํา้ แควนอยและจัดหานํา้ สนับสนุนโครงการชลประทาน พิษณุโลก และโครงการชลประทานเจาพระยาใหญไดผลอยางสมบูรณตอไป” พระราชดําริ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๒๕

พระราชดํารัส วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต

“…สวนที่พิษณุโลก ก็มีนํ้าไหลลงมาจากขางๆ อีกสาย หนึ่ง แควนอย ซึ่งจะตองทํา..อันนี้ก็ยังไมไดทํา ซี่งจะ ตองทํา เพือ่ เก็บกักนํา้ ทีม่ าจากอําเภอชาติตระการ อาจ จะมีคนคานวาทําไมทําเขื่อนพวกนี้แลวมีประโยชน อะไรก็เห็นแลว ประโยชนของเขื่อนใหญนี้ ถาไมมีสอง เขื่อนนี้ ที่นี้นํ้าจะทวมยิ่งกวาจะไมทวมเพียงแคนี้จะ ทวมทั้งหมด….”


360

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

อุโมงคนํ้า เจาะทะลุภูเขา ยาว ๓๗๕ เมตร เขื่อนแควนอยบํารุงแดน


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

361

เขือ่ นแควนอยบํารุงแดน ปดกัน้ ลํานํา้ แควนอยทีร่ บั นํา้ ปามาจากเขต อําเภอนครไทย และ อําเภอ ชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ปริมาณนํ้ากักเก็บสูงสุด ๙๓๙ ลานลูกบาศกเมตรและ การกอสรางระบบ ชลประทานเพือ่ ชวยบรรเทาปญหาภัยแลงและนํา้ ทวมในเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัดพิษณุโลก - พิจติ รกวา ๑๕๕,๐๐๐ไร

ในป พุทธศักราช ๒๕๕๒ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาพระราชทาน ชือ่ วา “ เขือ่ นแควนอยบํารุงแดน” พระราชทานความหมายวา “เขือ่ นแควนอยทีท่ าํ ใหมคี วามเจริญขึน้ ในเขตพื้นที่ ” และ เขื่อนทดนํ้าพญาแมน (หนังสือที่ เลขที่ รล.๐๐๐๕.๒/๑๓๒๒๗ ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๒)

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ให สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค ไปทรงเปดการกักเก็บนํ้า เขื่อนแควนอยบํารุงแดน ตํ า บล คั น โช ง อํ า เภอวั ด โบสถ จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก เมื่ อ วั น ที่ ๒๖พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๓ นั บ เป น พระมหากรุณาธิคุณอยางหาที่สุดมิได แกพสกนิกร ในพื้นที่ลุมนํ้าแควนอย ลุมนํ้านาน และ ลุมนํ้ายม เปนยิ่งนัก


362

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เขื่อนแควนอยบํารุงแดน เพื่อพัฒนาแหลงนํ้าสําหรับการเกษตรในฤดูฝน และฤดูแลง ของพื้นที่ ทัง้ ในลุม นํา้ แควนอย และพืน้ ทีเ่ พาะปลูกฤดูแลงของโครงการเจาพระยาทีม่ อี ยูแ ลวในปจจุบนั และเพือ่ บรรเทา อุทกภัยในพื้นที่เพาะปลูกลุมนํ้าแควนอยตอนลาง หรือบริเวณฝงซายแมนํ้านาน เขต อําเภอวัดโบสถ อําเภอเมือง และ อําเภอวังทอง


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

363

เขื่อนแควนอยบํารุงแดน “เขื่อนแควนอยที่ทําใหมีความเจริญขึ้นในเขตพื้นที่” ๑. บรรเทาอุทกภัยในเขตจังหวัดพิษณุโลกและลุมนํ้านานตอนลางประมาณ๗๕,๐๐๐ ไร ๒. เพื่อพัฒนาแหลงนํ้าแควนอยและเพิ่มผลผลิตทางดานเกษตรใหแกพื้นที่ชลประทาน แควนอย ๑๕๕,๑๖๖ ไร รวมทั้ง สงนํ้ามาเสริมระบบชลประทานในลุมนํ้าเจาพระยา ตอนลาง ประมาณ ๒๕๐,๐๐๐ ไร ๓. สงนํ้าเพื่อการอุปโภคบริโภคประมาณ ๔๗.๓ ลานลบ.ม. ตอป ๔. เปนแหลงทองเที่ยวสําคัญของพิษณุโลก ๕. เสริมสรางอาชีพประมง


364

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

วันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๖.๒๖ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว พรอมดวย สมเด็จ พระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดําเนินทางชลมารคจากทาเทียบเรือสมาคมศิษยเกาแพทยศิริราช ในพระบรมราชูปถัมภ ประทับ เรือพระที่นั่งอังสนา ไปทรงเปด ๕ โครงการชลประทาน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ อันไดแก โครงการ ที่ ๑ โครงการอุโมงคผันนํ้าลําพะยังภูมิพัฒน จังหวัด.กาฬสินธุโครงการที่ ๒ ประตูระบายนํ้าธรณิศนฤมิต จังหวัดนครพนม โครงการที่ ๓ ประตูระบายนํ้าอุทกวิภาชประสิทธิ จังหวัดนครศรีธรรมราช โครงการที่ ๔ เขื่อนแควนอยบํารุงแดน จังหวัดพิษณุโลก โครงการที่ ๕ เขื่อนขุนดานปราการชล จังหวัดนครนายก เวลา ๑๘.๔๕ น.เรือพระที่นั่งอังสนาถึง บริเวณหนากรมชลประทาน สามเสน เวลา ๑๙.๕๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงวางพระหัตถบน แทนตราสัญลักษณโครงการ พรอมทอดพระเนตรวีดิทัศนบรรยากาศสดจาก ๕ จังหวัด ที่รวมกันแปรอักษร เปนคําวา “ทรงพระเจริญ” เขื่อนแควนอยบํารุงแดน ไดทําหนาที่ตามวัตถุประสงคที่พระองคทานวางแนวทางพระ ราชดําริไว โดยเฉพาะการบรรเทาปญหาอุทกภัยในพืน้ ทีจ่ งั หวัดพิษณุโลก ปกติเขือ่ นแควนอยฯ รับนํา้ จากลํานํ้าแควนอย และลํานํ้าภาค ที่คาเฉลี่ยปริมาณนํ้าทาสูงสุดอยูที่ปละ ๑,๖๙๑ ลานลูกบาศกเมตร ( ลบ.ม.) แตในป พ.ศ. ๒๕๕๔ มีนํ้าเขาเขื่อนแควนอยถึง ๒,๙๐๙ ลานลบ.ม. เขื่อนแควนอยไดกักเก็บนํ้า สูงสุดในวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๔ ปริมาณนํา้ ขณะนัน้ ๙๕๙.๙๑ ลานลบ.ม. คิดเปน ๑๐๒.๒ % ของปริมาณ กักเก็บสูงสุดที่กําหนดไวที่ ๙๓๙ ลานลบ.ม. ในหวงเดือนกันยายน-ตุลาคม ๒๕๕๔ เขือ่ นแควนอยฯ ไดเก็บนํา้ ไวที่ ๑๐๐ % ถาไมมเี ขือ่ นแควนอยฯ ชวยกักเก็บนํ้าลุมนํ้าแควนอย ซึ่งเปนลุมนํ้าสาขาของแมนํ้านาน ในเขตเมืองพิษณุโลกอาจจะไดรับผลกระ ทบนํา้ ทวมเขตเศรษฐกิจทัง้ หมด เพราะชวงเวลานัน้ ปริมาณนํา้ แมนาํ้ นานมีมากขึน้ สูงสุดมากกวานํา้ ทวมใหญ เมือ่ ป ๒๕๓๘ การบริหารจัดการนํา้ ตองทําพรอมกันเปนรายชัว่ โมงรวมกัน๓ เขือ่ นคือ เขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ จ.อุตรดิตถ เขื่อนนเรศวร จ.พิษณุโลก และเขื่อนแควนอยฯ จ.พิษณุโลก เฉพาะเดือนกันยายน เดือนเดียว เขื่อน แควนอยฯ ชวยชะลอนํา้ ทีจ่ ะไหลลงสูแ มนาํ้ นาน และจะไหลเขาทวมเขตเมืองพิษณุโลกไวถงึ ๘๙๙ ลานลบ.ม. หากไมมเี ขือ่ นแควนอยฯ ในชวงเวลาดังกลาวนํา้ ไหลผานเมืองพิษณุโลกทําสถิตสิ งู สุด ๑,๗๐๐ลบ.ม.ตอวินาที อยูเ กินจุดวิกฤติลน ตลิง่ นับเปนพระมหากรุณาธิคณ ุ อยางลนพน ทําใหป พ.ศ. ๒๕๕๔ เมืองพิษณุโลก รอดพนวิกฤติมหาอุทกภัย นํ้าทวมเมือง ไปไดดวยพระบารมีปกเกลา เพราะสายพระเนตรอันยาว ไกลของพระองค อยางแทจริง


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

365

บางยาง ปากโทก สองแคว

ภาพเกาปากโทก แควนอย หรือ แมนํ้าโทก บรรจบกับแควใหญ (นาน) พ.ศ. ๒๕๐๒ หนา วัดเกาะแกว จอมทอง แมนาํ้ แควนอย เกิดจาก เทือกเขาหลวงพระบาง ลํานํา้ สาขาในเขต อําเภอนาแหว จังหวัดเลย และ ตําบลนํ้ากุม อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ไหลผาน เมืองบางยาง ( คําเดียว ในจารึกสุโขทัย หลักที่ ๒ วัดศรีชมุ บรรทัดที่ ๒๒ ) ชุมชนโบราณซึง่ มีพนื้ ที่ ๑๔๒ ไร มีคนู าํ้ คันดินลอมรอบสามชัน้ เปน ตรีบรู บนทีร่ าบ หุบเขาหลวงพระบาง และเพชรบูรณ หรือ แองนครไทย มี ปายางอุดมสมบูรณ มี ไต (ใชจุดไฟใหสวางแต โบราณ หรือทําเชือ้ เพลิงทําจากไมหรือกิง่ ไมหรือเปลือกไมเสม็ดหรือ คลุกกับนํา้ มันยาง (ตนยาง) แลวหอดวย ใบไมเปนดุนยาวๆ หรือใสกระบอกไมไผ ลักษณะนามเปนลูก) และ นํ้ามันยาง และ เกลือ ซึ่งแต โบราณ เกลือมีคาดุจทองคํา (บอเกลือพันป บานบอโพธิ์ แหลงโบราณคดีมนุษยยุคกอนประวัติศาสตร และ ของปา เปนผลิตภัณฑพื้นเมืองมาแตโบราณ เมืองนครไทย (ปรากฏในจารึกหลัก ๓๘ จารึก วัดอโสกา ราม, วัดบูรพาราม) ดินแดนประวัติศาสตรจังหวัดพิษณุโลก ที่ปรากฏพบ รองรอยของมนุษยยุคกอน ประวัติศาสตร ศิลปะผนังถํ้ามากที่สุดในประเทศไทย ถึง ๕ แหง อาทิรอยขูดขีดที่ผนังถํ้ากาเล็ก ถํ้ากา ใหญ เขาชางลวง ประเพณีปกธงชัย (รําลึกถึงพระมหาวีรกรรมชนะขาศึกของ พอขุนบางกลางทาว หรือ รอยสลักนูนสูง บนแผนหิน ยอดเขาชางลวง รอยขูดขีดที่ ผาขีด ภูขัด ตําบลนาบัว หรือประติมา กรรมหินมนุษยยุคกอนประวัติศาสตร ผาประตูเมือง บนยอดเขาบานนํ้าเลา บางยาง นครไทย เปนชุมชน มีหลักฐานปรากฏวิวัฒนาการติดตอกันมายาวนานนับแตยุคกอนประวัติศาสตร สืบตอมาจน ยุคทวารวดี และ ยุคลพบุรี จนถึงสมัยกอนสถาปนากรุงสุโขทัยเปนราชธานี


366

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

แควนอย บางยาง บางกลางทาว ปฐมกษัตริย

ภาพพระอุ ปช ฌายแจง ธมฺ ม โชโต ถ าย ๑ สิ ง หาคม ๒๔๘๓ /ภาพหลวงพ อ เรื อ ง วั ดบ านดง อ.ชาติตระการพระบูรพาจารย แมนํ้าแควนอย หรือ แมนํ้าโทก (ปรากฏในเอกสารสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓) ไหล ผานบางยาง นครไทย จนเกิดวิถีชีวิตที่ผูกพันกับสายนํ้า มีเรือ และการแขงขันเรือยาว การเลนเพลงเรือ บนที่ราบหุบเขาแองนครไทย แลวมาบรรจบ กับ ลํานํ้าภาค (นํ้าตกปากรอง มีแหลง โบราณคดี ศิลปะผนังถํ้า ผากระดานเลข รอยขูดขีดรูปทรงเรขาคณิต ยุคโลหะ) ที่อําเภอชาติตระการ แลว ไหลผานอําเภอวัดโบสถ ชุมชนแควนอย มะขามสูง ชุมชนทองหลาง และ ไผคอม มาบรรจบกับ แมนํ้านาน หรือ แควใหญ ที่หนา วัดเกาะแกว หลวงพอพระอุปชฌายแจง ธมฺมชโต ตําบลจอมทอง อําเภอเมือง พิษณุโลกหรือนิยมเรียกกันวา ปากโทก แลวไหลรวมกันเปนแมนาํ้ นาน ไหลผานใจกลางเมืองพิษณุโลกแบง ตัวเมืองออกเปนสองฟากฝงจึงเปนปฐมนามเมืองอกแตก มาจนทุกวันนี้ ความผันแปร ผกผัน ของ ปริมาณ แมนาํ้ แควนอย สงผลตอวิกฤตนํา้ ของ ตัวเมืองพิษณุโลก เปนยิง่ นัก นับแตอดีตจนปจจุบัน ตลาดเมืองพิษณุโลก รอดจากวิกฤตมหาอุทกภัยใหญ ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ อยางหวุดหวิดเพราะ เขื่อนแคว นอย บํารุงแดน เขื่อน นเรศวร และ เขื่อนสิริกิติ์ อุตรดิตถ บริหารจัดการนํ้ารวมกันในการพรองนํ้าชวย จึงรอดวิกฤต ดวยสายพระเนตรอันยาวไกล ของพระองค พระราชทานพระราชดําริ เขื่อนแควนอยบํารุง แดน สมดังพระราชดํารัส เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘ ความตอนหนึ่งวา “...สวนที่พิษณุโลก ก็มีนํ้าไหล ลงมาจากขางๆอีกสายหนึ่ง แควนอย ซึ่งจะตองทํา..อันนี้ก็ยังไมไดทํา ซี่งจะตองทํา เพื่อเก็บกักนํ้า ทีม่ าจากอําเภอชาติตระการ อาจจะมีคนคานวาทําไมทําเขือ่ นพวกนีแ้ ลวมีประโยชนอะไรก็เห็นแลว ประโยชนของเขื่อนใหญนี้ ถาไมมีสองเขื่อนนี้ ที่นี้นํ้าจะทวมยิ่งกวาจะไมทวมเพียงแคนี้จะทวม ทั้งหมด….” อยางแทจริง


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

367

พระบรมรูปพอขุนบางกลางทาว หรือ พอขุนศรี อินทราทิตย พระ ปฐมกษัตยิ ผ สู รางชาติไทย และ หินรอยพระบาทพระรวง กลางแมนํ้าแควนอย ใน หุบเขา นครชุม นครไทย และพระบรมราชานุสาวรีย พอขุนศรีอินทราทิตย ที่ บริเวณหนองปู อําเภอ นครไทย จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก ซึ่ ง สร า งถวาย พระเกียรติคุณ ในสมัย นาย ปรีชา เรืองจันทร ดํารงตําแหนงผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก คําวา “พอขุนบางกลางทาว” ปรากฏใน จารึกสุโขทัย หลักที่ ๒ ( วัดศรีชุม ) พบ พ.ศ. ๒๔๓๐ เดิม ศ.ดร.ยอรช เซเดส ชาวฝรั่งเศสซึ่งรับราชการเปน บรรณารักษใหญ ตรวจสอบและอานจารึกวา “บางกลางทาว” ในป พ.ศ. ๒๔๖๗ จนในป พ.ศ. ๒๕๑๙ ศ.ดร.ประเสริฐ ณ นคร ไดตรวจสอบพบวาเดิม อานผิดและแกไขอานใหมเปน “บางกลางหาว” โดยใหเหตุผลวาคําวา “ทาว” ตรงกับ วา “ตาว” ใน ภาษา เหนือนัน้ ไมวา ไทยเผาไหนแปลวา “ลมดิน้ ” แตยนั ทัง้ นัน้ ไมนา จะเปนชือ่ ของพระเจาแผนดินเลย...” รวมทัง้ อักษร ( ท ) กับ ( ห ) ในจารึกเขียนใกลเคียงกันเปนตน คําวา “ทาว” มิไดมีความหมายเพียงคําวา “ตาว” เพียงนัยยะเดียว หากยังมีความหมายตรงกับ ทั้งภาษาถิ่นนครไทยและภาษาอีสาน หมายถึง หนุม แนน งดงาม ปานกลางและ ยังปรากฏมีใชอยู ในเขตศีรีมาศ สุโขทัยและ พรานกระตาย กําแพงเพชร ใน ความหมาย ใหญ โต อาทิ ไอหมอนี้มันทาวจริง ๆ (เด็กคนนี้ตัวมันใหญจริง ๆ) รวมทั้งในภาษาอีสานใช “ทาว” แทน คําวา “คุณ” อาทิ ทาวแดง ( คุณแดง ) หรือ ใชในกรณี ปฏิเสธ อาทิ บแมนดอกทาว ( ไมใชหรอก คุณ ) คําวา “พอขุนบางกลางทาว” คือ ความมัน่ คงในคําสอนของบรรพชน คนนครไทย ทีป่ ฏิบตั ติ าม ที่พอแมเลาสูกันฟงสืบตอกันมาจนทุกวันนี้... ดวย สายพระเนตรอันยาวไกล ของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงศึกษาจนเชี่ยวชาญ ชํานาญใน ภูมิประเทศทั่วประเทศ จึงทรงดําริถึง แมนํ้าแควนอย ไหลมาจาก ชาติตระการ ซึ่งแตอดีต คือ สวนหนึ่งของ นครไทย หรือ บางยาง เมืองแหงอารยธรรมโบราณตนกําเนิดแมนํ้าแควนอย และ ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานพระราชดําริ เขื่อนแควนอยบํารุงแดน เพื่อบรรเทาปญหา นํ้าแลง นํา้ ทวม และความอุดมสมบูรณใหบงั เกิดแกพนื้ ทีจ่ งั หวัดพิษณุโลกและใกลเคียงสมชือ่ พระราชทาน ทีว่ า อยาง แทจริง

ความสัมพันธ ระหวางพระราชวงศพระรวง กับ พระราชวงศจักรี พอขุนบางกลางทาว (หาว) สิริจัดทัพที่ บางยาง รวมกับ พอขุนผาเมือง นํากําลังขับไล ขอม สบาดโขญลําพง สถาปนากรุงสุโขทัยเปนราชธานี ขึ้นครองราชสมบัติ ทรงพระนามวา พอขุนศรีอินทราทิตย พระปฐมบรมกษัตริย ราชวงศพระรวง (สุโขทัย) อันเปนจุดเริม่ ตนของพระมหากษัตริยส โุ ขทัยทีม่ ชี อื่ เสียง ปรากฏเปน พระเกียรติคุณสืบเนื่องในเวลาตอมา รวม ๙ พระองค จึงถูกผนวกเขาเปนสวนหนึ่งของราช อาณาจักรอยุธยา


368

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแกพมาในปพุทธศักราช ๒๑๑๒ สมเด็จพระ มหาธรรมราชาธิราช หรือ ขุนพิเรนทรเทพ ผูสืบเชื้อสายมาจาก ราชวงศ พระร ว ง ขึ้นครองราชย ในนาม ราชวงศ สุ โ ขทั ย ดังปรากฎในพระราช พงศาวดารความวา “...ฝายพระราชบิดาเปนเชื้อพระวงศสมเด็จพระรวง พระมารดาเปนพระญาติ(นัดดา) พระไชยราชา...” ซึ่งตอมาไทยได ประกาศอิ ส รภาพมิ ไ ด ขึ้ น กั บ พม า ด ว ยพระบุ ญ ญาบารมี ข อง สมเด็ จ พระนเรศวรมหาราช พระราชโอรส ใน สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ราชวงศ สุ โ ขทั ย สถิตสถาพรปกครองกรุงศรีอยุธยา เปนเวลา ๖๑ ป มี พระมหากษัตริยทั้งสิ้น ๗ พระองค จึงถูก สมเด็จเจาพระยากลาโหมสุริยวงศ พระสมุหกลาโหม ชิงราช สมบัติ และปราบดาภิเษกขึ้นเปนปฐมกษัตริยแหง ราชวงศปราสาททอง ทรงพระนามวา สมเด็จพระเจา ปราสาททอง ทั้งนี้ทรงสืบเชื้อสายมาจากราชวงศพระรวง เนื่องจากพระองคทรงเปนพระโอรสอีกพระองค หนึง่ ในสมเด็จพระเอกาทศรถ แหงราชวงศสโุ ขทัย กับ อิน หญิงชาวเกาะบางปะอิน นอกจากนี้ ราชวงศ ปราสาททอง ยังนับเนื่องกับ ราชวงศพระรวง อีกทางหนึ่งคือ หมอมเจาหญิงแหง ราชวงศพระรวง ผูสืบ เชื้อสายมาจาก พระยาราม (หนึ่งในแมทัพมอญ ซึ่ง สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ทรงชุบเลี้ยง พระราชทานพระธิดา ที่เกิดจากพระชายาเดิม (ไมปรากฏพระนาม ) ใหเปนบําเหน็จความดีที่มาสวามิภักดิ์ นําความลับวา หงสาวดีคดิ ไมซอื่ มาแจง สมเด็จพระนเรศวรจึงทรงประกาศอิสรภาพ ในปพทุ ธศักราช ๒๑๒๗ และเปน พระนมของสมเด็จพระนารายณมหาราช ไดรับการสถาปนาขึ้นเปน “กรมพระเทพามาตย” เปนที่รูจักกันในนาม “เจาแมวัดดุสิต” (ทาวสมศักดิ์วงศามหาธาตรี หรือ ม.จ.บัว) ทรงอภิเษกสมรสกับ “หมอมเจาชายเจิด อําไพ” (สืบเชื้อสายโลหิตสมเด็จพระเจาปราสาททอง) มีพระราชโอรสสองพระองคคือ เจาพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) แมทพั เอก และ เจาพระยาโกษาธิบดี (ปาน) ราชทูตเอก ในแผนดินสมเด็จ พระนารายณ เจาพระยาโกษาธิบดี (ปาน) มีทายาทคือ พระยาวงศาธิราช (ขุนทอง) เสนาบดีคลัง ใน รัชสมัยพระพุทธเจาเสือ และ มีผสู บื ราชวงศ ตอมา คือ พระยาราชนิกลู ( ทองคํา ) ปลัดทูลฉลองในกรม มหาดไทย ตัง้ บานเรือนอยูท ี่ บานสะแกกรัง อุทยั ธานี มีบตุ รชายนามวา ทองดี ภายหลังไดรบั การสถาปนา ขึ้นเปน สมเด็จพระชนกาธิบดี (ทองดี) สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกนาถ ของ นายทองดวง หรือ เจาพระยาจักรี แมทพั ผูก ลาหาญแหงแผนดินสยาม มีพระอนุชาธิราช คือ สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหา สุรสิงหนาท (บุญมา) เดิมคือ พระยายมราช มีความชอบในการปราบชุมนมเจาพระฝาง สมเด็จพระเจา กรุงธนบุรี ( สิน) จึงตัง้ ใหเปน เจาพระยาสุรสีหพิศณวาธิราช ผูส าํ เร็จราชการเมืองพิษณุโลก หรือ พมา เรียกวา พระยาเสือ ศึกอะแซหวุนกี้ ตีเมืองพิษณุโลก เปนศึกครั้งสําคัญที่สุดในแผนดิน สมเด็จพระเจากรุงธนบุรี เนือ่ งจาก อะแซหวุน กี้ เปนแมทพั เฒาทีม่ ฝี ม อื การรบทีแ่ ข็งกลา เคยรบชนะทัพจีนทีม่ ารุกรานทางตอนเหนือ ของพมา กอปร พมามีกําลังมากวาพิษณุโลกถึง ๒ เทา พมาลอมและเขาตีเมืองพิษณุโลก เจาพระยาจักรี ซึ่งยกทัพกลับจากเชียงใหมมาชวยพระอนุชารักษาเมืองพิษณุโลกรบพุงกับถึง ๘ ครั้งก็ยังรักษาเมืองไวได อะแซหวุนกี้จึงขอดูตัวเจาพระยาจักรี แมทัพไทย และ กลาวสรรเสริญ ไววา “..


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

369

รูปก็งาม ฝมือก็เขมแข็ง อายุสามสิบ เศษ ก็ยังสามารถสูกับเรา ผูเฒาอายุ ได ขอใหรักษาตัวไวใหดี ภายหนาจะ ได เปนกษัตริย..” ในป พุทธศักราช ๒๓๑๘ สมเด็จ พระเจากรุงธนบุรี ยกทัพหลวงมาชวย พระบรมราชานุสาวรีย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ตอน อะแซหวุนกี้ขอดูตัวเจาพระยาจักรี เมืองพิษณุโลก สราง ในโอกาส พระราชพิธีสมมงคล ๒๘ เมษายน ๒๕๔๓

ตั้งอยูที่ ปากพิง พมาลอมพิษณุโลกอยูนาน ๔ เดือน ทําใหภายในเมืองขาดเสบียง ในที่สุด เจาพระยาจักรี เจาพระยาสุรสีห จึงตัดสินใจทิ้งเมืองพิษณุโลกตีหักคายพมาออกไป เมื่อ อะแซหวุนกี้ เขาเมืองพิษณุโลก ได แตเมืองเปลา ทั้งทราบขาววา เจาพระยาจักรี ตีฝากองทหารพมาออกไปทางตะวันออก ผาน ดอนชมพู บานมุง ไปตั้งมั่นที่ เพชรบูรณ คอนขางจะปลอดภัย พมาจึงเขาเมืองพิษณุโลกไดและเผาบานเรือนอาราม ใหญนอยในเมืองพิษณุโลกจนมอดไหมเปนทะเลเพลิงแสงเพลิงสวางดังกลางวัน แตเพลิงมิสามารถจะทํา ภยันตรายแกพระวิหารพระพุทธชินราชไดเปนอัศจรรย ดังปรากฏใน พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับ พันจันทนุมาศ (เจิม) ความตอนหนึ่งวา “...ครั้น ณ วันพุธ ขึ้น ๕ คํ่า เดือน ๗ หมื่นชํานิคชสาร มากราบทูล วา พมายกไปจากเมืองพิศนุโลก เผาวัดเสียสิ้น ยังเหลือแตพระชิณราช ...” อะแซหวุนกี้ ถึงกับประกาศวา “ ไทยเดี๋ยวนี้ฝมือแข็งแกรงนัก ไมเหมือนไทย แตกอน และ เมืองพิษณุโลกเสียครัง้ นีจ้ ะไดเสีย เพราะฝมอื ทีท่ ะแกลวทหารแพเรานัน้ หามิได เพราะเขาอดขาว ขาดนํ้า ขาดเสบียงอาหาร จึงเสียเมือง และซึ่งจะมารบเมืองไทยสืบไปในภายหนานั้น แมทัพที่มี สติปญญา และฝมือเพียงเสมอเรา และตํ่ากวาเรานั้น อยามาทําสงครามตี เมืองไทยเลย จะเอาชัย ชนะเขามิได แมดีกวาเราจึงจะมาทําศึกกับไทยไดชัยชนะ” ปรากฏขอความดังกลาวในหนังสือ ไทยรบพมา พิษณุโลก จึงเปน เมืองแหงพระมหาวีรกรรมอันหาญกลาของสมเด็จพระปฐมบรมราช จักรีวงศ จนมีพระเกียรติคุณเปนที่ปรากฏ พระเกียรติยศเปนที่ลือชา ปรากฏไปทั่วทิศานุทิศอยางแทจริง สมเด็จพระเจากรุงธนบุรี (สิน) ทรงทราบดีวา เจาพระยาจักรี (ทองดวง) พระสหายที่ ทรงเรียนหนังสือ เจริญเติบโตและรับราชการเปนมหาดเล็ก ใน รัชสมัยเจาฟาอุทุมพร มาดวยกัน วา สืบเชื้อสายมาจากพระยาราม เจานายฝายพระราชวงศสุโขทัย จึงทรงโปรดพระราชทานบรรดาศักดิ์ ให เจาพระยาจักรี แมทพั เอกเมือ่ ไปตีหลวงพระบาง เวียงจันทน ไดสาํ เร็จ นําพระแกวมรกต กลับคืนสูธ นบุรี มาเปน “ สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก พิลึกมหิมาทุกนัคราระอาเดช นเรศรราชสุริยวงศ องคอคั รบาทมุลกากร บวรรัตนปรินายก ณ กรุงเทพมหานครบวรทวารวดีศรีอยุธยา” รับพระราชทาน ยศอยางเจาตางกรม๒๔


370

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ในปลายสมัยกรุงธนบุรี พระยาสรรคกอกบฏเกิด จลาจล สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก ทรง รีบยกทัพ กลับจากไปปราบจลาจลเขมร กลับธนบุรที นั ที มุขอํามาตย ราชมนตรีและราษฎรทั้งหลาย จึงพรอมใจกันกราบบังคม ทูลใหเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เปนพระมหากษัตริย ทรง พระนามวา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราช เมื่อวันที่ ๖ เมษายน ๒๓๒๕ และทรงปราบดาภิเษกขึ้นเปน พระปฐมกษัตริยแหงพระบรม ราชวงศจักรี เมื่อวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๓๒๕ ทรงสรางพระนครแหงใหม แลวเสร็จ ในป พุทธศักราช ๒๓๒๘ พระราชทานนามพระนครใหมใหตอ งดวยพระนามพระพุทธมหามณีรตั นปฏิมากร อันเปนมงคลยิง่ ตอบาน เมืองวา “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบูรีรมย อุดมราชนิเวศนมหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์” (เดิมใชคําวา บวร รัชกาลที่ ๔ เปลี่ยนเปน อมร) หรือเรียกโดยยอวา กรุงรัตนโกสินทร๒๕ กษัตริยแ หงราชวงศพระรวง (สุโขทัย )ไดเขามาสืบสันตติวงศในยุคกรุงรัตนโกสินทรโดยสถาปนา เปน ราชวงศจกั รี และพระบรมราชวงศจกั รีดาํ รงทรงเศวตฉัตรเปนพระมหากษัตริยาธิราชตอเนือ่ งมาจนจวบ ปจจุบันถึงรัชสมัยแหง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ แหง พระบรม ราชวงศจักรี พระมหากษัตริย นักพัฒนาผูทรงงานหนักที่สุดในโลก สมดังพระนาม ที่ สมเด็จพระศรีนคริ นทราบรมราชชนนี ทรงเฉลิ ม พระนามให และได รั บ พระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็ จ พระปกเกลาเจาอยูหัว เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๗๐ ทรงพระนามวา “ภูมิพลอดุลยเดช” หมายความวา ผูท รงกําลังอํานาจไมมอี ะไรเทียบ ในแผนดิน เสมือนหนึง่ ทราบในภายหนาวา จะทรงเปน พระมหากษัตริย ที่ทรงแผพระมหากรุณาธิคุณแกเหลาอาณาประชาราษฏร ใหอยูอยางรมเย็นเปนสุข โดย มิมีอํานาจใดจะมาบดบังได สมดัง พระปฐมบรมราชโองการ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ ทีว่ า “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชนสขุ แหงมหาชนชาว สยาม” อยางแทจริง

นับแตวันที่พระองคทรงครองราชย สํานึกแนนวาพระมหาบารมี เกิดมาชาตินี้ มิเสียชาติ ขอพระเกียรติเกรียงไกรในสากล

ไทยทั้งชาติ รมเย็นเปนสุขศรี คุมชีวี คุนหลาประชาไทย อยูใตเบื้องบาทมิหมองหมน ภูมิพลจักรีวงศทรงพระเจริญ


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

371

แผนภูมิลําดับ ความสัมพันธ ระหวาง ราชวงศพระรวง กับ ราชวงศจักรี พระราชวงศพระรวง กรุงสุโขทัย ขุนพิเรนทรเทพ สถาปนาเปน พระมหาธรรมราชาธิราช (ราชวงศสุโขทัย)


372

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระบรมราชานุสาวรียฯ พระราชพิธีสมมงคล หนึ่งเดียวในประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค ทรงเปด พระบรมราชานุสาวรีย พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ณ เนินอะแซหวุนกี้ขอดูตัวเจาพระยาจักรี จังหวัดพิษณุโลก วันที่ ๖ กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๔๓ เวลา ๑๗.๓๒ น. ในโอกาส พระราชพิธีสมมงคล และ เสด็จพระราชดําเนินแทน พระองค วางศิลาฤกษ เมื่อวันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ เวลา ๑๗.๐๐ น.


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

373

พระราชพิธีสมมงคล พระชนมายุเทาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช วันที่ ๒๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๔๓ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗๓ พรรษา (๗๒ ป ๕ เดือน ๑๙ วัน) นับพระชมวารได ๒๖,๔๖๙ วัน เสมอพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โปรดเกลาโปรดกระหมอม ใหประกอบพระราชพิธีสมมงคล พระชนมายุเทาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ขึ้น ถือวามีความสําคัญเปนพิเศษ ดวยจะถือไดวาหลังจากวันนี้ลวงไปแลว พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะทรงเปนพระมหากษัตริยไทย ที่ มี พ ระชนมพรรษายื น ยาวที่ สุ ด ในบรรดาพระมหากษั ต ริ ย  ที่ ป รากฏอยู  ใ นประวั ติ ศ าสตร ไ ทย (สมมงคล หมายถึง เสมอกัน)๒๖ การบําเพ็ญพระราชกุศลถวายแดสมเด็จพระราชบุรพการีทดี่ าํ รงพระมหากษัตริยร ชั กาลทีล่ ว งไปแลว เปนราชประเพณีที่ถือปฏิบัติสืบตอกันมาชานาน พระมหากษัตริยแตละรัชกาลจะทรงอนุสรณคํานึงถึงพระ ราชกรณียกิจของสมเด็จพระราชบุรพการีในวาระตาง ๆในวันตรงกับการครองราชย มีทงั้ โอกาสทีเ่ วียนมาเปน ครั้งแรก มักเรียกวา สมมงคล หมายถึง เสมอกัน หรือ สมภาคา ถาเวียนมาเปนครั้งที่สอง เรียกวา ทวิภาคา หรือ ทวีธาภิเษก งานพระราชกุศลนี้ คือ การทักษิณานุปทาน หมายถึง การทําบุญอุทิศสวนกุศล ถวายแด สมเด็จพระราชบุรพการีที่ลวงไปแลว หากแตยังหมายทั้งปวง คือ มุงเปนการสมโภชสิริราชสมบัติเพื่อความ สวัสดิมงคลในพระราชอาณาจักรที่มีผลตอชาติและประชาชนเปนสําคัญเพราะทรงตั้งสัตยาธิษฐานขอ พระราชทานพระบรมราชานุญาตดํารงรัฐสีมาอาณาจักร เพื่อบํารุงความสุขใหแกประเทศและประชาชนสืบ ตอไปในเบื้องหนา เชน พระราชพิธีบําเพ็ญพระราชกุศลพระชนมายุเสมอสมเด็จพระราชบิดา เมื่อ พระชนมพรรษา ๓๘ พรรษา วันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๐๘ พระราชพิธบี าํ เพ็ญพระราชกุศลเสมอสมเด็จ พระบรมอัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว พระชนมพรรษา ๕๗ พรรษา ๓๓ วัน เมื่อวันที่ ๗ มกราคม ๒๕๒๘ พระราชพิธีสมมงคลพระชนมายุเสมอสมเด็จพระบรม ปตามหัยกาธิราช พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว เสมอพระชนมวาร ๒๓,๒๖๐วัน เมื่อ วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๔ เปนตน คณะกรรมการเอกลักษณแหงชาติ และจังหวัดพิษณุโลก จึงไดรวม กันจัดสราง พระบรมราชานุ ส าวรี ย  พ ระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ า จุ ฬ าโลกมหาราช ถวาย พระเกียรติคุณในโอกาสมงคลยิ่ง ของแผนดิน๒๗


374

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

เตรสมประพาส สยามราษฎรถวายพระพร ยี่สิบหากุมภาฟาโอภาส องคนรินทรภูมิพลจอมราชา เสด็จเปดเขื่อนเรศวรกั้นนที เมืองพิษณุโลกโชคประทาน พระเสด็จกราบพระปฏิมากร พุทธรูปสําคัญคูพารา ตอจากนั้นเสด็จยังบานหาดใหญ พระประทับพลับพลาหนาพระลาน จึงเสด็จเปดเขื่อนนเรศวร ชลประทานการไฟฟามหาชน ลุมนํ้านานไดเกิดประโยชนยิ่ง ทั้งนาไรไดรับผลดําเนินการ พระราชดําริสืบตอกอประสาน เขื่อนแควนอยเรงสรางในทันที นํ้าพระทัยในหลวงที่หวงราษฎร พระสรรสรางความสุขใหชาวไทย เพื่อใหไทยอยูดีมีกินใช จะหากษัตริยที่ใดในสากล

ศักราชสองพันหารอยยี่สิบหา พระเมตตาหลั่งไหลดุจสายธาร เปนมงคลดิถีศุภวาร รับภูบาลจอมใจไทยประชา ชินราชงามบวรอันลํ้าคา องคราชาทุกสมัยไดสักการ พรหมพิรามนามนี้ไซรไดผันผาน สดับสาสนกราบทูลมูลเหตุผล เพื่อชวยมวลประชาพาสุขลน ก็จะพนภัยแลงเปนแหลงธาร ทุก ทุกสิ่งอาศัยไดผันผาน เกษตรกรชื่นบานเพราะบารมี พระราชแนวทางสรางวิถี เกิดประโยชนมากมีกันเภทภัย ไทยทั้งชาติสํานึกคุณอันยิ่งใหญ ดุจบิดาหวงใยลูกทุกคน ทรงกําจัดยากไรไมสับสน รักปวงชนเทาไทยนั้นไมมี ฯ

พิษณุ เมืองพระงาม ประพันธ ถวายพระเกียรติคุณ


375

¾ÃÐÁËÒ¡ÃسҸԤس ¾ÃÐÃÒª·Ò¹á¡‹¾Ê¡¹Ô¡Ã¨Ñ§ËÇÑ´¾ÔɳØâÅ¡


376

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระมหากรุณาธิคุณแก พสกนิกรชาวจังหวัดพิษณุโลก วันศุกรที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๓๓ เวลา ๑๕.๐๐ น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมให สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดําเนินแทนพระองค ไปพระราชทาน พระพุทธนวราชบพิตรประจําจังหวัดพิษณุโลก และ พระพุทธนวราชบพิตรจําลองประจําอําเภอ ๙ อําเภอ ในจังหวัดพิษณุโลก ที่สนามหนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ในการนี้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระราชทานพระราชดํารัส ความ วาพระพุทธนวราชบพิตร นี้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอมให สรางขึน้ สําหรับพระราชทานเปนพระพุทธรูปประจําจังหวัด ทีฐ่ านบัวดานหนา ทรงบรรจุพระพิมพไวองคหนึง่ พระพิมพองคนที้ รงทําขึน้ ดวยวัตถุศกั ดิส์ ทิ ธิอ์ นั ไดมาจากปูชนียสถานสําคัญของจังหวัดตางๆ ทัว่ ราชอาณาจักร มีเกสรบัวหลวงที่บูชาและทองคําเปลวผสมนํ้ารักจากองคพระพุทธชินราช จังหวัดพิษณุโลก นี้รวม อยูดวย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงถือวา พระพุทธนวราชบพิตร องคนี้เปนที่ตั้งแหงคุณพระ รัตนตรัยอันเปนที่เคารพสูงสุด และเปนนิมิตหมายสําคัญของความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันของประเทศไทย และคนไทยทั้งชาติ จึงไดทรงบรรจุพระพิมพที่ประกอบดวยวัตถุศักดิ์สิทธิ์ ทั่วประเทศไวใหเปนพระพุทธรูป สําคัญ แลวทรงตัง้ พระราชหฤทัยอธิษฐานปดทอง และทรงพระสุหราย ทรงเจิม กอนทีจ่ ะทรงพระกรุณาโปรด เกลาโปรดกระหมอมใหอัญเชิญมาพระราชทาน ขอใหทุกคนจงรับพระราชทานพระพุทธนวราชบพิตร ไวเปนมิ่งขวัญสิริมงคลสําหรับจังหวัดพิษณุโลก และสําหรับตัว ทั้งเปนที่ยึดเหนี่ยวของจิตใจในอันที่จะ สมัครสมานรวมแรงรวมใจกันประกอบคุณงามความดี และใหระลึกไวเสมอเปนนิตยดว ยวา ในการประกอบ การงานทั้งปวงนั้น จะตองตั้งใจใหมั่นคงหนักแนนและบริสุทธิ์แนวแน แลวปฏิบัติการดวยความอดทนและ ขยันหมั่นเพียร ซื่อตรง เห็นอกเห็นใจกัน ถอยทีถอยอาศัยกัน มีเมตตามุงดีมุงเจริญตอกัน ยึดมั่นใน สามัคคีธรรมและความสุจริต ทั้งในความคิดและการกระทําโดยถือเอาความมั่นคงและประโยชนสวนรวม ของประเทศชาติเปนจุดหมาย กิจทีก่ ระทําทุกอยางจึงจะกาวหนาและตอเนือ่ ง จนบรรลุผลทีส่ มบูรณบริบรู ณ ทุกคนก็จะสามารถรวมกําลังกันรักษาความเปนปกแผนของบานเมืองไวได พรอมกับพัฒนาใหจาํ เริญรุดหนา ยิ่งขึ้นไป


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

377

พระพุทธนวราชบพิตร ประจําจังหวัดพิษณุโลก พระราชทาน วันศุกรที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๓๓ เปน ลําดับ ที่ ๒๑ ของจังหวัด ที่ไดรับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณ


378

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

ทรงปดทองคําเปลว ไวหลังองคพระหนึ่งแผน พระราชสติวา จะปดทองหลังองคพระปฏิมา พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มีพระราชดําริใหรักษาธรรมเนียมการทูลเกลาฯ ถวาย พระแสง ราชศัสตราประจําเมืองไว โดยมิทรงได พระราชทานพระแสงราชศัสตรา เพิ่มเติมอีก ดวยพระราชนิยมที่ จะพระราชทาน พระพุทธนวราชบพิตร เพือ่ เปนพระพุทธรูปประจําจังหวัดตางๆทัว่ พระราชอาณาจักร เพือ่ เปนที่ตั้งแหงคุณพระรัตนตรัย อันเปนที่เคารพสูงสุด และเปนนิมิตหมายสําคัญของ ความเปนอันหนึ่งอัน เดียวกันของคนไทยทั้งชาติ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๘ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหศาสตราจารย ไพฑูรย เมือง สมบูรณ นายชางกองหัตถศิลป กรมศิลปากร ปนหุนพระพุทธนวราชบพิตร ณ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน และทรงพระพุทธลักษณะดวยพระองคเองจนพอพระราชหฤทัยแลว จึงไดโปรดเกลาใหเททองหลอพระพุทธ รูป เมื่อวันที่ ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๙ พระพุทธนวราชบพิตร หนาตัก ๒๓ เซนติเมตร สูง ๔๐ เซนติเมตร ฐานหนาบรรจุ พระสมเด็จจิตรลดา หรือ พระกําลังแผนดิน บรรจุ เสนพระเจา และมวลสารศักดิ์สิทธิ์ ทรงกดพิมพดว ยฝพระหัตถ พระราชทานแจกขาราชบริพาร และผูท สี่ นองคุณแผนดิน เปนการสวนพระองค นับแตป พ.ศ. ๒๕๐๘ เปนตนมา ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานพระพุทธนวราชบพิตร ประจํา จังหวัดตาง ๆ พระราชทานใหจังหวัดหนองคายเปนจังหวัดแรก นับแต ในป พ.ศ.๒๕๑๐ เปนตนมา

พระสมเด็จจิตรลดา (พระกําลังแผนดิน) ที่ฐานบัว และ พระพุทธนวราชบพิตร ในหองบูชาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

379

พระสมเด็จจิตรลดา หรือ พระกําลังแผนดิน (เดิมเรียกวา พระพิมพที่ฐานพระพุทธนวราชบพิตร) เปนพระเครื่อง ที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงสรางดวยพระหัตถของพระองคเอง พระราชทานแก ทหาร ตํารวจ ขาราชการ และพลเรือน ในชวงระหวาง พ.ศ. ๒๕๐๙ – ๒๕๑๓ มีทงั้ สิน้ ประมาณ ๓,๐๐๐ องค พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว พระราชทานด ว ยพระหั ต ถ พ ระองค เ อง มี เ อกสารส ว นพระองค (ใบกํากับพระ) ซึ่งแสดงชื่อ นามสกุล วันที่รับพระราชทาน หมายเลขกํากับทุกองค และภาพพระสมเด็จ จิตรลดา โดยทรงมีพระราชดํารัสแกผรู บั พระราชทานวา “ใหปด ทองทีห่ ลังองคพระปฏิมาแลวเอาไวบชู า ตลอดไป ใหทําความดีโดยไมหวังสิ่งตอบแทนใดๆ” ดังปรากฏในเนื้อเพลงพระราชนิพนธ ความฝน อันสูงสุด ซึง่ ทรงพระราชนิพนธทาํ นองเมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๔ วา “จะปดทองหลังองคพระปฏิมา” มวลสารของ พระสมเด็จจิตรลดา ประกอบดวย ผงชันจากเรือใบ และ ผงมวลสารศักดิ์สิทธิ์จากทุกจังหวัดทั่วประเทศ โดยทรงนํามาบดเปนผง รวมกับ เสนพระเจา คลุกกับกาวเปนเนือ้ เดียวกัน แลวกดเปนองคพระดวยพระหัตถ โดยทรงใชเวลาตอนดึกหลังทรงงาน มีเจาพนักงาน ๑ คน คอยถวายพระสุธารส และหยิบสิ่งของถวาย ทั้งนี้ มี ศาสตราจารย ไพฑูรย เมืองสมบูรณ ขาราชการบํานาญกองหัตถศิลป กรมศิลปากร ผูเปนผูใกลชิด เบื้องพระยุคลบาทในงานดานประติมากรรม เปนผูแกะแมพิมพ ถวายเพื่อทรงพระราชวินิจฉัย แกไข จนเปนที่พอพระราชหฤทัย พระสมเด็จจิตรลดา เปนพระเครือ่ งทรงสามเหลีย่ มหนาจัว่ ขอบองคพระดานหนาทัง้ ๓ ดาน เฉียง ปานออกสูดานหลังเล็กนอย มี ๒ขนาดพิมพ คือ พิมพเล็ก กวาง ๑.๒ เซนติเมตร สูง ๑.๙ เซนติเมตร พิมพใหญ กวาง ๒ เซนติเมตร สูง ๓ เซนติเมตร คําวา พระกําลังแผนดิน มาจากคําวา ภูมิพล แปลวา แผนดิน สวนคําวา พล แปลวา กําลัง จึงเปนทีม่ าของพระนาม พระสมเด็จจิตรลดา วา พระกําลังแผนดิน อีกนัยหนึ่ง พระสมเด็จจิตรลดา เปนพระปางสมาธิ ศิลปะรัตนโกสินทร พระพักตรทรงผลมะตูม องคพระประทับ นั่งขัดสมาธิราบ ประทับนั่งเหนือบัลลังกดอกบัว ประกอบดวย กลีบบัวบานทั้ง ๙ กลีบ และเกสรดอกบัว ๙ จุด อยูในกรอบสามเหลี่ยมหนาจั่ว มีลักษณะละมายคลายกับ พระพุทธนวราชบพิตร ซึ่งเปนพระพุทธ รูปบูชาที่ทรงโปรดเกลาฯ ใหสรางพระราชทานประจําทุกจังหวัดและหนวยทหาร แตตางกันที่ พระพุทธนว ราชบพิตร เปนพระปางมารวิชัย สวน พระสมเด็จจิตรลดา เปน พระพิมพ หรือ พระเครื่องพิมพสมาธิ


380

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก

พระพุทธนวราชบพิตร จําลอง พระราชทาน ๙ อําเภอ จังหวัดพิษณุโลก พุทธลักษณะจําลองจาก พระพุทธนวราชบพิตร ทีท่ รงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ พระราชทานประจํา จังหวัด โดย นายพิศาล มูลศาสตรสาทร ปลัดกระทรงมหาดไทย ในสมัยนั้นไดขอพระราชทานพระบรมราชา นุญาต จัดสรางจําลอง เพือ่ ทูลเกลาฯถวาย เพือ่ ทรงพระราชทานเปนพระพุทธนวราชบพิตรประจําอําเภอ และกิ่งอําเภอ ในจังหวัดที่ไดรับพระมหากรุณาธิคุณพระราชทาน ในป พ.ศ. ๒๕๓๐ เปนตนมา ฐานกลีบบัวหงาย ฐานบัวดานหนา ติด แผนโลหะสามเหลี่ยม เปนรูป อุณาโลม เลข “๙” ไทย (แทน พระพิมพสมเด็จจิตรลดา) พรอมขอความตัวอักษรนูนคําวา “มหาราช” ฐานเขียงเบือ้ งลาง แกะสลัก คําวา พระพุ ท ธนวราชบพิ ต ร ฐานเขียงเบื้องหลัง คําวา พระราชทานแก อํ า เภอและกิ่ ง อํ า เภอ พ.ศ. ๒๕๓๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.