คู่มือจัดการสนทนาด้วยตนเอง
มวลมหาประชาคุย
ศรชัย ฉัตรวิริยะชัย - ฉบับลองทำ ๑ -- ๒๑.๑๒.๕๖
1
สนทนาคือพลังเปลี่ยน โลก เราทุกคนต่างอยู่ใน ‘โลก’ ที่เราสร้างขึ้นด้วยความคิดและความ เชื่อของตัวเราเอง ถ้าหากลองพิจารณาดู คนส่วนใหญ่มีชีวิตอยู่ ได้ไม่ถึงแปดสิบปี ดังนั้นจึงไม่มีปุถุชนคนใดในโลกนี้จะ สามารถมีความรู้ หรือมีประสบการณ์ทุกอย่าง แต่เพราะเหตุใด คนส่วนใหญ่กลับเชื่อมั่นว่าสิ่งที่ตัวเองรู้จากประสบการณ์ตรง หรือได้ยินได้ฟังมานั้นเป็นเรื่องที่ถูกต้องเสมอไป
สังคมไทยมีค่าพังเพยมาแต่โบราณว่า “พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง”
ในเรื่องนี้มีผู้รู้กล่าวเอาไว้ว่า “ถ้าสิ่งที่เรายึดถือมันถูก ไม่ว่าใครจะพูดอย่างไร
คำพูดแบบนี้คงเกิดจากใครสักคนที่นั่งอยู่ในวงสนทนาที่น่าเบื่อ ไม่สร้างสรรค์
มันก็จะถูกเสมอ แต่ถ้าสิ่งที่เรายึดถือเอาไว้มันผิด ก็ป่วยการที่เราจะไปปกป้อง
ไม่เกิดประโยชน์ อาจจะใช่ หรืออาจจะไม่ใช่ หรืออาจเป็นเพียงเพราะเขาคน
มันเอาไว้ เราควรจะยินดีเสียด้วยซ้ำที่มีผู้มาชี้ให้เห็นว่าเราเข้าใจผิดอย่างไร
นั้นนั่งอยู่ในวงสนทนาที่ตัวเขาเองไม่รู้สึกว่าได้รับฟัง การพูดของเขาจึงสลาย
จะได้เปลี่ยนให้เป็นความเข้าใจถูก” หลักการนี้ช่างฟังดูง่ายดาย แต่ยากแสน
หายไปกับมวลอากาศไม่อาจจะไปสัมผัสใจของใครได้ แต่ในทางกลับกันนั่ง
เข็ญในการปฏิบัติ เหตุเพราะคนเราชอบ “เอาหน้าเข้ามารับ” อย่างที่เคยกล่าว
เป็นปกติของ “วงสนทนาฝึกหัด” ซึ่งย่อมจะมีหลายสิ่งหลายอย่างไม่เข้าที่ ไม่ได้
เอาไว้แล้ว ยกตัวอย่างให้เห็นเป็นรูปธรรมก็คือ ถ้าเราถือตะกร้าใส่มะกอกมา
ดั่งใจเรา หรือมีบรรยากาศที่เต็มไปด้วยความกระอักกระอ่วน จึงไม่น่าแปลกใจ
เต็มตะกร้า แล้วมีเพื่อนมาชี้ให้เห็นว่ามีมะกอกบางลูกมันเน่าเสียแล้ว เรายังมิ
ที่หลายคนรังเกียจเหยียดการสนทนาว่าเป็นเรื่องสำหรับผู้ “อ่อนแอ” หรือ “พวก
ทันตรวจสอบว่ามะกอกเราเน่าเสียจริงหรือไม่ ก็ต่อว่าเพื่อนกลับเป็นพัลวัน สรุป
ดีแต่พูด วัน ๆ ไม่ทำอะไร” จึงเกิดขึ้น เพราะเขาไม่เคยมีประสบการณ์ดี ๆ ใน
ว่าเราใช้เวลาและพลังงานมากเพื่อที่จะบอกว่ามะกอกในตะกร้าของเราไม่เน่า
การสนทนาที่เปลี่ยนโลก และเปลี่ยนชีวิตของเขาได้
ซึ่งความจริงมันอาจจะเน่าอย่างที่เพื่อนว่าก็ได้ ถ้าแบบนี้โบราณว่าเป็นพวก
“มะกอกสามตะกร้าปาไม่ถูก” หมายถึงคนที่พูดอะไรเลื่อนไหลไปเรื่อย ๆ ไม่ยึ เหตุที่ทำให้การสนทนาดี ๆ ก่อเกิดได้ยาก เป็นเพราะเหตุผลสำคัญข้อเดียว นั่น
ดถือการเรียนรู้เป็นที่ตั้ง
ก็คือพวกเราทุกคนเป็น “คน” ที่มีอารมณ์ความรู้สึก มีความลำเอียง ซึ่งเกิดจาก ความทรงจำ และประสบการณ์ที่แตกต่างกัน แต่เหตุผลเดียวกันนี้กลับทำให้ การสนทนาของเราออกรสชาติ เพราะถ้าเหมือนกันไปหมดก็เหมือนเราพูดคุย
การคิดจะไปแก้ไขผู้อื่นนั้นแสนยาก ทางเลือกที่ง่ายกว่าก็คือต่างคนต่างแก้ไข
อยู่กับตัวเอง คนที่สนุกกับการพูดกับตัวเองทั้งวันคงไม่ใช่คนปกติแน่ ๆ
ตัวเอง เปลี่ยนโลกด้วยการเปลี่ยนโลกภายในของเราเสียก่อน
อารมณ์ความรู้สึกทำให้คนเรารับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ได้มากกว่าถ้อยคำ แต่ใน เวลาที่มันขึ้นมาทำงานกับใจของเราจนเราเสียศูนย์ การสนทนาก็จะเต็มไปด้วย ความต้องการที่จะเอาชนะคะคาน เพราะคนเราทุกคนมีธรรมชาติอย่างหนึ่งคือ ไม่ชอบ “เสียหน้า ดังนั้นเราจึงชอบ “เอาหน้าออกมารับ” ในการสนทนาทุกเรื่อง ไม่ว่าเรื่องไหน จะว่าไปการเสียหน้าเป็นสิ่งที่ดี เหตุผลที่เรา “ชักหน้าไม่ถึงหลัง” ในอันที่จะเข้าใจมนุษย์คนอื่น ก็เพราะเรายังเสียหน้าไปไม่พอ ถ้าเสียไป พอแล้ว “ด้านหลัง” ก็จะขึ้นมาทำงาน ด้านหลังก็คือพื้นที่ของสามัญสำนึก ความ เมตตากรุณา หรือพูดง่าย ๆ ก็คือความรักในเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
2
2
ฟังอย่างไร การสนทนาที่จะสั่นสะเทือนโลกภายในของเรา เราต้องฝึกหัด ให้การ “ฟังเป็น” ประดิษฐานในตัวเราเสียก่อน มีคำกล่าวที่ว่า “คำถามดี ๆ มีค่ากว่าคำตอบที่ถูกต้อง” แต่สิ่งที่คนทั่วไปไม่รู้ก็ คือคำถามดี ๆ จะบังเกิดมาจากไหน? คำตอบก็คือ “การฟัง” เพราะคนที่ไม่เปิดหัวใจรับฟังก็เป็นเพราะเชื่อว่าตนมีคำตอบที่ ถูกต้องและไม่เปลี่ยนแปลงชั่วนิรันดร์ ผู้ที่เริ่มเปิดหัวใจรับฟังก็ เป็นเพราะในหัวใจเขาเกิดความ “หวั่นไหว” ซึ่งความหวั่นไหวนี้ ภาพจาก :http://krisadawan.wordpress.com
เป็นสิ่งดี เพราะเขาหวั่นไหวว่าสิ่งที่เขายึดถืออยู่อาจจะไม่ถูกต้อง ความหวั่นไหว
ถ้อยคำคือภาษาที่มนุษย์เราใช้สื่อสาร เราคงจะเห็นด้วยกับนักการละครที่ไม่
แม้เพียงนิดจะส่งสัญญาณให้ความกระตือรือล้นแบบเด็ก ๆ ที่ถูกห้ามปรามมา
ใคร่จะให้ความสำคัญกับ “บทละคร” อย่าตรงไปตรงมา แต่ปฏิบัติต่อมัน
นานฟื้นฟูขึ้น เมื่อนั้นการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ จะบังเกิด ต้นข้าวย่อมไม่งอกออกจาก
ราวกับเป็นรหัสลับดาวินชีโคด ซึ่งพยายามจะบอกอะไรบางอย่าง แต่ไม่บอกกัน
ก้อนหิน พื้นดินที่ร่วนซุยและความชุ่มชื้นคือสภาวะที่เหมาะสม เราจึงต้องตระ
ตรง ๆ เราจะเข้าใจ “ถ้อยคำ” ได้อย่างสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อเราพิจารณาองค์
เตรียมพื้นที่แห่งการรับฟังเพื่อบ่มเพาะสิ่งใหม่ ๆ ซึ่งยังไม่รู้ว่าจะเป็นอะไร แต่จะ
ประกอบที่เหลือประกอบกัน เพราะมันคือ “กุญแจ” ที่ไขความลับไปสู่หัวใจของ
งอกงามออกจากการที่ทุกคนนำสิ่งที่ดีที่สุดมาแบ่งปันกัน ซึ่งไม่ใช่ไอเดีย
ผู้สื่อสาร องค์ประกอบที่สองคือ “อารมณ์ความรู้สึก” คือ สิ่งที่เราสังเกตุเห็นได้
บรรเจิดที่นั่งคิดคนเดียวในห้องน้ำ หรือความรู้แข็งเกร็งที่อิมพอร์ทเข้ามาทั้งดุ้น
จากผู้พูดก็อย่างหนึ่ง และสิ่งที่เราได้จากการสังเกตใจตัวเองว่าเรากำลังรู้สึก
แต่เป็นความปรารถนาที่จะเกาะเกี่ยวและโอบอุ้มกันไปบนพรมแดนของความ
อย่างไรก็เป็นอีกอย่างหนึ่ง การสังเกตคนอื่นเป็นเรื่องง่ายเพราะทุกคนคุ้นเคย
ไม่รู้
บางคนก็เป็นผู้เชี่ยวชาญ แต่การสังเกตตนเองเป็นสิ่งที่ยากกว่ากันมาก เพราะ
เป็นสิ่งที่ไม่ค่อยจะมีใครให้ความสำคัญสักเท่าใดนัก ทั้ง ๆ ที่เป็นเรื่องที่สำคัญ อย่าพึ่งเคลิบเคลิ้ม หรือเคลือบแคลงกับถ้อยคำของผมเกี่ยวกับการฟัง เพราะ
มาก และสุดท้าย “เจตนา” ซึ่งก็คือความตั้งใจ ความประสงค์ ความต้องการของ
การฟังที่แท้จริงไม่ได้งดงาม นิ่มนวล ชวนฝัน จริง ๆ มันเป็นเรื่องสาหัสสากรรจ์
ทั้งผู้พูดและผู้ฟัง ซึ่งเป็นสิ่งที่รับรู้ได้ยากและละเอียดประณีตที่สุด เช่นเดียวกัน
มาก ไม่ต่างอะไรกับการแบกกระสอบข้าวสาร หรือโดนโบยตีด้วยแส้ เมื่อเจ้า
หากการล่วงรู้เจตนาของผู้อื่นเป็นสิ่งที่ยากแล้ว การล่วงรู้เจตนาของตัวเองกลับ
นายพบว่าเราแอบยักยอกข้าวสารที่แบกมาเพื่อแก้เผ็ดต่อความใจแคบของเขา
เป็นสิ่งที่ยากกว่า บ่อยครั้งที่เราพูดไปเยอะแยะมากมายแต่ “ไม่เคยได้ยินเสียง
การฟังนั้นเรียกร้องเอากับเราเยอะ ราวกับว่าเราเป็นลูกหนี้ที่ผิดนัดซ้ำแล้วซ้ำ
ของตัวเอง”
เล่าด้วยจำนวนเงินมหาศาล การฟังเรียกร้องให้เราเอาตัวเองมาตีแผ่ ราวกับ เป็นนักโทษที่ถูกจับยืนตีตรวนอยู่ต่อหน้าผู้พิพากษาในความผิดซึ่งก็ยังไม่รู้เป็น ของเราหรือเปล่า การฟังเรียกร้องให้เราบริจาคอวัยวะของเราทั้ง ๆ ที่มันยังใช้ การได้ และหมอก็แค้นเคืองกันมาแต่หนไหน เพราะลืมให้ยาสลบกับเรา
แล้วจะฝึกการฟังอย่างไร เพื่อให้การสนทนาดี ๆ ก่อเกิด คำตอบคือต้อง “สังเกต” ตัวเอง เพื่อจับ “สัญญาณ” ที่เกิดขึ้นในตัวเรา และเปลี่ยนแปลงมันเสีย ก่อนที่มันจะทำให้การฟังของเราเกิดอาการเสียหาย เพราะถ้าไม่ทำเช่นนั้นจะ เกิด “การเมืองของการฟัง” คือเลือกฟังเฉพาะสิ่งที่ถูกใจ(ซึ่งอาจจะผิด) และต่อ ต้านสิ่งที่ไม่ถูกใจ(ซึ่งอาจจะถูก) และที่แย่ที่สุดก็คือปล่อยให้สัญชาตญาณของ
ถ้อยคำ ความรู้สึก เจตนา
เราทำงานไปอย่างไม่รู้เหนือรู้ใต้
จะเข้าใจการฟังต้องเข้าใจเสียก่อนว่ามนุษย์เราสื่อสารกันได้อย่างไร ผมไม่มี ทฤษฎีสวยหรู แต่ได้จากการสนทนากับเพื่อนคนหนึ่ง (ประสาท ประเทศรัตน์) พวกเราเห็นว่ามันน่าจะมีอยู่สามองค์ประกอบ คือ ถ้อยคำ, อารมณ์ความรู้สึก และเจตนา
ฟังอย่างไม่ตัดสิน? จะเห็นว่าผมไม่ได้ใช้คำหรู ๆ อย่าง “ฟังโดยไม่ตัดสิน” หรือ “ฟังด้วยปัญญา ใคร่ครวญ” เพราะมันจะพาคุณไปผิดทาง ฟังโดยไม่ตัดสินเป็นไปไม่ได้เพราะ ไม่ใช่ธรรมชาติของมนุษย์ เพราะเราตัดสิน จัดหมวดหมู่ ให้กับคำพูดของผู้อื่น 4
ทุกคำ เพราะถ้าไม่อย่างนั้นเราจะไม่รู้เลยว่าเขากำลังพูดเรื่องอะไรอยู่ ส่วนการ ฟังด้วยปัญญาใคร่ครวญ ก็ใช้ไม่ได้ เพราะคนส่วนใหญ่รวมทั้งผมไม่รู้ว่า “ปัญญา” หน้าตาเป็นอย่างไร และถ้าการใคร่ครวญหมายถึงฟังไปก็คิดไป
ฟังแล้วคิดไปดักหน้า
แบบนี้ก็ยิ่งอันตรายใหญ่ เพราะในที่สุดเสียงของความคิดของเราจะดังกลบสิ่งที่
ในระหว่างการฟังผู้ที่มีหัวคิดว่องไว จะคิดไปฟังไป หมายถึงคิดไปล่วงหน้าว่าผู้
ผู้พูดกำลังพูดเสียหมดสิ้น
พูดจะสื่ออะไรโดยที่เขายังพูดไม่จบ บางครั้งก็เดาถูก บางครั้งก็เดาผิด การฟัง
การฟังแล้วอิน
แบบนี้ก็เป็นข้อผิดพลาดประการหนึ่ง ซึ่งมักจะเกิดกับ “คนเก่ง” เพราะมักคอย มองหาข้อสรุป หรือประเด็นที่ผู้พูดกำลังพูด เราเรียกการฟังแบบนี้ว่า “ฟังแล้ว
เมื่อการสนทนาดำเนินไปในเรื่องที่ไม่ตรงกับความเห็นของเรา จะเกิดความรู้สึก
คิดไปดักหน้า” การสังเกตอาการที่เกิดขึ้นกับตัวเองจะยาก เพราะเวลาที่คิดไป
ต่อต้านเกิดขึ้นในใจของเรา ซึ่งแสดงออกมาเป็นอาการทางกายเช่น กล้ามเนื้อ
ดักหน้า จะไม่รู้ว่าตัวเองรู้สึกอย่างไร พูดง่าย ๆ ว่า “เวลาคิดไม่รู้ เวลารู้ไม่คิด”
เกร็งแข็งขึ้นมา หัวใจเต้นเร็ว หายใจกระชั้น ถี่ ๆ เลือดสูบฉีดแรงจนเห็นได้ที่
ถ้าคิดไปก็จะไม่รู้สึกตัว ถ้ารู้สึกตัวอยู่ชัดก็จะไม่คิด การแก้ข้อผิดพลาดในการ
ใบหน้า หรือใบหู ทำให้ใบหน้าร้อนผะผ่าว อาการเหล่านี้เราต้องสังเกตตัวเอง
ฟังแบบนี้ต้องอาศัยกัลยาณมิตรคนที่สามารถพูดตรง ๆ กับเราได้โดยที่เราไม่
เพราะบางครั้งมากบ้างน้อยบ้างไม่เท่ากัน และความไวต่อความรู้สึกของแต่ละ
โกรธเพราะเป็นเรื่องยากที่เราจะสังเกตและยอมรับข้อผิดพลาดของตัวเองใน
คนก็ไม่เท่ากัน บางคนหน้าแดง หัวหูแดง แต่ก็ไม่รู้ เพราะไม่เคยสังเกตตัวเอง
ลักษณะนี้ แต่เมื่อเกิดเหตุการณ์แบบนี้บ่อย ๆ แน่นอนว่าผู้ร่วมสนทนาในวงจะ
เพราะกำลังเมามันกับการตอบโต้
เกิดอาการเบื่อหน่าย เพราะการไหลเลื่อนเคลื่อนที่ของการสนทนาจะไม่เกิด จะ สะดุดเป็นห้วงเพราะผู้ที่คิดไปล่วงหน้านั้น “ตัดขาด” ตัวเองออกจากวงสนทนา
ส่วนตรงกันข้ามถ้าบางท่านได้ฟังเรื่องที่ตรงกับความเห็นเดิมของเรา หรือ ตอกย้ำคุณธรรมหรือหลักการที่เรายึดถือ ก็เกิดความพึงพอใจจนปล่อยใจให้ เคลิบเคลิ้มตามผู้พูดไป จนเกิดอาการที่ผู้พูดสามารถชักจูงและโน้มน้าวใจเรา ไปโดยที่เราไม่รู้ตัว และเป็นเพราะไม่รู้ตัวจึงถูกชักจูงไปได้ พร้อมที่จะเออออ ห่อหมก และถ้าหากมีเพื่อนอีกท่านหนึ่งเห็นแย้งกับผู้พูด “ของเรา” เราก็พร้อมที่ จะออกมา “ปกป้อง” “เข้าข้าง” และ “สร้างพวก” ดังนั้นคำที่ไม่ควรใช้ในการ สนทนาคือ “เห็นด้วยกับคุณ...” แต่อาจจะใช้คำว่า “สิ่งที่คุณ...พูด โดนใจผม มาก” เพราะสื่อถึงความรู้สึก แต่ไม่จำเป็นต้องสร้างพวกแบ่งข้างโดยไม่รู้ตัว
การฟังทั้งสองตัวอย่างที่กล่าวมาเรียกว่าเป็นการฟังประเภทที่เรียกว่า “ฟังแล้ว อิน” เพราะใจตกไปกับเรื่องราวจนลืมสังเกตอาการที่เกิดขึ้นกับตัวเอง 5
3
การจัดการสนทนา 1. เชื้อเชิญโดยไม่กะเกณฑ์ จำนวนคนพอเหมาะ น้อยไปก็ไม่ หลากหลาย มากไปก็คุยได้ไม่ทั่วถึงและต้องใช้สมาธิในการ ฟังมาก ให้มาตามความสมัครใจจะดีกว่าไปกะเกณฑ์กันมา 2. จัดพื้นที่สำหรับการพูดคุยให้มีความน่าคุยน่านั่ง เน้นที่ความ เป็นกันเอง นั่งเอกเขนกได้ ดื่มน้ำชา กาแฟ ขนม แต่ไม่ควร จัดที่บนโต๊ะอาหาร เพราะกิจกรรมของการกินแทรกแซง บรรยากาศของการคุย
3. แรกเริ่มอาจจะมีผู้นำการสนทนา ชวนคุยไปก่อน แต่ถ้าเคยร่วมวงมาและมี ความชำนาญในการฟังและพูดแล้วก็ไม่จำเป็นต้องมีก็ได้ 4. อุปกรณ์การบันทึก ถ้าหากมีก็ดี ไม่มีก็ไม่เป็นไร กระดาษแผ่นใหญ่ ๆ ถ้ามี เอาไว้จดก็ดี แต่ถ้าจ้องแต่จะจดก็ไม่ดี นั่งฟังดีกว่า 5. เริ่มทำเถอะ อ่านมามากแล้ว ผิดพลาดบ้างช่างปะไร สำคัญที่ได้ลองทำ คู่มือฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อรองรับ “สัปดาห์กระจายอำนาจการคุย” วันที่ 23-30 ธันวาคม 2556 จัดทำโดยกลุ่ม “มวลมหาประชาคุย” ติดต่อเราได้ที่ https://www.facebook.com/massdeliberation ส่งผลการคุยของท่านข้อคิดเห็นมาได้ที่ massdelib@gmail.com
7