บันทึกประสบการณ์อบรมอเมริ กา
SoL Forum on Business Innovation for Sustainability Leadership, Learning &Collaboration for a Living Economy
March 27–30, 2007 Atlanta, GA, United States
ศรชัย ฉัตรวิริยะชัย รวมเล่ มเมื่อ 29 พ.ค. 2550
สารบัญ วันที่หนึ่ง SOL Workshop .................................................................................................3 วันที่หนึ่งภาคบ่าย SOL Workshop .......................................................................................7 วันที่สอง : เริ่ มต้นฟอรัมวันแรก...............................................................................................11 วันที่สามช่วงเช้า .................................................................................................................16 วันที่สามช่วงบ่าย.................................................................................................................23 วันที่สามช่วงเย็น (Biomimicry)..........................................................................................31 วันที่สามช่วงกลางคืน (Global Simulation Workshop).........................................................37 วันที่สี่ : ครึ่ งวันสุ ดท้าย (World Café) .................................................................................43
วันที่หนึ่ง SOL Workshop อังคารที่ 27 มีนาคม 2550 เช้า วันนี้เป็ นวันอุ่นเครื่ องสำาหรับก่อนที่ทุกคนจะเข้าสู่ การการสัมมนาจริ งในวันพรุ่ งนี้ ผมเลือกที่จะเข้าในห้องที่ ปี เตอร์ เซงเก (ผูแ้ ต่งหนังสื อเรื่ อง Fifth Discipline) เป็ นผูร้ ่ วมนำาการประชุม หัวข้อที่เข้าร่ วมก็คือเรื่ องของ แนวทางของ Organization Learning หรื อองค์กรแห่งการเรี ยนรู้ เพื่อนำามาสู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืน เริ่ มต้นมาก็ทาำ การเช็คอินเป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มละสี่ หา้ คน ผมมาสายเพราะต้องจับรถไฟ ต่อด้วยรถบัสกันให้วนุ่ วาย ใช้เวลาเดินทางจากที่พกั เกือบ 1 ชัว่ โมง แต่กค็ ุม้ กับการพักใน "ยุวอาราม" ซึ่ งผมแปลมาจากคำาว่า (Youth Hostel) ผิดถูกอย่างไรก็ขออภัย ยุวอารามที่วา่ นี้ เสี ยค่าที่พกั เพียงยีส ่ ิ บเหรี ยญ หรื อเจ็ดร้อยบาท ก็พอกับโรงแรม ำ น ต่างจังหวัดบ้านเรา แต่ในห้องมีเตียงอยูส่ ามเตียง เป็ นเตียงสองชั้นจึงสามารถพักได้หอ้ งละหกคน ห้องน้าเป็ ำ ำ นครับ ห้องน้ารวม และที่น่าหนักใจสำาหรับคนไทยเมืองร้อนอย่างเรา ก็คือการไม่มีนาอุ ้ ำ ่นให้อาบ1 ที่นี่อาบน้าเย็ เย็นแค่ไหนก็ประมาณออกมาจากตูเ้ ย็นบ้านเราน่ะ อาบได้ม้ ยั ล่ะ ไม่ได้กต็ อ้ งได้เสี ยแล้ว ในเมื่อความถูกมันไม่เคย ำ ว น้าเย็ ำ นก็ไม่ ปราณี ใคร ผมพบว่าถ้าเราตั้งจิตเอาไว้ที่ลมหายใจเข้าออก และไม่ไปปรุ งแต่งในความเย็นของน้าแล้ ำ ว่ ๆไป เอาตัวออกมาสังเกตุวา่ ร่ างกายเรามีเวทนาอย่างไร แล้วก็ไม่ไปเพิ่มเติมตรงน้าเข้ ำ าไป ก็ ต่างอะไรกับน้าทั สามารถอาบได้ตามปกติ พออาบไปเรื่ อยๆกลับพบว่าตอนหลังร่ างกายอุ่นขึ้นมาเอง เป็ นการตอบสนองตาม ธรรมชาติ การเช็คอิน (Check in) ใช้เวลาไม่นาน ต่างคนต่างเล่าว่ามาทำาไม และมีจุดประสงค์อะไร เหมือนกับการเช็ค อินของอาจารย์วิศิษฏ์ แต่ใช้เวลาน้อยกว่ามาก ปี เตอร์จะคอยควบคุมเวลาโดยตลอด ผมได้พบกับสาวน้อย มาริ สา จากนิวยอร์ค ชายวัยสู งอายุจากกัวเตมาลาชื่อ รู ดอล์ฟ หนุ่มชาวญี่ปุ่นซึ่ งอายุคงมากกว่าผมไม่เกินสามปี ชื่อ ริ ช และชาวอเมริ กนั ชื่อว่าชาร์ส ชาร์สเล่าว่าชีวิตเขาเปลี่ยนไปมากเมื่อได้เข้ากลุ่มเรี ยนรู้ปฏิบตั ิกบั ปี เตอร์ และได้มี โอกาสพบกับท่านดาไลลามะ ได้คน้ พบถึง "ทางเข้า" ของตนเอง และจึงได้มีความสนใจในเรื่ องนี้ ต้งั แต่น้ นั มาริ สาทำางานกับบริ ษทั เอบีซี โฮม ซึ่ งขายเฟอร์นิเจอร์สุดชิคที่มีกลิ่นอายตะวันออกร่ วมสมัย (www.abchome.com)
เรายังไม่ได้คุยอะไรกันมากปี เตอร์เข้ามาขัดและประกาศว่า ต้องเริ่ มแล้ว และเราจะ "เริ่ มด้วยการเริ่ ม" (Getting started by getting started) เพราะไม่ง้ น ั ก็จะคุยกันต่ออีกยาว ปี เตอร์ เซงเก ซึ่งเป็ นฮีโร่ ของผม มาในเสื้ อ เชิ๊ตแขนยาวสี ไข่ไก่ เป็ นฝรั่งผิวขาว อายุราวห้าสิ บต้นๆ ดูเป็ นนักวิชาการเต็มตัว ต่างจากอาจารย์ใหญ่ของเราที่จะ มาแบบสบายๆ ผมว่าอาจารย์ใหญ่ของเราดูมี "อะไร" ลึกๆ มากกว่าเยอะ ปี เตอร์ถา้ เดินตามถนนก็เป็ นฝรั่งคน หนึ่งที่ไม่มีอะไรสะดุดตาเกี่ยวกับเขาเลย จากนั้นจูด้ ี ซึ่ งเป็ นเสมือนผูน้ าำ รายการของเรา กล่าวเปิ ด รายการในวันนี้ ของเรา โดยเริ่ มจากการพูดถึงความยัง่ ยืน (Sustainability) โดยยกตัวอย่างว่าเราคงไม่จาำ เป็ นจะต้องพูดถึง ความยัง่ ยืนอะไรบ้าง ให้มองรอบๆตัวเราว่าอะไรคือความยัง่ ยืน ในบริ บทของบริ ษทั เธอยกตัวอย่างว่าเธอเคย ทำางานอยูใ่ นตึกของสายการบิน Pan-Am ซึ่งในเวลานี้ตึกเดียวกันเปลี่ยนเจ้าของเป็ น Met-Life แต่บางคนก็ 1
ำ ้งไว้นานมาก ปกติผมอาบน้าเร็ ำ วเลยยังไม่ทนั อ่าผมมารู ้ทีหลังแล้วมันมีนาอุ ้ ำ ่น หลังจากเขียนต้นฉบับไปแล้ว เพียงแต่ตอ้ งใช้เวลาเปิ ดน้าทิ ำ ่นในวันแรกๆ จะได้เจอน้าอุ
ไปเข้าใจว่าความยัง่ ยืนคือการลดจำานวนคู่แข่งให้เหลือน้อยที่สุด ที่พดู อย่างนี้คือยังมองสโคปของเรื่ องอยูแ่ ค่เพียง บริ ษทั ของตนเท่านั้น การจัดห้องยังเป็ นแบบห้องเรี ยนคือมีหน้าชั้นเป็ นผูส้ อน และผูเ้ รี ยนนัง่ เป็ นแถวหน้ากระดาน ยังไม่ใช่บรรยาการ ของ "วง" สุนทรี ยสนทนาที่ควรจะเป็ น แต่นี่คงเป็ นเพียงเวอร์คชอบเท่านั้น ยังไม่ได้เอาจริ ง ปี เตอร์ข้ ึนมมาเสริ มโดยกล่าวถึงว่า ความยัง่ ยืนกับความสมดุลนั้นมันเป็ นคนละเรื่ องกัน ธรรมชาติไม่เคยสมดุลย์ ฟริ จอป โชปราเขียนว่าชีวิตถึงกำาเนิดโดยการหนีออกจากความสมดุล และพยายามจะคงซึ่ งความไม่สมดุลย์น้ นั ไว้ จนกว่าจะคงไว้ไม่ได้ ซึ่ งก็ตรงกับคติของการวิปัสสนาทางพุทธที่บอกว่า ให้พิจารณาว่าเมื่อใดก็ตามที่มีการเกิด หรื อกำาเนิดสร้างขึ้น เมื่อนั้นก็จะมีความดับหรื อความเสื่ อมเกิดขึ้นเสมอ ปี เตอร์วา่ ต่อไปว่าเราทุกคนควรจะค้นหา "เข็มทิศ" ที่ต้ งั อยูใ่ นตัวเราเพื่อที่บอกว่าเราควรทำาหรื อไม่ควรทำาอะไร อันในทางพุทธก็คงเป็ นสิ่ งที่เรี ยกว่าสัมมา ทิฐิ หรื อความเห็นที่ถูกคลองธรรม ซึ่งตรงนั้นจะก่อกำาเนิดขึ้นมาได้กด็ ว้ ยการรู้จกั ตนเอง และฝึ กฝนอย่างจริ งจัง (Personal Mastery) ซึ่ งก็คงเปรี ยบด้วยการฝึ กวิทยายุทธแบบหนังจีน หรื อการฝึ กฝนก่อนจะมาเป็ นเจไดของ ลุค สกายวอล์คเกอร์ เมื่อพูดถึงการฝึ กฝนก็ตอ้ งพูดถึงการเรี ยนรู้ ปี เตอร์ยกตัวอย่าง "โยดา" คนหนึ่งซึ่ งเก่งมากใน การฝึ กสอนเทนนิส เขามีวิธีสอนที่ไม่เหมือนใคร ปี เตอร์เล่าให้ฟังว่าครั้งหนึ่งมีนกั เรี ยนเทนนิสมือใหม่ เป็ นผู้ หญิงวัยทำางาน มาเรี ยนกับเขา เขาสอนด้วยการปฏิบตั ิเลย ไม่มีการปูพ้ืนฐาน ไม่บอกท่ายืน เขาเริ่ มจากการตีลูก ไปหาผูเ้ รี ยน ซึ่ งเป็ นที่แน่นอนอยูแ่ ล้วว่าเธอคนนั้นจะตีไม่ถูกลูกเลย ลูกแล้วลูกเล่าผ่านเธอไป สิ บลูกอาจจะตีถูก เพียงลูกเดียว ทุกครั้งที่ตีไม่ถูกเธอจะครางออกมาว่า "ฉันพลาดอีกแล้ว ฉันตีไม่ถูกลูก" เขาก็จะถามกลับสั้นๆว่า "แล้วลูกมันไปทางไหนล่ะ?" เป็ นอย่างนี้ทุกครั้งไป เมื่อเธอโต้กลับไปได้สักระยะหนึ่งจากตีถูกเพียงลูกเดียวในสิ บลูก เธอก็เริ่ มที่จะตีมนั ถูกมาขึ้นเรื่ อยๆ จนกระทัง่ ตี ำ กครั้งที่เธอตีไม่ถูกอีกว่า "แล้วลูกมันไปทางไหน?" โดยไม่ได้สอนอย่างอื่นเลย ถูกลูกเกินครึ่ ง เขาก็จะถามซ้าๆทุ เมื่อเวลาผ่านไปยีส่ ิ บนาที เธอสามารถตีโต้ลูกกลับมาได้เกือบทุกลูกอย่างน่าอัศจรรย์ยิง่ แล้วเธอก็พ่ งึ มาเข้าใจว่าครู เทนนิสผูน้ ้ ีมีวิธีการสอนโดย "ไม่สอน" แต่เป็ นการกระตุน้ และปลุกเร้า "องค์ความรู้ภายใน" (Tacit Knowledge) ของเราที่มีอยูใ่ นทุกๆคน อยูใ่ นดีเอ็นเอ อยูใ่ นทุกอย่างที่ประกอบขึ้นมาเป็ นมนุษย์ และสำานึกรู ้ ตัวปัญญาตัวนี้มีความสามารถมากกว่าที่เราคิดมากมายนัก แต่ความเป็ นมนุษย์สมัยใหม่ที่แยกทำา แยกคิด แยกเรื่ อง ราวต่างๆออกมา ทำาให้เราคิดว่าเราทำาไม่ได้ สิ่ งที่ตอ้ งการก็คือครู หรื ออาจารย์ที่มีความเข้าใจ และมี "อุบาย" ที่ แยบยลในการ "ดึง" เอาความรู้ความสามารถตรงนี้ ของลูกศิษย์มาใช้ (ข้อสรุ ปเรื่ องการไม่สอนเป็ นของผูเ้ ขียน) ปี เตอร์รู้สึกทึ่งกับวิธีการสอนของครู เทนนิสผูน้ ้ี แต่กย็ งั ติดใจว่าวิธีการดังกล่าวนี้ จะได้ผลก็เฉพาะกับ "มือใหม่" เท่านั้น อาจจะใช้ไม่ได้กบั "มือโปร" ที่มีความเชี่ยวชาญและชำานาญในเรื่ องนั้นๆ ครู ผนู้ ้ ีบอกว่าไม่ยาก เพราะแก ก็เคยสอนจอห์น แมคแอนโรล ยอดนักเทนนิสอารมณ์ร้าย มาแล้ว เขาก็ใช้วิธีการเดียวกัน แต่จะแตกต่างกันก็ เพียงแทนที่จะถามแมคแอนโรลว่าลูกไปไหน ก็ถามว่าลูกเทนนิสนั้นมันไปกระทบที่ตวั อักษรตัวไหนที่สกรี นอยู่ บนเส้นเอ็น หรื อถามว่าที่ตีโต้กลับมาน่ะมันถูกเส้นเอ็นเส้นไหน ซึ่ งก็คล้ายคลึงกับที่ไทเกอร์ วูดส์เมื่อตีลูกกอล์ฟ แล้วทราบเลยว่าลูกกอล์ฟมีความอ่อนแข็งแค่ไหน หรื อดูวิถีของลูกก็บอกได้เลยว่าลูกกอล์ฟนั้นคุณภาพไม่ตรง ตามมาตรฐานการผลิตหรื อไม่ และดุจเดียวกับเบน โฮแกน นักกอล์ฟอัจฉริ ยะอีกคนหนึ่งที่สามารถบอกได้เลยว่า เมื่อเวลาที่ไม้กอล์ฟของเขากระทบกับลูก รอยบุ๋มบริ เวณไหนที่สัมผัสกับไม้กอล์ฟของเขา
จากนั้นโรเจอร์เข้ามารับช่วงพูดต่อ โรเจอร์บอกว่าสิ่ งที่สาำ คัญสำาหรับการทำางานทุกๆอย่างในองค์กรก็คือ การที่เรา ต้องมีเวลาที่จะย้อนดูในทุกสิ่ งที่เราได้กระทำามา เขาบอกว่าทุกๆเดือนควรจะมีการจัดช่วงเวลาเพื่อที่จะทำาการ "มองสะท้อน" (ซึ่ งผมขอเอาสองคำามารวมกันคือ "สะท้อน" และ "มองย้อน" จริ งๆควรจะเรี ยกว่า "มะท้อน" หรื อ "สะย้อน") ไปในทุกกิจการที่ผา่ นมาในเดือนนั้นๆ และถ้าจะให้ดีไปกว่านั้นทุกๆสี่ เดือนควรจะได้มีการมอง ย้อนไปถึงคุณภาพของการ "มองสะท้อน" ที่ผา่ นมาในแต่ละเดือนด้วย ซึ่งอันนี้ "น่าสนใจมาก" (เวลาพูดคำานี้ให้ นึกถึงหน้าอาจารย์ฌานเดช เพราะแกชอบพูดคำานี้ ) โรเจอร์บอกว่าการมองสะท้อนนั้นทำาได้ไม่ยากให้ถามตัวเองสี่ คาำ ถามซึ่ งก็คือ 1. เรากำาลังอยูท ่ ี่ใด (Where are we?) 2. เรากำาลังจะไปที่ใด (Where are we going?) 3. ทำาไมจึงต้องการไปที่นน ั่ (Why do we want to go there?) 4. แล้วอะไรๆที่ทาำ อยูม่ นั ดีแล้วหรื อยัง (How are we doing?)
จากนั้นก็พดู ถึงวิธีการของการทำาการมองสะท้อนซึ่ งก็ได้วาดรู ปให้ดูสองรู ป ซึ่ งก็คือรู ปสามเหลี่ยม และวงกลม เขาบอกว่าสามเหลี่ยมเป็ นสัญญลักษณ์ของกระบวนทัศน์เก่า ซึ่งประกอบไปด้วยเจ้านายแล้วสั่งลงมาตามลำาดับขั้น พนักงานระดับล่างมีหน้าที่ทาำ ตามคำาสั่งโดยไม่ตอ้ ง "คิด" แต่เขาบอกว่าในปัจจุบนั มันควรจะเป็ นแบบวงกลม ก็ คือทุกๆส่วนควรจะมีวงกลมเล็กๆ ไม่วา่ จะอยู่ ณ.ที่ใดขององค์กร ก็คือพูดเรื่ อง Circle of Practice ที่คุณ หมอประเวศ ท่านระพี สาคริ ก และอาจารย์วจิ ารณ์ กล่าวถึงอยูเ่ สมอนัน่ เอง แล้วโรเจอร์ช้ ีให้ดูวา่ วิธีการพูดคุย กันแบบวงกลมเป็ นไดอาล๊อกนี้ เป็ นวิธีการเพียง "วิธีการเดียว" ที่ตอ้ งนำาไปใช้ เพราะต้องการให้ทุกคน "หันหน้า เข้าหากัน" เพื่อที่จะเกิดปัญญา และขจัดปัญหาต่างๆในองค์กร (เขียนมาถึงตรงนี้รู้สึกเลยว่านี่เป็ นความรู้สึกร่ วม กันทัว่ โลก ไม่วา่ จะเป็ นเชียงราย นครสวรรค์ กรุ งเทพฯ หรื อแม้แต่อเมริ กา) เขาได้เล่าประสบการณ์อีกมากมายที่ ได้นาำ วิธีการนี้ไปใช้และได้ผลดี แต่ได้เตือนว่าวิธีการพวกนี้ เป็ นเรื่ องเฉพาะตัวและเฉพาะเหตุการ์ไม่มีสูตรสำาเร็ จ แม้แต่ตวั เขาเองก็ไม่รู้มาก่อนว่าจะทำาได้สาำ เร็ จหรื อไม่ สิ่ งสำาคัญก็คือการตั้งใจมัน่ (สมาธิ ) และมีความกล้าที่จะทำา ในสิ่ งที่ถูกต้อง (สัมมาวายามะ) ไม่จาำ เป็ นต้องบอกเจ้านายเสมอไปเพราะรู้อยูแ่ ล้วว่าเจ้านายบางคนไม่เข้าใจเรื่ อง พวกนี้ และสุ ดท้ายก็คือจะต้อง "ปล่อยวาง" และไม่พยายามที่จะควบคุมเหตุการณ์ หรื อแม้แต่คน มีคาำ ถามหนึ่งที่เกิดขึ้นในวงสนทนาว่าเราจะทำาอย่างไรกับสมาชิกบางคนที่ไม่เปิ ดใจ และไม่ตอ้ งการเข้ามามีส่วน ร่ วม โรเจอร์บอกว่าก็ให้โอกาสก่อน แต่ถา้ ถึงที่สุดแล้วคิดว่าไม่สามารถเข็นต่อไปได้กไ็ ล่ออก และตัวเขาเองก็เคย ไล่คนออกเพราะสาเหตุน้ ีมาแล้วเป็ นสิ บคน ถึงตรงนี้ผถู้ ามก็อ้ ึงไปเล็กน้อย และเปรยว่านึกว่าจะได้คาำ ตอบที่มี เมตตากรุ ณากว่านี้ (compassionate answers) ปี เตอร์กเ็ ลยเสริ มเข้ามาว่าเมตตาให้กบั "ใคร" จะต้องเลือก เอาหรื อไม่ระหว่างการเก็บคนที่เข็นไปไปและต่อต้านระบบ กับคนหมู่มากที่พร้อมที่จะเปิ ดใจ ปี เตอร์บอกต่อไป ว่าบางครั้งเป็ นเรื่ องตลกที่เราไม่พร้อมที่จะไล่คนสองคนออกไป แต่สามารถทำาการปลดคนออกสองพันคนได้โดย ไม่รู้สึกรู้สาอะไร และการที่เราเก็บคนเหล่านี้ เอาไว้ในระยะยาว ระบบจะเสื่ อมถอย คุณภาพโดยรวมของการ ทำางานขององค์กรลดลง ในท้ายที่สุดต้องปลดคนออกเป็ นพันๆคน เราควรจะเลือกเอาว่าแบบไหนกันแน่ที่เรา ต้องการ
ในท้ายของการพูดคุยกันมีการพูดถึงเรื่ องของการฟังว่า มีขอ้ แตกต่างระหว่างการ "ฟัง" กับการ "รอ" ที่จะพูด และสิ่ งที่เรามักจะทำากันบ่อยๆก็คืออย่างหลัง ในระหว่างที่เราฟังนั้นสิ่ งที่เรารับเข้ามาประกอบกับ "กรอบคิด" (Mental Models) ของเรานั้น อยูใ่ นโหมดออโตเมติก บางครั้งเรายังไม่ได้ฟังจบประโยคเราก็ไปเหมาเอาเสี ย แล้วว่าผูพ้ ดู กำาลังจะสื่ ออะไร อันที่จริ งแล้วกระบวนการที่เราคิดว่าเรา "เข้าใจ" นั้นเป็ นการปรุ งแต่งภายในจิตของ เราเองจนหมดสิ้ น จากนั้นเราก็จะอยูใ่ นขั้นตอนการปั้ นแต่งความคิดเห็น และจัดสรรมันออกมาเป็ นการตอบ สนองที่อยูใ่ นรู ปของ วจนภาษา และอวจนภาษาต่างๆ ซึ่ งก็คือการรอที่จะพูดนัน่ เอง ซึ่งเราทุกคนจะเก่งมากใน การมองหา "ช่องว่าง" ที่จะพูด ถ้าฝ่ ายตรงข้ามหยุดหายใจ หรื อเปลี่ยนอริ ยาบทเมื่อไหร่ ละก็ "เสร็จเรา" เราก็จะ โพล่งออกมาแทรกด้วยคำาพูดที่เราได้คิดคำานึงเอาไว้แล้วทันที บางทีนี่กระมังที่ทาำ ให้ใครหลายๆคนเรี ยนรู้ที่จะพูด โดยไม่ให้ถูก "แทรก" ได้ โดยการพูดเสี ยเร็ วปรื๋ อ ด้วยจังหวะจะโคนที่รวบตรึ งผูฟ้ ังให้อยูน่ ิ่งๆ "สะกด" ให้เงี่ยหู ฟังเขาเพียงอย่างเดียว มันน่าเศร้าที่ในสังคมมีคนแบบนี้ อยูม่ าก และมักจะได้รับการชื่นชมยกย่อง และถูกขนาน นามว่าเป็ น "นักพูด" ผมยังไม่เคยเห็นใครถูกขนานนามว่าเป็ น "นักฟัง" ที่เก่งกาจและได้รับการชื่นชมยกย่อง จากสังคมแม้แต่คนเดียว
วันที่หนึ่งภาคบ่ าย SOL Workshop อังคารที่ 27 มีนาคม 2550 ภาคบ่าย ่หลังจากนั้นเราไปเบรคกาแฟ สังเกตุเห็นสิ่ งแรกเลยก็คือถ้วยกาแฟของโรงแรมแห่งนี้ เป็ นแก้วสู ง ขนาดประมาณ 16 ออนซ์ ไม่มีจานรอง ซึ่ งก็รับกับขนาดของ "ฝรั่ง" ที่ทานเยอะ ดื่มเยอะกว่าเราอยูแ่ ล้วโดยทัว่ ไป ผมชอบการที่ ำ ่ใช้ในการล้าง เป็ นการไม่ประหยัด ไม่ตอ้ งมีจานรอง เพราะการมีจานรองก็คือการสิ้ นเปลืองน้าที ำ ทรัพยากรธรรมชาติ ทุกวันนี้กย็ งั ไม่เข้าใจว่าเพราะเหตุใดเราจักต้องมีจานรองแก้ว จะว่าเพื่อกันน้ากาแฟหก เลอะเทอะ แต่ถา้ แก้วเป็ นทรงสู งขึ้นเสี ยแล้ว การหกเลอะเทอะก็เกิดได้ยากขึ้น ทุกวันนี้ที่ประเทศไทยเราใช้แก้ว กาแฟขนาดเล็กคือ 8 ออนซ์ ซึ่ งมักจะมากับถาดรอง ที่มีไว้เพื่อวางอาหารว่าง ทุกที่ทุกแห่งก็เห็นใช้กนั อย่างนี้ โดย ไม่ได้มีการตั้งคำาถามว่าทำาไมเราต้องใช้ภาชนะในลักษณะนี้ ข้อดีของถาดรองก็คือเวลาทานอาหารว่างไม่หล่น เลอะเทอะ ถามว่าแล้วฝรั่งเขาทำาอย่างไรเขาก็ใช้กระดาษเช็ดปากรองแล้วเดินถือ ซึ่ งก็สิ้นเปลือง ทรัพยากรธรรมชาติกค็ ือ "กระดาษ" อีก คำาถามที่น่าสนใจก็คือประเทศๆหนึ่งนั้นมักจะมีสั่งสมองค์ความรู้อะไรบางอย่างเอาไว้ สิ่ งที่เราได้พบเห็นก็เป็ น ำ งที่จมอยูใ่ นน้าำ มันยังมีอะไรที่เป็ นที่มาที่ไปอีกมากมาย แต่ถามว่ากล้าที่จะเปลี่ยนหรื อไม่ กล้า เพียงยอดภูเขาน้าแข็ ที่จะเปิ ดใจรับในสิ่ งใหม่ๆหรื อไม่ กระบวนการเรี ยนรู้โดยการสังเกตุและเลียนแบบ เช่นการจะใช้แก้วกาแฟแบบ ใด เป็ นปัญญาที่สั่งสมมาโดยสังคม ซึ่ งเราหยิบมาใช้โดยไม่ตอ้ งคำานึง แต่จะเกิดอะไรขึ้นถ้ามีใครตั้งคำาถามกับทุก สิ่ งทุกอย่าง? เช่นถามว่า "ทำาไมจะต้องใช้แก้วกาแฟในลักษณะนี้ เพื่อเสริ ฟกาแฟในโรงแรม?" อาจจะดูเป็ น คำาถามที่ธรรมดาสามัญ แต่ใครจะรู้วา่ คำาตอบอาจจะมีอะไรที่ "ไม่ธรรมดา" ก็ได้ กลับจากพักดื่มกาแฟ ผมเห็นหลายคนเดินถือถ้วยกาแฟกลับมาที่ประชุม ผมก็เป็ นคนหนึ่งที่ติดกาแฟและชอบที่ จะเดินถือถ้วยกาแฟมานัง่ ฟังสัมมนาเสมอ แต่บางครั้งไม่ค่อยเห็นคนไทยคนอื่นที่ปฏิบตั ิแบบเดียวกันนี้ จึงรู้สึกว่า ผิดแผกแตกต่างจากคนอื่น แต่ที่นี่ดูผคู้ นเขาทำากันเป็ นเรื่ องธรรมดา เริ่ มในช่วงต่อไป เวทีเป็ นของฮีโร่ ของผมก็คือ ปี เตอร์ เซงเก อย่างที่บรรยายไปแล้ว ปี เตอร์เป็ นฝรั่งผิวขาวที่ดู เหมาะกับการเดินตีกอล์ฟอยูใ่ นคันทรี คลับหรู ๆ หรื อยืนอยูห่ ลังพวกมาลัยเรื อยอร์ชได้อย่างไม่ขดั เขิน ไม่น่าเชื่อว่า เขาผูน้ ้ ีเป็ นผูน้ าำ ด้านองค์กรแห่งการเรี ยนรู้ระดับโลก ช่วงนี้เป็ นเหมือนการเลคเชอร์เล็กๆจากปี เตอร์ เริ่ มด้วยการให้คาำ คมว่า การเรี ยนรู้ในทุกเรื่ อง ไม่ควรจะปล่อยตาม มีตามเกิด หรื อให้เกิดขึ้นโดยความบังเอิญ เราทุกคนควรจะมี "แผนการรบ" หรื อแนวทางที่แยบยลในการเรี ยนรู้ ในเรื่ องต่างๆ ที่สาำ คัญก็คือจะต้องมีเครื่ องมือที่ถูกต้องและเหมาะสม ซึ่งปี เตอร์เรี ยกมันว่า "แก่นกลางแห่ง ปรี ชา" (Core Learning Capacity) ในแก่นกลางนี้จะต้องประกอบไปด้วย 1. Aspiration (ความเพียรชอบ หรื อสัมมาวายามะ และสัมมาสมาธิ คือความตั้งใจมัน่ ) 2. Reflective Conversation (น่าจะเกี่ยวข้องกับ สัมมาสติ )
3. Understand Complexity (สัมมาทิฐิ และสัมมาสังกัปปะ)
ในเรื่ องแรกคือ Aspiration นั้นปี เตอร์อธิบายถึงความเพียรในการเรี ยนรู้และเข้าใจในตนเอง รู้วา่ ตัวเองต้องการ อะไร รู้วา่ ความหมายของการดำารงอยูข่ องตนคืออะไร และหมัน่ ฝึ กตนเพื่อให้รู้แจ้ง และรู้จกั ตน (Personal Mastery) เพราะบ่อยครั้งในชีวิตของการทำางานในองค์กรนั้น เราอยูท ่ ่ามกลางความวิกฤติของการแก้ปัญหา เฉพาะหน้า (Crisis of Solving Problems) เสี ยจนลืมหรื อละเลยที่จะหันกลับเข้ามามองตน พัฒนาจิต วิญญานภายใน ปี เตอร์เปรี ยบเทียบให้ดูอย่างน่าฟังว่า บางครั้งการทำาเช่นนั้นถ้าดูอย่างผิวเผินแล้วก็ไม่เห็นมีปัญหา อะไร องค์กรก็ดาำ เนินต่อไปได้เรื่ อยๆ พนักงานก็ปฏิบตั ิงานต่อไปเรื่ อยๆเช่นกัน แต่กม็ ีขอ้ แตกต่างระหว่างการมี "สุ ขภาพดี" กับ การ "ไม่ป่วยเป็ นโรค" ซึ่ งอย่างหลังมักจะถูกนำาไปใช้เป็ นตัวชี้ วดั "สุ ขภาพ" ไม่วา่ จะเป็ นของ คน หรื อองค์กรก็ตาม แต่มนั ไม่ถูก เครื่ องมืออย่างที่สองก็คือ การสนทนาเชิงสะท้อนป้ อนกลับ (Reflective Conversation) ซึ่ งมันจะไปเกี่ยว กับเรื่ อง กรอบคิด (Mental Models) สุนทรี ยสนทนา (Dialogue) ซึ่ งปี เตอร์บอกว่าถ้าหากไม่มีตรงนี้ เสี ย แล้ว เป็ นการง่ายที่เราจะไปติดกับภาพเดิมๆ หรื อ "เทปม้วนเก่า" ของเรา ซึ่ งเป็ นอุปสรรคของการเรี ยนรู้ เขาชี้วา่ มนุษย์เราจะเรี ยนรู้ผา่ นทาง "ภาพปรากฏ" ภายในที่จิตใจของเราสร้างขึ้น ซึ่ งตรงกับคติพทุ ธเรื่ องของ "พีช" ที่ มิใช่ความเป็ นอยูอ่ ย่างนั้นเองของสรรพสิ่ ง ซึ่ งจะปรุ งแต่งต่อไปให้เราฟังในสิ่ งที่เราต้องการจะฟัง (Selective Perception) และไม่สามารถจะหลุดออกไปจากกรอบของเราเพื่อสร้างปั ญญาใหม่ๆ เขาตัวอย่างเรื่ องของบริ ษทั เชลล์ที่ได้พฒั นากระบวนการนี้ ไปใช้เพื่อเปลี่ยนแปลงกรอบคิดของผูบ้ ริ หารระดับสู ง ให้หลุดจากกรอบคิดเดิมๆ มีอยูช่ ่วงหนึ่งที่เชลล์กลุ่มผูบ้ ริ หารรุ่ นใหม่ได้ทาำ การวิเคราะห์และพบว่า โลกในยุคสมัย ำ นที่หนักหนาสาหัสมาก แต่ความพยายามที่จะสื่ อสารให้เกิดกระบวนการ นั้นกำาลังจะเข้าสู่ วิกฤติการณ์ของน้ามั รับมือกับวิกฤติการณ์น้ ี ไม่เป็ นผล เพราะผูบ้ ริ หารระดับสู งนั้นยังไม่หลุดจากกรอบเดิมๆ และไม่คิดว่าโลกและ สถานการณ์ต่างๆสามารถที่จะเปลี่ยนแปลง ได้อย่างพลิกผันในเวลาข้ามคืน เพราะต้องจำาไว้วา่ เหตุการณ์ในระดับ นั้นยังไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในโลกเลย กลุ่มผูบ้ ริ หารรุ่ นใหม่จึงได้จาำ ลองสถานการณ์ข้ึนมาสามแบบ ซึ่ งหนึ่งในนั้นก็คือการเกิดวิกฤตการณ์ข้ ึนโดยไม่มี การเตรี ยมการรับมือ และได้ทาำ เป็ นการนำาเสนอด้วยภาพและเสี ยงอย่างตื่นตา ซึ่งในแบบจำาลองหนึ่งในนั้นแสดง ให้เห็นชัดเจนว่าบริ ษทั เชลล์ถา้ หากไม่เตรี ยมการรับมือ ก็จะมีความสู ญเสี ยจนถึงขั้นที่จะต้องล้มละลายขายบริ ษทั เมื่อวิกฤติการณ์น้ นั ผ่านพ้นไป ผลก็คือผูบ้ ริ หารระดับสู ง "หลุด" ออกจากกรอบความคิดเดิมๆ และมอบหมายให้ ผูบ้ ริ หารรุ่ นใหม่เหล่านี้ ดาำ เนินการรับมือกับสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้ น และการณ์ปรากฏในภายหลังว่าเชลล์เป็ น ำ นเจ็บเนื้อเจ็บตัวไปตามๆกัน บริ ษทั เดียวที่สามารถทำากำาไรเพิ่มขึ้น ในขณะที่แทบทุกบริ ษทั ในอุตสาหกรรมน้ามั บทเรี ยนตรงนี้กค็ ือว่าทุกๆคนจะมี "ภาพของความเป็ นจริ ง" อยูภ่ ายใน ถ้าเป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ของเราก็คือเรามี ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System) ในเวอร์ชนั ของเราเอง จริ งๆแล้วก็คือ "ของใครของมัน" ข้อมูลที่รับ เข้าไปจาก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มันไปทำาได้แต่เพียงก่อให้เกิด "ภาพแทน" ของความเป็ นจริ ง ตรงนี้เองที่เรา ไม่สามารถไปเปรี ยบเทียบกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ได้ เพราะคอมพิวเตอร์เวลารับข้อมูลและบันทึกไว้ จะมีความ เป็ นสากลก็คือจะคงสภาพที่เหมือนกันเอาไว้ไม่วา่ จะเป็ นคอมพิวเตอร์เครื่ องใดๆ แต่คนเราไม่ใช่ เมื่อเรา "เซฟ ไฟล์" เอาไว้แล้ว ไฟล์น้ นั อาจจะแตกต่างกันสุ ดขั้วโลก หรื อละม้ายคล้ายคลึงกันก็ตามที แต่แน่นอนว่าจะไม่มี ของใครเหมือนกัน
สุ ดท้ายปี เตอร์ได้แนะพวกเราถึงเครื่ องมืออันหนึ่ง ที่จะทำาให้เราเริ่ มเข้าใจถึงกระบวนการของการทำางานของจิต เครื่ องมือนี้มีชื่อว่า "บันไดแห่งการอนุมาน" (Ladder of Inference) ซึ่ งเป็ นเครื่ องมือที่นกั มานุษย์วิทยาได้ คิดค้นขึ้น เหตุเพราะในสายงานที่ทาำ อยูน่ ้ นั มีความจำาเป็ นอยูเ่ องที่นกั มานุษย์วิทยาจะต้องสัมผัสกับอารยธรรมเก่า แก่ และมีอยูบ่ ่อยครั้งที่จะต้องตีความและตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่คน้ พบ จากหลักฐานเพียงข้อมูล แวดล้อม มิฉะนั้นแล้วก็จะเป็ นไปไม่ได้เลยที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อเชื่อมโยงองค์ความรู้ในสาขาเข้าหากัน "บันไดแห่งการอนุมาน" นี้เริ่ มต้นให้เรานึกถึงว่าที่พ้ืนห้องของเราเปี ยกน้าำ "น้าำ " ในที่น้ ีกค็ ือตัวแทนของข้อมูล
ดิบที่เรารับผ่านอาตยนะทั้ง 5 ซึ่ งไม่ได้จาำ กัดแต่เพียงวจนภาษาเท่านั้น อาจจะเป็ นอวจนภาษา หรื อภาษากายที่ แสดงออก สี หน้า ท่าทาง การแต่งกายก็ได้ จากนั้นมีบนั ไดอยูส่ ามขั้น ซึ่งบันไดนี้กเ็ ป็ นตัวแทนแห่งกลไกของจิต ในการแปลความหมาย และรับเข้ามาเป็ นส่ วนหนึ่งของ "ระบบปฏิบตั ิการของเรา" บันไดขั้นแรก (ตามรู ป) ก็คือ การ "การตีความอย่างปัจจุบนั ทันด่วน" (Immediate Interpretation) ซึ่ งแน่นอนว่าจากข้อมูลที่เราได้รับมา จะเกิดการใช้ความรู้สึกนึกคิด บรรทัดฐานของสังคม วัฒนธรรม และบริ บทต่างๆเข้ามา "ฟันธง" ในเรื่ องนั้นๆ ได้ทนั ทีโดยที่แทบไม่ตอ้ งผ่านการใคร่ ครวญแต่อย่างใด เช่นถ้าเราเล่าเรื่ องอะไรให้เพื่อนชนชาติอเมริ กนั แล้วเขา ผงกหัว (ข้อมูล) เราสามารถตีความทันทีเลยว่าเขายอมรับ แต่ถา้ พูดกับคนญี่ปุ่นซึ่ งมีวฒั นธรรมที่แตกต่าง การ ผงกหัวไม่ได้แปลว่ายอมรับ หรื อเห็นด้วย เพียงแต่บอกว่า "ฉันได้ยนิ ที่คุณพูด" เท่านั้น ส่วนบันไดขั้นที่สอง ซึ่ งปี เตอร์เรี ยกว่า "การทึกทัก" (Attributions) ว่าคนอื่นมีความต้องการอย่างนั้นอย่างนี้ หรื อมีความเชื่ออย่าง ใดอย่างหนึ่ง ส่วนบันไดขั้นสุ ดท้ายก็คือการ "ตีขลุม" (Generalizations) โดยจัดหมวดหมู่ จัดกลุ่มแล้วพะ ยีห่ อ้ ให้กบั พฤติกรรมนั้นๆให้เสร็ จ ยกตัวอย่างเช่นถ้ามีใครไปเห็น ดาราสาวคนหนึ่งไปจับมือถือแขนควงกันในห้างสรรพสิ นค้า หรื อมีภาพหลุดถ่าย ขณะกำาลังหอมแก้มกัน สิ่ งแรกที่คนส่ วนใหญ่จะทำาก็คือเราจะตีความอย่างปัจจุบนั ทันด่วนก่อนเลยว่า สองคนนี้ เป็ นแฟนกัน ทั้งๆที่อาจจะไม่ได้มีอะไรกันเลยก็ได้ จากนั้นก็จะ "ทึกทัก" ซึ่งเป็ นบันไดขั้นที่สอง เช่นทึกทักว่า ดาราสาวคนนั้นมีนิสัย "แร่ ด" ชอบเฟลิตกับผูช้ ายไม่เลือกหน้า จะเห็นว่าเราสรุ ปเช่นนี้ จากการได้ขอ้ มูลมาเพียง เสี้ ยวเดียว จากหน้าหนังสื อพิมพ์เท่านั้น ไม่ได้ไปรู้จกั มักจี่อะไรกับเธอ อย่างนี้จึงเรี ยกว่าการทึกทัก หรื อไปทึกทัก ว่าฝ่ ายชายนั้นเป็ นคาสิ โนว่า มีนิสัยชอบฟันแล้วทิ้ง แล้วก็เลย "ตีขลุม" แบบเหมารวมไปเลยว่า "ไอ้พวกดาราวัย รุ่ นก็อย่างนี้ ไม่รักนวลสงวนตัว วันๆชอบแต่มวั่ เซ็กส์" ซึ่ งเป็ นบันไดขั้นสุ ดท้าย หรื อถ้าเป็ นในสถานที่ทาำ งานเราก็พบเห็นได้เป็ นประจำา ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราส่ งเรื่ องอะไรไปให้กบั ผูบ้ ริ หารแล้ว หายเงียบไม่มีการตอบรับใดๆเลย เราจะตีความอย่างปัจจุบนั ทันด่วนก่อนเลยว่า เรื่ องนี้ "ถูกดอง" อีกแล้ว จาก นั้นก็จะ "ทึกทัก" เอาเองว่าผูบ้ ริ หารไม่เห็นด้วยกับเรื่ องนี้ หรื อไม่ชอบหน้าเราเป็ นการส่ วนตัว หรื อไม่กท็ ึกทักว่า ผูบ้ ริ หารนั้นใกล้ที่จะเกษียณแล้วคง "ไม่กล้า" ที่จะตัดสิ นใจที่จะทำาอะไรที่เสี่ ยง สุ ดท้ายก็สรุ ป "ตีขลุม" ไปเลย ว่า "เจ้านายส่วนใหญ่กแ็ บบนี้ แก่เพราะกินข้าว เฒ่าเพราะอยูน่ าน เห็นแต่ประโยชน์ส่วนตัว" ซึ่ งไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องใดก็แล้วแต่ ถ้าหากขบวนการรับรู้น้ นั ก้าวไปสู่ บนั ไดขั้นที่สามแล้ว "พฤติกรรม" ของเราที่ แสดงออกมาก็จะสะท้อนความเชื่อที่เรา "โปรแกรม" เอาไว้ในสำานึกรู้ของเราเสมอ จะเห็นว่าถ้าเรามอง ขบวนการรับรู้อย่างลึกซึ้ งแล้ว การแสดงออกภายนอกเช่นการพูดการจา ภาษากายก็เป็ นเพียงแค่ยอดของ ำ งเท่านั้น ถ้าเราต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของใครจะต้องศึกษาเรื่ องนี้ ไม่วา่ จะเป็ นผูท้ ี่ตอ้ งการ ภูเขาน้าแข็ เปลี่ยนแปลงสังคม ครู บาอาจารย์เองก็ตามที บางทีเราอาจจะต้องเปลี่ยนจาก "ฐานราก" ของการรับรู้นี่เลยทีเดียว
กลับมาที่หอ้ งอบรม ปี เตอร์ให้พวกเราลองทดสอบแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยแบ่งเป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4 คน แล้วให้ผลัดกันพูดเรื่ องเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตสั้นๆ แล้วให้แปลความหมายออกมาเป็ นบันไดแห่งการอนุมาน ว่าในเหตุการณ์ดงั กล่าวที่เกิดขึ้นเราได้อาศัยการ ตีความอย่างปัจจุบนั ทันด่วน ทึกทัก หรื อตีขลุมกันแน่ และถ้าไม่ แน่ใจก็ให้เพื่อนๆในกลุ่มช่วยกันพิจารณา แต่มีขอ้ แม้วา่ การเล่าเหตุการณ์ดงั กล่าวนั้นจะต้องเล่าเพียงสั้นๆ เพราะ ถ้าเล่ายาวปี เตอร์บอกว่าเราก็หนีไม่พน้ ที่จะ "แก้ตวั " หรื อหาเหตุผลมาสนับสนุนกับการกระทำาในอดีตของเรา ซึ่ ง ตรงนั้นไม่ใช่วตั ถุประสงค์ของการทำากิจกรรมนี้ และเขายังบอกอีกด้วยว่าไม่จาำ เป็ นจะต้องหาคำาตอบว่าใครถูก ใครผิดในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แค่ให้ "ตระหนักรู้" ว่ามันได้เกิดขึ้นก็เป็ นพอ เรื่ องสุ ดท้ายที่เราคุยกัน จูด้ ี บราวน์ ซึ่งเป็ นหนึ่งในผูก้ ่อตั้ง SoL บอกว่าเขานึกถึงเรื่ อง รู ปกรวยในกล่องทึบ (Cone in a Box) ซึ่ งถ้าเจาะรู ดา้ นข้างจะมองเห็นเป็ นสามเหลี่ยม แต่มองด้านบนจะเห็นเป็ นวงกลม ก็คง คล้ายคลึงกับเรื่ องของ "ตาบอดคลำาช้าง" อันมีที่มาจากพุทธประวัติ (กิรสู ตร) ที่เราทุกคนคุน้ เคยกันดีอยู่ แล้ว สรุ ปให้ฟังว่าเหตุที่เราจะต้องมาร่ วมด้วยช่วยกันในทุกๆเรื่ อง นั้นก็เนื่องจากแต่ละคนมีภูมิปัญญา มีญานทัสนะที่ แตกต่างกันไป การดึงเอาภูมิปัญญาเหล่านั้นออกมา เพื่อแก้ไขปัญหาในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจึงเหมือนกับการเจาะรู ที่ กล่องเพิม่ เติม เพื่อที่วา่ ในที่สุดเราจะได้คาดเดาได้ใกล้เคียงกับความเป็ นจริ งว่า วัตถุที่อยูใ่ นกล่องนั้นจริ งๆแล้วมี รู ปร่ างแบบใดกันแน่ หรื อเข้าทำานองที่อาจารย์ใหญ่เคยว่าไว้วา่ คนเราส่ วนใหญ่คุน้ เคยอยูอ่ าศัยในมิติของตนเอง โดยไม่ได้มีสาำ นึกรู้ถึงมิติอื่นๆ จะไปอธิบายอย่างไรก็ไม่มีวนั จะเข้าใจ ก็เปรี ยบเสมือนกับตัวอมีบาซึ่ งเป็ นตัว แบนๆ มันย่อมไม่รับรู้วา่ จริ งๆ แล้วโลกนี้มนั เป็ นสามมิติ การผสมผสานความรู้จากหลายแหล่ง ต่างมุมมองจะ เป็ น "คำาตอบ" ให้เราได้ภาพของความจริ งที่ชดั เจนที่สุด ซึ่ งสิ่ งนี้เป็ นคนละเรื่ องกับประชาธิปไตย จูด้ ียกตัวอย่างให้ฟังว่าจะเกิดอะไรขึ้นถ้า 80% ของคนทั้งประเทศมอง เข้าไปในกล่องแล้วโวตว่า สิ่ งที่อยูใ่ นกล่องคือรู ปสามเหลี่ยม ส่วนอีก 20% โวตว่าเป็ นรู ปวงกลม จะเห็นได้ชดั ว่าเสี ยงส่วนใหญ่กไ็ ม่ใช่จาำ เป็ นว่าจะถูกต้องเสมอไป ส่วนอีก 20% ที่เป็ นเสี ยงส่ วนน้อยก็ไม่ใช่ฝ่ายถูกอีกเหมือน กัน ดังนั้นถ้าเรายังอาศัยการชนะคะคานจากเสี ยงส่วนใหญ่เป็ นหลัก หรื อยังเห็นว่าให้ใจสงสารกับเสี ยงส่วนน้อย นั้น ว่าเป็ นตัวเลือกที่ถูกต้องอย่างไม่ลืมหูลืมตา เราก็จะไม่ได้เห็น "ภาพแห่งความจริ ง" ที่อยูใ่ นกล่องทึบนั้นเลย ดังนั้นหน้าที่ที่สาำ คัญที่สุดของผูน้ าำ ที่จะต้องทำาก็คือ "เปิ ดพื้นที่" สร้างโอกาสให้ทุกคนได้เข้ามามีส่วนร่ วม สร้าง บรรยากาศที่คนฉลาด หรื อพูดเก่งไม่ได้พดู เสี ยงดังที่สุด และคนที่ไม่ค่อยได้พดู หรื อพูดไม่เก่งได้มี "เวที" เพื่อ สนทนาหารื อร่ วมกันอย่างเท่าเทียม อบอุ่น และปลอดภัย
วันที่สอง : เริ่มต้ นฟอรั มวันแรก พุธที่ 27 มีนาคม 2550 หลังจากที่เมื่อวานได้เข้าเวอร์คชอปกันไปแล้ว วันนี้เป็ นวันเริ่ มแรกของการอบรมของจริ ง ผมทำาเวลาได้ดีข้ ึนใน วันนี้ จับทางได้วา่ เวลาที่ข้ ึนรถไฟ MARTA นั้นจริ งๆแล้วใช้เพียง 20 นาที แต่เนื่องจากรถไฟมาทุกๆสิ บนาที ดังนั้นก็ข้ ึนอยูก่ บั ว่าผมจะโชคดีมาถึงแล้วต้องรอนานหรื อไม่ สิ่ งที่น่าสนใจของการขนส่ งมวลชนของ Atlanta ก็คือโดยเนื้อแท้แล้วเมืองของเขาเป็ น "เมืองรถ" ไม่ใช่ "เมืองคน" หมายความว่าตัวเมืองออกแบบมาให้เป็ นเมือง ของผูท้ ี่มีรถยนต์ขบั เป็ นหลัก ดังนั้นจะเห็นว่าสถานที่ต่างๆในเมืองจากอยูห่ ่างๆกันมีเนื้ อที่มากมาย ที่จอดรถ มากมายอยูห่ น้าตัวอาคาร ห้างร้านต่างๆ ส่วน MARTA หรื อรถไฟขนส่ งมวลชนของเขาซึ่ งอยูท่ ้ งั ใต้ดิน และ บนดินนั้นก็เป็ นส่ วนเสริ ม ทำาให้การเดินทางนั้นมีความสะดวกขึ้น แต่เป็ นที่สังเกตุวา่ ถ้าสถานนีไหนที่อยูไ่ กล ออกไปจากตัวเมืองก็ยงั ต้องต่อรถบัสอีกที การขยายตัวของเมืองของ Atlanta นี้มีชื่อเรี ยกเป็ นภาษาอังกฤษว่าเรี ยกว่า Urban Sprawl ซึ่ งใช้เรี ยกการ ขยายตัวออกของเมืองไปยังชานเมือง ซึ่งผมก็ยงั ไม่แน่ใจว่ากรุ งเทพฯจะใช้เรี ยกแบบนี้ ได้หรื อไม่เพราะมองไปตรง ไหนก็เป็ น Urban หรื อเมืองใหญ่หมด ลักษณะของการขยายความเจริ ญไปยังชานเมืองอย่างที่ Atlanta นี้มี ลักษณะอยูส่ ามอย่างก็คือ การใช้พ้ืนที่ในลักษณะเชิงเดี่ยว เช่นถ้าบริ เวณใดเป็ นที่อยูอ่ าศัยก็เป็ นเพียงที่อยูอ่ าศัย ส่วนบริ เวณใดเป็ นสำานักงาน ร้านค้า ก็จะจัดให้มาอยูใ่ นพื้นที่โซนเดียวกัน แบบที่สองก็คือความหนาแน่นต่าำ นัยว่าบ้านเรื อนอยูห่ ่างกัน สำานักงานร้านค้าไม่ได้อยูต่ ิดกันเป็ นแพ แต่มีคนั่ ด้วยลานจอดรถหรื อสวนสาธารณะ ซึ่ง ทั้งสองอย่างนั้นก็เลยเป็ นที่มาของลักษณะที่สามก็คือผูค้ นที่อยูอ่ าศัยในบริ เวณชานเมืองแบบ Sprawl นี้กเ็ ลย ต้องพึ่งพารถยนต์ นี่อาจจะเป็ นสาเหตุวา่ ทำาไออเมริ กนั ชนถึงได้รักรถยนต์ รักที่จะขับรถ เพราะเป็ นการเดินทางที่ สะดวกที่สุด เพราะแม้แต่อยากดื่มกาแฟแก้วเดียวบางทียงั ขับรถออกไปเป็ นหลายไมล์กม็ ี และนี่กเ็ ป็ นอีกเหตุหนึ่งกระมังที่ผมหนาวๆร้อนทุกทีเวลาเดินข้ามถนนในแอตแลนตา อย่างแรกก็คือความไม่ชิน เพราะการที่ถนนบ้านเขากับบ้านเราขับไม่เหมือนกัน บ้านเรารถช้าต้องอยูซ่ า้ ยแต่เขาอยูข่ วา เวลาเดินข้ามถนนของ เราต้องมองขวาก่อน แต่ของเขาต้องมองซ้ายก่อน แล้วที่ทาำ ผมหัวใจจะวายตั้งหลายครั้งก็คือรถบัส เพราะบัสบ้าน เขาเคร่ งครัดที่จะต้องขับในเลน ดังนั้นเขาจะขับเบียดเลนในสุ ด การข้ามถนนจึงต้องมีสติตลอดเวลา จะเผลอๆ ไผลๆสบายๆเหมือนอยูบ่ า้ นเรานึกจะเดินลงก็เดิน นึกจะโผล่ออกไปก็จะทำานี่ผมว่าตายแง๋ แล้วก็คิดไปถึงหนัง เรื่ อง Final Destination ภาคไหนไม่รู้ที่มีตวั แสดงตายเพราะโดนรถบัสชน มันเร็ วจนมองไม่ทนั มันเป็ น แบบนั้นเลย กลับมาที่ Ravinia Crown Plaza ซึ่ งเป็ นสถานที่อบรมของผมอีกที วันนี้เรารวมตัวกันที่หอ้ งโถงใหญ่ การ รวมตัวกันเขาใช้ศพั ท์เฉพาะว่า Plenary Cafe' ซึ่ งคำาว่า Plenary ก็แปลว่าการรวมตัวครบองค์ประชุม ห้อง โถงใหญ่น้ ีสังเกตุได้วา่ จัดไม่เหมือนบ้านเรา ปกติการสัมมนาทุกครั้งที่ไป โรงแรมจะจัดในลักษณะของห้องเรี ยน ก็คือมีเวทีอยูท่ ี่ปลายสุ ด และจัดโต๊ะให้เก้าอี้หนั หน้าไปทางเวที แต่ที่นี่เวทีถูกจัดให้อยู่ "ตรงกลาง" จะเรี ยกว่าเวที ก็ไม่ได้เพราะจริ งๆแล้วควรเรี ยกว่า "ยกพื้น" มากกว่า เพราะไม่ได้มี Backdrop อยูด่ า้ นหลัง รอบเวทีกลางนี้ รายล้อมไปด้วยโต๊ะกลมประมาณ 40-50 ตัว และเก้าอี้ 5 ที่นงั่ ต่อโต๊ะ ดูเผินๆเหมือนการจัดเลี้ยงโต๊ะจีนบ้านเรา
นัน่ เอง การจัดโต๊ะแบบนี้เป็ นรู ปแบบที่เอื้อต่อการประชุมแนวใหม่ที่เรี ยกว่า World Cafe' ซึ่งถ้าแปลให้คน ไทยเข้าใจได้ง่ายที่สุดก็คือ "สภากาแฟ" นัน่ เอง บนโต๊ะวางกระดาษสี ขาวขนาดใหญ่พร้อมด้วยปากกาเมจิกหลาก สี ไว้สาำ หรับถ้าผูส้ นทนาคนไหนเกิดปิ๊ งไอเดียอะไรขึ้นมา ก็สามารถวาดหรื อจดเอาไว้ก่อน เพื่อเป็ นการเตือนความ จำา หรื อเป็ นการให้แรงบันดาลใจสำาหรับผูน้ งั่ สนทนาคนต่อไปที่จะมานัง่ ที่โต๊ะตัวนี้ ได้พอทราบเป็ นเค้าโครงว่ามี การฝากรอยประทับใจอะไรเอาไว้ในการสนทนาครั้ งก่อน บริ เวณที่ "เคย" เป็ นเวทีตามการสัมมนาทัว่ ไปนั้น บัดนี้ปรากฏมีสุภาพสตรี สองท่านยืนประจำาอยูพ่ ร้อมด้วย กระดาษวาดเขียนขนาดใหญ่พร้อมด้วยขาตั้ง ที่บา้ นเราเรี ยกทับศัพท์วา่ ฟลิบชาร์ท (Flip Chart) เป็ นที่สังเกตุวา่ ตั้งแต่เริ่ มประชุมทั้งสองท่านนี้กไ็ ด้ทาำ การวาดรู ปพร้อมลงสี สันอย่างสวยงาม รู ปที่วาดมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับสิ่ งที่ วิทยากรที่อยูบ่ นเวทีกลางได้นาำ เสนอออกไป ทั้งสองท่านนี้ปีเตอร์แนะนำาว่าเป็ น Graphic Recorder ซึ่งถ้าจะ แปลเป็ นไทยจะเรี ยกว่าเป็ น "ผูบ้ นั ทึกมโนภาพ" ก็น่าจะได้ ผูบ้ นั ทีกนี้ทาำ งานมือเป็ นระวิงทั้งสองคนแต่กเ็ ข้าขา กันเป็ นอย่างดี บางคนสงสัยว่าจะบันทึกเนื้ อความได้หมดหรื อไม่ในเมื่อรู ปภาพที่วาดออกมานั้นยังต้องมีมิติดา้ น ความสวยงามอยูด่ ว้ ย แต่อย่างที่เราทราบ ภาพหนึ่งภาพสามารถแทนความหมายของคำาได้เป็ นพันคำา ประกอบกับ การได้อยูร่ ่ วมในเหตุการณ์เราจึงรู้สึวา่ ภาพแล้วภาพเล่าที่ท้ งั สองช่วยกันถ่ายทอดออกมา แทนมโนภาพที่อยูใ่ นใจ ของเราได้เป็ นอย่างดี และไม่เห็นมีอะไรตกหล่นไปแต่อย่างใด การบันทึกมโนภาพดังกล่าวนั้นเป็ นงานที่ยากเอาการ เพราะนอกจากหูจะต้องฟังว่าที่ประชุมกำาลังพูดคุยกันเรื่ อง อะไร จิตสำานึกยังต้องคอยสรุ ปประเด็นให้ถูกต้องตามตรรก และจิตใต้สาำ นึกจะต้อง "หยัง่ รู้" การสนทนานั้น ออกมาเป็ นภาพ จากนั้นจึงจะต้องเลื่อนไหลมโนภาพนี้ ไปสู่ การกระหวัดโยงผ่านระบบประสาท เพื่อสั่งการไปที่ อวัยวะทุกส่วนให้ก่อกำาเนิดออกมาเป็ นเส้นสายที่ปลายนิ้วของจิตรกรอันสวยงามต่อไป ดังนั้นผูบ้ นั ทึกจึงต้องมี ำ บทุกวินาที ชุ่มเปี ยกไปด้วยศาสตร์และศิลป์ ในทุกขณะจิต ความตื่นรู้ ณ.ปัจจุบนั ขณะตลอดเวลา จะต้องดื่มด่ากั ปี เตอร์เริ่ มการประชุมโดยให้บอกว่าเนื่องจากการประชุมครั้ งนี้เป็ นแบบ Wolrd Cafe' ดังนั้นจึงอยากจะทราบ ำ า 200 คนนี้มาจากทวีปใดกันบ้าง โดยให้ลุกขึ้นยืนตามทวีปของตน ว่าผูเ้ ข้าร่ วมประชุมที่ผมดูคร่ าวๆ ไม่ต่ากว่ พอเขาบอกว่าเอเชีย ผมจำาได้วา่ ผมลุกขึ้นยืนเพียงคนเดียว แต่ความจริ งมีพี่อีกคนหนึ่งมาจากปูนซิ เมนต์ไทย แต่ผม ไม่เห็นว่าพี่เขาลุกขึ้นยืนหรื อเปล่า คนส่วนใหญ่กม็ าจากในสหรัฐอเมริ กากันมากกว่า 90% จากนั้นก็ให้ลุกขึ้นยืน ตามกลุ่มตัวแทน โดยแบ่งเป็ นสามภาคส่ วนก็คือภาคธุรกิจ ภาคราชการ และภาคประชาสังคม ซึ่งก็หมายรวมถึง ผมซึ่ งอยูใ่ นกลุ่มของผูใ้ ห้การศึกษา จากนั้นปี เตอร์ให้พวกเราทำาการ Check In ในโต๊ะของเรา โดยการแนะนำา ตัวสั้นๆว่าเป็ นใครมาจากไหน และมาร่ วมการสัมมนานี้ เพราะเหตุใด โดยใช้เวลาประมาณสองนาทีต่อคน ถ้าโต๊ะ ไหนคนน้อย หรื อมากกว่าห้าคนก็ตอ้ งรู้เองว่าควรจะพูดมากน้อยแค่ไหน เมื่อผ่านไปประมาณ 15 นาที ปี เตอร์ ยกมือขึ้นเป็ นสัญญานให้ทุกคนหยุดพูดและหันไปทางเวที คนในโต๊ะผมก็ยกมือตามเพราะบางคนก็มี ประสบการณ์ในการร่ วมใน World Cafe' มาก่อน ปี เตอร์บอกว่าเวลาเราไปประชุมสัมมนาที่ไหนก็ตาม เราจะรู้สึกเหมือนถูกเรี ยกให้เข้าชั้นเรี ยนและนัง่ ดูสไลด์พาว เวอร์พอยท์กนั ทั้งวัน และสิ่ งมหัศจรรย์เกิดขึ้นเมื่อพักเบรก คนจะกรู กนั ออกไปจากห้องเหมือนผึ้งแตกรัง ล้อมวง กันถือถ้วยกาแฟอยูใ่ นมือ แล้วสนทนากันอย่างออกรสชาติ เสี ยงหัวเราะระเบิดขึ้นจากทัว่ ทุกแห่ง พลังงานได้รับ การปลดปล่อย และการเรี ยนรู้ที่ดีที่สุดที่คนจดจำาไปพูดต่อ กลับได้มาจากการสนทนาในช่วงพักเบรกนี้ ไม่ใช่มา จากวิทยากรในห้องแต่อย่างใด ปี เตอร์บอกว่าที่เรามาอยูใ่ นห้องรวมกันเป็ นสภากาแฟแบบนี้ นี่คือการ "เบรค" จะ
ดีหรื อไม่ถา้ การสัมมนาทั้งหมดคือการ "เบรค" แทนที่จะไปจดจ่อดูเวลาว่าจะออกจากห้องเมื่อใด (ซึ่ งถึงแม้วา่ ผม จะประทับใจกับการเริ่ มต้น แต่พบว่าปี เตอร์เองก็ไม่ได้ให้ความสำาคัญกับ World Cafe' อย่างที่ปากพูด เพราะ เราอบรมสามวันครึ่ ง World Cafe' พึ่งจะมาทำาอย่างจริ งจังแค่วนั สุ ดท้ายช่วงเช้าที่ทุกคนเตรี ยมตัวกลับบ้านกัน หมดแล้ว ส่วนใหญ่ของการสัมมนาที่หอ้ งใหญ่น้ี เป็ นการนัง่ ฟังคนที่อยูบ่ นเวทีกลางพูดเสี ยมากกว่า) หลักของ World Cafe' ก็คือความเชื่อว่าปัญญาญานที่ทรงคุณค่ามิได้อยูไ่ กลนอกตัวของเรา แต่อยูด่ ว้ ยกัน ทั้งหมดอย่างสมบูรณ์แล้วในห้องประชุมแห่งนี้ ด้วยการ "ฟัง" ที่ลึกซึ้ ง สมุหปัญญาก็จะงอกงาม ปี เตอร์ช้ ีวา่ ในวง สนทนาไม่จาำ เป็ นเลยที่จะคนพูดจะต้องพูดด้วยเวลาเท่าๆกัน หรื อแย่งกันพูด บางคนพูดมาก บางคนพูดน้อย บาง คนสมัครใจจะฟังก็ไม่มีปัญหาแต่อย่างใด สิ่ งที่สาำ คัญก็คือภายในวงสนทนาไม่จาำ เป็ นที่จะต้อง "เห็นเหมือนกัน" การมองที่แตกต่างออกไปนั้น ก็เป็ นธรรมชาติของการสนทนา ไม่มีความจำาเป็ นที่จะต้องหาเหตุผลมาหักล้าง หรื อโน้มน้าวให้ใครเห็นด้วยกับเรา หรื อความคิดเห็นของคนส่ วนใหญ่ ให้พวกเราฝึ กการ "ฟังในฟัง" คือฟัง ว่าการฟังของเราเป็ นอย่างไร (ทางพุทธก็คือการฝึ กสมาธิให้เห็นกระบวนการของการปรุ งแต่งจิต ) ปี เตอร์บอกว่า ถ้าเมื่อใดที่เราฟังใครพูดแล้วรู้สึกข้างในว่าเขาพูดแปลกๆ หรื อไม่เข้าท่า ให้หยุดคิดแบบนั้นทันที แล้วหันมาย้อน ถามตัวเราว่า เพราะเหตุใด "เรา" จึงคิดเช่นนั้น สื บค้นลงไปว่าเป็ นเพราะอะไร
ช่วงต่อมาปี เตอร์เริ่ มเกริ่ นนำาในเนื้อหาของการสัมมนาในครั้งนี้ เขาชี้ให้เห็นว่าถ้าเปรี ยบช่วงเวลาตั้งแต่โลกถือ กำาเนิดขึ้นมาจนถึงปัจจุบนั เวลาที่มนุษย์ปรากฏอยูบ่ นโลกนั้นก็จะอยูใ่ นนาทีสุดท้าย และถ้ามาพิจารณาถึงการ ปฏิวตั ิอุตสาหกรรมของเราก็จดั ว่าเป็ นเพียงวินาทีทา้ ยๆเพียงแวบเดียวเท่านั้น แต่ผลกระทบของมันที่มีต่อระบบ นิเวศน์วิทยาของโลกนั้นมากมายมหาศาล เขาบอกว่าสิ่ งที่โลกต้องการไม่ใช่คาำ ตอบที่ครึ่ งๆกลางๆ เขาใช้กระดาษ วาดตารางนี้ให้พวกเราดู ถึงสิ่ งที่มนุษย์ตอ้ งการ เราต้องการ พลังงาน สิ่ งของอุปโภค อาหาร สังคมน่าอยู่
คำาตอบของเรา จากซากฟอสซิ ล แต่… เพิม่ ผลผลิตสู งสุ ด แต่… เพิ่มผลผลิตสู งสุ ด แต่… เพิ่มรายรับให้มากที่สุด แต่…
ำ น ถ่านหิน ซึ่ งได้ เริ่ มจากเรื่ องของพลังงาน เราต้องการพลังงานแต่คาำ ตอบของมนุษย์คือการนำาเอาน้ามั มากจากซากฟอสซิ ลที่ทบั ถมอยูภ่ ายใต้ผวิ โลกมาเผา ซึ่งอย่างที่เรารู้กนั ดีอยูว่ า่ นอกจากเป็ นสิ่ งที่หมดไปได้แล้ว ยัง สร้างปัญหาให้กบั ชั้นบรรยากาศของโลก สำาหรับสิ่ งของอุปโภคที่เราใช้ในการดำารงชีวิต คำาตอบของมนุษย์ซ่ ึ งอยู่ บนโลกเพียงเสี้ ยววินาทีตามเวลาของโลกก็คือ “การเพิม่ ผลผลิต” ให้ได้สูงที่สุด มีประสิ ทธิภาพมากที่สุด เขา เปรี ยบเทียบว่าทุกวันคนอเมริ กนั หนึ่งคนใช้สิ่งของที่มาจากทรัพยากรของโลกจำานวน 1 ตัน (พูดถึงตรงนี้คนใน ห้องหลายคนอุทาน หรื อมองหน้ากัน) และคนอเมริ กนั แต่ละคนทิ้งขยะลงสู่ โลกเป็ นจำานวนถึง 2,000 ตันต่อคน ต่อปี สำาหรับอาหารที่ใช้บริ โภคของคนอเมริ กนั หรื อ คำาตอบก็คือเพิ่มผลผลิตให้สูงสุ ด แต่ อาหารจะต้องเดินทาง มาจากแหล่งกำาเนิดโดยเฉลี่ยเป็ นพันไมล์ก่อนจะถึงมือผูบ้ ริ โภค ส่วนการมีสังคมที่น่าอยู่ มนุษย์เราตอบคำาถามนี้ ด้วยการ “หาเงิน” ให้ได้มากที่สุดให้กบั ครอบครัว แต่ถา้ ไปถามเด็กและเยาวชนแล้ว เราจะรู้วา่ นี่ไม่ใช่คาำ ตอบ
สุ ดท้าย ปี เตอร์ถามว่าให้มองไปรอบๆตัวของเราแล้วจะพบว่าสังคมเปลี่ยนไปมาก เขาบอกว่าสมัยก่อนคนที่ไม่รู้ จักเดินมาเจอกันก็เซย์ฮลั โลเพื่อทักทายกัน ยิม้ ให้กนั แต่เดี๋ยวนี้มีสักกี่คนที่ทาำ เช่นนั้นแถวๆละแวกบ้านของคุณ (ถ้า เป็ นคนไทย การเดินมาเจอแล้วทักทายกันคงไม่ใช่ธรรมเนียมของคนในเมือง แต่ถา้ เป็ นคนต่างจังหวัดในหมู่บา้ น เรื่ องนี้เป็ นเรื่ องธรรมดา แต่สมัยนี้จะลดลงไปมากน้อยเพียงใด ถ้ามองจากที่วา่ เมืองไทยเมืองยิม้ สมัยนี้กร็ อยยิม้ ก็ ลดน้อยถอยลงไปไม่ต่างจากอเมริ กาเหมือนกัน) ปี เตอร์ต่อเติมตารางของเขาเสี ยใหม่ได้เป็ นรู ปนี้ คำำตอบของธรรมชำติ แสงอำทิตย์ กลับกลำยเป็ นอำหำร (ไม่ มีอะไรเป็ นของเสี ย) หำกินอยู่ในพืน้ ที่ ควำมสั มพันธ์ /เป้ำหมำยของกำรดำำรงอยู่ (ไม่ ใช่ กำรสะสมสิ่ งของ)
เราต้ องการ พลังงาน สิ่ งของ
คำาตอบของเรา จากซากฟอสซิ ล แต่ … เพิ่มผลผลิตสู งสุด แต่ …
อาหาร สังคมน่ าอยู่
เพิ่มผลผลิตสู งสุด แต่ … เพิ่มรายรั บให้ มากที่สุด แต่ …
ซึ่ งปี เตอร์วาดวงกลมล้อมรอบสิ่ งที่มนุษย์ได้ให้คาำ ตอบเอาไว้และเรี ยกมันว่าเป็ น “ฟองสบู่” ซึ่ งรอวันแตกสลาย เขาเปรี ยบเทียบให้ฟังว่าในอดีตก็กเ็ หตุการณ์ในลักษณะนี้ ข้ ึนเมื่อฟองสบู่แตกช่วงที่คนเห่อบริ ษทั ไฮเทค และทุ่ม เงินจำานวนมากเพื่อซื้ อหุน้ ทั้งๆที่ไม่มีความรู้อะไรเกี่ยวกับบริ ษทั นั้นๆ และคนในอุตสาหกรรมไฮเทคก็มีส่วนช่วย กันสร้าง และกระพือทำาให้ฟองสบู่น้ นั ใหญ่ข้ ึนจนแตกออก และทุกคนเจ็บเนื้อเจ็บตัวไปตามๆกัน (ถ้าเป็ นของ ไทยเราก็คงเห็นชัดเมื่อปี 2540 เหตุการณ์ฟองสบู่ในภาคการเงิน และอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาท) ปี เตอร์บอกว่าสิ่ งที่อยูใ่ นฟองสบู่จะเสริ มซึ่ งกันและกัน แต่จะไม่เห็นว่ามีอะไรผิดปกติ แต่ธรรมชาติของฟองสบู่ จะไม่อยูไ่ ปตลอดกาล เรามีเทคโนโลยีใหม่ๆ เรามีสิ่งอำานวยความสะดวกใหม่ๆ แต่เราก็ยงั อยูใ่ นยุคที่ อุตสาหกรรมเป็ นใหญ่อยูด่ ี ปี เตอร์บอกว่าแต่เราไม่ควรจะต้อง “กลัว” ฟองสบู่น้ ี และมันไม่ใช่เรื่ องของความดี งามถูกผิดเลว แต่เป็ นเรื่ องของ “การจัดการ” อย่างถูกต้องตามความเป็ นจริ ง ซึ่งจะต้องเริ่ มถามคำาถามให้ถูกต้อง เสี ยก่อน (Ask the right questions) ยกตัวอย่างเช่นจะต้องถามว่าจะทำาให้ปริ มาณคาร์บอนไดออกไซด์ใน บรรยากาศคงที่ได้ เราจะต้องปล่อยแกสคาร์บอนไดออกไซด์นอ้ ยลงสักเท่าใด ซึ่งคำาตอบก็คือ “ไม่ลด” ถึงแม้วา่ เราจะไม่เพิ่มปริ มาณการปล่อย Co2 เข้าสู่ บรรยากาศโลกเลยแต่ปัจจุบนั ปริ มาณที่ปล่อยอยูก่ ม็ ากจนบรรยากาศ โลกเสี ยสมดุลย์แล้ว เพราะปกติโลกของเราจะกำาจัด Co2 ได้ในปริ มาณ 2-3 ล้านตันต่อปี แต่ปัจจุบนั เราปล่อย Co2 รวมกันทั้งหมดทั้งโลกอยูท ่ ี่ 8 ล้านตันต่อปี ซึ่ งคำาตอบก็เห็นชัดว่าเราไม่เพียงแต่ปล่อยคงที่เรายังต้องทำางาน อีกมากเพื่อที่จะลดการปล่อยแกส Co2 ลงอีกมาก บรรยากาศโลกจึงจะเข้าสู่สมดุล เขาพูดมาถึงตรงนี้แล้วก็ยกคำาพูดหนึ่งที่ชอบมากมากล่าว “ผมยังไม่เคยว่ามีป้ายโฆษณาที่ไหนจะสวยงามกว่าต้นไม้
และถ้าป้ ายโฆษณามันไม่หกั โค่นลงมาซะบ้าง
ำ ผมคงจะไม่มีโอกาสเห็นต้นไม้ซกั ต้นเลยด้วยซ้า” จูด้ ีเข้ามาเสริ มด้วยบทกวีที่ชอบมากอีกอันหนึ่งก็คือ “สำาหรับนักเดินทางที่แท้แล้วไม่ตอ้ งมีถนน
เพราะถนนนั้นจะถูกสร้างจากการก้าวเดินทีละก้าว” ในช่วงเช้านี้ไฮไลท์ของงานอยูท่ ี่การเชิญคุณ วิเวียน ผูห้ ญิงเก่งที่ประสบความสำาเร็จในการเป็ น CEO ของ BP Alternative Energy ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ลูกที่ดูแลเรื่ องของพลังงานทดแทนมาพูดถึงงานของเธอ เธอบอกว่ามัน เป็ นการง่ายที่จะดูแคลนหรื อคิดลบ แต่สิ่งที่เราต้องการก็คือการคิดเชิงบวก และสิ่ งที่เป็ นปัญหาในระดับโลกก็ ย่อมต้องการการแก้ไขในระดับโลกเช่นเดียวกัน เธอบอกว่าพลังงานทดแทนเป็ นสิ่ งใหม่การจะได้รับการยอมรับ หรื อเปลี่ยนความคิดของผูบ้ ริ หารระดับสู งไม่ใช่เรื่ องง่ายๆ การจะได้รับการยอมรับและได้มาซึ่ งการแบ่งสรร ทรัพยากรมาจากบริ ษทั แม่เป็ นสิ่ งที่เธอต้องใช้ความพยายาม มีเทคนิคหนึ่งที่เธอใช้แล้วได้ผลดีกค็ ือการส่ งคนออก ไปเพื่อสร้าง “Buzz” หรื อสร้างให้เกิดการพูดปากต่อปากเป็ น Talk of the town ในบริ ษทั ของเธอ เช่นถ้ามี โครงการอะไรน่าสนใจเธอจะยังไม่นาำ เสนอผูบ้ ริ หาร แต่สร้างบัซโดยการกระซิ บบอกคนนั้นคนนี้ รวมทั้งให้ลูก น้องทุกคนนำาเรื่ องนี้ ไปพูดคุย เธอพบว่าหลายๆครั้งวิธีน้ ีเป็ นการสร้างความสำาเร็จตั้งแต่ยงั ไม่ได้นาำ เสนอเลยด้วย ซ้าำ เธอมองว่าธุรกิจพลังงานทดแทนสามารถทำาให้มีกาำ ไร ในขณะเดียวกันก็ช่วยเยียวยาโลกของเรา และตอนนี้ งานที่เธอดูแลอยูก่ าำ ลังทำาสิ่ งนี้ดว้ ยเงินสนับสนุนจาก BP จำานวนหลายล้านเหรี ยญ การฟังเธอพูดน่าเคลิบเคล้มครับ ถามว่าวิเวียนมีโพยหรื อเปล่าในการนำาเสนอเธอมีโพย แต่ผมกลับไม่ได้สนใจ หรื อให้ความสำาคัญกับโพยนั้นเลย เพราะเธอเป็ นนักพูดที่ “ตรึ ง” ความสนใจของคนดูได้ท้ งั ห้อง จังหวะใน การนำาเสนอไม่มีความรี บร้อน ไม่ตอ้ งเปิ ดพาวเวอร์พอยท์ ความมัน่ ใจที่มีอยูใ่ นตัวมันฉายออกมาสว่างรอบตัวเธอ คนฟังจบแล้วเสี ยบปรบมือกึกก้อง และคนยืนขึ้นทำาแสตนดิงโอเวชันกันทั้งห้อง
วันที่สามช่ วงเช้ า พฤหัสที่ 28 มีนาคม 2550 (ช่วงเช้า) วันนี้เราเริ่ มกันที่ World Café กันอีกครั้งใน Plenary Hall ผมได้พบกับ Susan ซึ่ งเธอทำางานอยูใ่ น สถาบันพัฒนาธุรกิจเพื่อความยัง่ ยืน (Green Business Center) แห่งวิทยาลัยในเมืองซานฟรานซิ สโก (City College of Sanfrancisco) และเธอยังเป็ นบรรณารักษ์อีกด้วย ผมพบกับแองเจลลินาซึ่ งเธอเป็ นคน จีนที่ยา้ ยถิ่นฐานไปอยูท่ ี่ประเทศแคนนาดา เธอจบมาทางบัญชีและการเงิน ปัจจุบนั ทำางานอยูท่ ี่ Alcan ซึ่ งเป็ น บริ ษทั ผลิตอลูมิเนียมที่ใหญ่ที่สุดของประเทศแคนนาดา เราเริ่ มต้นนัง่ กันเป็ นสภากาแฟอีกแล้วในวันนี้ ซึ่ งก็เป็ นมีกาแฟจริ งๆเพราะแองเจลลินาเธอยังไม่ได้ทานข้าวเช้า ก็ ำ อนก่อน เนื้อขนมปังที่ได้จะมีลกั ษณะ เลยเอาเบเกิลซึ่ งเป็ นขนมปังมีรูตรงกลางก่อนที่จะอบเขาจะนำาไปผ่านน้าร้ แข็งและเหนียว เป็ นอาหารเช้าที่ชาวนิวยอร์คนิยมทานมาก ส่วนใหญ่จะทานกับครี มชีส ครี มชีสที่วา่ นี้มีสีขาว อ่อนนุ่มทำามาจากนม ก็ผา่ นขั้นตอนคล้ายกับการทำาชีสคือแยกเอาไขมันนมออกจากนมสดโดยใส่จุลชีพที่เรี ยกว่า Mesophilic ลงไป แต่ที่ต่างจากการทำาชีสก็คือจะไม่มีการนำาไปหมัก โดยจะรับประทานกันแบบสดๆ โดยทา ลงบนเบเกิลผ่าครึ่ งที่นาำ ไปปิ้ งมาแล้ว ถ้านึกครี มชีสไม่ออกก็คือที่ใส่ ในชีสเค้ก หรื อบลูเบอรี่ พายบ้านเรานัน่ เอง แองเจลลินาเธอมาจากบริ ษทั ที่มีความสนใจในเรื่ องของความยัง่ ยืน (Sustainability) และได้รับการยอมรับ เป็ นอย่างสู งในเรื่ องนี้ โดย Alcan 2ได้ถูกจัดอันดับให้เป็ นผูน้ าำ ของกลุ่มในด้านความยัง่ ยืนจากสถาบันดาวน์โจน ส์ (Dow Jones Sustainability Indexes) และเธอทำางานอยูใ่ นแผนกวิจยั เรื่ องความยัง่ ยืน เธอเองสารภาพ ภายหลังว่ารู้สึกสับสนเป็ นบางครั้ง เพราะเหตุวา่ ตนจบมาทางการเงินและบัญชี การรับและกลืนกินปรัชญาทาง ด้านความยัง่ ยืน เรื่ องการรักษาสิ่ งแวดล้อมไม่เคยมีอยูใ่ นความคิดของเธอมาก่อน ผมเห็นว่าเธอไม่ “อิน” กับ เรื่ องนี้เลยเพราะในขณะที่วิทยากรบรรยายอยูบ่ นเวที เธอก็ควักเอาคอมพิวเตอร์แลปท๊อปของเธอมาเปิ ดทำางาน ซึ่ง งานของเธอก็คือการส่ งรายงานการสัมมนาครั้ งนี้น้ นั เอง ผมประหลาดใจอยูไ่ ม่นอ้ ยที่เธอสามารถเขียนรายงาน ประชุมในวันนั้นทั้งๆที่เราพึ่งเริ่ มไปได้เพียง 30 นาทีเท่านั้น แองเจลลินาง่วนพิมพ์อยูพ่ กั หนึ่งโดยรับประทาน อาหารเช้าของเธอไปด้วย ผมแอบเหลือบไปเห็นเธอส่ งอีเมลล์และคงจะแนบไฟล์ดงั กล่าวส่ งกลับบริ ษทั อีกสัก พักเธอก็แว่บออกจากห้องไปและผมก็ไม่เห็นเธออีกเลยตลอดทั้งวัน ฤาการที่บริ ษทั เสี ยเงินส่ งเธอมาครั้งนี้จะกลาย เป็ นเพียงการพักร้อนอีกครั้งหนึ่งอย่างนั้นหรื อ ผมสะท้อนใจเมื่อเปรี ยบเทียบกับตัวเองที่ตอ้ งเก็บเงินส่ วนตัวเพื่อ จะลงทะเบียนมางานนี้ เสี ยค่าตัว๋ เครื่ องบิน อีกทั้งยังเสี ยเวลาเดินไปกลับจากยุวอาราม (Youth Hostel) เกือบ สองชัว่ โมงทุกวันเพื่อให้ได้เข้าร่ วมงานนี้ สำาหรับเธอแล้วมันง่ายเพียงแค่เดินลงลิฟท์จากชั้นบนลงมาด้านล่าง เท่านั้น แต่ไม่เป็ นไรใครไม่เห็นค่าผมคนหนึ่งล่ะที่กาำ ลัง “อิน” กับมันอย่างสุ ดๆ ไม่รู้หรอกว่าเรื่ องนี้จะออกหัวออกก้อย หรื อจะรู้ไปทำาไม แต่เป็ นเรื่ องที่เราสนใจด้วยความจริ งใจ ยิง่ ได้อ่านและสัมผัสกับเรื่ องความยัง่ ยืนยิง่ รู้เลยว่าเป็ น 2
ลองเข้าไปดูที่ http://alcan.maplecroft.com/loadmap?template=map&issueID=6 จะมีขอ้ มูลมากมายที่เกี่ยวกับความ ยัง่ ยืนในมิติต่างๆเช่น สิ่ งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม น่าสนใจมาก
เรื่ องที่ถูกจริ ตกับเรามาก นึกถึงตอนที่ไปเดินป่ าที่เทือกเขาอัปปาเลเชี่ยนในรัฐเวอร์มอนต์เมื่อเกือบสิ บปี ที่แล้ว ำ บธรรมชาติ หรื อภาพของลำาธารอ้อยอิ่งมีปลาเล็กปลาน้อยแหวกว่ายเมื่อยีส่ ิ บปี ที่แล้วที่อลาสกา ชื่นชมและดื่มด่ากั หรื อโชคชะตากำาลังบอกอะไรบางอย่างกับผม ตอนนี้กเ็ หลือเพียงว่าจะฟังเขาอย่างตั้งใจหรื อไม่ เช้านี้หวั ข้อในการพูดคุยกันในเรื่ องของการทำางานและวิวฒั น์ร่วมกันในมิติของการพัฒนาของระบบใหญ่ “สาม ำ ่ม พลังงานและการขนส่ ง และวัตถุดิบ เรามีวิทยากรมานัง่ สนทนากัน ระบบใหญ่” ซึ่งหมายถึง อาหารและน้าดื เป็ นครึ่ งวงกลมอยูบ่ นเวที มี Hal ผูร้ ่ วมก่อตั้ง FoodLab ซึ่งเป็ นการรวมตัวกันระหว่างผูผ้ ลิตอาหาร ผูจ้ ดั จำาหน่าย และผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องในห่วงโซ่คุณค่า เข้ามาพูดคุยกันอย่างเปิ ดใจเพื่อหาแนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ร่ วมกัน เป็ นอีกความสำาเร็จหนึ่งที่อิงด้วยทฤษฏีรูปตัว U และสุ นทรี ยสนทนาอย่างเปิ ดใจ และเปิ ดความคิด และ เดินทางจูงมือด้วยกันก้าวผ่านก้นบึ้งของรู ปตัวยู ออกมาเป็ นนวตกรรมของการเติบโตงอกงามที่ทุกฝ่ ายยอมรับ มีปีเตอร์ และโรเจอร์ซ่ ึ งผมพูดถึงมากแล้วก็ขอไม่พดู แนะนำาต่อ วิทยากรอีกท่านหนึ่งมีชื่อว่า แดน เขาทำางานกับ ำ มชน การที่เขามาร่ วมไม่ใช่เรื่ องแปลกเพราะโค้กก็เป็ นสปอนเซอร์ของการสัมมนา โค้กในฝ่ ายบริ หารจัดการน้าชุ ในครั้งนี้ อีกทั้งยังมีสาำ นักงานใหญ่อยูท่ ี่แอตแลนตาอีก ชีวิตเขาน่าสนใจมากเพราะเดินทางเข้าไปใช้ชีวิตกับชาว บ้านที่กาดมันดุอยูห่ ลายปี โค้กไม่ให้เสี ยทีที่มีสาำ นักงานใหญ่ที่นี่ เพราะนำาเอาตูแ้ ช่ตน้ แบบซึ่ งนัยว่าเป็ นการ ออกแบบที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมมากขึ้นมาตั้งโชว์และใช้งาน โดยนำาผลิตภัณฑ์ของเขามาแจกฟรี ไม่อ้นั ผมพึ่ง ได้รู้วา่ ยังมีผลิตภัณฑ์โค้กอีกมากที่ยงั ไม่ได้นาำ มาจำาหน่ายบ้านเรา เครื่ องดื่มชูกาำ ลังที่อาจจะมาเป็ นคู่แข่งของกระทิง แดงผมก็ได้ลองชิม กาแฟเย็นระดับหรู หรา ที่น่าสนใจก็คือโค้กได้พฒั นาเครื่ องดื่มตัวใหม่ชื่อ Coke Zero ซึ่ ง ไม่มีแคลเลอรี่ ซึ่งบางคนอาจจะคิดว่าก็คือ Coke Diet น่ะสิ แต่ตวั นี้แตกต่างจากไดเอ็ดโค้กตรงที่วา่ รสชาติน้ นั เหมือนกับโค้กที่มีนาตาล ้ำ หรื อที่เรี ยกว่า Classic Coke มากจนแยกไม่ออก นอกจากนั้นยังมีนาดื ้ ำ ่มลูกผสม ระหว่างโซดากับกาแฟมีชื่อเรี ยกว่า แบลค (Blǎk) ดื่มตอนแรกจะรู้สึกเหมือนโค้กแต่เมื่อผ่านลำาคอเข้าไปแล้ว รู้สึกว่ากำาลังดื่มกาแฟเย็น ก็แปลกประหลาดดีแต่กน็ ่าสนใจไม่นอ้ ย คำาคมของแดนเวลามีคนถามว่าทำาไมโค้กถึงหันมาเล่นเรื่ องการปฏิสัมพันธ์เชิงชุมชนในเรื่ องของน้าำ เขาบอกว่า โค้กไม่ได้มาเล่นเรื่ องน้าำ แต่นาเป็ ้ ำ นประเด็นที่มีอยูร่ อบตัวเราอยูแ่ ล้ว คนต่อมาคือเจฟ เขามาจากบริ ษทั ที่ชื่อว่า 7th Generation3 ซึ่งถ้าแปลเป็ นไทยว่า เจ็ดชัว่ โครตก็คงจะผิดความ หมายและน่ากลัวเพราะไปเกี่ยวข้องกับการถูกตัดหัว ขอแปลว่า “รุ่ นที่เจ็ด” ก็แล้วกัน ตำาแหน่งของเขาน่าสนใจ มาก เพราะอันที่จริ งเขาก็คือซี อีโอแต่กลับไม่ยอมเรี ยกตัวเองอย่างนั้น เขาเรี ยกตำาแหน่งของเขาว่าเป็ น Chief Inspired Protagonist หรื อเปลเป็ นไทยได้วา่ เป็ น ผูแ้ สดงนำาด้านการสร้างแรงบันดาลใจ ซึ่ งก็น่าสนใจดี เจฟ มีบุคคลิกที่ง่ายๆ เป็ นคนวัยกลางคนที่ยงั ดูหนุ่มแน่น ใบหน้าที่ผา่ นโลกมาเห็นริ้ วรอยบ้างแต่นนั่ ยิง่ ไปเพิ่มเสน่ห์ เหมือนกับไวน์ที่บ่มหมักกำาลังได้ที่ ถ้านึกไม่ออกให้นึกถึงพระเอกในเรื่ อง Phone Booth โคลิน ฟาเรล ซึ่ ง ต่างจากแดนในวัยประมาณสามสิ บต้นๆความกระตือรื อล้นในสายตา และท่าทีแบบวัยรุ่ นยังฉายฉาบ เปรี ยบ ำ กยังไม่มี เพราะขาดการบ่มเพาะ เมื่อมานัง่ ข้างกันยิง่ เหมือนไวน์สด (Beaujolais Nouveau) ที่ดีกรี ความล้าลึ เห็นเด่นชัด
3
http://www.seventhgen.com
ำ างจานที่ บริ ษทั “รุ่ นที่เจ็ด” นี้ มีชื่อในการขายผลิตภัณฑ์ภายในครัวเรื อนที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม เช่นน้ายาล้ ไม่มีส่วนผสมของฟอสเฟตซึ่ งให้ความสะอาดได้ โดยไม่ตอ้ งไปกังวลว่าจะเพิ่มการขยายพันธ์ของสาหร่ ายน้าำ (Algae) ซึ่ งถึงแม้วา่ จะเป็ นอาหารของสัตว์นาในห่ ้ ำ วงโซ่ แต่ถา้ มันได้รับฟอสเฟตจะขยายตัวอย่างผิดธรรมชาติ ำ และจะไปแย่งอากาศในน้าปลาก็ จะอยูไ่ ม่ได้ อีกตัวหนึ่งที่น่าสนใจก็คือผ้าอ้อมเด็กที่ไม่ใช้กระบวนการฟอกขาว ในการผลิต เพราะเป็ นที่รู้กนั ว่ากระบวนการฟอกขาวที่ใช้กนั ในอุตสาหกรรมกระดาษนั้น เป็ นอีกตัวการหนึ่งใน การสร้างสารเคมีที่ผิดปรกติวิสัยของธรรมชาติชื่อว่าไดออกซิ น ซึ่ งนอกจากจะไม่สามารถย่อยสลายได้ดว้ ยวิธีการ ทางธรรมชาติแล้ว (หมายความว่ามันจะคงอยูเ่ ป็ นหมื่นๆปี ) ยังเป็ นสารที่สงสัยว่าจะก่อให้เกิดมะเร็ งและโรคร้าย ต่างๆอีกมากมายในคน ก่อนที่วิทยากรจะได้พดู อะไรพวกเราก็ได้รับการบอกกล่าวให้ทาำ การแนะนำาตัวเอง หรื อ Check in กันก่อน วัน นี้พิเศษคือเวลาเช็คอิน ปี เตอร์ให้เราบอกด้วยว่าสาเหตุที่เรามาอยูท่ ี่นี่เป็ นเพราะอะไร ซึ่งเขาใช้คาำ ว่า My Thread ซึ่ งอุปมาเหมือนกับพวกเราเป็ นเกลียวเชือกและแต่ละคนก็เป็ นเส้นด้านที่ถูกนำามาควัน่ รวมกัน ผมพูดถึง ความสับสนของผมในการเป็ นอาจารย์สอนวิชาการจัดการ แต่ในขณะเดียวกันก็พบว่าหลักสู ตรที่ตนต้องรับผิด ชอบสอนเริ่ มไม่ได้ไปกับทัศนคติของตนเอง เพราะการสอนการบริ หารจัดการโดยมองแบบแยกส่วนที่เราทำากัน นั้นมีปัญหา ยกตัวอย่างเช่นเราสอนวิชาการเป็ นผูน้ าำ ตอนเช้า แต่ช่วงบ่ายเราสอนเรื่ องการเจรจาต่อรอง วันต่อมาก็ มาเรี ยนรู้วิธีที่จะสร้างกำาไรสู งสุ ดจากวิชาเศรษฐศาสตร์ และถูกบอกว่าในโลกนี้ไม่มีของฟรี จากนั้นหลังจากความ รู้ทางธุรกิจเราฝังรากแน่นแล้ว เราค่อยไปเรี ยนวิชาจริ ยธรรมทางธุรกิจในปี 4 ในความเห็นของผมนี่เป็ นวิธีการ พัฒนาคนที่ผิด และถ้าฝื นทำาต่อไปก็ไม่น่าแปลกใจถ้าหากอนาคตผูน้ าำ ประเทศของเราซึ่ งก็คือคนรุ่ นใหม่น้ี จะเห็น ความสำาคัญของตัวเลขทางเศรษฐกิจมากกว่า “ความสุ ข” และ “รอยยิม้ ” ผมไม่ได้โทษใคร ปัญหาคือผมไม่ ต้องการมีส่วนร่ วมในขบวนการนั้น จึงต้องการหาแนวทางใหม่ๆที่จะทำาให้ผมอยูก่ บั ตัวเองอย่างสันติสุข เพื่อที่จะ อยูใ่ นโลกที่มีสันติสุขเพิ่มขึ้นด้วย จากนั้นวิทยากรซึ่ งจริ งๆแล้วผมไม่อยากใช้คาำ นี้ เลย จริ งๆปี เตอร์ใช้คาำ ว่า ‘ผูฝ้ ึ กปฏิบตั ิ’ หรื อ Practitioner ซึ่ งมี นัยแฝงของการเรี ยนรู้ที่ไม่สิ้นสุ ด ที่อยูบ่ นเวทีกผ็ ลัดกันพูด ผลัดกันแสดงความรู้สึกผ่านประสบการณ์ของตน ที่ น่าสนใจก็คือที่เจฟสะท้อนให้ฟังเรื่ องว่าภาคธุรกิจส่วนใหญ่อยูใ่ นธุรกิจของการ “สร้างขยะ” แต่พวกเราเองไม่รู้ ก็เปรี ยบเหมือนกับกบที่ในกระทะที่ค่อยๆร้อน ก็ไม่รู้เหมือนกันว่าเราจะกระโดดออกมาเมื่อไหร่ เขาชี้วา่ บริ ษทั ใน อเมริ กามองเรื่ องสิ่ งแวดล้อมผิดหมด หลายๆบริ ษทั เขียนพันธกิจ วิสัยทัศน์ คุณค่าออกมาแต่กลับต้องตั้งผูอ้ าำ นวย การฝ่ ายจิตสำานึกองค์กร (Director of Corporate Consciousness) เพื่อเตือนให้ทุกคนไม่ลืมถึงสิ่ งที่ เขียนขึ้นมาอยูบ่ นกระดาษ เขาบอกว่าถ้ามีการตั้งตำาแหน่งนี้เมื่อไหร่ ก็เป็ นสัญญานของความผิดปกติในองค์กรนั้น ทันที เขายังพูดว่าพวกเราทุกคนจะต้องตื่นขึ้นมารับความจริ ง เพราะการทำาดีไม่ได้หมายถึงการทำาเลวน้อย (Good rather than less BAD)
คนต่อมาที่พดู ก็คือโรเจอร์ที่ผมได้เจอแล้วใน Workshop วันแรก โรเจอร์เป็ นประธานบริ ษทั ปลัก๊ พาวเวอร์ (Plug Power) ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ผลิตพลังงานจากเซลเชื้ อเพลิง (Fuel Cell) ซึ่ งเป็ นพลังงานที่บริ สุทธิ์ มากเพราะ ได้มาจากก๊าซไฮโดรเจนมาผ่านเมมเบรนจากนั้นก๊าซไฮโดรเจนจะถูกแยกโปรตอน และอิเลคตรอนออกจากกัน อิเลคตรอนที่ได้จะเป็ นกระแสไฟฟ้ า ส่วนโปรตอนที่เหลือจะถูกนำาไปรวมกับออกซิ เจนซึ่ งจะเกิดเป็ นความร้อน และน้าำ (H2O) ซึ่งนับว่าเป็ นพลังงานสะอาดเพราะไม่มีข้นั ตอนใดเลยที่มีการจุดระเบิด ถ้าสนใจลองหาความรู้
เกี่ยวกับเซลเชื้อเพลิงได้ที่นี่ครับ http://www.mtec.or.th/th/news/cool_stuff/cool42.html และ http://www.plugpower.com/technology/works.cfm
โรเจอร์เองก็ปล่อยหมัดเด็ดเช่นกันเขาบอกว่าในฐานะที่เขาคลุกคลีอยูก่ บั การบริ หารจัดการคนมาเป็ นเวลาสามสิ บ ำ ตามสมควร แต่ก็ ปี เขาพบความจริ งว่าการบริ หารจัดการคนก็เหมือนกับการปลูกต้นไม้ ควรที่จะดูแลรดน้าให้ ดูแลหรื อวิเคราะห์ตรวจตรามากเกินไปต้นไม้กอ็ ยูไ่ ม่ได้ เปรี ยบเสมือนการดึงต้นไม้ข้ ึนมากจากดินทั้งราก แล้ว ต้นไม้มนั จะอยูไ่ ด้อย่างไร ดังนั้นหน้าที่ที่แท้จริ งของผูบ้ ริ หารก็คือการสร้างให้เกิดบรรยากาศของการพูดจากัน แบ่งปันความรู้ และที่สาำ คัญผูท้ ี่จะเป็ นผูบ้ ริ หารระดับสู งที่ได้ใจคนจะต้องมีความมุ่งมัน่ อย่างผิดมนุษย์มนา เขา ำ เปรี ยบเทียบโดยให้นึกถึง ‘ควาย’ ควายจริ งๆ โรเจอร์บอกว่าเราต้องมุ่งมัน่ อดทนบุกบัน่ เข้าไปเหมือน ‘ควายน้า’ ที่จะไม่ยอ่ ท้อแม้มีอุปสรรคใดๆ คนไทยอย่างผมฟังแล้วสะดุง้ เพราะถ้าบ้านเราใครมาเปรี ยบเราเหมือน ‘ควาย’ เราคงโกรธน่าดูเพราะนึกว่าเขาว่าเราว่า ‘โง่เหมือนควาย’ แสดงว่าความเป็ น ‘ควาย’ นี้มนั ยังมีมิติอื่นๆ ถ้าเรา เปิ ดใจให้กว้างอะไรก็เป็ นไปได้ ส่วนฮัลที่บอกว่าเป็ นผูร้ ่ วมก่อตั้ง Sustainable Foodlabs นั้นบอกว่าเขาเริ่ มด้วยคำาถามในใจว่าจะเริ่ มต้นพา ผูค้ นที่อยูห่ ่วงโซ่คุณค่านี้ มาพูดคุยกันได้อย่างไร คำาถามแรกก็คือจะเลือกคนมากี่คน และใครบ้าง เขาบอกว่าเขาได้ เลือกมา 30 คน ซึ่ งในจำานวนนี้มีความแตกต่างกันมากพอที่จะเป็ นตัวแทนของระบบทั้งหมด และมีอาำ นาจในการ ตัดสิ นใจเพียงพอที่จะก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่เป็ นรู ปธรรม4 เขาบอกว่าสิ่ งที่สาำ คัญนั้นอยูท่ ี่กระบวนการ โดยกระบวนการนั้นจะต้องมีศกั ยภาพเพียงพอที่จะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงลึกในทัศนคติ โดยไปเปลี่ยน กรอบคิด (reframe) ของผูเ้ ข้าร่ วมผ่านกระบวนการสนทนาอย่างเปิ ดใจ ซึ่ งเขาพบว่ามันมีประสิ ทธิผลมากกว่า การให้ขอ้ เท็จจริ ง หรื อข้อมูลทางภาคทฤษฏีที่มีแต่กระดูกขาวโพลน หรื อไปทางสุ ดโต่งอีกแนวทางหนึ่งก็คือการ ข่มขู่ หรื อการชี้ให้เห็นในเรื่ องของผลเสี ย หรื อความเสี่ ยง (ของการไม่รวมตัวกัน) ตรงนี้ที่ผมคิดว่าวิธีการของอาจารย์ส. ที่โคราชยังขาดความสมบูรณ์ไป อาจารยเริ่ มต้นด้วยการนำาบุคคลที่ เกี่ยวข้องกับห่วงโซ่คุณค่าของการผลิตมันสัมปะหลังมาคุยกัน เพื่อหาข้อสรุ ปในการเพิม่ ผลผลิต เพราะอาจารย์ช้ ี ให้เห็นว่าโลกที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น กำาลังสร้างให้เกิดความจำาเป็ นรี บด่วนใหม่ๆ โดยถ้าพูดให้เฉพาะเจาะจงลงไป ก็คือการที่ประเทศมหาอำานาจอย่างอเมริ กากำาลังใช้พืชไร่ เช่นข้าวโพด ไปแปรรู ปเป็ นพลังงานทดแทนชีวมวลนั้น กำาลังจะส่ งผลให้ผลผลิตของพืชไร่ อื่นๆ มีราคาค่างวดสู งขึ้น และอาจารย์ได้ขอ้ สรุ ปตรงว่ามันสัมปะหลังจะมี ราคาสู งขึ้นดังนั้นจะต้องเรี ยกผูท้ ี่เกี่ยวข้องมาปรึ กษาหารื อกันเพื่อ “เพิ่มผลผลิต” มันสัมปะหลังของประเทศ ด้วย ความปารถนาดีวา่ นี่จะเป็ นกุญแจทองที่ส่งผลไปถึงการแก้ปัญหาความยากจนของเกษตรกรของประเทศไทย ผมคิดว่าวิธีการดังกล่าวเริ่ มต้นมาเป็ นอย่างดี แต่ถา้ ใช้กระบวนการของ Foodlabs ไปเปรี ยบเทียบจะพบว่ายัง ขาดขั้นตอนของการปรับกรอบคิด เพราะบุคคลคณะนี้มาพบเจอกันก็ดว้ ยบารมีของอาจารย์ส. แล้วทำาการพูดคุย กันในระยะเวลาสั้นๆ ต่างคนก็เป็ นตัวแทนของสถาบันที่ตนเองสังกัดอยู่ การสลัดภาพ หรื อบทบาทดังกล่าวออก ไม่ใช่เรื่ องง่าย สิ่ งที่นาำ เสนอก็มกั จะเป็ นข้อเท็จจริ งในแง่มุมของตนเอง และต่างคนก็ถือว่าตนเองมี ‘วาระ’ ที่จะ ต้องดูแล จนลืมดูแล ‘วาระ’ ของส่ วนรวม เหมือนกับการจัดประชุมเรื่ องบ้านเรื่ องเมืองที่เคยมีตวั แทนจาก
4
Diverse enough to represent the whole and influential enough to act.
เทศบาลนครนครสวรรค์เข้าร่ วม เวลาพูดคุยอะไรก็นาำ แต่วาระของตนมาพูด นำาตำาแหน่งบทบาทของตนมาพูด แต่ มิได้นาำ เอาความเป็ นคนนครสวรรค์มาลองพูดดูบา้ ง ดังนั้นผมจึงเห็นว่าการพูดคุยในลักษณะนี้ ยงั เป็ นการสนทนาที่ยงั ประกอบไปด้วยข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจำานวน มากที่ ‘ใช้ไม่ได้จริ ง’ เนื่องจากเป็ นการ ‘ออกกำาลังคิด’ แต่ตวั ไม่เปี ยก ทำาอย่างไรตัวจึงเปี ยก ก็ตอ้ งนำาเอาคณะ เหล่านั้นไป ‘จาริ ก’ ครับ ผ่านขบวนการตามทฤษฏีรูปตัวยู5 ที่เริ่ มจากทุกคนจะต้องทำาการ ‘เห็นในเห็น’ หมาย ถึงการห้อยแขวนความคิดต่างๆที่เข้าสู่ กระบวนความคิดของเราจาก ‘แว่นตาของความเคยชิน’ ที่มนั ทำาหน้าที่ ของมันอย่างอัตโนมัติ ให้เราห้อยแขวนเอาเลยไว้โดยไม่ตอ้ งตัดสิ น ลองดูสิครับแล้วคุณจะรู้วา่ บางครั้งความคิด ของเราที่เหนื่อยล้าเพราะมันแต่ไปตัดสิ นเรื่ องนั้นเรื่ องนี้ พอไม่ตดั สิ นอะไรๆฟังดูกเ็ ข้าท่าไปหมด นี่เป็ น ‘ทาง เข้า’ อันแรกของทฤษฏีรูปตัวยู การลงไปสู่ เบื้องล่างของยูน้ นั ยังต้องอาศัยการมองโลกผ่านสมุหปัญญา สัมผัสกับ เรื่ องราวผ่านจิตวิญญานร่ วมซึ่ งแน่นอนว่าจะต้องเกิดมาจากการเปิ ดหู เปิ ดตา และเปิ ดใจ ซึ่ งมันจะไม่เกิดขึ้นถ้า หากทุกคนในคณะนั้นยังไม่ทาำ การ ‘จาริ ก’ ทางจิตวิญญานร่ วมกัน การไปหวังจะเปลี่ยนแปลงและสร้างนวตกร รมจากกระบวนการของอาจารย์น้ นั คงได้ในระดับหนึ่ง แต่ผมเชื่อว่ายังไม่เพียงพอที่จะตกผลึกทางความคิด และ ความเข้าใจจนเป็ นนวตกรรมที่จะสร้างผลกระทบในระดับกว้างและลึกได้ ช่วงสายเป็ นการแบ่งกลุ่มไปตามความสนใจซึ่ งผมกำาลังสนใจประเด็นเรื่ องการขับเคลื่อนภาคส่ วนในสังคมเพื่อ การเปลี่ยนแปลง จึงเลือกที่จะเข้าประชุมกลุ่มย่อยเรื่ อง ELIAS Project ซึ่งเป็ นโครงการนำาร่ องที่เชื่อมโยง องค์กรขนาดใหญ่ยสี่ ิ บองค์กรในสามภาคส่วนคือ ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคมเข้าหากันเพื่อสร้าง นวตกรรมของระบบที่จะนำาสู่ โลกที่มีความยัง่ ยืนมากยิง่ ขึ้น เป็ นโครงการที่ก่อตั้งขึ้นด้วยการผลักดันของ ออตโต ชาร์มเมอร์ (Otto Scharmer) ซึ่ งก็เป็ นเพื่อนร่ วมงานของปี เตอร์ เซงเกที่ MIT นัน่ เอง ออตโตเป็ นผูค้ ิดค้น ทฤษฏีรูปตัวยู ซึ่ งได้นาำ มาใช้เป็ นฐานความคิดของโครงการ ELIAS นี้ มีบริ ษทั หลายบริ ษทั ระดับโลกเข้าร่ วมในโครงการดังกล่าวทั้ง GE Renewables, Uniliver, NISSAN ส่วนทางภาคองค์กรประชาสังคมก็เช่น WWF ซึ่งปัจจุบนั นี้ยอ่ มาจาก World Wide Fund for Nature ซึ่ง แต่ก่อนนี้เรารู้จกั กันในนาม World Wildlife Fund ได้ส่งทีมผูบ้ ริ หารระดับกลางที่กาำ ลังจะเติบโตขึ้นมารับ ตำาแหน่งระดับสู งเพื่อกุมบังเหียนขององค์กรต่อไปเข้าร่ วม จากนั้นทั้งหมดได้เดินทาง “จาริ ก” 6ไปยังประเทศ จีนในบริ เวณที่ห่างไกลจากการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อที่จะใช้เวลาสองสัปดาห์ร่วมกันในหมู่บา้ นชาวจีน เพื่อที่จะ “มองจีนผ่านสายตาของคนจีน” จากนั้นมีการทำาสมาธิหมู่และใช้เวลาร่ วมกันอีกหนึ่งสัปดาห์เพื่อที่จะตกผลึกทาง ความคิด และให้กาำ เนิดสิ่ งที่เรี ยกว่าเป็ นนวตกรรมต้นแบบร่ วม (Prototyping) เดย์นา คันนิงแฮมซึ่ งเป็ นหัวหน้าโครงการบอกว่าจริ งๆสิ่ งที่เธอทำาไม่ได้เป็ นสิ่ งใหม่ เพราะนวตกรรมข้ามสาขา และข้ามสายงานมีให้เห็นเป็ นตัวอย่างในธุรกิจมากก่อนหน้าแล้วก็คือบริ ษทั ที่เรี ยกว่า ‘IDEO’ ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ที่ สร้างนวตกรรมการออกแบบอุตสาหกรรมที่มีชื่อเสี ยงที่สุดบริ ษทั หนึ่ง ตั้งอยูท่ ี่รัฐคาลิฟอร์เนีย ประเทศ สหรัฐอเมริ กา ภายใต้ความคิดที่วา่ การออกแบบที่เยีย่ มยอดนั้นจะต้องเกิดจากทีมที่มีความหลากหลายของที่มา และทีมนั้นยังจะต้องทำางานกันอย่างสอดประสานหรื อเรี ยกว่าต้องเป็ น “Hot Teams” อีกด้วย 5 6
http://ottoscharmer.com/ Deep-dive journey and retreat
ผลงานของ IDEO ที่ทุกคนรู้จกั เป็ นอย่างดีกค็ ือการเป็ นผูอ้ อกแบบเมาส์ที่ใช้กบั คอมพิวเตอร์ตวั แรกของโลก นั้น ก็คือคอมพิวเตอร์แอปเปิ้ ล และปาล์มไพล๊อต ประเด็นหนึ่งที่ผดุ ขึ้นจากการนำาเสนอที่น่าสนใจอย่างมากก็คือเรื่ องของการแก้ไขปัญหาที่สลับซับซ้อนไม่วา่ เรื่ อง ใดก็ตามที่ตอ้ งการความร่ วมมือจากหลายภาคส่ วน ไม่ใช่ไม่เคยเกิดขึ้นแต่เกิดขึ้นอยูต่ ลอดเวลา และแม้วา่ ทุกคนจะ มาร่ วมมือกันด้วยความหวังดี และความตั้งใจดี (Goodwill and Good Intentions) ก็ตาม แต่สุดท้ายมีอยู่ ไม่นอ้ ยที่ลม้ เหลวและสร้างความผิดหวังให้กบั ผูท้ ี่เข้าร่ วมไปตามๆกัน คำาถามก็คือมันเกิดอะไรขึ้นกันแน่ ประเด็นนี้ผมให้ความสนใจเป็ นพิเศษ ถ้าจะถามว่าเพราะเหตุใด ผมคิดว่าประเด็นนี้เป็ นกุญแจที่จะไขปริ ศนาของ งานที่เคยทำาและร่ วมคลุกคลีมาที่จงั หวัดนครสวรรค์ จากการงานกับกลุ่ม YCL ในประเด็นที่เป็ นปัญหาที่ซบั ซ้อนของสังคม เศรษฐกิจ และประสบการณ์ในการเชื่อมโยงภาคส่ วนต่างๆเข้าหากัน เพื่อกำาหนดยุทธศาสตร์การ พัฒนาจังหวัดนครสวรรค์ในช่วง 2-3 ปี ที่ผา่ นมา หรื อแม้แต่การทำางานร่ วมกับองค์กรภาคสังคมอื่นๆเช่นกลุ่ม นครสวรรค์ฟอรัม ผลที่ได้รับก็ยงั ไม่เป็ นที่น่าพอใจนัก ยังรู้สึกว่าขาดอะไรบางอย่างแต่กไ็ ม่รู้แน่ชดั ว่าคืออะไร แม้ คนทัว่ ไปจะให้การยอมรับกลุ่ม YCL ของผมมากก็ตาม เดย์น่ายิงเข้าเป้ าอย่างถนัดถนี่เลย เหมือนกับรู้วา่ ผมกำาลังกระหายใคร่ รู้คาำ ตอบของเรื่ องนี้ เธอบอกว่าสิ่ งที่พวกเรา ทำานั้นไม่วา่ จะมีความหวังดี และตั้งใจดีขนาดไหนแต่เราทำาได้แค่เพียงสะกิดเกาเพียงที่ผวิ ๆของปัญหาเท่านั้น สิ่ ง ที่พวกเราทำาส่ วนใหญ่ไม่ลงลึกถึงรากเหง้าของระบบ (Getting to the core) เราทำาได้เพียงแค่เป็ นผูเ้ ล่นใน ระบบที่ร่วมกันห้อควบมันให้ไปทางทิศทางที่ดูเหมือนว่าจะเป็ นความสำาเร็จ แต่ในความเป็ นจริ งแล้วมัน “ไม่” เป็ นเช่นนั้น.... เธอบอกว่าถ้าจะมาต้องไม่มาแต่ตวั ต้องเอาใจมาด้วย ต้องไม่เป็ นการ “ออกกำาลังคิด” แต่จะต้องพร้อมที่จะ “ตัว เปี ยก” เธอบอกว่าการเข้ามาลงเรื อเดียวกันเพื่อแก้ปัญหาที่ซบั ซ้อนนั้น เราไม่สามารถจะแก้ปัญหาโดยใช้การ ปฏิสัมพันธ์ (Transactional) แต่จะต้องอาศัยความพร้อมที่จะก้าวเปลี่ยน (Transformative) ไปด้วยกัน ซึ่ งชัดเจนและตรงกับความเป็ นไปของธรรมชาติ สอดคล้องกับแนวความคิดของการสอดประสานกันทางธรรมชา ติที่ฟริ จอฟ คาปราได้กล่าวถึงในหนังสื อ “โยงใยที่ซ่อนเร้น” นัน่ หมายความว่าเราไม่สามารถที่จะดำารงตนเป็ นผู้ สังเกตุการณ์ที่ไม่รู้สึกรู้สา แต่เราต้องร่ วมด้วย (Engage) เข้าสู่เรื่ องนั้นๆเพราะแท้จริ งแล้วใครจะไปรู้วา่ เราเองก็ เป็ นส่วนหนึ่งของการสร้างปัญหาด้วยเหมือนกันทั้งทางตรง และทางอ้อมที่เราคาดไม่ถึง เดย์นาบอกว่าเราโชคดีมาก เพราะเมื่อก่อนการทำางานในลักษณะนี้ เราไม่มีภาษาร่ วมที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ แต่ในปัจจุบนั เรามีทฤษฏีรูปตัวยู ของออตโต ทำาให้คนทำางานสามารถที่จะพูดจาภาษาเดียวกัน ซึ่ งการพูดจาภาษา เดียวกันเป็ นสิ่ งที่สาำ คัญมาก เพราะภาษาเป็ นพื้นฐานของความเข้าใจ ถ้าเราเรี ยนรู้ภาษาแห่งการก้าวพ้นไปด้วยกัน แล้วการทำางานจะเป็ นเรื่ องที่ง่ายขึ้นอักโข เดย์นาได้ยกตัวอย่างเรื่ องของการที่ลูกทีมของเธอ “ดำาดิ่ง” (deepdive) ลงสู่ กน ้ บึ้งของรู ปตัวยู ครั้งแล้วครั้งเล่า มีหลายครั้งที่ใต้สุดของตัวยู ทีมที่ไปเข้าสู่ ช่วงแห่งการเปิ ดใจ พร้อมที่จะสนทนากับจักรวาล และเรี ยนรู้จากอนาคตที่กาำ ลังก่อกำาเนิด7 ซึ่งผมฟังแล้วก็อดขำาไม่ได้ที่ได้ยนิ ชาว ตะวันตกพูดถึงเรื่ องนี้อย่างฉงนฉงาย เดย์นา บอกว่ามีเกร็ ดเล็กเกร็ ดน้อยในระหว่างที่เธอนัง่ ทำาสมาธิอยูใ่ นวัดจีน 7
Learning from the future as it emerges
เงียบๆท่ามกลางเปลวเทียนเป็ นร้อยเล่ม เธอสังเกตุวา่ เปลวเทียนนั้นเคลื่อนไหวไปตามจังหวะลมหายใจของเธอซึ่ ง เธอคิดว่ามันเป็ นเรื่ องที่น่าประหลาดแต่พอไปพูดคุยกับพระจีนท่านก็บอกว่าเป็ นเรื่ องปกติธรรมดา ประเด็นความคิดที่ผดุ กำาเนิดขึ้นในวงสนทนา เรื่ องหนึ่งก็คือสำาหรับคนทำางานอย่างเราแล้ว สิ่ งที่มกั จะเกิดขึ้นก็คือ การสร้างโครงการใหม่ข้ ึนมาทำาอยูเ่ รื่ อยๆ เมื่อพบว่าโครงการนั้นไม่ดีกเ็ ปลี่ยนแปลงไปทำาโครงการอื่นๆใหม่ๆอยู่ เสมอ ซึ่ งในที่สุดมันจะกลายเป็ นวงเวียนสไปรัลที่ไม่มีที่สิ้นสุ ด ถ้าเกิดแบบนั้นเราอาจจะเหนื่อยและไม่พบคำาตอบ สิ่ งที่ดีที่สุดก็คือหยุดให้หมดและถามตัวเองว่า “มีใครมั้ยที่ฉนั ยังไม่ได้คุยด้วยอีก?” ตรงนี้เจ้าหน้าที่จาก WWF เสริ มขึ้นมาถึงเรื่ องกระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ที่พวกเราชอบใช้กนั นักหนาเมื่อ สองสามปี ที่ผา่ นมา เรื่ องของการใคร่ ครวญเรื่ องวิสัยทัศน์ พันธกิจ ซึ่งมักจะได้ขอ้ สรุ ปเป็ นการแบ่งหน้าที่ให้ใคร ทำาอะไร และจะหาเงินมาจากไหน ควรจะถูกโยนทิ้งออกไปทางหน้าต่าง และเลิกใช้เสี ยที เพราะมันไม่ใช่ แนวทางการแก้ปัญหาที่แท้จริ ง เดย์นาบอกว่าสิ่ งที่คนทำางานอย่างเราจะทำาได้กค็ ือการเปลี่ยนแปลงในสามระดับ 8ระดับแรกก็คือตัวเรา เพราะถ้า ตัวเรายังไม่เปลี่ยนแปลงก็ยากที่จะเปลี่ยนแปลงคนอื่นได้ จากนั้นก็เปลี่ยนแปลงในระดับองค์กร และท้ายสุ ดคือ การเปลี่ยนแปลงในระดับสังคม ซึ่ งตรงนี้ปีเตอร์เข้ามาเสริ มว่าการเปลี่ยนแปลงอันยิง่ ใหญ่ที่จะสามารถส่ งผลกระทบในระดับรากฐานของระบบ นั้นแท้จริ งแล้วก็ได้มาจากการเปลี่ยนแปลงเทปม้วนเก่าของเราทีละเล็กละน้อยอย่างค่อยเป็ นค่อยไปนัน่ เอง 9 ผมอยากจะจบช่วงนี้ดว้ ยการเล่าเหตุการณ์วนั ที่เดย์นา เธอกลับจากเมืองจีนไปถึงบ้านที่นิวยอร์คของเธอ ลูกสอง คนของเธอค่อนข้างเป็ นเด็กซนเล็กน้อย เมื่อรู้วา่ แม่กลับจากการสัมมนาแต่ละครั้ งจะมีความเปลี่ยนแปลงตามมา ด้วยเสมอ เมื่อเธอเข้ามาในบ้านก็เลยแกล้งแซวแม่วา่ ให้รีบผูกข้าวของเครื่ องเรื อนเอาไว้ เพราะเดี๋ยวแม่จะจัดบ้าน ใหม่ เธอบอกว่าลูกๆของเธอก็พดู แบบนี้ มาหลายครั้งแล้ว แต่วนั นั้นเธอพบกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายใน เธอ ‘ฟัง’ สิ่ งที่ลูกๆพูด และค้นพบความหมายใหม่ที่ไม่เคยได้ยนิ มาก่อน เธอฟังได้อย่างลึกซึ้ งไปถึงข้างในของ ลูกๆว่าเพราะเหตุใดลูกๆของเธอจึงพูดเช่นนั้น แล้วเธอก็สงบนิ่งแทนที่จะตอบสนองอย่างที่แล้วๆมาที่จะเอ็ด และ โวยวายกับลูกถึงความไม่มีระเบียบเรี ยบร้อยรกรุ งรังของบ้าน เธอนิ่งฟังลูกๆของเธอมากขึ้น เมื่อเธอถามลูกๆของ เธอว่าระหว่างที่เธอจากบ้านไปสามอาทิตย์น้ นั เกิดอะไรขึ้นบ้าง ลูกคนหนึ่งของเธอถามกลับอย่างขี้เล่นว่า 10 “แม่อยากฟังว่าเกิดอะไรขึ้นจริ งๆ หรื อจะฟังเฉพาะสิ่ งที่อยากฟัง” เธออึ้งไปเล็กน้อยเมื่อเจอคำาถามนี้ แล้วตอบว่า “ขอให้แม่ฟังทั้งสองอย่าง อย่างละนิดได้ม้ ยั จ๊ะ” …
8 9
Three levels of actions – Personal, Institutional and Societal Systematic Changes is incremental change in habits.
10
Do you want to hear what actually happened or what you want to hear happened.
วันที่สามช่ วงบ่ าย พฤหัสที่ 28 มีนาคม 2550 (ช่วงบ่าย) ช่วงบ่ายเราเข้าสู่ Plenary Hall อีกครั้งเพื่อฟังการสะท้อนแง่มุม และสุ นทรี ยสนทนา เรื่ องการจุดประกาย องค์กรเพื่อความเปลี่ยนแปลงที่ฐานราก 11 เวทีกลางเริ่ มจากคำาคมของปี เตอร์อีกเช่นเคย เขาบอกว่า “เราจะไม่สามารถแก้ปัญหาใดปั ญหาหนึ่งได้ แต่เราสามารถแก้ปัญหาทั้งหมดได้” “เราไม่สามารถจะช่วยตัวเองได้ แต่เราสามารถช่วยทุกคนได้”
มันเป็ นประโยคที่น่าคิด และกระตุน้ ให้เกิดการเบ่งบานของปัญญาผ่านการสนทนาได้ไม่จบสิ ้ น เขาแนะนำาให้ รู้จกั กับนักปฏิบตั ิ 5 คนที่จะสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่เวทีกลางช่วงบ่ายวันนี้ หนึ่งในนั้นคือ จอห์น ดี แอดัมส์ จอห์น เป็ นผูแ้ ต่งหนังสื อเรื่ อง Thinking Today as if Tomorrow Mattered : The Rise of Sustainable Consciousness ในหนังสื อของเขามีความน่าสนใจอยูห ่ ลายประการ ประการแรกเป็ นหนังสื อ ที่อ่านง่ายและเป็ นรู ปธรรม น่าสนใจสำาหรับผูท้ ี่เริ่ มศึกษาเรื่ องการขยายขอบเขตจิตสำานึกให้หลุดออกจากตัวตนที่ คับแคบ สู่จิตสำานึกใหม่ของความยัง่ ยืนและเป็ นองค์รวม อีกประการหนึ่งนั้นเขาเป็ นผูท้ ี่เชื่อในการตั้งคำาถามที่ถูก ต้อง (Right Questions) และไม่ได้มุ่งที่จะให้คาำ ตอบแบบเบ็ดเสร็จกับเรื่ องราวใด หรื อกับใคร คำาถามที่ถาม นั้นหลายๆคำาถามพวกเราบางคนอาจจะเคยแวบปิ๊ งสงสัยใคร่ รู้ แล้วก็มกั จะยิงมันตกลงมาด้วยการฟันธงง่ายๆอย่าง น่าเสี ยดาย เช่น “อย่าไปคิดมันเลยวะ เดี๋ยวก็ตายห่ากันหมดโลกแล้ว” หรื อ “ใครจะเป็ นอย่างไรฉันไม่สน ขอ หาเงินให้ได้มากๆไว้ก่อน” คำาถามของจอห์นเป็ นคำาถามที่ถา้ ใครสักคนอดทน และจดจ่อนิ่งอยูก่ บั ปัญหาโดยไม่ใส่ อารมณ์ ก็จะสามารถถาม คำาถามเหล่านั้นขึ้นมาได้ไม่ยาก ยกตัวอย่างของคำาถามของเขา • • • • •
11
มนุษย์เราจะสามารถผลิตอาหารมาเลี้ยงเผ่าพันธ์ของเราได้อีกนานเท่าไหร่ ถ้าประชากรยังเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ ในขณะที่ความสามารถในการผลิตอาหารของเราลดลง ? อะไรคือต้นทุนของการแบ่งปันทรัพยากรอย่างเท่าเทียมกัน และอะไรจะเกิดขึ้นในระยะยาวถ้าเราไม่ แบ่งปันทรัพยากรอย่างเท่าเทียมกัน เราจะหวังให้อะไรๆมันเปลี่ยนแปลงไปได้อย่างไร ถ้าเรายังปฏิบตั ิตวั เหมือนเดิม หรื อปฏิบตั ิต่อเพื่อน บ้านเหมือนเดิมๆที่ผา่ นมา ฉันต้องการเห็นโลกเป็ นอย่างไรในอีก 30 ปี ข้างหน้า และฉันจะต้องทำาอย่างไรเพื่อร่ วมสร้างอนาคต นั้นในวันนี้ ฉันมีส่วนในการ ‘เติมพลัง’ ให้กบั ระบบที่ไม่ยงั่ ยืนนี้อย่างไร แล้วเราจะดำารงอยูใ่ นสภาพปัจจุบนั อย่าง นี้ไปได้อีกนานแค่ไหน
Igniting Organizational Capacity for Deep Change
• • • • •
ำ งานของฉันเป็ นการสร้างความร่ ารวยให้ กบั ตนเองในระยะสั้น หรื อสร้างคุณค่าให้กบั โลกนี้ ในระยะ ยาว? ฉัน และเพื่อนร่ วมงานหรื อคนใกล้ชิดจะต้องร่ วมมือกันอย่างไรเพื่อสร้างแบบแผนใหม่ของการดำารงอยู่ เพื่อความยัง่ ยืน ฉัน และเพื่อนร่ วมงานในสาขาอาชีพของฉันต้องละวางในเรื่ องใด เพื่อที่จะเปลี่ยนแปลงสู่ เป้ าหมายแห่ง ประสงค์ องค์กรอะไร หรื อสาขาอาชีพไหนที่เราควรจะเข้าร่ วมเป็ นพันธมิตร เพื่อที่จะขยายจิตสำานึกของเราให้ กว้างออกไปจากที่เป็ นอยู่ เราจะต้องทำาอย่างไรเพื่อที่จะทำาให้คนหมู่มากในสังคมของเราตระหนักถึงปัญหาที่ยิ ง่ ใหญ่เช่นนี้
จะเห็นได้วา่ จอห์นได้ต้งั คำาถามที่มีประโยชน์มากมาย ซึ่ งแต่ละคำาถามสามารถจุดประกายการสนทนาที่ก่อให้เกิด ปัญญาได้อย่างยาวนานเป็ นวันๆ ไม่แปลกที่ปีเตอร์เชิญเขามาพูดในวันนี้ ในหัวข้อเรื่ องของการ “จุดประกาย” ผม คิดว่าประเด็นเรื่ องการสร้างจิตสำานึกของความยัง่ ยืน (Sustainability) นั้นเป็ นประเด็นเร่ งด่วนเรื่ องหนึ่งใน ำ วมครั้งใหญ่เมื่อปี ที่แล้ว ถึงเรื่ องปลาตายที่พิจิตร และล่าสุ ดน้าป่ ำ าไหล สังคมไทย จากเหตุการณ์ซึนามิ ถึง น้าท่ ถล่มนักท่องเที่ยวที่เมืองตรังเมื่อสงกรานต์ที่ผา่ นมา คำาถามก็คือว่าเหตุการณ์เกิดขึ้นมากมายนี้เพียงพอหรื อยังที่จะ ทำาให้คนไทยหันมาสนใจประเด็นเรื่ องความยัง่ ยืน และถ้าหากตอบว่าสนใจคำาถามต่อไปก็คือพร้อมหรื อไม่ที่จะ เปลี่ยนแปลงตัวเอง และสังคม ไม่อยากจะพูดถึงนิสัยคนไทย แต่กอ็ ดไม่ได้จากหนังสื อของคุณ พงษ์ เผ่าวิจิตร เรื่ อง X-Ray คนไทย 360° ที่ เขียนว่าคนไทยสามารถรับมือกับปัญหาใหญ่ในเวลาสั้นได้ดี แต่ไม่รับไม่ค่อยได้กบั ปัญหาเรื้ อรังที่กินระยะเวลา ยาวนาน ยกตัวอย่างเรื่ องซึ นามิที่ฝรั่งต่างชาติชื่นชมเราว่าเราตอบสนองกับปัญหาได้อย่างฉับพลันทันด่วน ต่าง จากที่บางประเทศเช่นเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่น หรื อพายุแคทริ นาถล่มที่สหรัฐอเมริ กาเองที่กว่ารัฐบาลจะ ขยับไปรับมือกับปัญหาต้องให้ประชาชนออกมาวิพากษ์วิจารณ์อย่างสาดเสี ยเทเสี ย แต่น่าสังเกตุวา่ การแก้ปัญหา ของคนไทยเรานั้นมักจะมาเป็ นระลอกใหญ่โดยอาศัยความรู้สึกเข้าจับ ช่วงนั้นถ้าใครไม่ส่งของลงใต้เพื่อช่วย ำ ก็ดูจะกลายเป็ นคนแห้งแล้งไร้นาใจ ‘ปันน้าใจ’ ้ ำ แต่หารู้ไม่วา่ สิ่ งของที่ส่งลงไปนั้นน้อยอย่างจะตรงกับความ ต้องการของคนในพื้นที่ พอคนส่ งสิ่ งของหรื อเงินลงไปแล้วก็สบายใจว่าได้ช่วย แต่แท้ที่จริ งสิ่ งของต่างๆที่ไป กองสุ มกันกลับกลายเป็ นขยะก็มาก หรื อไปถึงมือของใครก็ไม่รู้แต่ไม่ใช่ผทู้ ี่ตอ้ งการความช่วยเหลือ ทุกวันนี้จะมีใครบ้างที่สนใจจะเอางบไปสร้างความยัง่ ยืน มีตวั อย่างให้เห็นกันมากว่าคนไทยคิดสั้น สั้นมากๆ เช่น ติดตั้งระบบเตือนภัยเป็ นร้อยล้านแต่ลืมตั้งงบอีกไม่กี่แสนเพื่อจ้างคนมาดูแล หรื อลืมตั้งงบบำารุ งรักษาเมื่อเกิดความ เสี ยหายซ่อมแซมไม่ได้กถ็ ูกทิ้งให้กลายเป็ นอนุสาวรี ยแ์ ห่งความอัปยศไว้ให้ลูกหลานดูต่างหน้า เหตุการณ์นาป่ ้ ำ าไหลหลากในครั้งนี้กอ็ ีกเหมือนกันมีคนพูดกันมากถึงการติดตั้งสัญญานเตือนภัย และการสำารวจ พื้นที่เสี่ ยงที่จะเกิดภัยคล้ายๆกันนี้ ซึ่ งนอกจากจะเป็ นการแก้ปัญหาแบบ “วัวหายล้อมคอก” แล้ว ยังแก้ปัญหา อย่าง “คนสายตาสั้น” อีกต่างหาก ทำาอย่างไรจึงจะรักษาอาการควำมพิกำรทำงวิสัยทัศน์ ของคนไทยได้ เป็ น คำาถามหนึ่งที่น่าถามเหมือนกัน
ต้องปรับเปลี่ยนครับ ผมคิดว่าเราสามารถจะแก้ปัญหาได้ทุกอย่าง ถ้าหันหน้าเข้ามาพูดคุยกันหลายๆฝ่ าย สร้าง สนามพลังแห่งปัญญาขึ้นสิ ครับ ดังที่ไอน์สไตน์พดู เอาไว้วา่ ปัญหาทุกอย่างนั้นไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ดว้ ยจิต วิญญานระดับที่สร้างปัญหานั้นขึ้นมาเสี ยเอง หันหน้าเข้ามาล้อมวงคุยกันว่าเพราะเหตุใดเหตุการณ์น้ี จึงเกิด อย่า ฟันธงสิ ครับ แก้ปัญหาให้เป็ นองค์รวม ไม่เอาแบบปะชุน (Quick Fix) เพราะเรารู้วา่ การแก้ปัญหาแบบมักง่าย มันก็มกั จะไปสร้างปัญหาใหม่ให้เราแก้ไขกันต่อไปไม่รู้จบ หรื อ บางทีตอ้ งถามตัวเองว่าเพราะเหตุใดการไปเที่ยว ำ งมีความหมายเท่ากับการเปลี่ยนที่นงั่ กินส้มตำา? อาจจะต้องฟังธรรมชาติมากขึ้นหรื อเปล่าแทนที่จะไป น้าตกจึ ำ ่อยูใ่ นธรรมชาติไม่ใช่สิ่งที่จาำ ลองขึ้นในห้างสรรพสิ นค้า จะให้มีความปลอดภัยร้อย เปลี่ยนธรรมชาติ น้าตกที เปอร์เซนต์เป็ นไปไม่ได้ หินบางก้อนไม่ได้อยูต่ รงนั้นเพื่อให้เราไปปี น แต่ความยะโสของมนุษย์กเ็ อาปูนซิ เมนต์ ไปเทไปโบก เพื่อให้เดินขึ้นง่ายๆ เอาร้านอาหาร หรื อแม้แต่ส้วมเข้าไปวางข้างๆต้นน้าำ ซึ่งต่อมาจะกลายเป็ นน้าำ ำ ของคนทั้งประเทศ!! ดื่มน้าใช้ นักปฏิบตั ิอีกคนหนึ่งที่น่าสนใจไม่แพ้กนั ก็คือ เดวิด เกอร์ชอน เขาเป็ นผูก้ ่อตั้งสถาบันเอ็มพาวเวอร์เม นท์ 12 ซึ่ งเป็ นองค์กรที่ให้คาำ ปรึ กษาในเรื่ องการขับเคลื่อนเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคม ผลงานของเดวิด เกอร์ชอนมี อยูม่ ากมายและที่ล่าสุ ดเขาหันมาจับเรื่ องของความยัง่ ยืนของชุมชนและโลก เขาเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในการสร้าง โปรแกรมที่ได้ผลจริ งในทางปฏิบตั ิ เช่นโปรแกรมการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อหยุดยั้งสภาวะโลกร้อน หรื อที่เขาเรี ยกอย่างกิ๊บเก๋ วา่ “โลว์ คาร์บอน ไดเอ็ด” (Low Carbon Diet) ในขณะที่ผมกำาลังเขียนอยูน่ ้ ี มี ชาวอเมริ กนั หลายพันคนกำาลังเข้าร่ วมโปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่งของเขา เพื่อมุ่งที่จะขับเคลื่อนชุมชนของตนไป สู่สังคมที่ดีกว่า เดวิด บอกว่ากระบวนการเปลี่ยนแปลงสังคมแบบเดิมๆที่เรารู้จกั เช่นการออกกฏหมาย การตั้งกำาแพง ภาษี หรื อแม้กระทัง่ การประท้วงนั้น ได้ผลในระดับหนึ่งแต่ไม่ใช่คาำ ตอบสุ ดท้าย เพราะเหตุวา่ มิได้ออกแบบมา เพื่อสร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ฐานราก เดวิดบอกว่าหลายๆคนมีความตั้งใจดีแต่เมื่อพบว่าความเป็ นจริ งของ การขับเคลื่อนสังคมนั้นเป็ นหนทางสายเปลี่ยวที่เต็มไปด้วยขวากหนาม หลายคนบาดเจ็บ ผิดหวัง ขมขื่น และ สุ ดท้ายพาลเปลี่ยนทัศนคติในการมองโลกเป็ นแง่ร้ายไปเลย ซึ่งเขาเชื่อว่ามันไม่จาำ เป็ นจะต้องลงเอยแบบนั้น ถ้า หากสามารถเริ่ มได้ดว้ ยการ ‘ออกแบบ’ ที่ดี เดวิดบอกว่ากุญแจสำาคัญของการออกแบบกระบวนการขับเคลื่อนสังคมนั้นมีอยู่ 5 ประการ คือ 1. รู้ จักตน, 2. สร้ ำงนวตกรรมทำงสั งคม, 3. องค์ รวม, 4. เปลีย่ นแปลงจำกฐำนรำก และ 5. แตกตัวได้ ไม่สิ้นสุ ด ประการแรกคือการ รู้จกั ตนเอง หรื อ Empowerment ซึ่ งก็คือการทำาให้คนแต่ละบุคคลตระหนักว่าการ เปลี่ยนแปลงสังคมนั้นเริ่ มต้นจากตัวเองเป็ นอันดับแรก มองให้เห็นว่าก้าวเล็กๆที่เรากำาลังปฏิบตั ิน้ ัน จะขยายตัว ออกไปมีผลกระทบกับสังคมที่กว้างขึ้นได้อย่างไร ถ้าคนเราเห็นความเชื่อมโยงตรงนี้ กาำ ลังใจในการปฏิบตั ิกจ็ ะมี มา ประการที่สองคือการให้การสนับสนุนและกระตุน้ เร้าให้นกั ปฏิบตั ิร่วมกันสร้างนวตกรรมทางสังคม ตัวอย่าง เช่น SoL Forum เป็ น ‘นวตกรรมทางสังคม’ รู ปแบบหนึ่ง เนื่องจากเป็ นองค์กรที่มีผลกระทบในทางกว้างและลึกอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน หรื อถ้าเปรี ยบเทียบใกล้ตวั กลุ่ม YCL นครสวรรค์เองก็เป็ นกลุ่มที่จดั ว่าเป็ นนวตกรรมทางสังคมได้เหมือนกัน เพราะเป็ นการรวมตัวกันระหว่างนักธุรกิจรุ่ นใหม่ นักธุรกิจประสบการณ์สูง รวมทั้ง NGO และนักวิชาการ โดย 12
http://www.empowermentinstitute.net
พบปะกันเป็ นประจำาและทำางานขับเคลื่อนสังคมโดยไม่หวังสิ่ งใดตอบแทน วางตัวเป็ นกลางและประสานได้ทุก กลุ่มผลประโยชน์ เพื่อนำาพาปัจจัยที่เหมาะสมออกจากระบบเดิมๆมาสู่ การพัฒนาสังคมที่ตรงกับความต้องการ ของคนในพื้นถิ่นอย่างแท้จริ ง ประเด็นที่สามคือ องค์รวม เดวิดใช้คาำ ว่า Unitive ซึ่งก็คงมีความหมายว่ารวมกันเป็ นหนึ่งเดียว การ รวมกันเป็ นหนึ่งก็คือการเชื้ อเชิญให้ ‘ผูเ้ ล่น’ ทุกคนเข้ามาอยูร่ วมกันและแก้ปัญหาร่ วมกัน หลีกเลี่ยงการแบ่ง พรรคแบ่งพวก หรื อเรี ยกอีกฝ่ ายหนึ่งว่า ‘พวกนั้น’ (an other) พอพูดเรื่ องนี้ผมแว่บไปคิดถึงประสบการณ์ ของผมที่เคยไปเรื อเยาวชน13 ก็ไม่ได้พยายามที่จะฟื้ นฝอยหาตะเข็บ แต่อาจจะเพื่อประโยชน์ของใครก็ตามที่คิด ว่าจะไปร่ วมประสบการณ์ที่มีหลายเชื้ อชาติอยูร่ วมกัน การ ‘กางร่ มใหญ่’ ย่อมดีกว่า ‘กางร่ มเล็ก’ หลายๆอัน คนไทยมีนิสัยน่ารักอันหนึ่งคือรักพวกพ้อง มีนาใจ ้ ำ แต่นิสัยนี้ถา้ ดึงไปสุ ดโต่งแล้วก็จะกลายเป็ น ‘รั้วลวดหนาม’ ที่ปิดกั้นเราไว้ และถ้าปล่อยให้เติบโตกลายเป็ นการเหยียดเชื้ อชาติ จะสร้างปัญหาในระยะยาว ‘การกางร่ มใหญ่’ ผมหมายความว่าทุกชาติพนั ธ์ต่างก็เป็ น ‘มนุษย์’ เหมือนกับเรามีความกลัว ความรัก อารมณ์ความรู้สึกเหมือนกัน แต่ ‘การกางร่ มเล็ก’ เป็ นการมองว่าคนไทยจะต้องอยูก่ บั คนไทยด้วยกัน ดูแลกันและมองว่าชาติอื่นก็คือ ‘พวก นั้น’ ถ้าพวกที่วา่ มีสิ่งตอบสนองให้เราก็ปฏิสมั พันธ์อย่างดีดว้ ย ดังจะเห็นว่าคนไทยในเรื อจะเข้ากับคนญี่ปุ่นได้ เป็ นอย่างดี และเกรงอกเกรงใจชาวญี่ปุ่น เพราะส่ วนหนึ่งเป็ นเจ้าของเรื อ และเจ้าของโครงการ แต่กบั ชาติอื่นๆก็ เฉยๆ และมักจะไปตั้งชื่อเล่นให้เขา เช่นถ้าชาวอินโดนีเซี ยก็ไปเรี ยกเขาว่า ‘ไอ้ อ.’ ชาวสิ งค์โปรก็ไปเรี ยกเขาว่า ‘ไอ้ ส.’ เป็ นต้น และปฏิบตั ิกบั เขาเป็ น ‘พวกนั้น’ สิ่ งนี้เองเป็ นเหมือนเส้นผมบังภูเขาของคนไทย เพราะเราไม่อาจเข้าใจได้วา่ คุณค่าที่ดีๆของเราเช่น การมี ำ รักพวกพ้องนั้นมันจะกลายเป็ นสิ่ งที่ไม่ดีได้อย่างไร ซ้าร้ ำ ายกว่านั้นถ้าใครปฏิบตั ิแตกต่างไปจากนี้ หรื อมีมุม น้าใจ ำ ไม่รักพวกพ้อง ไม่รักชาติ ไปนู่นเลย ยก มองต่อโลกโดยกางร่ มใหญ่กลับจะถูกคนไทยด้วยกันมองว่าไม่มีน้าใจ ตัวอย่างตอนนี้พวกเรากำาลังคลัง่ ไทเกอร์ วูดส์ ซึ่งเป็ นลูกครึ่ งที่มีคุณแม่เป็ นคนไทย เราก็ไปพยายามเหมาเอาว่าเขา เป็ นคนไทยด้วย และเราก็มาเสี ยใจเมื่อไทเกอร์บอกว่าตัวเขาเป็ นพลเมืองของโลก ซึ่ งก็คือการกางร่ มใหญ่ ไม่แบ่ง แยก ซึ่ งเป็ นเรื่ องที่ถูกต้อง แต่สื่อบ้านเรารวมทั้งคนไทยหลายคนเอามาวิจารณ์ในทางเสี ยหาย ไทเกอร์เป็ นคน ฉลาด และถ้าพูดถึงเรื่ องการแบ่งแยกและกีดกัน เขามีประสบการณ์ตรงมากกว่าเราหลายขุม การที่มีพอ่ เป็ นคนแอ ฟริ กนั อเมริ กนั ไทยเกอร์เองต้องประสบกับการเหยียดผิวตั้งแต่ยงั เล็ก ทุกวันนี้แม้จะผ่านตรงนั้นมาได้แต่เขาย่อม รู้ดีวา่ การถูกห้ามไม่ให้เล่นกอล์ฟในบางสนามเพียงเพราะเขาเป็ นเด็กผิวดำานั้นมันเป็ นอย่างไร ยังมีอีกหลายเหตุการณ์ในประเทศเราที่โยงใยกับเรื่ องการกางร่ ม ไม่วา่ จะเป็ นการขอให้บรรจุคาำ ว่าพุทธ ศาสนาเป็ นศาสนาประจำาชาติ และถ้าไม่ได้พระสงฆ์จะฆ่าตัวตาย เป็ นอีกตัวอย่างหนึ่งของการ ‘กางร่ มเล็ก’ มัน จะมีประโยชน์อะไรล่ะครับในการกำาหนดเช่นนั้นในรัฐธรรมนูญ นอกจากการนำาเอาตัวอักษรเพียงไม่กี่บรรทัดนี้ ไปขู่ข่มคนที่ไม่นบั ถือศาสนาพุทธหรื ออย่างไรกัน มันเป็ นการแบ่งแยกพวกฉัน กับพวกแกอีกแล้วหรื อ และจะน่า อายขนาดไหนถ้ารัฐธรรมนูญของเราเมื่อเขียนขึ้นมาก็ไม่ได้เป็ นไปเพื่อความเท่าเทียมกันเสี ยแล้ว จะหวังให้ ประเทศชาติสงบสุ ขสมานฉันท์กนั ในอนาคตได้อย่างไรในเมื่อเรากำาลังจะวาง ‘ระเบิดเวลา’ เอาไว้ในกฏหมาย สู งสุ ดของประเทศ แล้วพระสงฆ์ประเภทไหนกันที่สามารถจะคิดฆ่าตัวตายได้ผมก็อยากรู้จริ ง 13
โครงการเรื อเยาวชนเอเชียอาคเนย์ http://www.sseayp.com/
เรื่ องเหตุการณ์ไม่สงบทางภาคใต้กเ็ ป็ นระลอกคลื่นใหญ่ที่เกิดขึ้ นจากการ ‘กางร่ มเล็ก’ นี้เองเช่นกัน ที ละเล็กละน้อยเราสะสมความแบ่งแยกไม่เฉพาะเรื่ องชาติพนั ธ์ แต่เป็ นการแบ่งแยกทางชนชั้นตามหน้าที่และ วิชาชีพรวมเข้าไปด้วยอีกเปลาะหนึ่ง การตราหน้าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นที่ภาคใต้วา่ เป็ นฝี มือของ ‘โจรกระจอก’ โดยอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิน ชินวัตร เป็ นวิธีการของซาตานในการแบ่งแยก และลดความเป็ นมนุษย์ โดยสร้าง ภาพของ ‘พวกนั้น’ ที่ไร้ตวั ตน เพื่อให้มีความชอบธรรมที่จะเคลื่อนไหวทางการเมืองตามที่ตนเห็นควร จะต่าง อะไรกับเหตุการณ์ฆ่าล้างเผ่าพันธ์ที่รวันดาในปี พ.ศ. 2537 ที่เพื่อนบ้านลุกขึ้นมาฆ่าเพื่อนบ้านข้างๆบ้าน ซึ่งเมื่อ วานยังกินข้าวร่ วมโต๊ะกันอยูเ่ ลย เพียงเพราะรัฐบาลบอกว่าอีกฝ่ ายเป็ นภัยต่อความมัน่ คงของประเทศ เหตุการณ์ นั้นมีคนตายไปเป็ นล้านคน ผมคงว่าเรื่ องนี้ต่อไปได้เรื่ อยๆ แต่เนื่องจากเรายังเหลือหลักคิดของเดวิด อีกสองข้อ จึงต้องขอให้ยอ้ น กลับมาในเรื่ องของเราต่ออีกสักนิด หลักข้อที่ 4 ในขบวนการสร้างความเปลี่ยนแปลงของสังคมก็คือ กำร เปลีย่ นแปลงจำกฐำนรำก ซึ่งเขาอธิบายว่ามันคือนำานักปฏิบตั ิไปสู่ การพานพบประสบกับความเป็ นไปได้ใหม่ๆ ที่ จะนำามาสู่ การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ หรื อว่าง่ายๆก็คือพาให้พวกเขาเห็นว่าเขาทุกคนมีความสามารถที่จะเปลี่ยน เกมส์ที่เล่นได้ ไม่จาำ เป็ นต้องจำากัดตัวเองอยูใ่ นวังวนของเกมส์ที่ผอู้ ื่นกำาหนดกรอบกติกาเอาไว้ ในกรณี น้ ีน่า สนใจมาก ถ้าจะให้เปรี ยบก็คงจะคล้ายกับแนวความคิดการยุทธศาสตร์ทะเลสี คราม 14 ที่บอกไว้วา่ เราไม่สามารถ ที่จะเอาชนะได้ถา้ หากเรายังเล่นอยูใ่ นเกมส์ที่ถูกกำาหนดกฏกติกาเอาไว้แล้วโดยผูเ้ ล่นอื่นๆ ประเด็นที่จะต้องไม่ทิ้ง ก็คือการ ‘นำาพา’ นักปฏิบตั ิให้เห็นถึงความเป็ นไปได้ใหม่ๆ ให้ ‘หลุด’ จากกรอบความคิดเดิมๆ ซึ่งอาจจะอาศัย ทฤษฏีรูปตัวยู15 ของออตโตมาช่วย หรื อจะต้องอาศัยการทำาสุ นทรี ยสนทนา ในรู ปแบบที่ไร้รูปแบบจากญานทัศ นะของอาจารย์ วิศิษฐ์ วังวิญญู ก็เป็ นตัวเลือกที่น่าสนใจ หรื อแม้กระทัง่ การทำา World Café 16เองผมก็คิดว่า เป็ นจุดเริ่ มต้นที่ดี และสุ ดท้ายก็คือการแตกตัวได้ไม่สิ้นสุ ด (Scalable) เช่นเดียวกับสถาปนิก และนักออกแบบที่ดีทุก ำ นเรื่ องที่สาำ คัญ และจะ คนจะต้องคำานึงถึงการขยับขยาย รวมทั้งการทำาซ้าำ การคำานึงถึงข้อจำากัดของการทำาซ้าเป็ ต้องทำาในขั้นตอนนี้เท่านั้น เพราะถ้าผ่านพ้นไปแล้วจะมาแก้ไขก็อาจจะทำาได้แต่เสี ยเวลา การแตกตัวออกไปเป็ น สิ่ งที่จาำ เป็ นเพราะการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทุกอย่างจะต้องเผชิญกับ ‘แรงเสี ยดทาน’ ในทุกรู ปแบบ เปรี ยบ เสมือนการผลักก้อนหิ นใหญ่ลงจากภูเขา ถ้าใช้แรงกายของคนเพียงคนเดียวย่อมทำาไม่ได้ หากแต่เมื่อเพิ่มจำานวน ของคนเข้าไปก็ยอ่ มสามารถสำาเร็ จได้ จุดที่กอ้ นหินเขยื้อนลงจากภูเขานั้นเราสามารถเรี ยกมันได้วา่ เป็ น ‘จุด เปลี่ยน’ หรื อ Tipping Point เพราะหลังจากนี้แล้วแรงโน้มถ่วงของโลกจะทำางานของมันเอง และก้อนหิ นจะ เคลื่อนลงมาด้วยอัตราเร่ ง แต่ก่อนจะถึงจุดนั้นเราจะพบว่ามันเป็ นงานที่ยากจนดูเหมือนว่าเป็ นไปไม่ได้ การวัดผล สำาเร็ จของงานนั้นเล่าก็วดั ไม่ได้เลยเพราะก้อนหิ นยังมีความเร็ วเป็ นศูนย์ หรื ออีกนัยหนึ่งมันยังไม่ขยับเขยื้อนเลย แม้สักนิด แรงเสี ยดทานนี้เองเป็ นสิ่ งที่นกั ปฏิบตั ิเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมจะต้องเผชิญอยูต่ ลอดเวลา และมีอยูไ่ ม่ น้อยที่ลม้ เลิกเสี ยกลางคัน มิใช่เป็ นเพราะความตั้งใจไม่มีแต่ความผิดพลาดอยูท่ ี่การ ‘ออกแบบ’ หากเราออกแบบ ำ ณ. ที่ใดก็ได้ เปรี ยบเสมือนต้นหญ้าคาที่ปล่อยละออกเกสร ล่องลอยไปตามกระแสลม ใน ให้สามารถทำาซ้าได้ 14 15 16
Blue Ocean Strategy (Professors W. Chan Kim and Renée Mauborgne) www.ottoscharmer.com http://www.theworldcafe.com/
เวลาไม่นานมันก็ข้ ึนเต็มป่ า นัน่ เป็ นเพราะการออกแบบที่ดีมิใช่หรื อ ซึ่งทั้งหมดนี้กไ็ ปสอดคล้องอย่างสวยงามกับ มุมมองของอาจารย์ ส. ที่มุ่งเน้นให้พวกเราทำางานที่มี High Leverage หรื อทำาน้อยนิดให้ผลมหาศาล ในการสนทนากลุ่มบนเวทีกลางมีเกร็ ดเล็กเกร็ ดน้อยที่น่าสนใจ ผมฟังไปเรื่ อยๆจดบันทึกบ้างไม่จดบ้าง อาจจะไม่ปะติดปะต่อแต่กน็ ่าที่จะได้นาำ มาถ่ายทอด อย่างเช่นมีอยูช่ ่วงหนึ่งของการพูดคุยกันถึงเรื่ องค่านิยมของ คนอเมริ กนั เรื่ องของการทำางาน และการสะสมวัตถุ (Doing & Having) หรื อการทำางานเพื่อเลื่อนสถานะทาง สังคม ที่ไม่วา่ จะเลื่อนขึ้นไปมากเท่าใดก็ยงั รู้สึกว่ายังไม่เพียงพอ เพราะยังรู้สึกว่ามีชนชั้นทางสังคม และระดับที่ สู งกว่าขึ้นไปอีกเรื่ อยๆ โดยดูจากเพื่อนหรื อสังคมรอบข้าง ดังนั้นจึงจะต้องขวนขวายเพื่อเพิ่มเติมในสิ่ งเหล่านั้น เข้ามาอีกเรื่ อยๆเพื่อเป็ นเครื่ องแสดงถึงฐานะทางสังคมที่สูงขึ้ นไปอีก เช่นถ้าเพื่อนที่ทาำ งานของเรามีพลาสมาทีวี ขนาด 40” เราก็ตอ้ งมีบา้ งแต่ให้ใหญ่กว่า ถ้าเขามีรถแวนรุ่ นใหม่ประตูขา้ งเปิ ดอัตโนมัติเอาไว้พาลูกๆไปเที่ยวต่าง จังหวัด เราก็ตอ้ งมีบา้ ง เป็ นต้น ซึ่งอันนี้ในการพูดคุยก็หยอกกันว่า ควรเรี ยกปรากฏการณ์น้ ี วา่ ดูบีดูบีดูบีดู (พยายามทำาเสี ยงให้เป็ นทำานองเพลงในยุค 70’s) ก็คือ Do Be Do Be Do Be หรื อทำา(งาน) แล้วก็เป็ น (ได้ฐานะทางสังคมใหม่) แล้วก็ ทำา(งาน) แล้วก็ ได้มาเป็ น (ฐานะทางสังคมที่สูงขึ้นอีก) ไปเรื่ อยๆไม่มีวนั สิ้ น สุ ด ในสนามแข่งหนูของระบบทุนนิยมนี้ ส่วนจอห์นได้ลองอะไรที่น่าทึ่งอย่างหนึ่งระหว่างที่สนทนากันเขาลุกขึ้ นแล้วตั้งคำาถามให้พวกเราตอบ พวกเราในที่น้ ีอย่าลืมว่าเป็ นคนอเมริ กนั กว่า 90% เขาบอกว่าเขาจะตั้งคำาถามสั้นๆแล้วในทันทีที่คาำ ถามนั้นจบให้ ทุกคนตะโกนตอบกลับมา เอาคำาตอบแรกโดยไม่ตอ้ งคิด พอพวกเราพร้อมเขาเริ่ มถาม จอห์น
ผูเ้ ข้าร่ วมประชุม
“พร้อมนะ” “นึกถึงสี 2 อะไรก็ได้ 2 สี ” เสี ยงเดียวกัน) “นึกถึงดอกไม้” “นึกถึงเฟอร์ นิเจอร์ ในบ้านมาสองอย่าง” “นึกถึงเครื่ องมือที่ใช้ในบ้าน” “นึกถึงผลไม้มาหนึ่งอย่าง”
“พร้อม”
ำ น” (ทุกคนพูดออกมาเกือบจะเป็ น “แดง น้าเงิ
“กุหลาบ” (เกือบจะเป็ นเสี ยงเดียวกัน) “เก้าอี้ & โซฟา” (เกือบจะเป็ นเสี ยงเดียวกันอีกครั้ งหนึ่ง) “ค้อน” (เสี ยงเดียวกัน)
“แอปเปิ้ ล” (เสี ยงเดียวกัน)
ทุกๆครั้งที่เขาถามคำาถามเหล่านี้ ผมขนลุกซู่ เมื่อพบว่าเกือบทุกๆคนรวมทั้งคนรอบๆตัวผมพูดพร้อมกันราวกับว่า มีการบอกบทกันมาก่อน เขาสรุ ปว่าเห็นหรื อยังว่าคนเรานั้นเหมือนกันมากกว่าที่เราคิด!! แล้วยังจะคิดอีกหรื อว่า เรานั้นเป็ นปัจเจกบุคคลที่ให้ใครมาจูงจมูกไม่ได้ และมีการตัดสิ นใจที่เป็ นเอกเทศ มีเรื่ องหนึ่งที่คุณ ดาร์ซี่ วินสโลว ซึ่ งเธอเป็ นผูจ้ ดั การทัว่ ไปของบริ ษทั ไนกี้บอกว่าถ้าพูดถึงเรื่ องการ บริ โภคแล้ว เธอมีเรื่ องที่น่าตลกปนเศร้าเล่าให้ฟังว่าการสัมมนาในโรงแรมแห่งหนึ่งเธอไปเห็นถ้วยกาแฟที่ทาำ จาก โฟม ซึ่งแต่ละถ้วยถูกห่อไว้ดว้ ยถุงพลาสติก เธอตกใจมากและเรี ยกผูจ้ ดั การมาคุย และให้บทเรี ยนว่าการทำาเช่นนี้ เป็ นเรื่ องที่แย่มากและโรงแรมของคุณน่าจะมีจิตสำานึกในเรื่ องนี้ มากพอที่จะรู้วา่ ไม่ควรทำาเรื่ องเช่นนี้ ผูจ้ ดั การก็รีบ ขอโทษขอโพยและสั่งให้เก็บถ้วยกาแฟพวกนั้นไปเสี ย
จากนั้นอีกสองคนก็คือเชอรี่ ฟลายจากบริ ษทั คอสโค และไมค์ ดูพลี จากบริ ษทั ขายเมล็ดกาแฟปลอด สารพิษชื่อ กรี นเมาเทนท์ มาเล่าประสบการณ์ของการนำาเอาแนวความคิดที่ผมอยากจะเรี ยกว่าเป็ นกระบวนทัศน์ ใหม่ ไปปรับใช้ในองค์กรของตน ทั้งสองคนพูดถึงเรื่ องของปัญหาในการทำางาน และการค้นพบตัวตนและความ หมายใหม่ๆในการทำางาน เชอรี่ บอกว่าตนเคยทำางานด้วยความอึดอัดและพบว่าชีวิตการทำางาน และชีวิตส่วนตัว นั้นมีแต่ความวุน่ วายและว่างเปล่าหาสาระไม่ได้ แต่รู้สึกว่าชีวิตของตนเปลี่ยนแปลงไปจากการได้อ่านหนังสื อเล่ม หนึ่งจบลง หนังสื อที่เปลี่ยนแปลงชีวิตของเธอเล่มนั้นก็คือ เพรเซนส์ (presence) จัดพิมพ์โดย SoL Forum เขียนโดยผูแ้ ต่งสี่ คน ปี เตอร์ ออตโต จาวอร์สกี้ และเบตตี้ ซู ฟลาวเวอร์ ซึ่ งถ้าใครอ่านตั้งแต่ตน้ ก็น่าจะรู้จกั ปี เตอร์ และออตโต เป็ นอย่างดี ส่วนจาวอร์สกี้ ก็ไม่ใช่ใครที่ไหนคือผูแ้ ต่งหนังสื อเรื่ อง Synchronicity ร่ วมกับปี เตอร์นนั่ เอง เขายังเป็ นหนึ่งในผูก้ ่อตั้ง SoL อีกด้วย ส่วนเบตตี้ ซูน้ นั สอนหนังสื ออยูท่ ี่ University of Texas ที่ออสติน เชอรี่ บอกว่าตนรู้สึกว่าอยากจะเปลี่ยนแปลงชีวิต โดยอยากใช้ชีวิตที่มีความอุดม (congruent life) เพราะชีวิตการทำางานนั้นยากเหลือเกินที่จะค้นพบความหมายที่มีคุณค่าได้ เธอยกตัวอย่างเช่นถ้าเราลองไปถาม เพื่อนร่ วมงานของเราว่าทุกวันนี้ ทาำ งานไปทำาไม คำาตอบแรกที่ได้อาจจะได้รับ (หลังจากมองเราด้วยสายตา แปลกๆแล้ว) ก็คือทำางานเพราะ ‘ต้องทำา’ จบ!! คำาตอบแบบต่อมาสรุ ปได้วา่ ทำางานเพราะจำาเป็ นจะต้องทำา (เพื่อ เลี้ยงชีพ จ่ายค่าเช่าบ้าน ผ่อนรถ ฯลฯ) และบางคนก็บอกว่าให้ไปดูเองเว็บไซท์ ภายใต้หวั ข้อ ‘พันธกิจของ บริ ษทั ’ (Mission Statement) เธอจึงรู้สึกว่าไม่ได้คาำ ตอบอะไรเลยจนกระทัว่ ได้อ่านหนังสื อจบ และเธอได้ คิดว่าเธอทำาเพราะเธออยากจะมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงโลกนี้ ให้ดีข้ ึน แต่ก่อนจะเปลี่ยนโลกนี้ได้เธอตั้งปณิ ธาน ว่าจะต้องเปลี่ยนแปลงตัวเอง และพฤติกรรมเดิมๆของเธอเสี ยก่อน เธอเล่าให้ฟังว่าสิ่ งหนึ่งที่เธอได้จากการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองก็คือการที่เธอจะต้องทำาดีกบั ทุกๆคน เป็ น เรื่ องที่พดู ง่ายแต่ทาำ ยาก เธอได้เปลี่ยนโฉมการประชุมบริ ษทั เสี ยใหม่ในแนวทางที่เธอเองก็นึกไม่ถึง เธอได้นาำ เอา วิธีการพูดคุยแบบลึกซึ้ งไปใช้ในการประชุม และเธอบอกว่าสิ่ งที่สาำ คัญที่สุดสำาหรับการประชุมก็คือการ ‘เริ่ ม ประชุม’ จะต้องเริ่ มให้ศกั ดิ์สิทธิ์ มีครั้งหนึ่งที่เธอคิดว่าจะนำาวิธีน้ ี ไปใช้หรื อไม่ เธอได้รับฟังข่าวร้ายจากเพื่อนร่ วม งานว่ามีลูกชายของเพื่อนร่ วมงานเสี ยชีวิตจากอุบตั ิเหตุรถยนต์ ซึ่งลูกชายคนนี้คนในที่ประชุมก็รู้จกั มักคุน้ เป็ น อย่างดี เป็ นเด็กที่น่ารักและทุกคนให้ความเอ็นดู เธอจึงเริ่ มจากการให้ทุกคนไว้อาลัยเป็ นเวลาหนึ่งนาที จากนั้น ำ ยงที่เต็มไปด้วยความรู้สึกว่าจะขอมอบการประชุมครั้ งนี้ให้กบั ลูกชายของเพื่อนร่ วมงานคนนั้น เธอพูดด้วยน้าเสี หลังจากนั้นสิ่ งมหัศจรรย์ได้เกิดขึ้นมากมายในการประชุมครั้งนั้น เธอได้พบว่าเรื่ องราวต่างๆที่เคยเป็ นปัญหา และ หาข้อตกลงไม่ได้ สามารถหาข้อสรุ ปไปได้ท้ งั หมดและไม่มีครั้งใดเลยที่มีการโต้เถียงหรื อใส่ อารมณ์ต่อกันอย่างที่ เคยเป็ นมา การประชุมครั้งนั้นเพียงครั้งเดียวเปรี ยบเสมือนได้ประชุมนับสิ บครั้ ง และผลของการประชุมครั้งนั้นยัง ก่อให้เกิดผลกระทบทางบวกเป็ นวงกว้างออกไปอีกเป็ นระลอกแล้วระลอกเล่า อย่างเกินความคาดหมายและเกิน กว่าที่ใครจะคาดเดาได้ สำาหรับไมค์ ดูพลี ก็เป็ นคนที่น่าสนใจ ดูจากวัยแล้วน่าจะสามสิ บเศษ เป็ นฝรั่งผิวขาวดูเจ้าเนื้อตัวใหญ่ อ้วนท้วน หน้าตาเป็ นดูเป็ นมิตร เขาบอกว่าเขาเป็ นคนหนึ่งที่สนใจเรื่ องการนัง่ สมาธิมานานแล้ว และตัวเขาเองก็ ซื้ อหนังสื อที่เกี่ยวกับการนัง่ สมาธิน้ ีมาสะสมไว้ที่บา้ นจนเยอะแยะมากมายสามารถรวมเป็ นคอลเลคชันได้ อ่าน บ้างไม่อ่านบ้าง รวมทั้งเห็นมีอาจารย์ที่ไหนดีกไ็ ปลงเรี ยนกับเขา ซึ่ งเขามองว่าการนัง่ สมาธิน้ นั เป็ นเรื่ องที่ศึกษา
กันได้โดยไม่ตอ้ งไปเกี่ยวข้องกับศาสนา ซึ่งชาวตะวันตกหลายคนก็มองแบบนี้ และผมคิดว่าเป็ นสิ่ งที่ดี เพราะถ้า เราจะเหมาว่าเขาจะต้องหันมานับถือศาสนาพุทธด้วยเมื่อเรี ยนรู้เรื่ องการนัง่ สมาธิ ก็จะทำาให้ชาวตะวันตกที่นบั ถือ คริ สต์รู้สึกว่าไม่สบายใจและอาจจะพาลไม่กล้าลองเลยก็ได้ ไมค์บอกว่าถึงแม้เขาจะอ่านมามากแต่เขาก็สารภาพว่าเขาก็ไม่เข้าใจมันเลย เวลานัง่ หลับตาเขาก็มีความ คิดมากมายและมักจะคอยถามตัวเองอยูเ่ รื่ อยๆว่ากำาลังทำาบ้าอะไรอยู่ มีอยูว่ นั หนึ่งเขาต้องเดินทางไปต่างจังหวัดที่ มอนทานา ซึ่งญาติสนิทของเขามีฟาร์มโคนมอยู่ เมื่อไปถึงแล้ว มีช่วงเวลาหนึ่งที่เขาได้อยูเ่ พียงลำาพัง เขาเดินเล่น ไปดูในโรงเลี้ยงวัว ซึ่งเขาล้อเล่นว่าเขาไม่ค่อยชอบอยูใ่ กล้อะไรที่ตวั ใหญ่กว่าเขาสักเท่าไหร่ เรี ยกเสี ยงฮาได้ เหมือนกัน เพราะเฮียไมค์แกก็ตวั เล็กอยูซ่ ะที่ไหน แต่เขาก็ลองนัง่ ลงบนกองฟางแถวๆนั้นชื่นชมกับบรรยากาศ รอบๆตัว ภาพทุ่งหญ้าสี เขียว ท้องฟ้ าสี ครามแดดอ่อนๆ กลิ่นละอองฟางลอยมากระทบจมูก ทันใดนั้นมีววั ตัว หนึ่งซึ่ งกินหญ้าอยูแ่ ถวๆนั้นเดินปรี่ มายังที่ๆเขานัง่ อยู่ เขาตกใจเล็กน้อยและคิดว่าจะลุกหนี แต่อีกใจหนึ่งก็อยากรู้ ว่าเจ้าวัวตัวนี้มนั เดินมาหาเขาทำาไม เจ้าวัวตัวนั้นเดินมาประจันหน้ากับเขาในระยะหนึ่งช่วงแขน ตาโตดำาขลับ เหมือนสี นิล จ้องเขม็งมาที่เขานิ่ง เขาไม่รู้จะทำาอะไรได้ดีไปกว่าการจ้องตามันกลับ มันจ้องมองเขาอยูค่ รู่ หนึ่งแล้ว หันหลังกลับ แต่ก่อนที่จะไปนี่สิเจ้าวัวมันดันทะลึ่ง ‘อึ’ ออกมา แถมยังปล่อยมาตรงหน้าเขาห่างกันแค่คืบ กลิ่นอึ สดๆของแม่ววั คละคลุง้ ไปทัว่ บริ เวณ เขานิ่งอึ้ง แต่กย็ งั ไม่ได้ลุกไปไหน ทุกอย่างเกิดขึ้นเร็ วกว่าที่คิดทำาอะไร ใน เสี้ ยววินาทีน้ นั เองเขารู้สึกแปลกๆ และถ้อยคำาจากหนังสื อนัง่ สมาธิที่เขาเคยอ่านมันประดังก้องในหัว ‘ใบไม้ที่ ไม่มีใบ’ ‘โจมตีระบบในระหว่างที่คุณอยูใ่ นนั้น’ และอะไรอีกร้อยแปด และในที่สุดทุกอย่างหยุดนิ่งลง หลัง จากวันนั้นเขาเลิก ‘กินเนื้อ’ ไปเลย ซึ่งเขาบอกว่าก็ไม่รู้เหมือนกันอยูๆ่ เขารู้สึกว่าเขาจะหยุดกินแล้วก็ไม่รู้สึกอีก เลยว่าสเต๊กเนื้อมันน่ากินตรงไหน แล้วช่วงบ่ายก็จบลงด้วยการอ่านกลอนของจูด้ี ... ส่วนผมน่ะหรื อบอกได้เลยว่าเริ่ มรู้สึกสนุก ในขณะที่ วิเวียนในวันแรกให้ความรู้สึกเป็ นทางการ สง่าและสู งส่ งน่าภูมิใจและชื่นชม ไมค์ ดูพลี กับเชอรี่ มาทำาให้เรา สัมผัสได้ถึงความกลัว ความอ่อนไหวของคนสามัญธรรมดาที่ยงั ต้องทำางานกับมนุษย์ปุถุชนทัว่ ไป สัมผัสได้ถึง ความเป็ นมนุษย์ที่ถึงแม้จะต่างชาติพนั ธ์แต่ลว้ นกำาลังพูดจาภาษาเดียวกัน …
วันที่สามช่ วงเย็น (Biomimicry) พฤหัสที่ 28 มีนาคม 2550 (ช่วงเย็น) ในวันที่สองของการอบรม มีใครบางคนบอกกับผมว่าเขาได้อ่านหนังสื อเล่มหนึ่งแล้วประทับใจมาก หนังสื อเล่มนั้นมีชื่อว่า “BioMimicry” โดยผูแ้ ต่งมีชื่อว่า เจนนีน เบนยูซ และบอกผมว่าเย็นวันพฤหัสเธอจะ มานำาเสนอเรื่ องนี้ดว้ ยตัวของเธอเอง ผมบอกเขาไปว่ายังไม่ได้อ่านเรื่ องนี้ เลย พึ่งมารู้สึกได้เองตอนนี้วา่ เขาคนที่มา บอกผมวันนั้นเป็ นคนที่ ‘เตรี ยมตัว’ มาเป็ นอย่างดี เพราะเขาได้ ‘ทำาการบ้าน’ ก่อนที่จะมาสัมมนาครั้งนี้โดย ค้นคว้าลึกลงไปถึงภูมิหลังของวิทยากรแต่ละคน และซื้ อหาหนังสื อมาเตรี ยมอ่านเอาไว้ก่อนล่วงหน้า ผมย้อนดูตวั เองและพบว่าแม้ผมจะอ่านหนังสื อบางเล่มมาก่อน แต่กไ็ ม่ได้มีความละเอียดรอบคอบขนาดนั้น นึกถึงหนังสื อ เรื่ อง ‘ต้ องเป็ นที่หนึ่งให้ ได้ ’ ของบัณฑิต อึง้ รั งษี ซึ่ งเป็ นวาทยากรคนไทยที่ไปมีชื่อเสี ยงระดับโลก อายุไล่ เรี่ ยกับ ผม เขาบอกว่ าเขาจะไม่ หนักใจเลยถ้ าต้ องควบคุมวงชาวอเมริ กัน เพราะทุกคน ‘ทำาการบ้ าน’ มาเป็ นอย่ างดี และ มีวินัย ทุกคนมาถึงก็พร้ อมทำางาน ทำาให้ ซ้อมเพียง 4 ครั้ ง แต่ ถ้าเป็ นวงดนตรี เชื ้อชาติเอเชี ย จะต้ องซ้ อมถึง 8 ครั้ ง แล้ วบางคนก็พึ่งมาอ่ านโน้ ตเป็ นวันแรก ฉุกคิดว่าหรื อนี่จะเป็ นความแตกต่างทางวัฒนธรรมและค่านิยม หรื อ ทางฝรั่งอเมริ กนั เขาจะถือคติเรื่ องการสร้างความประทับใจครั้ งแรก ไปแล้วต้องดีตอ้ งเก่ง แต่เราขอให้ได้ไปเป็ น พอ หรื อทัศนคติของเราเองที่วา่ อาจารย์ หรื อวิทยากรก็คือผูท้ ี่จะนำาความรู้ไปให้เรา ดังนั้นก็ไปหา ‘เรี ยนในห้อง’ ไม่ตอ้ งอ่านหนังสื อหรื อเตรี ยมตัวอะไร เพราะไม่ได้คิดว่าความรู้น้ นั จะต้องเกิดขึ้นเองที่ตวั เรา ส่วนอาจารย์เป็ น เพียงผูช้ ้ ีแนะเท่านั้น เจนนีน เป็ นผูห้ ญิงรู ปร่ างผอมบาง ผิวขาวละเอียดจนหน้าออกสี ชมพูเรื่ อๆ แต่มีอะไรบางอย่างเกี่ยวกับ ตัวเธอที่ดูสมบุกสมบัน จนผมอยากยกให้เธอเป็ นอินเดียนาโจนส์ในเวอร์ชนั ผูห้ ญิง เจนนีน เป็ นคนประเภทที่ ำ กลงที่ขาทั้งสองข้างเท่าๆกัน ดวงตาเป็ นประกาย เวลาจะพูดนำาเสนออะไร เธอจะพูดทั้งตัว หมายความว่าทิ้งน้าหนั เวลากล่าวถึงสิ่ งที่ประทับใจ คนทั้งห้องนัง่ ฟังเธอนิ่งเหมือนเด็กที่ตกอยูใ่ นห้วงภวังค์เวลาผูใ้ หญ่เล่านิทานให้ฟัง เธอเริ่ มจากการถามคำาถามพวกเราว่า ในธรรมชาติน้ นั สัตว์ต่างๆใช้ผงซักฟอกอะไรเพื่อทำาความสะอาด? พวกเราไม่แน่ใจว่าควรจะตอบดีหรื อไม่เธอก็โพล่งขึ้นมาว่า “ธรรมชาติไม่ใช้ผงซักฟอก” -- ชักน่ าสนใจแล้ วสิ หนังสื อที่เธอแต่ ง Biomimicry นั้นมีความหมายถึงวิทยาศาสตร์ สาขาใหม่ ที่ม่ งุ ไปเพื่อการแก้ ไขปั ญหาอย่ าง ยัง่ ยืนด้ วยวิธีการเลียนแบบสิ่ งที่มีอยู่แล้ วในธรรมชาติ หรื อเรี ยกได้ ว่าเป็ นการสร้ างนวตกรรมที่ได้ รับแรงบันดาล ใจมาจากธรรมชาติ (Innovation inspired by Nature) เธอบอกว่าเธอพึ่งกลับจากการทำาเวอร์คชอบที่คอสตาริ กา เธอพานักวิจยั เจ้าของธุรกิจ และผูบ้ ริ หาร ระดับสู งของบริ ษทั ข้ามชาติกลุ่มหนึ่งไปเข้าป่ าดงดิบที่นัน่ เธอบอกว่าเธอขำากิ๊กเมื่อเห็นผูบ้ ริ หารสุ ภาพสตรี บาง คนเดินเข้ามาด้วยเสื้ อผ้าลำาลอง ‘สี ขาว’ เพราะเธอรู้วา่ ที่ๆเธอจะพาเข้าไปลุยนั้นเส้นทางหฤโหดขนาดไหน เจนนี นพาบรรดา ‘ลูกทัวร์ ’ ของเธอเข้าไปในป่ าและลึกเข้าไปเรื่ อยๆ ใช้เวลาอยูห่ ลายวัน เพื่อชี้ให้ดูผลงานที่เป็ นนว ำ ตกรรมอันยิง่ ใหญ่ของธรรมชาติ ซึ่งทำาให้อารยธรรมของมนุษย์นบั เป็ นพันๆปี ดูเป็ นเรื่ องของเด็กไม่สิ้ นกลิ่นน้านม เมื่อพวกของเธอออกจากป่ าแล้วก็ตอ้ งมาเข้าพักในโรงแรมก่อนที่จะกลับบ้าน โรงแรมที่เข้าพักเป็ นโรงแรมชั้น หนึ่งตกแต่งอย่างหรู หรา พอคณะของเธอเดินเข้ามาในโนล๊อบบี้ของโรงแรม พนักงานและแขกที่มาพักพากันมอง
มาเป็ นตาเดียว เพราะคณะของเธอแต่ละคนนั้นสารรู ปมอมแมมจนจำาเค้าเดิมแทบไม่ได้ ชุดสี ขาวแสบตาของเธอ คนนั้น บัดนี้เปื้ อนด้วยฝุ่ นดินขมุกขมอม ผมเผ้าที่ถูกใบไม้เกี่ยวเอาบ้างบัดนี้ กไ็ ม่รู้วา่ จะเรี ยกว่าทรงอะไร คณะของ เธอเดินเข้ามาในโรงแรมอย่างงงๆ เพราะสภาพข้างในโรงแรมมันช่างแตกต่างจากในป่ านั้นแบบคนละโลก ลอง ำ นึกสภาพคนนัง่ จิบกาแฟใส่ เสื้ อสู ทผูกไท อากาศอันเย็นฉ่ าจากเครื ่ องปรับอากาศ ได้ยนิ เสี ยงเปี ยนโนเลาน์เล่นเพ ลงแจ๊ซคลอเบาๆ และที่ขาดไม่ได้สาำ หรับโรงแรมระดับนี้ กค็ ือ โต๊ะกลางซึ่ งจัดดอกไม้ประดับประดาเอาไว้อย่าง วิจิตรอลังการ พวกของเธอเดินเข้าไปหาแจกันดอกไม้น้ ันเหมือนมีแม่แหล็กดูด แต่สิ่งที่อยูใ่ นความสนใจของทุก คนไม่ใช่ดอกไม้สวยงามแปลกตาที่ ‘นำาเข้า’ มาจากต่างประเทศ แต่เป็ นใบไม้ใบเขียวสี่ หา้ อย่างที่นาำ มาประดับ ซึ่ งเป็ นพืชพื้นถิ่นของแถบนี้ พวกเขาเดินเข้ามาเหมือนต้องมนต์สะกด บางคนเอื้อมมือเข้าไปสัมผัสลูบไล้ บางคน ชี้ชวนให้ดูที่ดา้ นใต้ของใบซึ่ งเจนนีนได้บอกถึงคุณสมบัติ และหน้าที่พิเศษของมันในระบบนิเวศน์ของป่ า บางคน ถึงกับอุทานว่า ‘ว๊าว สวยจริ งๆ’ โดยไม่ได้ใส่ ใจมองดอกทิวลิปหลากสี ที่ตกแต่งอยูใ่ กล้ๆเลย (ระหว่ างที่พูดเธอก็ ยกกระถางต้ นไม้ ที่ประดับอยู่ข้างเวทีขึน้ มาประกอบการบรรยาย ) เจนีนบอกว่าเธอสนใจธรรมชาติในแง่มุมของการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และยัง่ ยืน เธอชี้ให้เห็นว่า ในขณะที่มนุษย์เราพัฒนาตนเองขยายเผ่าพันธ์ออกไปด้วยสิ่ งที่เรามองว่าเป็ นความเจริ ญเติบโตนั้น เราเองก็มีส่วน ทำาให้สมดุลธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไป และเมื่อเราพบปัญหาอะไร เราก็หนั ไปหาภูมิปัญญาทางวิทยาศาสตร์ที่พ่ งึ จะเป็ นรู ปเป็ นร่ างมาไม่กี่พนั ปี และภูมิใจกับการเปลี่ยนแปลงโลกด้วยการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมเมื่อสองร้อยกว่าปี มานี่เอง เราผลิตสิ่ งของออกมากมายและสุ ดท้ายกลายเป็ นขยะมหาศาล แต่ธรรมชาติไม่รู้จกั ขยะ มองไปในป่ าเรา จะเห็นป่ าและความอุดมสมบูรณ์ ใบไม้ กิ่งไม้ ที่ร่วงหล่นเป็ นปุ๋ ยให้กบั พืชอื่น เป็ นวัสดุที่ใช้ทาำ รังของสัตว์และ แมลง เราจะไม่เห็นขยะเพราะทุกอย่างใช้ประโยชน์ได้ สิ่ งที่เราเรี ยกว่าเป็ นขยะนั้นล้วนเกิดจากสิ่ งที่มนุษย์ ประดิษฐ์ข้ ึนทั้งสิ้ น เธอบอกต่อไปว่าเรากำาลังจะเข้าสู่ การปฏิวตั ิอุตสาหกรรมอีกครั้ งแต่ครั้งนี้จะต้องไม่เหมือนเดิม เราจะไม่ได้ทาำ เพราะเราอยากทำา แต่ตอ้ งทำาเพื่อความอยูร่ อดของมนุษย์ และความยัง่ ยืนของโลก เธอบอกว่าธรรมชาติมีการวิวฒั นาการมาช้านานหลายพันล้านปี (เซล์รู้จกั การสังเคราะห์แสงได้เมื่อ 3000 ล้านปี ก่อน ส่ วนพืชบนดินถือกำาเนิดเมื่อ 475 ล้านปี ก่อน ผูเ้ ขียน) พึ่งพาอาศัยกันระหว่างพืชและสัตว์เกิด เป็ นระบบนิเวศน์ที่สลับซับซ้อน หลายๆเรื่ องยังคงเป็ นความปริ ศนาให้นกั วิทยาศาสตร์ได้ขบคิด การเจริ ญเติบโต และการขยายตัวของสิ่ งมีชีวิตนั้นก็เป็ นไปโดยไม่เป็ นภัยต่อระบบที่มนั ดำารงอาศัยอยู่ ยกตัวอย่างเช่น ‘มด’ ำ กที่ปลายคานด้านหนึ่ง แล้วเอามนุษย์ท้ งั หมดทุกคนมา เป็ นต้น ถ้าหากเราเอามดหมดทุกชนิดทุกพันธ์มาชัง่ น้าหนั รวมชัง่ ที่ปลายอีกข้างหนึ่ง จะพบว่ามดมีมวลมากกว่ามนุษย์ทุกคนรวมกัน แต่ถา้ หากมองดูเผินๆแล้วเราก็นึกไม่ ออกว่ามดจะมีปริ มาณมากมายมหาศาสอย่างนั้นได้อย่างไร เพราะมดได้เรี ยนรู้ที่จะอยูร่ ่ วมกับชีวิตอื่นๆใน ธรรมชาติอย่างกลมกลืน ไม่นอ้ ยไม่มากเกินไป สัตว์บางชนิดในดิน ต้องการมดเพื่อการพรวนดิน และแยกกาก อาหาร เช่นเดียวกับดอกไม้ ต้นพืชบางชนิด ที่ไม่สามารถจะเจริ ญพันธ์ได้ถา้ มดบางชนิดไม่มาอาศัยทำารัง แต่ มนุษย์น้ นั เมื่อขยายเผ่าพันธ์ออกไปเรากลับไม่เห็นความกลมกลืน การพึ่งพาอาศัย และการอยูร่ ่ วมกับธรรมชาติ อย่าง ‘สันติสุข’ เช่นนี้ เธอจึงสนใจที่จะศึกษาธรรมชาติ เพราะรู้วา่ ในธรรมชาติมีอะไรดีๆอีกมาก มีบทเรี ยนของวิวฒั นาการ เพื่อความยัง่ ยืนที่ยงิ่ ใหญ่กว่าที่จะสามารถศึกษาตามหนังสื อทัว่ ไปได้ ถ้าหากเราสามารถเรี ยนรู้วา่ ธรรมชาติทาำ งาน อย่างไรและเลียนแบบสิ่ งที่ดีๆเหล่านั้น เธอก็หวังว่าสักวันหนึ่งเราจะสามารถแก้ปัญหาของเรา และอยูร่ ่ วมกับ
ธรรมชาติได้อย่างสร้างสรรค์ สิ่ งที่เราเลียนแบบธรรมชาติที่มีให้เห็นแล้วก็มีเช่น เวลโคร (Velcro) ซึ่งนักวิทยา ศาสตร์ชาวสวิส ได้แรงบันดาลใจมาจากการที่ตอ้ งแกะก้านพืชที่ติดขนสุ นขั ของเขาเวลาพาไปเดินออกกำาลังกาย ปัจจุบนั นักวิทยาศาสตร์พยายามที่จะก้าวไปให้ไกลกว่านั้น ยกตัวอย่างเช่นเรื่ องพลังงานจากแบตเตอรี่ ทุกวันนี้เรา พัฒนาเซลเคมีที่ให้กาำ เนิดพลังงาน แต่ในขณะเดียวกันเราก็จาำ เป็ นที่จะต้องใช้สารเคมีบางอย่างที่มีอนั ตรายเช่น นิ เกิล แคดเมียม กรดกำามะถัน ซึ่งบางอย่างก็จะต้องมีขบวนการกำาจัดอย่างดีเพื่อมิให้ตกค้างไปเป็ นสารพิษในสิ ่ ง แวดล้อม แต่นกั วิทยาศาสตร์บางกลุ่มกำาลังศึกษาปลาไหลไฟฟ้ า ที่สามารถปล่อยกระแสไฟฟ้ าเป็ นหมื่นโวลต์ ด้วยเวลาเพียงเศษเสี้ ยววินาทีที่มนั ต้องการโดยไม่ตอ้ งมีการชาร์จเลย สัตว์ประเภทนี้ทาำ ได้อย่างไร (ในระหว่ างที่ เธอบรรยายก็โชว์ ภาพสไลด์ รูปสั ตว์ ต่างๆไปด้ วย) ภาพต่อมาเป็ นภาพของตัก๊ แตนที่บินว่อนเต็มท้องฟ้ า เธอบอกว่าตัก๊ แตนที่เห็นเป็ นพันๆ หมื่นๆตัว จน ปิ ดท้องฟ้ าเกือบมิดนี้ ไม่มีเลยสักตัวเดียวที่จะบินชนกัน!! ตัก๊ แตนทำาได้อย่างไร หรื อนกอินทรี ยซ์ ี นา ที่สามารถ จับความสัน่ สะเทือนของสัตว์ตวั เล็กๆที่ห่างออกไปเป็ นไมล์ ต่อมาคือเรื่ องที่พวกเรากำาลังกังวลใจก็คือเรื่ องก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศ เธอก็พยายาม ศึกษาว่าแล้วธรรมชาติจดั การกับก๊าซ Co2 นี้อย่างไร ก็ไปปิ๊ งไอเดียเมื่อเธอไปเห็นหินงอก หินย้อยในถ้าำ ซึ่งมี ำ าปฏิริยากับก๊าซ ส่วนประกอบที่สาำ คัญคือผลึกแคลไซท์ เป็ นการฟอร์มตัวอย่างช้าๆโดยเกิดจากน้าทำ คาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ เกิดเป็ น กรดคาร์บอนิค (H2CO3) ซึ่งในที่สุดแล้วจะก่อให้เกิดหินปูน แคลเซี ยม คาร์บอเนต (CaCO3) พูดง่ายๆก็คือเราสามารถจับก๊าซ Co2 ที่อยูใ่ นอากาศมาทำาเป็ นหินปูนซึ่ งนำาไปใช้เป็ น วัสดุก่อสร้างได้ และถ้าทำาได้จริ งการแก้ปัญหา Co2 นั้นอาจจะมีทางออกที่สร้างสรรค์กว่านี้ และเธอบอกว่ายังมี นักวิทยาศาสตร์อีกกลุ่มหนึ่งกำาลังศึกษาเรื่ องการจับก๊าซ Co2 เพื่อใช้ในการผลิตนาโนพลาสติก และนี่เป็ น ตัวอย่างที่เป็ นรู ปธรรมที่ธรรมชาติมีทางออกให้กบั เราเพียงแต่เราต้องรู้จกั สังเกตุและศึกษาอย่างถ่อมตน ส่วนการประยุกต์ใช้ในเรื่ องของทางการการแพทย์ หรื อสาธารณสุขนั้นเล่า เธอเล่าให้ฟังว่าเธอเองกำาลัง ติดตามเรื่ องปะการังชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติพเิ ศษก็คือแบคทีเรี ยไม่สามารถเจริ ญเติบโตบนผิวของมันได้ นัก วิทยาศาสตร์คน้ พบว่าปะการังชนิดนี้ ปล่อยคลื่นบางอย่างออกมารบกวนการแบ่งเซลของแบคทีเรี ย เธอบอกว่า ปกติแล้วแบคทีเรี ยเมื่อลงเกาะที่ใดแล้วก็จะเรี ยกพรรคพวกมันมาให้เกาะด้วย โดยการส่ งสัญญานบางอย่างซึ่ ง ปะการังที่วา่ นี้จะส่ งสัญญานรบกวนแบคทีเรี ย จนมัน ‘งง’ และไม่แบ่งตัวเพื่อเจริ ญเติบโต เธอบอกว่าการ ประยุกต์ใช้ความคิดดังกล่าวกับทางการแพทย์จะก่อให้เกิดนวตกรรมที่น่าสนใจเพียงใด เพราะไม่ตอ้ งใช้สารเคมี และยาปฏิชีวนะที่ก่อให้เกิดการดื้อยา ไม่ได้เป็ นการทำาลาย เพียงแต่กระซิ บบอกพวกมันว่าตรงนี้ เป็ น ‘เขตหวง ห้าม’ จ๊ะ อีกตัวอย่างหนึ่งเรื่ องของวัสดุศาสตร์อีกเหมือนกันเรื่ องของ ‘กาว’ เพราะกาวก็คือสิ่ งประดิษฐ์ของ ำ กมากๆไว้ และขณะเดียวกันก็ปล่อยออกได้ดงั่ ใจ โดย มนุษย์ที่ใช้ในการติดสิ่ งของ แต่ ‘ตีนตุ๊กแก’ กลับยึดน้าหนั มิตอ้ งใช้กาวเลย นักวิทยาศาสตร์ประเมินถ้าเราสามารถทำาตีนตุ๊กแกที่มีขนาดเพียง 1 ตารางเมตรก็จะสามารถยก รถให้ลอยขึ้นได้ท้ งั คันโดยไม่ตอ้ งใช้อะไรอย่างอื่นช่วยเลย ถ้าจะเป็ นอะไรที่ใกล้ตวั เราและรอบๆบ้านของเรา เธอชี้ให้ดูนวตกรรมใหม่ที่กาำ ลังจะมาจาก ‘ใบบัว’ ำ ่ตกลงสู่ ใบบัวนั้นจะช่วยชะล้างทำาความสะอาดใบบัวให้ดู ซึ่ งเป็ นที่รู้ๆอยูว่ า่ ใบบัวนั้นไม่มีวนั ที่จะเปี ยกน้าำ และน้าที เหมือน ‘ใหม่’ อยูเ่ สมอ จะเกิดอะไรถ้าผนังบ้านของเราเป็ นอย่างใบบัว? นักวิทยาศาสตร์ศึกษาใบบัว และใบไม้
บางชนิดพบว่าสาเหตุที่ทาำ ให้นาไม่ ้ ำ เกาะเป็ นเพราะพื้นผิวของมันเป็ นมัน ส่วนการที่สิ่งสกปรกสามารถถูกชะล้าง ออกไปจากผิวหน้าของมันได้เป็ นเพราะผิวของมันไม่เรี ยบ มีลกั ษณะเป็ นลอนคลื่นเล็กๆ ลอนคลื่นนี้เองที่เป็ น สาเหตุที่ทาำ ให้นาไม่ ้ ำ จบั ตัวกับพื้นผิว และนอกจากนั้นแล้วจะดึงเอาสิ่ งสกปรกที่มีอยูใ่ ห้หลุดออกไปได้ง่าย ถ้าเรา สามารถเลียนแบบธรรมชาติได้ไม่แน่ต่อไปทุกครั้ งที่ฝนตก เราก็จะได้บา้ นหลังใหม่ที่สะอาดเอี่ยมอ่อง ไม่เลวเลย ใช่ม้ ยั
หรื ออย่างในภาพที่เห็นเป็ นใบพัดของกังหันกวนน้าำ ซึ่ งเลียบแบบมาจากรู ปร่ างที่พบในธรรมชาติเช่น เปลือกหอยบางชนิด หรื อดอกไม้ ใบพัดดังกล่าวมีความสามารถในการผสมสารละลายให้เข้ากันอย่างมี ประสิ ทธิภาพเหนือกว่าใบพัดทุกชนิดที่มนุษย์ประดิษฐ์คิดค้นขึ้ น ภาพด้านซ้ายมื อเป็ นประดิ ษ ฐ์กรรมที่ ได้แ รงบันดาล ใจมาจากการเปล่งแสงของสัตว์ เช่น หิ่ งห้อย ซึ่ งปัจจุบนั มีให้ได้เห็นน้อยลงเต็มที หิ่ งห้อยสร้างแสงที่เรามองเห็น ด้ว ยวิธีก ารที่ เ รี ย กว่า Bioluminescence ซึ่ งสำา หรั บ ในกรณี หิ่งห้อยแล้วมันจะใช้ ขบวนการทางเคมีเพื่อสร้าง แสงดังกล่าว ซึ่ งนัยว่ามี ประสิ ทธิ ภาพมากเพราะเป็ นที่รู้ กัน ว่ า เที ย นไขนั้ นถึ ง แม้ จ ะสร้ า งแสงออกมาได้ แต่ พลัง งานส่ ว นใหญ่ กลับถูกแปรเปลี่ยน ไปเป็ น‘ความร้อน’ ถ้าหากธรรมชาติสร้างให้หิ่งห้อยมีประสิ ทธิ ภาพในการสร้างแสงได้เท่ากับ เทียนไขแล้วละก็ นอกจากมันจะต้องใช้พลังงานเป็ นพันๆเท่าที่จะสร้างแสง ให้สว่างได้เท่าเดิม มันยังคงต้องตายไปเสี ยก่อน เพราะความร้อนที่สร้างขึ้นมาคงทำาให้มนั กลายเป็ นแมลง ‘สุ ก’ ไปเสี ยก่อนที่จะ ‘สว่าง’ ที่เห็นในภาพนั้นไม่ใช่โคมไฟหน้าตาประหลาดนะครับ แต่จริ งๆแล้วมันคือผ้าห่มเรื องแสง มีชื่อว่า KVA MatX ซึ่ งจริ งๆแล้วจะเรี ยกมันเป็ นผ้าห่มก็คงจะไม่ถูกต้องนัก เพราะมันไม่ได้เอาไว้ห่ม มันเอาไว้ให้ ำ นต่างหาก แสงที่เห็นนั้นมาจาก LED ชนิดที่มีความสว่างเป็ นพิเศษ แต่ถา้ เพียงแค่ให้แสง แสงสว่างเมื่อยามค่าคื สว่างเท่านั้นก็คงไม่มีอะไรพิเศษ ความพิเศษของมันอยูท่ ี่แหล่งที่มาของพลังงานครับ ผ้าห่มที่วา่ นี้รับพลังงานแสง อาทิตย์ดว้ ยโซลาร์เซลที่สามารถโค้งงอได้ ซึ่ งมันถูกเย็บเข้าเป็ นส่ วนหนึ่งภายในผ้าห่มไฮเทคนี้ ซึ่งการชาร์จไฟ
ทำาได้ง่ายมากคือเอาไป ‘ตากแดด’ ครับ แค่น้ ีจริ งๆ เธอบอกว่าสำาหรับตัวต้นแบบนั้นเมื่อนำาไปตากไว้ 5 ชัว่ โมง ก็จะได้แสงสว่างมาใช้งานถึง 4 ชัว่ โมงในเวลากลางคืน ความสว่างที่ได้มากพอที่จะอ่านหนังสื อ หรื อใช้แทน โคมไฟเล็กๆ แล้วมันจะมีประโยชน์อะไรน่ะหรื อในเมื่อเราเดินเข้าบ้านมาก็กดสวิชท์ไฟไม่ง่ายกว่าหรื อ คุณอาจ จะสงสัย แต่ลองมองภาพในท้องถิ่นที่ทุรกันดาร เช่นในทะเลทราย ชนบทห่างไกลที่ไฟฟ้ าเข้าไม่ถึง ผ้าห่มชนิดนี้ จะช่วยให้เยาวชนได้อ่านหนังสื อ หรื อทำาการบ้าน โดยไม่ตอ้ งจุดตะเกียงไส้ ที่มีกลิ่นเหม็นแล้วยังมีควันดำาที่เป็ น อันตรายต่อสุ ขภาพของเขา ทั้งหมดนี้ได้มาจากความคิดอันชาญฉลาดที่จะใช้ประโยชน์จากแหล่งพลังงานที่ใช้ แล้วไม่หมดไปอย่างเช่น ‘แสงอาทิตย์’ ถึงตอนนี้คุณอาจจะคิดว่าผ้าห่มผืนเล็กๆนี้ กย็ งั ไม่เพียงพอต่อการดำารงชีวิตในชนบทที่ห่างไกล เพราะเขา ยังต้องอาศัยเครื่ องใช้ไฟฟ้ าบางอย่างเพื่อช่วยในการดำารงชีวิต ก็ขอให้ยอ้ นกลับไปอ่านเรื่ อง Plug Power 17ใน ตอนที่แล้วซึ่ งเป็ นพลังงานจากเซลเชื้ อเพลิงซึ่ งในอนาคตนอกจากจะให้พลังงานกับบ้านได้ท้ งั หลังแล้ว ยังสามารถ ให้พลังงานกับโรงงานอุตสาหกรรมที่อยูห่ ่างไกล โดยไม่ตอ้ งง้อการไฟฟ้ าให้เดินสายเข้าบ้านอีกต่อไป ำ คุณอาจจะถามต่อไปอีกว่าถ้ามีไฟแล้วก็ตอ้ งมีนา้ ำ เพราะน้าไฟเป็ นสิ่ งจำาเป็ นในการดำารงชีวิต แต่ตอนที่ ฟังเจนนีนผมกำาลังเคลิ้มไม่ค่อยได้นึกอะไร อย่างที่ฝรั่งเขาเรี ยกว่านัยน์ตาพร่ างพรายไปด้วยประกายดาว (Starry Eyes) หรื ออีกนัยหนึ่งผมกำาลังฝันกลางวันนัน ่ เองไปกับเรื่ องที่เธอเล่า เจนนีนบอกว่าบริ ษทั เล็กๆที่พ่ งึ ก่อตั้งเมื่อสองสามปี ที่แล้วชื่อว่า ควินเนทติค (QinetiQ) (ซึ่ งชื่ อเก๋ มาก เพราะเริ่ มด้ วยตัวอักษร Q และลงท้ ายด้ วย Q ซึ่ งถ้ าคุณเล่ นสแครบเบิลก็จะรู้ ว่า Q นั้นได้ แต้ มมากที่สุดเท่ ากับ Z ซึ่ งก็คือ 10 นอกเรื่ องอีกแล้ ว ) เป็ นบริ ษทั ที่ผลิตเทคโนโลยีดา้ นการทหาร บริ ษทั นี้กาำ ลังผลิตเครื่ องมือที่จะผลิต ำ ำ าง บริ ษทั นี้อา้ งว่าสามารถที่จะ น้าจากที ่ใดก็ได้ในโลก โดยอาศัยการเลียนแบบจากควบแน่นของหมอกเป็ นน้าค้ ำ สุทธ์ได้ 4 ลิตร ต่อ น้ามั ำ นดีเซลแต่ละลิตรที่ให้เป็ นพลังงาน ผลิตน้าบริ ก่อนจะจบเธอพูดเรื่ องหนึ่งที่ผมยังคลางแคลงมาตั้งแต่ตน้ ก็คือ BioMimicry นี้จะเป็ นการให้เครื่ อง มือใหม่กบั นักวิทยาศาสตร์เพื่อที่จะ ‘เอาชนะ’ ธรรมชาติและเพิ่มความ ‘กร่ าง’ ให้กบั มนุษยชาติอีกครั้งหนึ่ง หรื อไม่? เธอมองว่ามันเป็ นเรื่ องที่เข้าใจได้ที่เราทุกคนจะมองถึงแรงจูงใจในการศึกษาเรื่ องนี้ อย่างไม่ค่อยจะสนิท ใจนัก โดยเฉพาะมุมมองว่านักวิทยาศาสตร์จะขโมยเอาภูมิปัญญาจากธรรมชาติที่สั ่งสมมาเป็ นล้านๆปี ไปแปร เปลี่ยนเป็ นสิ ทธิบตั รเพื่อผลตอบแทนมหาศาลในรู ปของเงินตรา แต่เธอเชื่อว่าถ้าเรามีทศั นคติที่ถูกต้องในเรื่ องดัง กล่าว และศึกษาค้นคว้าเรื่ องราวของธรรมชาติอย่างลึกซึ้ งแล้ว ‘ธรรมชาติ’ จะเป็ นตัวสอนเราเองว่าความหมาย ของการอยูร่ ่ วมกัน การแบ่งปันนั้นเป็ นอย่างไร เจนนีนบอกว่าเธอกำาลังรวมรวมสิ่ งละอันพันละอย่างที่ได้จากการวิจยั ทั้งของเธอเอง และนัก วิทยาศาสตร์ทวั่ โลกในสาขานี้ เพื่อนำามาเก็บเป็ นฐานข้อมูลเพื่อเผยแพร่ เพื่อเป็ นข้อมูลสาธารณะ โดยไม่คิดค่าใช้ จ่าย ชื่อว่า ‘Nature 100 best’ ร้อยสิ่ งมหัศจรรย์ในธรรมชาติ หมายความว่าใครก็ได้สามารถไปสื บค้นเรื่ อง ใดก็ได้ และสามารถนำาความรู้ทางด้านนี้ ที่ได้ไปขยายผลต่อ พอพูดถึงตรงนี้หลายๆคนยิม้ ให้อย่างชื่นชม เธอ ำ กล่าวคำาขอบคุณ จากนั้นทั้งห้องลุกขึ้นปรบมือให้เธอยาวนาน ผมเองก็กระหน่าปรบมื อให้เธอจนมือเริ่ มรู้สึกเจ็บ 17
http://www.plugpower.com/
แต่เสี ยงปรบมือก็ยงั ไม่มีทีท่าว่าจะหยุดลง เจนนีนยืนยิม้ หน้าแดงอยูบ่ นเวที ทุกสายตาจับจ้องมาที่ตวั เธอ เวลา ตอนนั้นหยุดนิ่งเนิ่นนาน มองย้อนกลับไปผมคิดว่านี่เป็ นหนึ่งในไฮไลท์ของการอบรมครั้ งนี้เลยทีเดียว
วันที่สามช่ วงกลางคืน (Global Simulation Workshop) พฤหัสที่ 28 มีนาคม 2550 (ช่วงกลางคืน) วันนี้เป็ นวันที่ยาวนานมาก แต่กิจกรรมของผมก็ยงั ไม่หมด เนื่องจากยังมีกิจกรรมพิเศษช่วงกลางคืนที่ มีชื่อว่า ‘Earth Simulation’ ซึ่ งเป็ นกิจกรรมที่เสริ มเข้ามานอกเหนือจากในตาราง ซึ่ งผูท้ ี่จะเข้าร่ วมได้จะต้อง ลงทะเบียนมาก่อนล่วงหน้า สำาหรับผมพอได้รับอีเมล์เมื่อสองวันก่อนบินมาที่นิวยอร์คก็รีบลงทะเบียนทันที เพราะรู้วา่ ในหนังสื อ ‘Fifth Discipline’ ปี เตอร์ได้พดู ถึงเรื่ องของเกมส์ ‘จำาลองสถานการณ์’ ซึ่งเป็ นเครื่ อง มือที่มีประสิ ทธิภาพมากในการทำาให้ผรู้ ่ วมเล่นเกมส์ได้รับรู้ถึงขีดจำากัดของตนเอง และเปลี่ยนแปลงกรอบความ คิด เพื่อที่จะตระหนักถึงความเป็ นไปได้อื่นๆ แต่ก่อนที่จะไปถึงตรงนั้นผม ‘หิว’ แล้วครับ ต้องขจัดความหิวนี้ ำ างมากมาย พลิกดูในตาราง ำ อย่างเร่ งด่วนเสี ยด้วย การอบรมที่ยาวนานต่อเนื่องทั้งวัน ทำาให้ระดับน้าตาลลดต่ าอย่ การอบรม ว๋ าย วันนี้ไม่มีการอาหารว่างเตรี ยมไว้ให้เสี ยด้วย ไม่เหมือนวันแรกที่โค้กเป็ นสปอนเซอร์จดั reception ซึ่ งเป็ นงานคอกเทลเล็กๆ ช่วงเย็น ทำาให้ผมมีอะไรตกถึงท้องบ้างก่อนจะกลับไปที่พกั ในเมืองนู่น ทำาอย่างไรดีถา้ เข้าไปอบรมต่อคงไม่ไหวเพราะคิดว่างานนี้ กค็ งเลิกดึกแน่ เดินไปเดินมาก็ไปถึงล๊อบบี้ เดชะบุญมีบริ ษทั ผูผ้ ลิตไม้กอล์ฟมาจัดงาน ผมหิวขนาดไม่ได้ดูยหี่ อ้ ไม้กอล์ฟ แต่กไ็ ด้ไปรับของว่างที่เขาแจกให้ กับผูช้ มงานมาทานรองท้อง พอเดินกลับมาอ้าวผูจ้ ดั ‘Global Sim’ เขาก็เตรี ยมอาหารไว้ให้เป็ นสลัดกับ พิซ ซา ก็เลยกินต่อ (อะแฮ้ม) รอดตายไปได้อีกครั้ง การจำาลองสถานการณ์โลก หรื อ Global Simulation Workshop นี้เป็ นทรัพย์สินทางปัญญาของ บริ ษทั o.s. Earth 18 ซึ่งแนวความคิดในการจำาลองสถานการณ์โลกนี้ ได้สืบเชื้อสายมาจาก มิสเตอร์ ฟูลเลอร์ 19 ซึ่งเป็ นบิดาของสิ่ งก่อสร้างรู ปโดม (Geodesic Dome) รู ปโดมที่สร้างโดยการนำาเอารู ปสามเหลี่ยมมาต่อ กันนี้ เขาค้นพบว่ามันเป็ นโครงสร้างที่สามารถบรรจุ ปริ มาตรเอาไว้ได้มากที่สุด โดยเสี ยวัสดุพ้ืนผิวน้อย ที่สุด การที่มีวสั ดุพ้ืนผิวที่นอ้ ยลงย่อมหมายความถึง การสู ญเสี ยพลังงานออกไปสู่ ภายนอกน้อยที่สุดเช่น กัน นัน่ หมายความว่าถ้าเราอยูใ่ นเมืองหนาวความร้อน จากฮีตเตอร์ที่เราใช้ในบ้านก็จะมีโอกาสสู ญเสี ยออก ไปนอกบ้านได้นอ้ ยลง แต่ถา้ เราอยูใ่ นเมืองร้อนก็กลับ กัน ความร้อนจากภายนอกจะมีโอกาสที่จะแผ่เข้ามา ในบ้านได้นอ้ ยลง อีกทั้งความเย็นจากเครื่ องปรับ อากาศก็จะสู ญเสี ยออกไปภายนอกได้นอ้ ยลงเช่นกัน ผมเลยมองว่าฟูลเลอร์นี่เป็ นคนแรกๆเลยที่คาำ นึงถึงเรื่ องของ การออกแบบสถาปัตยกรรมที่เน้นเรื่ องความยัง่ ยืน หลายปี ต่อมารู ปโดมจีโอเดสิ คนี้ ก็ยงั เป็ นที่นิยมก่อสร้างไปทัว่ โลก 18 19
http://www.osearth.com/ R. Buckminster Fuller
แล้วเขามาเกี่ยวกับการจำาลองสถานการณ์โลกนี้ ได้อย่างไร ผมไปค้นประวัติของเขาแล้วพบว่าฟูลเลอร์น้ี เขาเป็ นคนที่น่าสนใจมาก ผมเชื่อว่าตัวของเขาเองได้พบกับประสบการณ์เปลี่ยนชีวิตเมื่ออายุได้สามสิ บสองปี ที่ ตัวเขาเองต้องประสบปัญหาทางการเงินถึงขั้นล้มละลาย และในขณะเดียวกันต้องสู ญเสี ยลูกสาวสุ ดที่รักไปด้วย โรคโปลิโอ และไขสันหลังอักเสบ ซึ่งตัวเขาเองก็คิดมากจนต้องหันไปหาเหล้าและดื่มจนเมามายเกือบเสี ยชีวิต ในวินาทีสุดท้ายระหว่างความเป็ นความตายนั้นเอง อะไรบางอย่างได้ปลุกให้เขาตื่นขึ้นและกลับมาพิจารณาเรื่ อง ราวต่างๆที่ผา่ นมาในชีวิต เมื่อพ้นหุบเหวแห่งอารมณ์อนั ขุ่นข้องนั้นมาแล้ว เขาได้ให้สัญญากับตนเองว่าจะทุ่มเท ทั้งชีวิตในการค้นหาว่า ‘ในฐานะมนุษย์ธรรมดาๆคนหนึ่งอย่างเขา จะสามารถทำาอะไรเพื่อเปลี่ยนแปลงโลก และ ทำาประโยชน์ให้กบั มนุษยชาติได้บา้ ง’ ตลอดชีวิตของเขาได้เขียนหนังสื อยีส่ ิ บแปดเล่ม เป็ นคนแรกที่คิดค้นคำาศัพท์ ‘อวกาศยานโลก’ (spaceship earth) ซึ่ งเป็ นคำาที่ติดปากผูค้ นในยุคนั้น (ในขณะที่เขียนมาถึงตอนนี้ ผมนึ กถึงเพลงของ Starship ชื่อว่า Nothing’s Gonna Stop Us Now ขึ้นมาเสี ยเฉยๆ) และอีกคำาหนึ่งที่เขาค้นคิดก็คือ “Synergetic”
ก็มาเกี่ยวข้องกับตัวผมเมื่อครั้ งเรี ยนปริ ญญาโทบริ หารธุรกิจ เพราะมันเป็ นที่มาของคำาว่า “Synergy” ที่อาจารย์ ก็ชอบพูดถึงกันนักหนาทั้งฝรั่ง และไทยว่าจะทำาอะไรจะต้องคำานึงถึงเจ้าตัวนี้ ซึ่งแปลความหมายได้วา่ เป็ นการ ประสานสอดคล้องกันของพลังงานของทุกๆฝ่ าย งานก็จะออกมาได้ดี และ 1+1 ก็ไม่จาำ เป็ นว่าจะต้องเท่ากับ 2 เสมอไป เพราะ sum of the parts does not equal to whole เมื่อแรกในความเข้าใจของผมนั้นยังคับ แคบและมุ่งไปที่การใช้งานในแง่ของการวิเคราะห์เรื่ องการควบรวมกิจการ แต่คาำ ๆนี้กจ็ าำ แลงแปลงกายมาปรากฏ ใหม่ในชีวิตของผมอยูเ่ รื่ อยๆตามจังหวะชีวิต และแต่ละครั้งที่มนั มาเยีย่ มเยือนก็มาด้วยการแต่งองค์ทรงเครื่ องที่ แปลกใหม่ไฉไลกว่าเดิม ตามพุทธิปัญญาที่สั่งสมเข้ามา อย่างสุ นทรี ยสนทนา หรื อ World Café เองก็เป็ นการ สำาแดงตนให้เห็นถึงสิ่ งเดียวกันนี้ในแง่มุมของการพัฒนาองค์กร หรื อการแก้ปัญหาสังคมแบบองค์รวม ตลอดชีวิตของฟูลเลอร์ เขาเฝ้ าถามตัวเองและคนรอบข้างตลอดว่า “มนุษย์ชาติของเราจะสามารถอยู่ อาศัยบนโลกนี้ได้ตราบนานเท่านานหรื อไม่ และถ้าได้จะต้องทำาอย่างไร?” ซึ่ งไม่น่าเชื่อว่ายีส่ ิ บกว่าปี ต่อมาคำาถาม นี้จะเป็ นประเด็นร้อนๆ ที่อยูใ่ นความสนใจของทุกคน ความเป็ นคนที่มีวิสัยทัศน์เหนือคนธรรมดา ในปี 1961 ฟูลเลอร์ได้บรรจุสิ่งที่เขาเรี ยกว่า เกมสันติภาพโลก หรื อ World (Peace) Game เข้าไว้ในหลักสู ตรของ มหาวิทยาลัย “เซาเทิร์นอิลินอยส์” ที่เขาสอนหนังสื ออยู่ ในช่วงขณะนั้นที่รัฐบาลใดๆในโลกต่างก็ให้ความ สนใจกับความมัน่ คง และการสงคราม อาวุธ ยุทโธปกรณ์ แต่ฟลู เลอร์กลับสรรค์สร้างโลกจำาลองใบเล็ก และเปิ ด โอกาสให้กบั นักศึกษาของเขาได้สวมบทบาทรัฐบาลของประเทศต่างๆ และได้ลองดำาเนินนโยบายระหว่าง ประเทศ ทั้งนี้โดยต้องคำานึงถึงคุณภาพชีวิตของประชากรของแต่ละประเทศในโลก ตลอดจนการรักษาสภาพ แวดล้อมเอาไว้อย่างยัง่ ยืน และผลของเกมส์ที่คาดหวังคือการอยูร่ ่ วมกันอย่างสันติภาพไม่มีการแก่งแย่ง และทุกๆ ฝ่ ายมีความสุ ขมากกว่าเดิม ภายในระยะเวลาที่ส้ ันที่สุด และนี่คือที่มาของการเข้ามา ‘เล่น’ เกมจำาลองโลกในวันนี้ ซึ่ งได้รับความนิยมสู งมากแต่รับได้จาำ กัด จึง มีผเู้ ข้าร่ วมสัมมนามารอต่อคิวเผื่อจะมีผสู้ ละสิ ทธิ์ ภายในห้องติดตั้งคันฉ่องอิเลคทรอนิกส์ (เครื่ องฉายสไลด์ และ
จอรับภาพ) ข้างจอรับภาพมีผงั วัดความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของแต่ละประเทศ และมีป้าย ชื่อประเทศวางอยูต่ ามตำาแหน่งต่างๆ ซึ่งจะสามารถเลื่อนขึ้นลงตามปริ มาณของคะแนนที่มีมากขึ้นหรื อน้อยลงใน ขณะที่เกมส์ดาำ เนินไป ตรงกลางห้องจัดวางเก้าอี้เป็ นรู ปตัวยูหนั หน้าออกจากวง ตรงเก้าอี้แต่ละตัวติดป้ ายชื่อ ประเทศต่างๆให้เห็นเด่นชัด เช่น สหรัฐอเมริ กา ญี่ปุ่น จีน อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เป็ นต้น เลยออกไป นิดมีโต๊ะสี่ เหลี่ยมยาวมีเจ้าหน้าที่ผหู้ ญิงสามคนอายุอานามราวๆคุณป้ า ซึ่งเราได้รับการบอกกล่าวว่าเป็ นโต๊ะของ “องค์กรกลางทางการเงินของโลก” ซึ่ งถ้าหากเราประสบปัญหาทางการเงินสามารถที่จะขอความช่วยเหลือได้ที่นี่ โต๊ะตรงข้ามกันอีกด้านหนึ่งเป็ นโต๊ะขององค์กรกลางทางวัฒนธรรมของโลก ซึ่งจะมีอุปกรณ์สาำ หรับการทำาศิลป ประดิษฐ์ต่างๆเช่น กระดาษสี ปากกาสี กรรไกร เป็ นต้น ซึ่งนัยว่าให้พวกเรามาใช้เพื่อประโยชน์อะไรสักอย่างซึ่ ง จะกล่าวถึงต่อไป ไกลออกไปเป็ นโต๊ะของกลุ่มอิทธิพลข้ามชาติต่างๆ เช่น บริ ษทั ข้ามชาติที่มีเทคโนโลยีดา้ น ต่างๆอยูใ่ นมือ มีอยูด่ ว้ ยกัน 2-3 บริ ษทั ซึ่ งการแยกออกไปจากวงรู ปตัวยูของประเทศต่างๆราวสิ บประเทศ ก็เป็ น สัญลักษณ์ที่ชดั เจนว่าบริ ษทั เหล่านี้ มีอิทธิพลเหนือเขตแดนของประเทศ และมีอาำ นาจต่อรองทั้งทางด้านการเงิน และเทคโนโลยีที่ประเทศต่างๆต้องการ ก่อนจะเริ่ มต้นทางคณะผูจ้ ดั งานได้เกริ่ นกับพวกเราคร่ าวๆถึงที่มาที่ไปของการเล่นเกมส์ในครั้ งนี้ เขา เปรี ยบเทียบไว้อย่างน่าฟังว่า โลกของเราที่มีคนอยูห่ ลายเผ่าพันธ์อยูร่ วมกันนี้ กเ็ หมือนกับยานอวกาศลำาหนึ่ง ที่มา พร้อมกับระบบโอเปอเรติ้งซิ สเต็ม หรื อระบบควบคุมยาน แต่ทว่าโชคร้ายที่ไม่มีคู่มือการใช้งานติดมาด้วย และก็ เหมือนกับการเล่นเกมส์ทุกประเภทที่จะต้องมีกฏเกณฑ์สาำ หรับการเล่น เกมส์ของเราก็ไม่มีขอ้ ยกเว้น กฏของเรามี อยูส่ องข้อ ข้อแรก “มุ่งทำาดี” และข้อที่สอง “หาให้เจอว่ากฏคืออะไร?” จากนั้นเราได้แต่ละคนต้องจับฉลาก จากในซองคนละแผ่นซึ่ งจะบอกว่าเราถูกกำาหนดให้เล่นบทบาทอะไรในการเล่นเกมส์ครั้ งนี้ แต่ก่อนที่เราจะได้รับ อนุญาตให้เปิ ดอ่านผูจ้ ดั ได้ขอให้เราดูวิดีทศั น์ความยาวประมาณ 10-15 นาที เนื้อหาเป็ นเรื่ องของการปูพ้ืนฐาน ของ ‘ตัวละคร’ แต่ละตัว ในที่น้ ีกค็ ือประเทศ และองค์กรต่างๆ สำาหรับประเทศที่เขาเลือกมาอยูใ่ นเกมส์น้ นั มี เพียงไม่กี่ประเทศแต่กส็ ามารถเป็ นตัวแทนของทั้งโลกได้ โดยเขาแบ่งเป็ น 4 กลุ่ม และให้สีที่แตกต่างกันก็คือ กลุ่มพัฒนาการทางเศรษฐกิจสู ง เช่นสหรัฐอเมริ กา ยุโรป และญี่ปุ่น กลุ่มประเทศที่พฒั นาการทางเศรษฐกิจปาน กลาง เช่น จีน กลุ่มประเทศกำาลังพัฒนาเช่น ประเทศในแถบเอเซี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ บราซิ ล และกลุ่มประเทศที่ ต้องการการพัฒนาเช่น แอฟริ กา อินเดีย เป็ นต้น จริ งๆยังมีกลุ่มสุ ดท้ายคือกลุ่มมหาอำานาจ หรื อ Super Power ซึ่ งตอนเริ่ มต้นเกมส์ยงั ไม่มีใครได้รับตำาแหน่งนั้น วิดีทศั น์จดั ทำาได้ดีมาก ในแง่ของการนำาเสนอแล้วมีความครบครันทั้งเนื้อหา ความน่าตื่นตาตื่นใจ ความ สนุก โดยสามารถผสมผสานทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟฟิ คแอนนิเมชัน รวมทั้งเสี ยงเพลงประกอบที่ เปลี่ยนแปลงไปตามประเทศที่กาำ ลังกล่าวถึง เรื่ องการนำาเนื้อหาสาระทางวิชาการมานำาเสนอนี้ ประเทศ สยาม20ของเรายังด้อยพัฒนาอีกมาก ในส่วนตัวแล้วผมมีความประทับใจหลายต่อหลายครั้ งเมื่อได้ดูสารคดีต่าง ประเทศ และได้ประจักษ์ถึงความคิดสร้างสรรค์ของเขาในการนำาข้อมูลที่เป็ นตัวเลข หรื อกราฟ อันน่าเบื่อมาจัด แสดงให้ดูสนุก และเข้าใจได้ง่าย ตั้งแต่เมื่อครั้งได้ดูสารคดีของนายไมเคิล มัวร์ เรื่ อง Bowling for Columbine, Super Size Me ของ มอร์ แกน สเปอร์ ลอค, Wal-Mart:The High Cost of Low Price ของ กรี นวอลด์ และล่าสุ ดสารคดีเกี่ยวกับวิกฤตโลกร้อนที่ได้รับรางวัลออสการ์ “An Inconvenient Truth” ของ อัล กอร์ ได้แต่ถามตัวเองว่าเพราะเหตุใดเราจึงไม่เห็นงานในลักษณะนี้ จากประเทศของเรา จริ งอยู่ 20
http://www.petitiononline.com/siam2007/petition.html
เรามีงานสารคดีที่ดีเช่น คนค้นคน, กบนอกกะลา ของ ทีวีบูรพา แต่การนำาเสนอเป็ นไปในรู ปแบบของการดึงผู้ ชมไปมีอารมณ์ร่วมในประสบการณ์ของพิธีกร แต่ยงั มิใช่การนำาเสนอที่นาำ เอาการวิเคราะห์ขอ้ มูล และตัวเลขตาม หลักวิทยาศาสตร์มาเป็ นแกนหลักเพื่อเปิ ดตา เปิ ดใจของผูร้ ับชม หรื อนี่จะเป็ นความแตกต่างที่ต้งั อยูบ่ นฐานราก ของวัฒนธรรม และ ‘คนดู’ นี้เองเป็ นตัวกำาหนดว่าผูท้ าำ รายการจะต้องผลิตรายการออกมาในสไตล์ใด เช่นการ แข่งขันเทนนิสของเจ้าบอล ภารดร ศรี ชาพันธ์ โดยทัว่ ๆไปแล้วต่างประเทศจะนำาเสนอข้อมูลที่เป็ นเชิงสถิติ เชิง ข้อมูล เช่นว่าตอนนี้เขาเป็ นมือวางอันดับเท่าใดของโลก และในเกมส์น้ ีมีการเสริ ฟเสี ยกี่ครั้ง มีการทำาเสี ยเองที่ เรี ยกว่า unforced error กี่ครั้ง หรื อตีลูกวินเนอร์กี่ครั้ง แต่คนไทยเราแทนที่จะแสดงสถิติพวกนี้ ซ่ ึ งเป็ นการเล่น กับสมองล้วนๆ เราต้องการสิ่ งที่เป็ นอารมณ์ความรู้สึก เวลาภารดรตีลูกไปในทีวีกค็ วรจะแสดงภาพสวีทๆ จาก การควงคู่หมั้นไปเที่ยวห้าง หรื อภาพภารดรเปลือยท่อนบนวิ่งอยูแ่ ถวสวนลุม มาสลับฉากหรื อเป็ นกรอบเล็กอยู่ ข้างๆ การแข่งขันเทนนิสนั้นก็จะทำาให้พวกเราตื่นเต้นและสนุกสนานขึ้นมาได้ทนั ที ระหว่างที่ดูวิดีทศั น์จิตใจเราก็ลนุ ้ ไปด้วยว่าตกลงเราจะได้ ‘เล่น’ เป็ นตัวละครใดในสถานการณ์สมมุติน้ี เมื่อเขาให้เปิ ด ปรากฏว่าผมได้เป็ นประเทศญี่ปุ่น พอเขาให้รวมกลุ่มตอนนี้ กเ็ หมือนกับการเล่นเกมส์ผ้ึงแตกรัง ต่างคนก็เดินกันให้วนุ่ เพื่อไปยังสถานีของตนเอง กลุ่มของผมประกอบไปด้วยสมาชิกอีก 4 คน มีขาเฮ้วคนหนึ่ง ซึ่ งเธอแนะนำาตัวว่าเป็ นคนอิตาลี แต่มาอยูอ่ เมริ กานานแล้ว เธอแต่งตัวทะมัดทะแมงออกแนวทหาร ทำาให้ชวน นึกถึงตัวเอกในเกมส์ที่มีชื่อว่า ลอร่ า ครอฟท์ อีกคนหนึ่งมาจากมหาวิทยาลัยมิชิแกนถ้าจำาไม่ผิด ที่เหลืออายุมาก หน่อยในราวห้าสิ บเศษชายหนึ่ง หญิงหนึ่ง เริ่ มต้นผมได้รับมอบหมายให้ไปรับซองบรรจุเอกสารของกลุ่ม ภายในซองประกอบไปด้วยแฟ้ ม 1 เล่ม ที่แสดงสถานภาพทางการเงิน การคลัง และฐานะของประเทศ เหรี ยญ กลมพลาสติก นัยว่าเอาไว้แทนเงินสด และการ์ดซึ่ งแสดงถึงพัฒนาการต่างๆของประเทศทั้งด้าน สุขภาพ, การ ศึกษา, เทคโนโลยี และสิ่ งแวดล้อม เมื่อเริ่ มต้นประเทศญี่ปุ่นของเรามีการ์ดเทคโนโลยีอยูห่ ลายใบ แต่ไม่มีเรื่ อง สุ ขภาพ การศึกษา และสิ่ งแวดล้อมเลย จึงเห็นได้ชดั ว่าเราจะต้องหาการ์ดเหล่านี้ มาเพิ่มเติมเพื่อนำามาใส่ ตามช่อง ว่างที่อยูใ่ นแฟ้ มของเรา การ์ดแต่ละใบมีคะแนนบอกอยูด่ ว้ ยซึ่ งยิง่ เราหามาได้มาก ก็จะไปปรากฏรวมอยูใ่ นผล คะแนนรวม หรื อดัชนีช้ ีวดั ความมัง่ มีของประเทศนั้นๆ เริ่ มต้นเราถูกสั่งให้แต่งตั้ง “รัฐมนตรี คลัง” เพื่อทำาหน้าที่เก็บรักษาเงิน การ์ด เพื่อรวบรวมคะแนนที่จะ นำาไปแสดงบนผังคะแนนอีกที ก็ไม่รู้วา่ หน้าผมจะเป็ นคนเอเชียคนเดียวในที่น้ ันหรื อเปล่า ก็เลยถูกมอบหมายให้ เป็ นรัฐมนตรี คลัง ราวกับว่าพวกฝรั่งนี้เห็นใครผิวเหลืองก็เลยเหมาเอาว่าต้องมีความสามารถในทางคณิ ตศาสตร์ ซึ่ งผมเองถึงจะจบมาทางวิศวะ แต่ไม่เคยเลยสักครั้งที่จะคิดว่าตัวเองเก่งเลข แต่เมื่อได้รับการเสนอชื่อมาผมก็รับ ตำาแหน่งไว้อย่างไม่ค่อยจะเต็มใจนัก อีกตำาแหน่งหนึ่งที่จะต้องแต่งตั้งก็คือ “รัฐมนตรี วฒั นธรรม” เมื่อได้ครบ แล้วผมก็ทาำ การรวบรวมคะแนนและไปขยับตำาแหน่งของประเทศญี่ปุ่นบนบอร์ด ญี่ปุ่นนั้นอยูต่ าำ แหน่งสู งมากจะ เป็ นรองก็แต่เพียงสหรัฐอเมริ กา และยุโรปเท่านั้น จากนั้นเกมส์กเ็ ริ่ มต้น ช่วงเวลาของเกมส์ถูกแบ่งออกเป็ นสามช่วงด้วยกัน ช่วงหนึ่งใช้เวลาประมาณ 15-20 นาที แต่ละช่วงนั้นจะถูกแทนด้วยหนึ่งทศวรรษ เนื่องจากเกมส์ไม่มีกฏกติกาใดๆ นอกจากบอกว่าให้มุ่ง ทำาความดี กับหากติกาเอาเองอย่างที่บอกไว้แล้ว พวกเราก็สับสนกันใหญ่ในกลุ่ม ไม่รู้วา่ จะต้องทำาอะไรก่อนดี หรื อจะไปไหน ในขณะนี้แต่ละประเทศก็วิ่งกันให้วนุ่ แล้ว อินเดียแวะมาและขอความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจ เรา ก็ยงั ไม่รู้จะต้องทำาอะไร ส่วนการ์ดที่เรามีกค็ นละสี กบั แฟ้ มของเขาก็ไม่สามารถที่จะแลกเปลี่ยนกันได้ สรุ ปว่า
ญี่ปุ่นของเราก็อยูก่ บั ที่เป็ นส่ วนใหญ่ บรรยากาศในห้องตอนนี้เป็ นการจราจลย่อยๆ ดูเหมือนไม่มีใครจะอยูป่ ระจำา ที่ของตนเองเลย ปล่อยทิ้งเก้าอี้ให้วา่ งๆไว้อย่างนั้น เมื่อเริ่ มเข้าบทบาทไปได้สักพักหนึ่งดูเหมือนว่ากฏเกณฑ์ขอ้ แรกก็คือการทำาความดีน้ นั ได้ถูกลืมเลือนไปเสี ยแล้ว เพราะเมื่อมีการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์กนั ต่างคนก็คิดถึง ผลที่ตนเองจะได้รับ การแลกอะไรไปก็ตอ้ งคำานึงถึงสิ่ งที่จะได้มา ทั้งๆที่จุดประสงค์ของเกมส์น้ นั ไม่ได้อยูท่ ี่ การนำาประเทศสู่ความมัง่ คัง่ สู งสุ ดบนผังคะแนน แต่กเ็ หมือนมีมนตราลี้ลบั ที่ทาำ ให้แต่ละประเทศ และแต่ละ องค์กรพยายามตั้งกฏข้อที่ 0 ขึ้นมาก็คือ หาเงิน และการ์ดให้ได้มากที่สุดเพื่อที่จะ ‘upgrade’ ประเทศให้ข้ ึนสู่ ระดับต่อไป (ซึ่งจะได้แฟ้ มใหม่ และได้รับเงินและการ์ดชุดใหม่ ที่มีคะแนนสู งขึ้น) เวลาผ่านไปสิ บนาทีแรก เป็ นเวลาแห่งการรวบรวมคะแนนและปรับผังคะแนน ประเทศญี่ปุ่นของผมก็ ยังไม่ได้ทาำ อะไรเป็ นชิ้นเป็ นอัน เพราะบอกตรงๆพวกเรางงจนไม่รู้จะทำาอะไรกันดี อีกเหตุผลหนึ่งก็คือญี่ปุ่นนั้น เป็ นประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจสู ง การซื้ อหาแลกเปลี่ยนในด้านต่างๆกับประเทศอื่นๆนั้นทำาได้ยาก เพราะประเทศส่ วนใหญ่อยูใ่ นโซนกำาลังพัฒนา นัน่ หมายความว่าการ์ดต่างๆจะเป็ นคนละสี กบั ของเรา และไม่ สามารถนำามาใส่ ในแฟ้ มได้ เมื่อเวลาผ่านไป ‘หนึ่งทศวรรษ’ ก็ยงั ไม่มีอะไรเกิดขึ้นมากนัก สำาหรับประเทศอื่นๆ ก็เช่นเดียวกันยังไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงให้เห็นเด่นชัด เราเข้าสู่ ช่วงที่สองของการเล่นเกมส์ มีการแจกเงินให้ใหม่ เพิ่มเติม คราวนี้พวกเราเริ่ มออกไปพบปะพูดคุยกับประเทศอื่นๆมากขึ้น แต่จุดมุ่งหมายก็ยงั คงเป็ นการ ‘สะสม’ ความมัง่ คัง่ ในมิติต่างๆอยูด่ ี ผมเป็ นคนบอกเพื่อนร่ วมทีมว่าเราขาดการพัฒนาด้านใด ซึ่ งเห็นได้ชดั ว่า การศึกษา และการสาธารณสุขของเราขาดมาก อีกทั้งงานทางด้านการรักษาสิ่ งแวดล้อมก็ยงั ไม่มี ทุกคนก็ออกไปพบปะ และ พยายามที่จะนำาสิ่ งเหล่านั้นกลับมา ในขณะที่กาำ ลังวุน่ วายนั้นก็มีความเป็ นระเบียบก่อตัวขึ้นอย่างช้าๆ ประเทศโลกที่สามออกมาเต้นและ แสดง เพื่อเรี ยกร้องให้นานาประเทศให้ความช่วงเหลือก ส่วนประเทศผูน้ าำ ยุโรปได้พยายามที่จะรวมรวม พันธมิตรจากประเทศต่างๆ และสร้างข้อตกลงทางการแลกเปลี่ยน โดยการผนึกกำาลังนี้เองที่ประเทศที่พฒั นาแล้ว จะสามารถไปต่อรองกับกลุ่มบริ ษทั ข้ามชาติ และสถาบันการเงินระหว่างประเทศให้เจือจานความช่วยเหลือมาสู่ ประเทศในโลกที่สาม ซึ่งในแง่ของการเล่นเกมส์กค็ ือพวกเราจะทำาการแลกเปลี่ยนในลักษณะเป็ นกลุ่มใหญ่ เพื่อ ให้สามารถมีอาำ นาจต่อรองได้มากขึ้น ประเทศที่กาำ ลังพัฒนาอย่างอินเดีย และประเทศในกลุ่มอเมริ กาใต้ ให้ความ สนใจเข้าร่ วม และบอกถึงประเภทของความช่วยเหลือที่ตอ้ งการ ส่วนญี่ปุ่นของผมก็ตกลงที่จะให้ความช่วยเหลือ เป็ นตัวเงิน เราพยายามที่จะดึงสหรัฐอเมริ กาเข้ามาร่ วมด้วยแต่กไ็ ม่เป็ นผล ช่างเหมือนกับชีวิตจริ งอะไรเช่นนั้น? ในระหว่างที่พดู คุยกัน และร่ างข้อตกลงนั้นเวลาอีกช่วงหนึ่งก็หมดลงเสี ยก่อน แต่ก่อนช่วงเวลาสุ ดท้ายจะมาถึง พิธีกรได้ประกาศขึ้นว่าการเล่นเกมส์ที่ผา่ นมานั้น ได้ปรากฏว่าประเทศต่างๆไม่ได้ให้ความช่วยเหลือกันและกัน มากเพียงพอ ซึ่ งถ้าเป็ นเช่นนี้ต่อไปจะเกิดวิกฤตการณ์ข้ ึนในโลก และวิกฤตดังกล่าวนี้จะส่ งผลกระทบไปถึงทุกๆ ประเทศ จึงขอให้ประเทศแต่ละประเทศบริ จากทรัพย์สินที่ตนมีเดี๋ยวนี้ เพื่อที่จะป้ องกันสิ่ งเลวร้ายไม่ให้เกิดขึ้น พวกเราได้ฟังดังนั้นก็หนั หน้ามาปรึ กษากัน และตัดสิ นใจมอบเงินสดที่มีอยูเ่ กือบทั้งหมดให้กบั องค์กรการเงิน ระหว่างประเทศเพื่อให้เป็ นความช่วยเหลือ แต่ละประเทศก็บริ จากกันออกไป แล้วในที่สุดยกสุ ดท้ายก็มาถึง การรวมรวมสมัครพรรคพวกของประเทศยุโรปจึงได้ดาำ เนินต่อไปอย่าง เข้มข้น เราได้บรรลุขอ้ ตกลงไปหลายประการ และในที่สุดการแลกเปลี่ยนจริ งก็ได้เกิดขึ้น ซึ่ งการแลกเปลี่ยนครั้ง นั้นทำาให้เราได้รับการ์ดที่เกี่ยวกับการพัฒนาสาธารสุ ข กับการศึกษามามาก ประเทศที่กาำ ลังพัฒนาอย่างอินเดีย
ก็ได้ในสิ่ งที่รอคอยมานานก็คือการถ่ายทอดเทคโนโลยี หลายประเทศได้ในสิ่ งที่ตอ้ งการเป็ น ‘วิน วิน’ ส่วน ประเทศญี่ปุ่นของผมจากการให้ความช่วยเหลือทางการเงินที่มีให้กบั ประเทศในโลกที่สามครั้ งนั้น ทำาให้ผมไม่มี เงินสดเหลืออยูใ่ นมือเลย แต่องค์กรการค้าโลกก็ได้มอบความช่วยเหลือทางด้านการศึกษา สวัสดินการสังคม สา ธารสุ ข มาให้อย่างมากมาย จนทำาให้เราสามารถนำาไปใส่ ที่วา่ งจนเต็ม ซึ่งเป็ นข่าวดีที่สร้างความประหลาดใจกับ พวกเรามาก เพราะตอนนั้นค่อนข้างสิ้ นหวังที่จะทำาการแลกเปลี่ยนทางการค้ากับใครเนื่องจากขาดเงินสดในมือ เวลาผ่านไปเร็ วมากขณะที่เล่นเกมส์ มารู้ตวั อีกทีกห็ มดเวลาช่วงที่สามเสี ยแล้ว ผูจ้ ดั ออกมาประกาศการ สิ้ นสุ ดการเล่มเกมส์อนั โกลาหลของเรา เขาบอกว่าพวกเราทำาได้ดีมากในการให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ระหว่างนานาประเทศ ผลสื บเนื่องจากตรงนี้ทาำ ให้โลกรอดจากวิกฤตการณ์อนั ใหญ่หลวง และถึงแม้วา่ เหตุการณ์ นั้นจะไม่ได้เกิดขึ้นในการเล่นเกมส์ของเราในครั้งนี้ เขาจะฉายให้ดูวา่ เกิดอะไรขึ้นบ้าง จากนั้นก็เป็ นวิดีทศั น์ของ ำ ่ม ผูค้ นล้มตาย ความแร้นแค้นขัดสนเกิดขึ้นทัว่ ทุกหนทุกแห่ง หายนะโลก เริ่ มจากความขาดแคลนอาหาร น้าดื อนาธิปไตยขยายตัว ความรุ นแรง การเอารัดเอาเปรี ยบ การดิ้นรนให้อยูร่ อด ความคับข้องและการกระทบกระทัง่ ของพลเมืองโลกในทุกๆด้านทั้งเรื่ องความมัง่ คัง่ ผลประโยชน์ ชาติพนั ธ์ ศาสนา และจบลงด้วยความมัง่ คัง่ อุดม สมบูรณ์ของรระบบนิเวศน์ของโลกถูกทำาลายไป โลกบอบช้าำ และที่สาำ คัญทุกประเทศได้รับผลกระทบนี้ ไม่วา่ จะ ำ เป็ นประเทศที่ร่ารวย หรื อยากจน ความทุกข์เข็นลำาเค็ญใจ เกิดในทุกผูท้ ุกคน ไม่แบ่งแยก ภาพในวิดีทศั น์แสดง ถึงเด็กตัวเล็กๆ ที่ถูกแมลงวันตอม สายตาของแม่ที่อมุ ้ เด็กทารกบอกถึงความสิ้ นหวัง พวกเรานัง่ ดูนาตาซึ ้ ำ ม ย้อน คิดถึงเบี้ยพลาสติกเล็กที่ถูกสมมุติให้เป็ นเงิน พวกเราหวงแหนเบี้ยพลาสติกนั้น เจรจากันอย่างเผ็ดร้อนและซ่อน มีดเอาไว้ขา้ งหลัง เพียงเพื่อแลกเปลี่ยนมันให้เป็ นกระดาษอีกหนึ่งใบ เพื่อสะสมเข้าไว้ในแฟ้ มเล็กๆของประเทศ ของเรา เปรี ยบเสมือนเด็กดีที่คอยสะสมสติกเกอร์รูปดาวดวงเล็กๆ ที่คุณครู แปะเอาไว้ในกระดาษ เพียงเพื่อนำาไป อวดเพื่อนเท่านั้นหรื อ สำาหรับโลกของเราคุณครู ในที่น้ี กค็ ือระบบใหญ่ ที่กมุ บังเหียนอันมองไม่เห็น ผลักดัน ประเทศต่างๆให้สะสมทรัพยากรทั้งหลายทั้งปวงอย่างไม่ลืมหูลืมตา เพียงเพื่อจะให้ดีกว่า เยีย่ มกว่า เพื่อให้ ประชากรของประเทศเราสุ ขสบายกว่า โดยหลงลืมไปว่าเราทุกคนเป็ นเพียงเบี้ยตัวเล็ก ที่ถูกมือไม้อนั มองไม่เห็น มาเดินขยับไปซ้ายขวา รู้ตวั อีกทีหนึ่งก็ไม่มีเพื่อนหลงเหลืออยูบ่ นกระดาน และตัวเราเองก็จะถูกกินในตาต่อไป ำ มตัวลงนอน มองไปนอก จบวันอย่างเหน็ดเหนื่อย เป็ นวันที่ยาวนานผมกลับถึงที่พกั ห้าทุ่มกว่า อาบน้าล้ หน้าต่างฝรั่งบางคนจูงสุ นขั เดินออกกำาลังกาย ก่อนที่สติสัมปชัญญะจะวูบลับ นึกถึงประโยคแรกในวิดีทศั น์เมื่อ เริ่ มต้นเล่นเกมส์ “Tell me and I forget, show me and I remember, involve me and I learn”
วันที่ส่ ี : ครึ่งวันสุดท้ าย (World Café) ศุกร์ที่ 29 มีนาคม 2550 (ครึ่ งวันสุ ดท้าย) วันนี้เราเริ่ มต้นวันด้วยการฟังการถ่ายทอดประสบการณ์ตรงของผูน้ าำ ที่ได้หลุดพ้นไปจาก “ฟองสบู่” หรื อ กรง กรอบของการแยกแบ่งที่เกิดขึ้นในสังคมสมัยใหม่ ไม่วา่ จะเป็ นใกล้หรื อไกลตัวออกไปในระดับโลก และเราจะใช้ เวลาที่เหลือเพื่อตั้งวงสนทนาแบบ World Café ที่ผมรอคอยมาตั้งแต่ตน้ นักพูดที่โดดเด่นของวันนั้นก็คือท่านบาทหลวง เจฟฟรี่ บราวน์ ท่านมาจากโบสถ์ ยูเนียน แบ๊บติส ในเคมบริ ดจ์ บอสตัน ท่านเป็ นแอฟริ กนั อเมริ กนั รู ปร่ างสู งใหญ่ หุ่นเป็ นนักกีฬาเต็มที่ มีชีวิตชีวา เวลาพูดท่านใช้ท้ งั ตัว เสี ยง ดังฟังชัดมีหนักเบาบอกถึงความเป็ นนักเทศน์ผชู้ าำ นาญ คำาพูดที่เปล่งออกมาทุกคำาออกมาจากใจ มีพลังชวนให้ คล้อยตาม ตาของท่านเป็ นประกายเมื่อพูดถึงสิ่ งที่จบั ใจ ท่านพูดถึงว่าแต่ก่อนเมื่อท่านย้ายมาอยูบ่ อสตันใหม่ๆ ท่านก็เป็ นเหมือนบาทหลวงทัว่ ไปที่ใส่ ใจในงาน และมี ความปรารถนาอันสู่ ส่งที่จะนำาพระเจ้าไปสู่ ผคู้ นตามปวารณาแห่งชีวิตของท่าน ท่านฝันว่าอยากจะมีวดั มีโบสถ์ ใหญ่ๆ มีศาสนิกชนมากมายเข้าร่ วม มีชุมชนที่เกื้อกูลกันและกัน ท่านบอกว่าท่านมาจากครอบครัวคนผิวดำาที่พอ มีอนั จะกิน ดังนั้นท่านจึงไม่เคยสัมผัสโลกของความเป็ นจริ งที่ยงั มีชนชั้นล่างของสังคมที่ยงั มีปัญหาอยูม่ าก ท่าน เล่าให้ฟังอย่างติดตลกว่า ท่านฝันถึงการขับรถคันงาม ใส่ เสื้ อลำาลอง ใส่ กางเกงสี กากีขาสั้นคลุมเข่า ออกเยีย่ ม เยือน ฆราวาสแถวบ้านอย่างมีความสุ ข แต่ภาพที่ท่านวาดฝันไว้มนั ไม่ได้เป็ นเช่นนั้นในความเป็ นจริ ง เพราะ ประมาณปี 1992 ที่แถบชุมชนที่ท่านอาศัยอยูส่ ังคมมีปัญหามากในเรื่ องของการใช้ความรุ นแรง การใช้อาวุธ การฆาตกรรม และสิ่ งเสพติด โดยเฉพาะสำาหรับกลุ่มชนกลุ่มน้อยเช่นกลุ่มเยาวชนผิวดำาที่ไร้การศึกษา และกลุ่ม คนละตินที่อพยบ หรื อหลบหนีเข้าเมืองมาโดยผิดกฏหมายจากอเมริ กาใต้ ในขณะที่การฆาตกรรมในหมู่เยาวชนเกิดขึ้นทุกวัน และยิง่ ทวีความรุ นแรงขึ้นจนกลายเป็ นเกลียวสไปรัลที่ ควบคุมไม่ได้ ผูค้ นก็มาที่โบสถ์นอ้ ยลง นอกจากนั้นท่านยังสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงในชุมชนของท่าน เพราะผูค้ นที่เดินผ่านมาผ่านไปบนถนนก็เลิกทักทายกัน และส่ งสายตาแห่งความระแวง ไม่เป็ นมิตร แม้กระทัง่ เพลงที่เปิ ดในวิทยุกย็ งั มีแต่เรื่ องของความรุ นแรง การใช้อาวุธ และใช้ถอ้ ยคำาผรุ สวาท จนกลายเป็ นเรื่ องธรรมดา ท่านบอกว่าเมื่อขณะนั้นเองท่านสว่างแวบเห็นสัจธรรมว่าทั้งหมดนี้เป็ นสัญญานของความเปลี่ยนแปลงของชุมชน และสังคมรอบตัวท่าน เมื่อท่านนำาเรื่ องนี้มาใคร่ ครวญแล้วท่านก็สะท้อนใจ ท่านมองว่ามันเป็ นโจทย์ที่ยากนักที่ พระเจ้าได้มอบให้กบั ท่าน เพราะตัวท่านเองรู้จกั พระเจ้า รู้จกั โบสถ์ รู้จกั คำาสอน แต่ท่านไม่รู้จกั ชีวิตจริ งบน “ถนน” ข้างนอกนัน่ เปรี ยบเสมือนคนที่เดินอยูใ่ นแสงสว่างมาตลอด ท่านไม่คุน้ กับการเดินตามตรอกมืดแคบ และอับชื้น ที่รอบๆด้านเต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก กระจกหน้าต่างที่แตก และสี สเปรย์ที่พน่ อยูบ่ นผนัง แต่ ท่านก็เคยได้เรี ยนรู้มาว่า ความหมายของการเป็ นผูน้ าำ ที่แท้จริ งนั้นก็คือการมีใจจดจ่อมุ่งกระทำาในสิ่ งที่เรายังทำาได้ ไม่ดี (Leadership is something we have not yet mastered.) ดังนั้นสิ่ งแรกที่ท่านจะทำาก็คือการเดิน ออกจากความคุน้ ชิน ไปสู่ ความไม่รู้ที่อยูข่ า้ งนอกถนนนัน่ เพราะท่านได้มองว่าการเทศนาธรรมนั้นไม่ควรที่จะ เทศน์ “ให้กบั ” ชุมชน แต่ควรจะนำาการเทศน์ของท่าน “ไปสู่ ” ชุมชน มากกว่า (Preaching to the community not preaching at the community.)
แต่ถึงแม้จะรู้อย่างนั้น การตัดสิ นใจที่จะก้าวให้พน้ “ฟองสบู่” หรื อ “ไข่แดง” ที่คุน้ ชินของท่าน ก็ไม่ใช่เรื่ อง ง่าย เพราะหลายสิ่ งหลายอย่างจะปรากฏขึ้นมาเป็ นอุปสรรคในทันทีที่เราคิดจะเปลี่ยนแปลง แต่อุปสรรคที่ยงิ่ ใหญ่ ที่สุดก็ไม่พน้ “ความกลัว” ที่อยูภ่ ายในของท่านเอง ความลังเลอันนี้ได้ตรึ งท่านเอาไว้กบั ที่ไม่รู้วา่ จะทำาประการ ใด จนกระทัง่ มีอยูว่ นั หนึ่ง ท่านตกใจเมื่อมีคนกระหืดกระหอบเข้ามาเรี ยกท่านในโบสถ์ และบอกกับท่านว่ามีเด็ก วัยรุ่ นคนหนึ่งถูกยิงที่หน้าโบสถ์ของท่าน ท่านรี บรุ ดมาดูพบว่าเด็กหนุ่มวัยรุ่ นคนนั้นหายใจรวยริ นจมกองเลือด และเสี ยชีวิตในเวลาต่อมา อยูบ่ นฟุตบาทห่างจากบันไดขึ้นลงโบสถ์ของท่านเพียงห้าสิ บหลา เหตุกค็ ือเด็กหนุ่มคน นี้ปฏิเสธไม่ยอมให้เสื้ อแจ็คเก็ตกับพวกอันธพาลที่เข้ามาข่มขู่เขา เด็กผูเ้ คราะห์ร้ายคนนี้ คงวิ่งมาทางโบสถ์เพื่อที่ เรี ยกหาให้คนช่วย แต่วิ่งมายังไม่ทนั ถึงก็ถูกยิงล้มลงเสี ยก่อน ท่านจับมือที่เปื้ อนเลือดของเด็กหนุ่มนั้นไว้ ภายใน ำ น้าตาไหลริ น ในวินาทีน้ นั เองท่านรู้ได้วา่ นี่เป็ นสัญญานจากพระผูเ้ ป็ นเจ้าให้ท่านทำาอะไรบางอย่าง ท่านตัดสิ นใจ แน่วแน่ต้งั แต่วินาทีน้ นั ว่าท่านจะลงไป “คลุกคลี” ท่านจะก้าวออกไปจากโบสถ์ เพราะท่านรู้แล้วว่า “พระเจ้า” ไม่จาำ เป็ นจะต้องอยูแ่ ต่ในโบสถ์ หรื อสถานที่จดั ตั้งใดๆ แต่พระเจ้าของท่านนั้นคือจิตวิญญานที่ไร้สถานที่ ไร้กาล เวลา และพ้นไปจากการกำาหนดกฏเกณฑ์ จารี ต หรื อแบบแผน พระเจ้ ำของท่ ำนสถิตย์อยู่ภำยในใจของท่ ำนเอง ท่านได้เริ่ มก้าวออกไปพูดคุยกับเด็กวัยรุ่ นตามท้องถนน พูดคุยกับผูค้ นที่ไม่เคยมาโบสถ์ในวันอาทิตย์ ท่านอยาก จะรู้วา่ เพราะเหตุใดจึงมีเรื่ องรุ นแรงเช่นนี้ ท่านเข้าให้ทาำ ความคุน้ เคยกับเด็กวัยรุ่ นหลายคน ที่ไม่มีใครอยากจะ สุ งสิ งด้วย เด็กพวกนี้ติดยา ขายยา และติดอยูใ่ นวังวนของความรุ นแรง ท่านพยายามที่จะตีสนิทกับพวกเขา ในใจ หนึ่งก็กริ่ งเกรงอันตรายที่จะมาถึงตัวเอง มีหลายครั้งที่ท่านคิดว่าท่านได้ขา้ มเส้นอันหมิ่นเหม่ของระหว่างความ เป็ นกับความตาย แต่ท่านรู้สึกว่าพระผูเ้ ป็ นเจ้าอยูข่ า้ งท่านตลอด มีอยูว่ นั หนึ่งหลังจากที่ท่านพยายามให้ความสนิท สนมกับกลุ่มเด็กที่อยูใ่ นแก๊งค์ขา้ งถนนมาเป็ นระยะเวลาหนึ่ง หนึ่งในพวกนั้นที่ท่านสนิทสนมด้วยที่สุดเดินมาหา ท่านและกระซิ บบอกว่าหัวหน้าแก๊งค์ตอ้ งการจะพูดกับท่านเพียงลำาพัง ตลอดเวลาเด็กหนุ่มที่เป็ นหัวหน้าไม่เคยที่ จะพูดคุยกับท่าน เขาเงียบขรึ มและมองท่านด้วยสายตาไม่เป็ นมิตรตลอดเวลา มาวันนี้ท่านจะได้มีโอกาสคุยกับเขา หรื อไม่แน่ถา้ มองอีกมุมหนึ่งวาระสุ ดท้ายของท่านกำาลังจะเข้ามาเยือน ท่านทำาใจเย็นและยินยอมให้เขาพาไปใน ห้องเปลี่ยว เมื่ออยูก่ นั สองต่อสองท่านพยายามรักษาความเยือกเย็น แต่กอ็ ดไม่ได้ที่จะเป็ นห่วงชีวิตของตน หัว หน้าแก๊งค์ผเู้ คร่ งขรึ ม นัง่ ลงตรงข้ามกับท่าน และใช้เวลาเนิ่นนานกว่ากว่าถ้อยคำาเหล่านี้ จะพรั่งพรู ออกมา “พระคุณเจ้า ตอนนี้ ผมไม่มีสาำ นึกผิดถูกชัว่ ดี ผมไม่รู้วา่ ทำามันหายไปตั้งแต่เมื่อไหร่ ท่านจะช่วยผมให้ผมเอา
สำานึกนี้กลับคืนมาได้หรื อไม่?”
ในวินาทีน้ นั เองที่ท่านได้หยัง่ รู้วา่ เรากำาลังมองเรื่ องนี้ ผิดพลาดไปหมด เราพยายามที่จะต่อสู ้เพื่อนำาถนนที่ครั้งหนึ่ง เคยสงบสุ ขคืนมา แต่ถนนเหล่านี้ ไม่ได้ถูก “ยึด” ไปจากเราเลย แต่เป็ นเพราะเรา “ละทิ้ง” ถนนของเราไปอย่าง ไม่ใส่ใจใยดี เราไม่ สนใจว่ าใครจะทุกข์ ยาก เราไม่ ใส่ ใจว่ าเยาวชนของเราจะไม่ มีการศึกษา เราไม่ แคร์ ว่าใครจะ ทำาร้ ายใคร เราเดินหนีจากผู้คนที่เข้ ามาขอความช่ วยเหลือ ไม่ ว่าจะเป็ นเศษเงิน เศษอาหาร เราไม่ ให้ แม้ กระทั่งเศษ เสี ้ยวของความเอือ้ อาทร เราได้ “ผลักไส” พวกเขาออกไปจากแสงสว่ าง และความอบอุ่น แล้ วเราจะโทษใคร เมื่อพวกเขาต้ องทำาทุกอย่ างเพือ่ ให้ รอด ในสังคมที่ไร้ หัวจิตหัวใจเช่ นนี้ ท่านบอกว่าเราจำาเป็ นจะต้องก้าวเข้าไปสู่ ปัญหา เหมือนกับที่ท่านต้องก้าวไปสู่ ถนนข้างนอกนัน่ แต่สาำ คัญว่าเราจะ ต้องก้าวไปสู่ ปัญหานั้นโดยไม่พกพา “คำาตอบ” ในแบบฉบับของเราไปด้วย แต่จะดีกว่าถ้าเราพกพาความ
“ใส่ ใจ” และความเป็ นห่วงเป็ นใยด้วยใจที่เปิ ดกว้าง และบางครั้งการใส่ ใจกับกลุ่มคนรุ่ นที่หลงทางไปแล้วอาจ จะเป็ นยากกว่าการให้ความสนใจกับกลุ่มคนรุ่ นใหม่ที่กาำ ลังเติบโตขึ้ นมา ท่ ำนเชื้อเชิญให้ เรำทุกคนเข้ ำมีส่วนร่ วม เพือ่ ช่ วยกันสร้ ำงหมู่บ้ำนแห่ งควำมเอือ้ อำทรนีร้ ่ วมกัน เมื่อท่ านจบการบรรยาย เสี ยงปรบมือกึกก้ องดังขึน้ ผู้คนลุกขึน้ ยืน ทุกคนส่ งรอยยิม้ ให้ ท่านพลางปรบมือไปพลาง เป็ นอีกช่ วงเวลาหนึ่งที่น่าประทับใจ ไฮไลท์ของวันนี้คือสิ่ งที่รอคอยอยูม่ าตลอดแต่ยงั ไม่ได้ทาำ เลยนัน่ ก็คือ World Cafe' เวิลด์ คาเฟ่ คือวิธีการใน การปรับสุ นทรี ยสนทนา ให้เข้าสู่ แบบแผนที่สามารถจะรองรับคนหมู่มากได้ เป็ นวิถีคิดที่มีความเป็ นอเมริ กนั เน้นในเรื่ องของประสิ ทธิภาพ และรองรับการขยายตัว และเติบโตในอนาคต บนโต๊ะมีกระดาษขาว และปากกา เมจิค เพื่อสำาหรับการบันทึก ถ่ายทอดความคิดอันบรรเจิด ที่เกิดขึ้นระหว่างการสนทนา และเป็ นการจารึ กคลื่น ความคิด (resonance) ที่เกิดขึ้นในปัจจุบนั ขณะนั้นๆ เพื่อที่วา่ ในรอบต่อๆไปจะมีใครมาหยิบฉวย "เพชร" เม็ด นี้ไปนำาสู่ การสนทนาที่น่าสุ นทรี ยต์ ่อเนื่องไป การเริ่ มต้นคุยแบบนี้เริ่ มจากการนัง่ เป็ นวงกลม โต๊ะละสี่ ถึงหกคน แต่จะให้ดีแนนซี่ บอกว่าจำานวนที่เหมาะสมคือ เพียงสี่ คน จากนั้นผูน้ าำ กระบวนการก็จะเริ่ มด้วยการให้แต่ละคนในโต๊ะแนะนำาตัวเอง และเล่าว่ามีจุดประสงค์ อะไร เพื่อสร้างความคุน้ เคยกันก่อน แต่ละคนจะพูดสั้นๆเพียง 2-3 นาที และถัดไปจนครบคน จากนั้นกระบวน กรจะขัดจังหวะโดยการยกมือ เมื่อเราเห็นกระบวนกรยกมือเราทุกคนก็จะเงียบเสี ยงลง และยกมือขึ้นตามสัญญา นที่ผนู้ าำ ส่ งมา บ่อยครั้งที่หลายคนยังติดใจคุยต่อ แสดงว่ามนต์เสน่ห์ของวงสนทนาได้เริ่ มต้นแล้ว สำาหรับวันนี้ของผม หลังจากการแนะนำาตัวหรื อ Check in กันเรี ยบร้อยแล้ว ปี เตอร์เริ่ มเข้าสู่เนื้อหาของการ สนทนา โดยบอกถึงวัตถุประสงค์วา่ จากการที่เราได้อบรมสัมมนากันมาเป็ นเวลาสามวันแล้วนั้น ความรู้สึก ญา นทัศนะได้ทาำ งานไปถึงระดับหนึ่ง แต่ท้ งั หมดอาจจะยังไม่เห็นโดยเป็ นรู ปธรรม ดังนั้นวันนี้โดยผ่านกระบวนการ ของ World Cafe หรื อวงกาแฟไร้พรมแดน เราจะพยายามมองหาสิ่ งที่จะก่อกำาเนิดขึ้นให้เป็ นรู ปธรรมยิง่ ขึ้น ปี เตอร์ใช้วิธียงิ คำาถามที่ปลุกเร้าความคิดและวิญญาน และกระตุน้ ให้เกิดการสนทนาในระดับลึก โดยให้เราถาม ตัวเอง และสนทนากันว่า "อะไรที่ตอ้ งการจะก่อกำาเนิด และงอกงามขึ้น ณ.ที่นี่ และเวลานี้ ?" คำาถามนี้ถูกใช้เป็ น ำ ายีส่ ิ บโต๊ะสนทนาได้เริ่ มพูดคุยกัน แย่หน่อยที่วงสนทนาเริ่ มแรกของผม คำาถามนำาเพื่อให้ทุกโต๊ะ ซึ่งมีอยูไ่ ม่ต่ากว่ นี้มีผคู้ นเหลือกันอยูเ่ พียงสามคน เพราะจะต้องรี บเช็คเอาท์กลับบ้าน และไปขึ้นเครื่ องบินกันให้ทนั เวลา การพูด คุยกันยังอยูใ่ นระดับผิวเผินมาก เข้าสู่ ข้นั ตอนที่ 1-2 เท่านั้น ยังไม่มีความลึกซึ้ งในระดับของ อ่าน เขียน แปลฯ เมื่อต้นปลายเดือนกุมภาพันธ์ที่ผา่ นมา หลายคนยังคุยไม่พน้ ระดับของ "ตัวแทน" ของบริ ษทั ที่ตนเป็ นลูกจ้างอยู่ และหลายคนที่มีประสบการณ์กบั SoL บอกว่าได้เข้าร่ วมประชุมกับ Sol มาก่อนหน้านี้เมื่อสามปี ที่ผา่ นมา แต่ ปัจจุบนั ก็ยงั ไม่เห็นอะไรที่จะถือได้วา่ เป็ นการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก และภายในบริ ษทั ของตน และเขาสงสัยว่า สำาหรับผูท้ ี่รู้จกั SoL ก็มีบริ ษทั อยูก่ ลุ่มหนึ่ง อาจจะต้องทำาอะไรที่มีความเข้มข้นขึ้นกว่าเดิมในหมู่คนเหล่านี้ หรื อ ควรที่จะกระจายเรื่ องราวทั้งหมดไปสู่ คนจำานวนที่มากขึ้นกว่าเดิม ผมมาค้นพบภายหลังว่ายังฟังได้ไม่ดีนกั เพราะสารที่ตอ้ งการจะสื่ อมานั้นบางเรื่ องพึ่งมาเข้าใจ และปิ๊ งกระจ่างขึ้น ในภายหลัง แต่ไม่ได้เกิดขึ้นในขณะรับฟัง เมื่อมาพิจารณาดูแล้วพบว่าส่ วนหนึ่งเป็ นเพราะยังไม่มีความแตกฉาน
ในภาษาอังกฤษ ตรงนี้คงจะเป็ นอุปสรรคที่อาศัยการฝึ กฝน และการต้องนำาตัวเองเข้ามาอยูใ่ นเหตุการณ์ และ วัฒนธรรมของผูพ้ ดู ด้วย จึงจะสามารถที่จะ "เห็นภาพ" ได้ชดั เจนกว่านี้ การสนทนาสิ้ นสุ ดลงเมื่อปี เตอร์ยกมือขึ้นอีกครั้ง เวลาผ่านไปแล้วประมาณ 20 นาที แต่ผมเชื่อได้เลยว่าไม่มีใคร ในโต๊ะจะรู้สึกว่า "น่าเบื่อ" แต่อย่างใด เวลาผ่านไปอย่างรวดเร็ วสำาหรับผมมันเหมือนกับเพียง 5 นาทีเท่านั้น ทำาให้นึกถึงคำาของอาจารย์ใหญ่วา่ เวลามันเป็ นความคิดรวบยอดที่เราสร้างไว้ในหัวของเราเท่านั้น รอบที่สองทุกคนในโต๊ะจะต้องย้ายไปหาโต๊ะใหม่อยู่ คงเหลือไว้แต่เพียง 1 คนที่จะต้องทำาตัวเป็ น ปู่ โสมเฝ้ า ทรัพย์ ที่ตอ้ งปักหลักอยูท่ ี่โต๊ะ โดยไม่เคลื่อนย้ายไปไหน เพื่อที่จะทำาการสรุ ปเรื่ องราวและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้ นใน โต๊ะสนทนา ให้กบั สมาชิกที่พ่ งึ เข้ามาร่ วมใหม่ได้รับฟังกันก่อนที่จะมีการดำาเนินการสนทนาในรอบใหม่ต่อไป การสนทนาในรอบสองนี่กเ็ ช่นเคยที่จะต้องเริ่ มด้วยการ Check in ก่อน ซึ่ง ก็ส้ ันๆกระชับและได้ใจความเช่น เคย ความรู้สึกของการร่ วมวงมีความรี บร้อนในจิตใจบ้าง เพราะปี เตอร์จะคอยควบคุมเวลาและขัดจังหวะตลอด เวลา บางครั้งผมคิดว่าตรงนี้ทาำ ให้ความลื่นไหลต่อเนื่อง (Flow) เกิดได้ไม่เต็มที่นกั และคลื่นสมองเบตาเองก็ สลับขึ้นมาทำางานตลอด การฟังจะมืดบอดลงไปเป็ นห้วงๆ เมื่อการสนทนามาถึงรอบสองสิ่ งหนึ่งที่เห็นได้ชดั ว่า เป็ นข้อดีของ "วงสุ นทรี ยกาแฟ" นี้ ก็คือการหยิบโยงเรื่ องราวที่เกิดขึ้นบนโต๊ะสนทนาอื่นๆ มาสู่ในวงของเรา แต่ละคนที่ยา้ ยเข้ามาร่ วมโต๊ะสนทนาใหม่ ก็เปรี ยบเสมือนผึ้งแต่ละตัวที่บินลงสู่ ดอกไม้ ซึ่งก็คือโต๊ะกลมหลายตัว และเมื่อบินขึ้นมาก็ได้นาำ "เกสร" หรื อ "เพชร" ที่กาำ เนิดผุดขึ้นในแต่ละวง ที่ยงั สะท้อนก้องอยูใ่ นส่ วนลึกของ มโนสำานึก มาแบ่งปันถ่ายทอดลงสู่ วงสนทนาถัดไป ซึ่งแนนซี่ เรี ยกขบวนการนี้ วา่ "Cross Pollenation" เป็ นการประยุกต์ใช้การเลียนแบบธรรมชาติ (Biomimicry) ที่น่าสนใจ ถือเป็ นนวตกรรมทางการนำาความ เปลี่ยนแปลงสู่ สังคมที่น่าเรี ยนรู้อย่างยิง่ การสนทนาดำาเนินไปโดยมีความลุ่มลึกมากขึ้น มีความเปิ ดกว้างมากขึ้น แต่จะด้วยวัฒนธรรมทางตะวันตกหรื อ อย่างไรก็ไม่ทราบได้ ผมพบว่าการสนทนายังอยูใ่ นระดับของการใช้ปัญญา ใช้หวั คิด และปากพูด แต่ไม่ได้ใช้ใจ ฟัง และพูดออกมาจากจิตวิญญาน ยังกักตัวเองอยูใ่ นกรอบของอะไรบางอย่าง ในสถานะ ในหน้าที่ ในเรื่ องราว ในชุมชน ในตนเอง มากกว่าที่จะเปิ ดรับ ปล่อยวาง ถ้าเป็ นทฤษฏีตวั ยู เราก็ยงั ลงไปไม่ถึง "ก้น" ของตัวยูเท่าใด นัก แต่แม้เพียงเท่านี้ ผมก็เห็นแสงสว่างรำาไร และมีความปิ ติมาก เพราะผมรู้ดีวา่ เรื่ องเหล่านี้ เป็ นสิ่ งที่ใหม่สาำ หรับ ชาวตะวันตก ถ้าจะให้ผมประเมินแล้วประสบการณ์ที่นี่ ก็เป็ นการพูดคุยกับชาวตะวันตกที่ลึกซึ้ นที่สุดในชีวิตของ ผมแล้วเลยทีเดียว เมื่อเวลาสิ้ นสุ ดลงเราฝูงผึ้งก็โบยบินไปสู่ ดอกไม้ที่สวยงามดอกใหม่ที่รอเราอยู่ คราวนี้ปีเตอร์เปลี่ยนคำาถามใหม่ เป็ นว่า "เราจะสามารถน้อมนำาให้เกิดการปฏิสนธิ ของสิ่ งนี้ได้อย่างไร และใครที่เราจะนำาพาไปด้วยในการเดิน ทางในครั้งนี้" วงสนทนานี้ผมได้พบกับ ซู ซึ่งเธอมีความน่าสนใจที่เป็ นนักเขียน และครู สอนการนัง่ สมาธิ ซูมี ำ ำ แต่กค็ ง ความสงบเย็นเป็ นลำาธารที่ไหลเอื่อย น้าใสจนมองเห็ นปลาที่แหวกว่ายอยู่ ผมควรจะเรี ยกเธอว่า ซู น้าใส ไม่เหมาะเพราะชื่อของเธอจะกลายเป็ นก๋ วยเตี๋ยวไป ซูเป็ นคนเดียวที่ผมเห็นว่าถอดรองเท้า แล้วขึ้นมานัง่ ทับเข่าอยู่ บนเก้าอี้ ซูได้บอกว่าจากการสนทนาในวงสนทนาที่แล้วมีประโยคที่น่าสนใจอันหนึ่งก็คือ "มนุษย์เราควรจะ ทำาตัวเหมือนเป็ นระบบประสาทของโลกใบนี้ " แต่กย็ งั น่าเสี ยดายที่ยงั ไม่มีผใู้ ดได้นาำ เอา "เกสร" เล็กๆนี้ไปขยาย ความต่อให้เป็ นที่ประจักษ์แจ้ง
จากการสัมผัสกับวัฒนธรรมตะวันตกม ีประโยคหนึ่งที่น่าจะสะท้อนถึงค่านิยมที่เป็ นอุปสรรคต่อการทำาการ สุ นทรี ยสนทนาได้อย่างชัดเจนก็คือ "Talk is cheap" หรื อ "คำาพูดนั้นไม่มีราคา" หรื อ "Talk the talk do you walk the talk?" ซึ่ งตรงนี้น่าสนใจ เพราะสะท้อนถึงค่านิยมตะวันตกที่บอกว่าค่าของคนเรา วัดได้ที่ การกระทำา ทำาอะไร ทำาอย่างไร มากกว่าการพูด ซึ่งตรงนี้ต่างจากคำาพังเพยของไทย ที่บอกว่า "พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสี ยตำาลึงทอง" หรื อจะให้ใหม่ข้ ึนมานิดก็ "พูดไปก็ไลฟ์ บอย" ซึ่ งเป็ นคำาศัพท์ที่คนอายุสามสิ บขึ้นฟังแล้วต้อง อมยิม้ อันว่าของเรานั้นคนที่พดู นั้นรู้เพียงแต่อุบไว้เพราะรู้วา่ ไม่มีประโยชน์ที่จะพูด ซึ่งตรงนี้การพูดไม่ใช่สาระ แต่อยูท่ ี่ผพู้ ดู หรื ออยูท่ ี่คน แต่คาำ ของฝรั่งที่วา่ นั้นไม่ได้จบั ลึกลงไปที่ตวั ตนของคนพูด แต่ไปยึดเอาเพียง ปรากฏการณ์ของการพูด หรื อการสร้างเสี ยงที่เปล่งออกมาเป็ นสารนะ ซึ่งตรงนี้มีความตื้นเขินกว่ากัน และถ้าใคร ไปจับแค่ตรงนั้นนานเข้าก็ไปสร้างนิสัย และความคุน้ ชินไปเลยว่าการพูดนั้น ใครๆก็พดู อะไรก็ได้ ไม่ใช่วิธีการ แก้ปัญหา ไม่ใช่วิธีการที่ดี ไปเสี ย จากการพูดคุยกันมีตวั อย่างที่ได้เกิดขึ้นมาเป็ นรู ปธรรมที่สมาชิกหลายคนได้ร่วมกันสร้างขึ้ นเช่น กระบวนการ เคลื่อนไหวของยุวชนที่เรี ยกว่า DoRight (www.doright.org) และ www.rethos.com ซึ่งเป็ นการรวม ตัวของเยาวชนที่สนใจในการมีส่วนร่ วมในกระบวนการขับเคลื่อนสังคมไปสู่ ความยัง่ ยืน ยุวชนเหล่านี้บางคนอายุ เพียงสิ บสี่ สิบห้า แต่กถ็ ูกเรี ยกว่าเป็ น "ที่ปรึ กษา" (consultant) ทางด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ให้กบั บริ ษทั ใหญ่และบริ ษทั ข้ามชาติมากมาย ผมเห็นความน่าสนใจและความเป็ นไปได้ในการนำารู ปแบบแบบเดียวกันนี้ มาใช้ ที่เมืองไทย เพราะใครเล่าจะบอกเล่าเรื่ องความยัง่ ยืนได้ดีกว่าดวงตาใสซื่ อบริ สุทธิ์ของเด็ก และเยาวชนที่จะต้อง เติบโต และอยูอ่ าศัยในโลกใบนี้ต่อไปอีกนานหลังจากที่พวกเราลาลับไปแล้ว การกระทำาใดๆของเราที่เป็ นการเอา รัดเอาเปรี ยบธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม ก็คือการทำาร้ายพวกเขาโดยตรง ผมคิดว่ายังมีบริ ษทั อีกมากในเมืองไทยที่ จะอ้าแขนรับเยาวชนเหล่านี้ ในฐานะของฑูตผูช้ ้ ีนาำ ความยัง่ ยืน ผูท้ ี่จะเข้ามาเป็ นกระจกสะท้อนด้วยใจใสๆ ใครจะ ทำาหน้าที่น้ ีได้ดีกว่าพวกเขา? บริ ษทั ไหนเล่าที่มีความจริ งใจในการรักษาสิ่ งแวดล้อม จะปฏิเสธพวกเขาเหล่านี้ เพราะถ้าทำาอย่างนั้นก็เป็ นการปฏิเสธลูกหลาน และเป็ นการทำาแท้งความเจริ ญงอกงามของตนเองในอนาคต และ ผมเชื่อว่าบริ ษทั ใดที่ทาำ แบบนั้นจะไม่สามารถอยูท่ าำ กำาไรต่อไปได้อย่างยัง่ ยืน การสนทนาได้วนั นี้ได้จบลง ปี เตอร์ไม่มีขอ้ สรุ ปใดๆ นอกจากให้โจ ซึ่งมีตาำ แหน่งเป็ นปฏิคมใน SoL ขึ้นมาพูด บทกลอนสั้นๆ อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งด้วยความด้อยเขลาในภาษาอังกฤษ ผมจึงไม่สามารถจะทำาความเข้าใจใน บทกลอนนั้นได้เป็ นที่น่าเสี ยดายอย่างยิง่ พวกเราแยกย้ายกันไป และนี้กเ็ ป็ นอีกบทหนึ่งในชีวิตของผม ในการมา จาริ กเพื่อแสวงหา "สิ่ งนั้น" ในครั้งนี้
-----------------------------------------
ผมยังไม่ ร้ ู ว่าตัวเองจะต้ องทำาอะไรบ้ าง นั่งครุ่ นคำานึงในระหว่ างนั่งรถไฟฟ้ า MARTA มายังสนามบินเพื่อกลับ ไปยังนิวยอร์ ค มานั่งนึกดูในใจอาจจะมีคาำ ถามมากกว่ าคำาตอบ มีหลายสิ่ งหลายอย่ างที่อยากรู้ เพิ่มเติมและยังไม่ แน่ ใจ แต่ นั่นอาจจะเป็ นตัวตนที่ใฝ่ หาความสมบูรณ์ เป็ นผู้พูดอยู่หรื อเปล่ า ถ้ ามัวแต่ คิดคงไม่ ได้ ทาำ นึกถึงคำาของ ท่ านบาทหลวงเจฟฟรี่ การเป็ นผู้นาำ แท้ จริ งแล้ วไม่ ใช่ เป็ นผู้พกพา “คำาตอบ” อันยิ่งใหญ่ ไปให้ หมู่ชน แต่ พกพา ความใส่ ใจ ห่ วงใย ความเมตตาอย่ างจริ งใจไปให้ เขา และยอมรั บอย่ างหน้ าชื่ นว่ า “ฉั นไม่ ร้ ู ” หรื อ “ฉั นไม่ เก่ ง” แต่ ฉันพร้ อมที่จะเปิ ดหัวใจเพื่อนั่งลงสนทนากับคุณ และฉั นกำาลัง “ฟั ง” คุณอยู่ทุกลมหายใจ