Cover

Page 1

เเผนดินศักสิทธิ์ ดินเเดนประวัติศาสตร ราชธานีสองเเผนดิน

คําขวัญประจําจังหวัดพิษณุโลก พระพุทธชินราชงามเลิศ ถิ่นกําเนิดพระนเรศวร สองฝงนานลวนเรือนแพ หวานฉํ่าแทกลวยตาก ถํ้าและนํ้าตกหลากตระการตา



ภาพพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจา ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จประทับ พลับพลาทอง หนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก พระราชทานพระราชดํารัส และ ทรงเยี่ยมราษฎรจังหวัดพิษณุโลก พุทธศักราช ๒๕๐๑


ภาพพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงถวายพัดรัตนาภรณ พระพุทธชินราช เปนพุทธบูชา ในการพระราชพิธีสมโภชพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร พิษณุโลก วันศุกรที่ ๒๘ กุมภาพันธ พุทธศักราช ๒๕๐๑


ภาพพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระอิริยาบถประทับนั่งทรงหลั่งทักษิโณทกจากพระสุวรรณภิงคาร ประกาศอิสรภาพ ณ เมืองแครง พุทธศักราช ๒๑๒๗ พระราชวังจันทน (สถานที่พระราชสมภพ พุทธศักราช ๒๐๙๘ ) เมืองพิษณุโลก วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๐๕


พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในโอกาส พระราชทานธงลูกเสือชาวบาน ณ สนามหนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก วันจันทรที่ ๒๘ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๑๙ “... ชาวพิษณุโลกมีสิ่งยึดเหนี่ยวหลายอยาง เชน พระพุทธชินราช ซึ่งเปนเครื่องหมายแหงความดี ที่จะชวยเตือนใหปฏิบัติกิจตามเหตุผลที่ชอบธรรม และ พระบรมราชานุสาวรีย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช องคบรรพบุรุษที่รักษาบานเมือง ใหชนชาวไทยไดมีที่ยืนอยูได เปน สิ่งที่เตือนใหทุกคนสามัคคี เอื้อเฟอ สงเสริมความดี และความเขมแข็งเพื่อรักษาแผนดินไวสืบไป ...”


พระพุทธนวราชบพิตร ประจําจังหวัดพิษณุโลก


รอยพระบาทยาตรา เหนือพสุธาเมืองสองแคว ยอกรบวรรัตน แดองคพระภูมี รมเกลาชาวสยาม กรุณาประชาชน พระบาทยาตราจร ดับรอนหอนประชา สิบสามวโรกาส พิษณุโลกพบโชคดี สองพันหารอยหนึ่ง ทวยราษฎรไดบังคม สองแควแลลือเลื่อง ชินราชงามรุจี นเรศวรมหาราช กกู​ูชาาติติกูแผผนดดิ​ิน เเมืมืองงพิพิษณ ณุ​ุโลลก ใใตตรมพพระเมตตา ระเมต ขขอองค ออ ภูมิพล ททรงพระเกษมศานต รงพระเกกษ ปปวงข วงขาพพุ​ุทธธเจา ภภั​ักดดี​ียิ่งชชี​ีวา

นอมมนัสดวยภักดี จอมจักรีภูมิพล ทุกเขตคามชื่นกมล พระมากลนดวยเมตตา ปวงนิกรสุขหรรษา ดุจธารานานนที ธ ประพาสถึงธานี รับภูมีศรีบรม เสด็จถึงเปนปฐม เฝาชื่นชมบารมี นามกระเดื่องรุงเรืองศรี คูธานีคูแผนดิน นามประกาศกองธานินทร ชาติสุขจินตเพราะบุญญา จึงมีโชคลํ้าคุณคา ชาวประชาพาชื่นบาน มีพระชนมยิ่งยืนนาน เกียรติกังวานกองโลกา ขอนอมเกลาเหนือเกศา เทิดราชาตราบนิรันดร ฯ

ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ ขาพระพุทธเจา พสกนิกรชาวจังหวัดพิษณุโลก พิษณุ เมืองพระงาม ประพันธ ถวายพระเกียรติคุณ


ดวยเศียรเกลาฯ

สถาบั น กษั ต ริ ย  สถาปนาขึ้นมาพรอมกับความเปนประเทศไทย ไม มี ส ถาบั น กษั ต ริ ย  ไ ม มี ประเทศไทย ศึกษาไดจากประวัตศิ าสตรชาติไทยทีส่ บื ทอดดํารงไทยจวบจนปจจุบนั หากยอนอดีตจะพบวา คนไทยอพยพมาจากประเทศจีนตอนใตลงสูดินแดนสุวรรณภูมิ ไมมีถิ่นฐานเปนหลักแหลง จน พอขุนบาง กลางทาว หรือ พอขุนบางกลางหาว (อานใหม พ.ศ. ๒๕๑๙ ) และ พอขุนผาเมือง รวมกันชุมนุมไพรพล คนไทยที่ เมืองบางยาง (คติชนวิทยา เชื่อวา คือ อําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก เมืองใหญ พื้นที่ ๑๔๒ ไร มีคูนํ้าคันดินลอมรอบ ๓ ชั้น เปนตรีบูน ริมแมนํ้าแควนอย บนที่ราบหุบเขาหลวงพระบางและเพชรบูรณ หรือ แองนครไทย มี ปายางอุดมสมบูรณ มี ไต นํา้ มันยาง เกลือ และ ของปา เปนผลิตภัณฑพนื้ เมืองมา แตโบราณ) รวมกัน ขับไลขอมที่สุโขทัยออกไปแลวสถาปนา กรุงสุโขทัย เปนราชธานี ปกธงชัย ตั้งประเทศ ใหโลกรูวาถิ่นนี้ที่ตรงนี้ใหเรียกขานนามวา “ประเทศไทย” แตนั้นมาถึงวันนี้หลายรอยปแลว โดย สถาปนา พระมหากษัตริยพ ระองคแรกนาม พอขุนศรีอนิ ทราทิตย พระปฐมบรมกษัตริยผ สู รางชาติไทย คือ ปฐม บรมราชวงศ “พระรวงเจา” ซึง่ จากนัน้ ไทยไดสบื ทอดวัฒนธรรมการปกครอง “ปกครองโดยธรรม” จากพระ ปฐมบรมราชวงศแหงพระรวงเจาสืบสันตติวงศตอ เนือ่ งมาจนปจจุบนั “พระบรมราชจักรีวงศ ” ประเทศไทย และคนไทยไมเคยวางเวนการปกครองดวยระบบกษัตริยตั้งแตตั้งประเทศไทยถึงปจจุบัน คนไทยจึงผูกพัน อยางลึกซึ้งตอสถาบันกษัตริยจนปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ แหง “พระบรมราชวงศจักรี” พระองค ทรงเปนพระมหากษัตริยที่ทรงงานหนักที่สุดในโลก เหตุการณวิกฤตเกิดขึ้นกับประเทศไทย ครัง้ แลวครัง้ เลา ทุกๆ ครัง้ สถานการณทหี่ นักหนา เปราะบาง เครงเครียด ไดคลีค่ ลายลงดวยพระบารมี พระองค เสด็จพระราชดําเนินทรงเยีย่ มเยือนพสกนิกรทุกพืน้ ทีท่ งั้ ประเทศไทย เหนือหนาว อีสานแลง กลางนํา้ ทวม ใต เหตุการณรุนแรง ทุกเหตุการณ ไมเคยผานเลยไป โดยที่พระองคทรงทราบความเคลื่อนไหวของทุกภูมิภาค ทรงมีแนวพระราชดําริใหผูเกี่ยวของไดเขาแกปญหา “เขาใจ เขาถึง และพัฒนา” ทรงชวยเหลือพสกนิกร รับไวในพระบรมราชานุเคราะหมากมาย ทั้งยังทรงพระราชทานพระราชทรัพยสวนพระองคเพื่อบรรเทาทุกข เข็ญแหงอาณาประชาราษฎรมิมีที่สิ้นสุด


พิษณุโลก เปนอีกจังหวัดหนึ่งที่ พระองคไดทรงแผพระบารมีปกเกลาฯ เหลาพสกนิกรมากพนรําพัน ๑๓ ครัง้ ทีพ่ ระองคเสด็จพระราชดําเนินยางกาวประทับรอยพระบาททาบลงบนผืนแผนดินแหงเมืองสองแคว พสกนิกรครั้งกระโนนยังคงปลื้มปติในพระบารมีจนปจจุบันไมรูลืมตลอดกาล พระอิริยบถที่งดงาม พระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติ สายพระเนตรที่ออนโยนใสพิสุทธิ์ดุจพอที่มีตอลูก แผพระเมตตา สูมานตาและมานใจของ ชาวพิษณุโลก ขับขานถายทอดความรูสึกออกมาเปนความจงรักภักดีที่ยิ่งใหญ ดั้นดนคนหา ทุกเหตุการณที่ทรงเสด็จพระราชดําเนินทุกครั้ง ทุกพื้นที่ในพิษณุโลก บันทึกเหตุการณตาง ๆ เหลานัน้ เรียงรอยดวยอักษรและชุลกี รนอมเกลานอมกระหมอมถวายเปนราชสักการะ ในรูปแบบของหนังสือ พระราชกรณียกิจที่ทรงสถิตยไวในดวงใจชน คนพิษณุโลกชั่วกัลปาวสาน

“ พระบารมีปกเกลา ชาวพิษณุโลก ” พระองคคอื พอของแผนดิน ทีท่ รงงานหนักเพือ่ ลูกอยูส ขุ สบาย วันนีล้ กู ไทยทัง้ ผองตางคลองแขน ตัง้ สัตยปฏิญาณวาจัก จงรักภักดีตอ สถาบันกษัตริยด ว ยเศียรเกลาฯ เดินตามรอยเทาพอไปในทุกหน เพื่อดํารงไทยไวใหงดงามตามพระราชปณิธานของพอสืบไป กราบพระบาททูลถามพระองคทาน วาวันวันไดพักสักเพียงไหน เห็นพระองคทรงหวงแตปวงไทย ทรงทราบไหมไทยทั้งปวงหวงพระองค ปวงข า พระพุ ท ธเจ า ทั้ ง หลายขอถวายพระพรชั ย มงคลขอพระองค ท รงพระเจริ ญ ยิ่ ง ยื น นาน สถิตเปนมิ่งขวัญ รมเกลา ของชาวไทยชั่วกาลนิรันดรเทอญ

ดวยเกลาดวยกระหมอม ขอเดชะ ขาพระพุทธเจา

นายปรีชา เรืองจันทร ผูวาราชการจังหวัดพิษณุโลก


สารบัญ หนา

รอยพระบาทยาตรา เหนือพสุธาเมืองสองแคว ดวยเศียรเกลาฯ พระมหากษัตริยนักพัฒนา ผูทรงงานหนักที่สุดในโลก พิษณุโลกวิปโยค พลันหายโศกเพราะพระบารมี พระเมตตาคุณ การุณย ชาวพิษณุโลก หนึ่งป สี่สิบหาวัน วันฟาใส พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๑ ปฐมพระบาท เหนือเเผนดิน เมืองพิษณุโลก เสด็จฯ ทรงนมัสการพระพุทธชินราช ครั้งปฐม เสด็จฯ เยี่ยมราษฎรชาวจังหวัดพิษณุโลก ครั้งปฐม สังเวยพระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวร เทพารักษ เมืองพิษณุโลก ครั้งปฐม พระราชพิธีสมโภชพระพุทธชินราช ตามราชประเพณี เสด็จฯ คายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ พระราชาอนุสรณ เสด็จฯ ทรงเปดศาลยุติธรรมจังหวัดพิษณุโลก เสด็จ ฯ ทรงเยี่ยมกิจการโรงพยาบาลพุทธชินราชและตึกอานันทมหิดล เสด็จฯ ทรงเยี่ยมราษฎรอําเภอวังทอง พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย พระราชทาน เสด็จฯ ทอดพระเนตรนํ้าตกวังนกแอน สกุโณทยาน นามพระราชทาน เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๙ พระราชทานแกขารองพระบาทจังหวัดพิษณุโลก เหรียญรัตนาภรณ ชั้นที่ ๕ ( ภ.ป.ร. ๕ ) เกรียง คชรัตน ซุมรับเสด็จฯ พสกนิกรชาวจังหวัดพิษณุโลก ปฐมประพาส ประชาราษฎรชื่นชมพระบารมี เครื่องราชอิสริยาภรณ อันเปนโบราณมงคล นพรัตนราชวราภรณ พัดรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๙ เหรียญรัตนาภรณ รัชกาลที่ ๙ บําเหน็จความดีสวนพระองค พระปรมาภิไธย พระเจาแผนดิน พระแสงราชศัสตราประจําจังหวัดพิษณุโลก ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก ที่ประทับแรม และ สิ่งของเครื่องใชที่จัดทูลเกลาฯถวาย รถยนตพระที่นั่ง ขบวนรถยนตพระที่นั่ง ในการเสด็จเยี่ยมราษฎรภาคเหนือ ครั้งแรก พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๒ พระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัฐพิธีเปดศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมืองพิษณุโลก เสด็จฯ กองทัพภาคที่ ๓ พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย

๑ ๙ ๒๒ ๒๖ ๓๐ ๓๑ ๔๐ ๔๒ ๕๓ ๖๐ ๗๒ ๗๗ ๘๔ ๘๘ ๙๒ ๑๐๑ ๑๐๒ ๑๐๕ ๑๑๕ ๑๑๖ ๑๒๓ ๑๒๕ ๑๒๗ ๑๓๐ ๑๓๗ ๑๔๖ ๑๔๘ ๑๕๗ ๑๕๘ ๑๖๑


เสด็จฯ ประทับ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก เปนครั้งที่ ๒ พระพุทธรูปปางประจํารัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระมาลาเบี่ยง และพระแสงดาบคาบคาย เครื่องราชกกุธภัณฑ พระราชวังจันทน เมืองพิษณุโลก เทพารักษ แทนอดีตมหาราชและองคสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ศาลเทพารักษ ศาลเจาพอนเรศวร พระบรมรูปฯ พระองคแรก พระราชวังจันทน นเรศวรมหาราชานุสรณ พระกริ่งนเรศวร รุนแรก สระสองหอง นํ้าสรงมุรธาภิเษก รัชกาลที่ ๙ พระบรมราชานุสาวรีย กองทัพภาคที่ ๓ พระบรมราชานุสาวรีย ฯ บึงแกงใหญ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม เหรียญบาท พระราชทาน ทุติยประพาส ทวยราษฎรแซซอง

๑๖๕ ๑๖๖ ๑๖๘ ๑๗๐ ๑๗๒ ๑๗๔ ๑๘๐ ๑๘๒ ๑๘๓ ๑๘๖ ๑๘๗ ๑๘๙

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๓ ทรงวางศิลาฤกษตึกอํานวยการโรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย ทั้งสองพระองค เกรียง ทรงงาน พุทธศักราช ๒๕๐๗ พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช องคที่ ๕ ของเมืองพิษณุโลก โรงพยาบาลคายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระกฤษดาภินิหาร พระบารมีปกเกลา พระบรมราชานุสาวรียสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงพระแสงดาบคูสองพระหัตถ สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาวชิราลงกรณ เสด็จฯ พิษณุโลก ครั้งปฐม ตติยประพาส ผองราษฎรรมเย็น

๑๙๐ ๑๙๕ ๑๙๗ ๑๙๙ ๒๐๐ ๒๐๑ ๒๐๓ ๒๐๓ ๒๐๕

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๔ พระเมตตาคุณ ทรงเยี่ยมราษฎรชาววัดโบสถ และชาวพรหมพิราม ประสบอุทกภัย จตุตถประพาสนิกรราษฎรเปนสุข

๒๐๖ ๒๑๐ ๒๑๕

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๕ พระราชทานปริญญาบัตร วิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก ( วศ.พล. ) ครั้งแรก เบญจมประพาส หมูราษฎรเปรมปรีดิ์

๒๑๖ ๒๑๙ ๒๒๑

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๖ ทรงบําเพ็ญพระราชกุศลวิสาขบูชา ณ เมืองพิษณุโลก ทานเจาคุณฯ แสดงธรรมไดเนื้อหาดี ควรแกความเสื่อมใสในพระรัตนตรัย พระสุวรรณวิสุทธิคุณ ( ทองปลิว โสรโต พูลพิพัฒน ) ฉัฐมประพาส มวลราษฎรปลาบปลื้ม

๒๒๒ ๒๒๓ ๒๒๗ ๒๒๘ ๒๓๗


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๗ พระราชทานปริญญาบัตร วิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก ครั้งที่ ๒ สัตมประพาส ไทยราษฎรภักดี

๒๓๘ ๒๔๑ ๒๔๕

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๘ พระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก ครั้งที่ ๓ อัฐมประพาส พสกราษฎรถวายบังคม

๒๔๖ ๒๕๑ ๒๕๓

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๙ ทรงตัดลูกนิมิต อุโบสถหลังประวัติศาสตร วัดวังทองวราราม พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย ในแผนศิลา อุโบสถ และคูหาพระประธานวัดวังทองงดงามมาก ตนประดูเหลือง พระพุทธชินราช จําลอง รุนทูลเกลา ฯ วัดวังทองวราราม อุโบสถเกาทรงถวายปจจัย สําหรับบูรณะอุโบสถ เพื่อเปนสถานที่ ศึกษาประวัติศาสตร แบบหนาบันพระราชทาน อุโบสถแหงความสามัคคี วัดวังทองวราราม นวมประพาส เหลาราษฎรเกษมศรี

๒๕๔ ๒๖๑ ๒๖๒ ๒๖๙ ๒๗๔ ๒๗๗ ๒๗๙ ๒๘๔ ๒๘๕

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๑๐ ทรงพระแสงปน คายสฤษดิ์เสนา พระบรมรูปสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระราชทานคายสฤษดิ์เสนา สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงพระแสงปน เสด็จฯ คายสฤษดิ์เสนา ยุทธศาสตรพัฒนา โครงการบานรักไทยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ทสมประพาส พลราษฎรชุลีกร

๒๘๖ ๒๙๕ ๒๙๖ ๒๙๘ ๒๘๙ ๒๙๙

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๑๑ ทอดพระเนตรดนตรีมังคละ พระราชทานปริญญาบัตร ครั้งที่ ๔ พระราชทานธงลูกเสือชาวบาน เอกาทสมประพาส ไผทราษฎรสํานึกคุณ

๓๐๐ ๓๐๔ ๓๐๗ ๓๑๑

พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๑๒ เสด็จพระราชดําเนินทรงเยี่ยม บานรักไทย บานเผาไทย สมรภูมิเลือด พื้นที่สีชมพู อาคารเรียนพระราชทาน ฯ รมเกลา ๑ – ๒ โรงเรียนบานรักไทยรมเกลาอุปถัมภ พลเอกมนัส คลายมณี ขารองพระบาท บานรักไทย เผาไทย รมเกลา ตามพระราชดําริ พารสมประพาส สกลราษฎรสํานึกคุณ

๓๑๒ ๓๑๕ ๓๓๓ ๓๓๗ ๓๔๑


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ครั้งที่ ๑๓ เปดเขื่อนนเรศวร สายพระเนตรอันยาวไกล เขื่อนแควนอยบํารุงแดน พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย เขื่อนนเรศวร พระราชดําริ เขื่อนแควนอย พระราชทานนาม เขื่อนแควนอยบํารุงแดน บางยาง ปากโทก สองแคว แควนอย บางยาง บางกลางทาว ปฐมกษัตริย ความสัมพันธระหวาง ราชวงศพระรวง กับ ราชวงศจักรี พระบรมราชานุสาวรียฯ พระราชพิธีสมมงคล หนึ่งเดียวในประเทศไทย เตรสมประพาส สยามราษฎรถวายพระพร

๓๓๔๒ ๔๒ ๓๓๔๕ ๔๕ ๓๓๔๗ ๔๗ ๓๕๗ ๕๗ ๓๕๙ ๓๖๑ ๓๖๕ ๓๖๖ ๓๗๑ ๓๗๒ ๓๗๔

พระมหากรุณาธิคุณ แกชาวจังหวัดพิษณุโลก ๒๗๕ พระพุทธนวราชบพิตร ประจําจังหวัดพิษณุโลก ๓๘๐ เปดศาลหลักเมืองพิษณุโลก ๓๘๔ ลงรักปดทองพระพุทธชินราช เปนพุทธบูชาครั้งที่ ๓ ๔๑๐ ถวายนพรัตนสังวาล สํารับที่ ๒ ๔๑๕ พระพุทธชินราช ส.ก. ทองคํา ๔๒๑ สมโภช ถวายทรงสะพัก ภ.ป.ร.เปนพุทธบูชา ๔๒๓ วัดนางพญา อุโบสถ ภ.ป.ร. หลังแรกในสังฆมณฑลพิษณุโลก พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. ทองคํา ๔๒๕ พระพุทธชินราช ภ.ป.ร. พุทธานุภาพและพระบารมีปกเกลา ชาวสยาม ๔๒๗ อาคารหลวงพอพระพุทธชินราช พุทธบารมี และพระบารมีปกเกลา พระมหาธาตุ พระพุทธชินราช เมืองพิษณุโลก พระพุทธรูป ประทานพร ภ.ป.ร. ศาลาเทพรัตน วศ.พล , มศว. พล. , มหาวิทยาลัยนเรศวร นามพระราชทาน ๔๒๘ พระพุทธสักยมุนีชินสีห พระพุทธปฏิมากรนามพระราชทานองคแรกของเมืองพิษณุโลก ราชประชานุเคราะห ๒๓ นํ้าพระทัยสงเคราะหชาวพิษณุโลก ๔๓๓ ถวยพระราชทาน ภ.ป.ร. ใบแรก ในประวัติศาสตร เมืองพิษณุโลก ๔๓๔ วชิรญาโณภิกขุ เปรียญธรรม ๙ ประโยค รูปแรกของพิษณุโลก รับพระราชทานพัดยศฯ ๔๓๕ พระราชาคณะ พิษณุโลก รับพระราชทานพัดยศ ฯ จาก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ๔๓๘ เลือดเนื้อเชื้อไขพิษณุโลก ขับรองเพลง รวมวง ในหลวงทรงดนตรี ๔๔๕ พิษณุโลก ใตรมพระบารมี ภูมิพลจักรีวงศ องคภูมิพลมหาราช ๔๔๗ พิษณุโลก เมืองแหงพระบรมราชานุสาวรียฯ พระบรมรูป ฯ มากที่สุดในประเทศไทย ๔๔๙ พิษณุโลกลูกหลานนักรบโบราณ ๔๕๔ เชิงอรรรถ ๔๕๖ บรรณานุกรม ๔๕๘ พจนสุนทรประกาศ ๔๖๓ พระมหากรุณาธิคุณ พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก ๔๘๐


พระบารมีปกเกลาฯ ชาวพิษณุโลก


มานนํ้าตกสายรุง สะพานนเรศวร

คําขวัญประจําจังหวัดพิษณุโลก พระพุทธชินราชงามเลิศ ถิ่นกําเนิดพระนเรศวร สองฝงนานลวนเรือนแพ หวานฉํ่าแทกลวยตาก ถํ้าและนํ้าตกหลากตระการตา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.