เล่มที่ 4 หน้าที่ชาวพุทธ

Page 1

เล่มที่ ๔ เรื่อง

หน้าที่ชาวพุทธ


มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษา พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน นับถือ

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ส ๑.๒ ม.๔/๑ ๑. ปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดีต่อสาวก สมาชิกในครอบครัว และคนรอบข้าง

จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. อธิบายแนวทางการปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีต่อพระภิกษุ สมาชิกในครอบครัว และคนรอบข้างได้ ๒. ปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีต่อพระภิกษุ สมาชิกในครอบครัวและคนรอบข้าง

สาระการเรียนรู้ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

การเข้าใจในกิจของพระภิกษุ การศึกษาเรื่องคุณสมบัติของปฏิคาหกและทายก การรักษาศีล ๘ การเข้าร่วมกิจกรรมและเป็นสมาชิกขององค์กรชาวพุทธ การปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดีตามหลักทิศ ๖ การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุทางกาย วาจา ใจ ที่ประกอบด้วยเมตตา การปฏิสันถารที่เหมาะสมต่อพระภิกษุในโอกาสต่างๆ


เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย จานวน ๑๕ ข้อ ๒. ให้นักเรียนทาเครือ่ งหมายกากบาท ( X ) ในช่องอักษรข้อ ก ข ค หรือ ง เพียงข้อเดียว ๓. กาหนดเวลาทดสอบ ๑๕ นาที ๑. ผู้รับของ ควรมีคุณสมบัติที่สาคัญที่สุด ตามข้อใด ก. เป็นผู้ที่ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ ข. เป็นคนยากจน ค. เป็นคนขอทาน ง. เป็นคนพิการ ๒. พระสงฆ์จะสร้างศรัทธาให้แก่ชาวโลกได้หลายวิธี สาหรับวิธีที่ดีที่สุด คือข้อใด ก. แสดงธรรมตามปกติ ข. ศึกษาธรรมและนาไปเผยแผ่ ค. เทศนาสั่งสอนด้วยวิธีการแปลกใหม่ ง. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ๓. ขณะสนทนากับพระภิกษุ นักเรียนควรใช้สรรพนามแทนว่าอย่างไร จึงจะเหมาะสม ก. โยม ข. อุบาสก, อุบาสิกา ค. ผม, ดิฉัน ง. ข้าพเจ้า ๔. การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ในข้อใดเหมาะสมที่สุด ก. เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านให้ยืนค้อมตัว ข. ถวายปัจจัยแด่พระสงฆ์อย่างสม่าเสมอ ค. พบพระสงฆ์ที่ใดให้กราบเบญจางคประดิษฐ์เสมอ ง. ถ้าจาเป็นต้องนั่งแถวเดียวกับพระสงฆ์ควรนั่งเก้าอี้ด้านซ้ายมือท่าน


๕. เมื่อพระภิกษุเดินมายังบริเวณพิธี และเดินผ่านหน้านักเรียน นักเรียนควรปฏิบัติตนเช่นไร ก. ลุกขึ้นยืนและยกมือไหว้ ข. คุกเข่าลงและกราบ ค. นั่งสารวมและยกมือไหว้ ง. ลุกขึ้นโค้งคานับหรือถอนสายบัว ๖. การปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดีต่อ “อุปริมทิศ” หมายถึง การปฏิบัติตนต่อบุคคลใด ก. บิดามารดา ข. พระสงฆ์ ค. ครูอาจารย์ ง. มิตรสหาย ๗. ข้อใด ไม่ควร ปฏิบัติต่อพระภิกษุ ก. แต่งกายสุภาพเมื่อไปวัด ข. นั่งบนอาสนะเสมอท่าน ค. สนทนากับท่านอย่างสุภาพ ง. นาน้าผลไม้มาถวายท่าน ๘. พฤติกรรมใด ไม่ควร กระทาในการถวายภัตตาหารและปัจจัยแก่พระภิกษุ ก. การนาภัตตาหารไปถวายหลังเที่ยง ข. ไม่ควรถวายปัจจัย (เงิน) ให้ท่านโดยตรง ค. เมื่อนิมนต์ไปฉันภัตตาหาร ไม่ควรระบุชื่ออาหาร ง. ในการนิมนต์พระภิกษุไปรับสังฆทาน ไม่ควรเจาะจงภิกษุผู้รับ ๙. “ทายก” หมายถึง ก. ผู้ให้ ข. ผู้รับ ค. ผู้ถือศีล ง. ผู้มีศรัทธา ๑๐. “วันคืนล่วงไป บัดนี้เราทาอะไรอยู่” ข้อคิดนี้ หมายความว่าอย่างไร ก. การปล่อยเวลาให้ผ่านไปโดยไม่กระทาสิ่งใดที่เป็นประโยชน์ ข. การเตือนตนเองให้กระทาในสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ค. การไม่ปฏิบัติงานตามกาหนดเวลาที่วางไว้ ง. การทางานแบบเช้าชาม เย็นชาม ไม่สนใจเวลา


๑๑. เมื่อชะเอมจะนอนบนที่นอนประเภทเสื่อโดยมีผ้าปูที่นอนปูทับอีกชั้นหนึ่ง เธอบอกกับเพื่อนๆ ว่า ต้องปฏิบัติตนให้อยู่ในศีลอย่างเคร่งครัด แสดงว่า เธอปฏิบัติตนตามศีลข้อใด ก. ข้อ ๕ ข. ข้อ ๖ ค. ข้อ ๗ ง. ข้อ ๘ ๑๒. การยกของประเคนจะต้องยกให้ท่านภายใน “หัตถบาส” คาว่า หัตถบาส เป็นระยะประมาณ เท่าใด ก. ๑ ศอก ข. ๒ ศอก ค. ๑ คืบ ง. ๒ คืบ ๑๓. หลักของ “การให้ “ ที่สาคัญคือ ก. ให้ของที่มีราคา ข. ให้ของที่มีคุณภาพดี ค. ให้ของที่สมควรแก่บุคคล ง. ให้ของที่ประณีต สวยงาม ๑๔. ปัญญาระดับญาณ เกิดขึ้นในทางใด ก. ฝึกสมาธิ ข. ถือศีลปาฏิโมกข์ ค. ฝึกควบคุม กาย ใจ ง. ฝึกวิปัสสนากรรมฐาน ๑๕. ในการสนทนากับพระผู้ใหญ่ ควรปฏิบัติตนอย่างไร ก. พูดเสียงดังฟังชัด ข. ใช้สรรพนามแทนตนว่าหนู ค. ควรประนมมือพูดกับท่านทุกครั้ง ง. ประสานมือวางไว้ที่หน้าตักเสมอ


๓๔

แบบทดสอบก่อนเรียน

แบบทดสอบหลังเรียน

ข้อ

คาตอบ

ข้อ

คาตอบ

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕.

ก ง ค ง ก ข ข ก ก ข ง ก ค ง ค

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕.

ก ง ค ข ข ก ก ข ง ก ค ง ค ง ก


สวัสดีค่ะนักเรียน เรามาเริ่มศึกษาเนื้อหากันนะคะ

ภาพที่ ๑ พระสงฆ์บิณบาตร ที่มา http:// www. bloggang.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ชาวพุทธที่ดีควรเรียนรู้และเข้าใจในกิจของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา ดังต่อไปนี้ ๑. การศึ ก ษาอบรม ได้ แ ก่ การท า “คั น ถธุร ะ” หมายถึ ง พระภิ ก ษุ จ ะต้ อ งศึ ก ษาหลั ก พระธรรมวินัยตามพระคัมภีร์พระไตรปิฎกเพื่อให้เกิ ดความรู้ความเข้าใจในพระธรรมวินั ยอย่างถูกต้อง สามารถนาไปประพฤติปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับสมณะเพศ นอกจากนี้พระสงฆ์จะต้องได้รับการอบรม ทุ ก ๆ ด้ า น ตั้ ง แต่ กิ ริ ย ามารยาท การพู ด จา การเคลื่ อ นไหวอิ ริ ย าบถตลอดถึ ง การกระท าต่ า งๆ การอบรมเน้นให้ครบบริบูรณ์ทั้ง ๓ ด้านดังนี้ ๑.๑) ด้านศีล ต้องควบคุมกาย วาจา ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย งดเว้นจากข้อห้าม ที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ ศีลของพระภิกษุสงฆ์มีอยู่ ๒ ประเภท ดังนี้ ศีลในปาฏิโมกข์ หมายถึง ศีลที่สาคัญ ๒๒๗ ข้อ (สาหรับภิกษุสงฆ์) ศีลนอกปาฏิโมกข์ หมายถึง ศีลเล็ก ๆน้อยๆ นอกเหนือจาก ๒๒๗ ข้อ ๖


๑.๒) ด้านสมาธิ ต้ องฝึ กฝนจิตใจด้วยการฝึ กสมาธิวิปั ส สนา ซึ่งอาจท าทั้ ง ๒ วิธีควบคู่ กันไป คือ - ฝึ ก สมถภาวนา หมายถึ ง การหาวิ ธี ห รื อ อุ ป กรณ์ เพื่ อ ให้ จิ ต ยึ ด เหนี่ ย วเป็ น สมาธิ เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้วจิตก็จะสงบ - ฝึกวิปัสสนาภาวนา ได้แก่ การที่จิตมีสมาธิเป็นพื้นฐานแล้วฝึกจนกระทั่งเกิดการหยั่งรู้ สภาวะทั้งหลายตามความเป็นจริง ประเภทของสมาธิ สมาธิมี ๓ ประเภทดังนี้ - ขณิกสมาธิ หมายถึง อาการที่จิตนิ่งสงบเพียงชั่วขณะสั้นๆ - อุปจารสมาธิ หมายถึง สมาธิที่ยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ แต่เป็นสมาธิที่กาจัดนิวรณ์ ออกจากใจได้เกือบถึงระดับณาน - อัปปนาสมาธิ หมายถึง สมาธิแน่วแน่สมบูรณ์เต็มที่ เป็นสมาธิระดับที่กาจัดนิวรณ์ ออกจากใจได้โดยสิ้นเชิง และเป็นสมาธิระดับฌานชั้นต่าง ๆ ๑.๓) ด้านปั ญ ญา พระสงฆ์จะต้องศึกษาอบรมตนให้ เป็น ผู้ มีปั ญ ญา ให้ ส มกับ เป็ นผู้ น า ทางสติปัญญาของชาวบ้าน ปัญญามี ๒ ระดับ ดังนี้ - ปัญญาระดับสุตตะ คือ ความรู้ระดับโลกิยะที่คนทั่วๆ ไปจะพึงมี เช่น การศึกษา เล่าเรียนด้วยการฟัง การจาข้อมูลต่างๆที่เป็นประโยชน์ จนกระทั่งเป็น พหูสูต ( ผู้ได้ยินได้ฟังมามาก) - ปั ญ ญาระดับ ญาณ คือ ความหยั่งรู้สิ่ งทั้งหลายตามความเป็นจริง ปัญ ญาระดับ นี้ ไม่จาเป็นจะต้องต่อมาจากปัญญาระดับสุตะ

เกร็ดความรู้ โลกิยะ หมายถึงภาวะความเป็นไปที่ยังวนเวียนอยู่ในภพสาม คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ คือ ยังเกี่ยวข้องอยู่กับเรื่องกาม ตัณหา ทิฏฐิ อวิชชา


๑. การปฏิบัติและการเป็นนักบวชที่ดี เมื่อฝึกฝนอบรมตนให้พร้อมทั้งด้านศีล สมาธิ และปัญญาแล้ว พระสงฆ์ยังจะต้อง ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ที่ ส าคั ญ อี ก ประการหนึ่ ง คื อ การเผยแผ่ พ ระธรรมค าสอนของพระพุ ท ธเจ้ า การเผยแผ่พระธรรมจะได้ผลดีนั้น พระสงฆ์ต้องทาตนเองให้เป็น “กัลยาณมิตร” คือ เพื่อนที่แท้ ที่คอยชี้แนะแนวทางให้พุทธศาสนิกชนด้วยความหวังดี ซึ่งขอกล่าวโดยสรุป ๕ ประการ ดังนี้ ๒.๑) สร้ างศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนาและท าตนเป็ น ตั ว อย่ างที่ ดี พระสงฆ์ ต้ อ งพยายามชั ก ชวนและชี้ แ จงให้ ป ระชาชนเลื่ อ มใสศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา ให้ มั่ น ใจ ในหลักคาสอนของพระพุทธศาสนา วิธีสร้างศรัทธาที่ดีที่สุดก็คือ การสอนด้วยตัวอย่าง พระสงฆ์ ที่ ป ฏิ บั ติ ดี ป ฏิ บั ติ ช อบ งดงามไปด้ ว ยศี ล สมบู รณ์ ไปด้ ว ยคุ ณ ธรรม มี ส ติ ปั ญ ญาเฉลี ย วฉลาด ถึงจะไม่สั่งสอนอะไรใครมาก ก็ทาให้ผู้พบปะเสวนาด้วยเกิดความเลื่อมใสศรัทธาได้เป็นอย่างดี ๒.๒) สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ งเกี่ ย วกั บ พระพุ ท ธศาสนาบางครั้ ง บางคนอาจจะไม่เลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา มิใช่เพราะพระพุทธศาสนาสอนไม่ดี แต่เพราะ ไม่เข้าใจหรือเข้าใจผิด จึงสรุปว่าพระพุทธศาสนาไม่ดี ไม่น่าเลื่อมใสศรัทธาจึงไม่เกิดความศรัทธา และปฏิบัติตาม ๒.๓) สอนให้ละความชั่ว คนทุกคนชอบความดีเกลียดความชั่ว แต่ทั้งๆ ที่ชอบ ความดี เกลี ย ดความชั่ ว ในบางครั้ ง บางคนก็ อ ดท าความชั่ ว ไม่ ได้ เพราะความหลงผิ ด บ้ า ง เพราะจิ ตใจไม่เข้มแข็งเพี ย งพอบ้ าง หน้ าที่ของพระสงฆ์ อีกประการหนึ่งก็คือพยามยามหาวิธี ให้คนละทาความชั่วและให้พึงทาแต่ความดีให้ได้ ๒.๔) สนับสนุนให้ทาแต่ความดี พระสงฆ์ต้องสร้างเสริมกาลังใจให้คนทาความดี มีเทคนิ ควิธีแนะน าที่ เหมาะสมแก่บุ คคล เพราะคนเรามีพื้ นฐานและความสนใจไม่เหมือนกัน ผู้สอนจึงต้องรู้จักปรับวิธีการแนะนาสั่งสอนให้เหมาะสมแก่คนแต่ละคน ๒.๕) สร้างบุคลากรที่มีคุณภาพไว้สืบทอดพระพุทธศาสนา พระภิกษุจึงมีหน้าที่ ต้องสร้างศาสนทายาทที่มีคุณภาพไว้ด้วย


กิจวัตรของพระสงฆ์ที่ควรปฏิบัติ ๑. ลงอุโบสถ ๒. บิณบาตเลี้ยงชีพ ๓. สวดมนต์ไหว้พระ ๔. กวาดอาวาสวิหารลานเจดีย์ ๕. รักษาผ้าครอง ๖. อยู่ปริวาสกรรม ๗. โกนผมปลงหนวดตัดเล็บ ๘. ศึกษาสิกขาบทและปฏิบัติพระอาจารย์ ๙. เทศนาบัติ ๑๐. พิจารณาปัจจเวกขณะทั้ง ๔ เป็นต้น บทบาทของพระสงฆ์ในปัจจุบันที่ปรากฏในสังคมไทย ๑. การจัดการศึกษาแก่ชาวบ้าน (ทั้งมหาวิทยาลัย และระดับมัธยมศึกษา ตลอดจนเด็กเล็ก) ๒. การเป็นครูผู้สอนตามสถาบันการศึกษาต่างๆ ๓. การช่วยเหลือสังคมด้านการบริจาคทุนทรัพย์แก่หน่วยงานต่างๆ ๔. การช่วยเหลือด้านการรักษาโรคพยาบาลแก่ผู้ยากจน ๕. การเป็นผู้นาชุมชนในการพัฒนาชุมชน ๖. การเป็นผู้นาในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ๗. การช่วยเหลือด้านการสร้างสถานที่ราชการ ๘. การเผยแผ่หลักธรรมผ่านสื่อวิทยุ โทรทัศน์ โดยการเป็นผู้แสดงธรรม ปาฐกถาธรรม และการประพฤติปฏิบัติธรรมฯ


แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๑ เรื่อง การปฏิบัตติ นเป็นชาวพุทธที่ดีต่อพระภิกษุสงฆ์ คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง คาตอบ

ข้อความ .............๑. ศีลในปาฏิโมกข์ .............๒. ปัญญาระดับสุตตะ .............๓. อัปปนาสมาธิ .............๔. ขณิกสมาธิ .............๕. กัลยาณมิตร ………….๖. อุปจารสมาธิ ..............๗. ปัญญาระดับญาณ ..............๘. พหูสูต ..............๙. คันถธุระ ..............๑๐. ศีลนอกปาฏิโมกข์

ก. ข. ค. ง. จ. ฉ. ช. ซ. ฌ. ญ. ฎ. ฏ. ฐ. ฑ.

ศีลนอกเหนือจาก ๒๒๗ ข้อ อาการที่จิตนิ่งสงบเพียงชั่วขณะสั้นๆ เพื่อนแท้ ที่คอยชี้แนะแนวทาง ความหยั่งรู้สิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง สมาธิที่ยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ ความรู้ระดับโลกิยะที่คนทั่วๆ ไปจะพึงมี สมาธิแน่วแน่สมบูรณ์เต็มที่ หยั่งรู้สภาวะทั้งหลายตามความเป็นจริง พระภิกษุศึกษาหลักพระธรรมวินัย ผู้ได้ยินได้ฟังมามาก ศีลสาคัญ ๒๒๗ ข้อ ศาสนทายาท เทคนิควิธีแนะนาที่เหมาะสมแก่บุคคล ชั ก ชวนและชี้ แ จงให้ ป ระชาชนเลื่ อ มใส ศรัทธา ฒ. พระไตรปิฎก

๓๕


เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๑ เรื่อง การปฏิบัตติ นเป็นชาวพุทธที่ดีต่อพระภิกษุสงฆ์ คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง ข้อความ ..............ฎ............๑. ศีลในปาฏิโมกข์ ..............ฉ.............๒. ปัญญาระดับสุตตะ ..............ช.............๓. อัปปนาสมาธิ ..............ข.............๔. ขณิกสมาธิ ..............ค.............๕. กัลยาณมิตร …………..จ.............๖. อุปจารสมาธิ ...............ง.............๗. ปัญญาระดับญาณ ..............ญ............๘. พหูสูต ..............ฌ.............๙. คันถธุระ ..............ก............๑๐.ศีลนอกปาฏิโมกข์

๑๐


ภาพที่ ๒ การบริจาคสิ่งของ ที่มา http:// www. eppo.go.th สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ทายก หมายถึง ผู้ให้ทาน ปฏิคาหก หมายถึง ผู้รับทาน ในทางพระพุทธศาสนา ทานหรือ การให้เป็นวิธีทาบุญวิธีหนึ่ง การให้นั้นนอกจากเป็นการช่วยเหลือผู้อื่นแล้ว ยังเป็นการช่วยขัดเกลา จิตใจผู้ให้ให้บริสุทธิ์ผ่องใสได้ด้วย การให้แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ดังนี้ - ให้วัตถุสิ่งของ เช่น เงิน อาหาร เสื้อผ้า - ให้ความรู้ เช่น ช่วยทบทวนวิชาที่เพื่อนขาดเรียนเพราะเหตุจาเป็น ช่วยเตือนสติ เป็นต้น - ให้อภัย คือ ความตั้งใจงดเว้นไม่ประพฤติผิดศีล ๕ ๑. ให้ ท านแก่บุ ค คลที่ ค วรให้ เช่น คนเจ็บ ป่ ว ยทุ พ พลลภาพ คนชรา สตรีมี ครรภ์ อ ย่างนี้ เราควรให้ การให้ทานแก่คนที่ไม่ควรให้ เช่น คนเกียจคร้าน ติดการพนัน นอกจากจะไม่เป็นประโยชน์ แล้วยั งอาจเป็ นโทษด้วย เช่น คนที่ดื่มเหล้าจนเมามายแล้ ว มาขอเงินเราเพื่อไปซื้อมาดื่มอีก อย่างนี้ ก็ไม่ควรให้ ๒. ให้ ในสิ่ งที่ ควรให้ ของที่ ควรให้ นั้ น ต้ องเป็ น ของบริสุ ท ธิ์ และเราได้ม าโดยชอบธรรม มิใช่ไปลักขโมยหรือฉ้อโกงมา ๓. ให้ด้วยเจตนาที่บริสุทธิ์ การให้ที่ดีจะต้องเกิดจากเจตนาที่บริสุทธิ์และเต็มใจให้ กล่าวคือ ก่อนให้ก็มีความยิน ดีที่จะให้และคิดว่าเป็นประโยชน์แก่ผู้รับ ขณะที่ให้ก็มีจิตผ่องใส ไม่คิดเสียดาย หรือลังเลใจ และเมื่อให้ไปแล้วก็รู้สึกเบิกบานใจ

๑๑


ภาพที่ ๓ การรักษาศีล ที่มา http:// www. dmc.tv สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ศีล คือ การประพฤติดีงามมีพฤติกรรมที่ ไม่เบียดเบียน การฝึ กเกลาในการรักษาศีล ๕นั้น ช่วยให้สังคมมีความสงบเรียบร้อยอย่างน้อยไม่เดือดร้อนจนถึงกับลุกเป็นไฟ แต่ไม่เป็นหลักประกัน ว่าคนจะมีความสุข ผู้ที่ป รารถนาชีวิตที่ดีงามมีความสุข ควรฝึกหั ดพัฒ นาตนต่อไปด้วยการรักษา อุโบสถหรือศีล ๘ ซึ่งมีข้อปฏิบัติเพิ่มจากศีล ๕ อีก ๓ ข้อ และตามประเพณีทั่วไปนิยมรักษาในวัน ขึ้น -แรม ๘ ค่าและ วัน ขึ้น -แรม ๑๕ ค่าหรือแรม ๑๔ ค่าในเดือนขาด อุโบสถศีล กับ ศีล ๘ มีองค์ สมาทานงดเว้น ๘ ประการแต่คาสมาทานพร้อมทั้งเจตนางดเว้นกาหนดเวลาต่างกัน คือ ศีล ๘ นั้น ผู้สมาทานต้องรักษาตลอดไปไม่มีกาหนดกาลเวลา ส่วนอุโบสถศีลนั้นผู้ส มาทานตั้งใจรักษาอย่าง เคร่งครัดเพียงระยะวันหนึ่งเฉพาะวันธรรมสวนะหรือวันพระเท่านั้น การรักษาศีล ๘ นี้เป็นการฝึกตน ในการรักษาอิสรภาพของชีวิตไว้ ไม่ให้ชีวิตและความสุขของตนต้องไปขึ้นต่อการเสพหรือบริโภควัตถุ มากเกินไป ไม่ให้ กลายเป็ นคนลุ่มหลงมัวเมาในวัตถุ กล่าวคือ ใน ๖-๗ วันที่ผ่านมาเคยแต่ตามใจ ตนเองหาความสุ ข ด้ว ยการกิน ตามใจ ชอบยุ่งอยู่กับ การสนุ กสนานดู ฟั ง การบัน เทิ ง และบาเรอ สัมผัสกายด้วยการนอนกับฟูกหรูหราพอมาถึงวันที่ ๗ หรือ ๘ ก็หัดเป็นอยู่อย่างง่ายๆ โดยพึ่งวัตถุ แต่เพียงเท่าที่จาเป็น หรือพอแก่ความต้องการที่แท้จริงของชีวิต ฝึกเป็นอยู่ให้ดีงามและมีความสุข โดยไม่ต้องพึ่งการบาเรอ ตา หู จมูก ลิ้นและกายสั มผั ส เช่น กินอาหารเพียงในเวลาจากัดแค่ เที่ยงวันที่เพียงพอแก่สุขภาพ

๑๒


การปฏิบัติตามหลักการรักษาศีล ๘ นี้ นอกจากเป็นการฝึกตนให้มีความสุขได้ง่ายขึ้นและพร้อม ที่ จ ะก้ า วต่ อ ไปในการพั ฒ นาชี วิ ต ชั้ น สู ง ขึ้ น ไปแล้ ว ก็ จ ะท าให้ มี วั ต ถุ เสพบริ โ ภคเหลื อ พอ ที่ จ ะน าไปเผื่ อ แผ่ ให้ ค วามสุ ข แก่ ผู้ อื่ น และมี เวลาเหลื อ จากการมั ว เมาเสพวัต ถุ ที่ จ ะน าไปใช้ ในทางที่ดีงามสร้างสรรค์อย่างอื่นโดยเฉพาะในชั้ นภาวนาที่เป็นการพัฒนาชีวิตจิตใจและพัฒนา ปัญญาของตน ตลอดจนไปบาเพ็ญทาน ทาการสงเคราะห์ หรือบาเพ็ญประโยชน์ด้านอื่น ๆ ศีล ๘ ประกอบด้วย ๑. เว้นจากปาณาติบาต ไม่ละเมิดต่อชีวิต ร่างกายกัน รวมทั้งไม่รังแกสัตว์ ๒. เว้นจากอทินนาทาน ไม่ละเมิดต่อกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของกันและกัน ๓. เว้นจากอพรหมจรรย์ ถือพรหมจรรย์ งดเว้นเมถุน ๔. เว้นจากมุสาวาท ไม่ละเมิดต่อกันทางวาจา ไม่ทาร้ายหรือทาลายผลประโยชน์กัน ด้วยวาจาเท็จ โกหก หลอกลวง ๕. เว้นจากสุรายาเมาสิ่งเสพติด ไม่คุกคามต่อความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยของผู้อื่นด้วย การมีพฤติกรรมที่ขาดสติสัมปชัญญะเพราะสิ่งเสพติด ๖. เว้นวิกาลโภชน์ ไม่รับประทานอาหารในเวลาวิกาลหรือหลังพระอาทิตย์เที่ยงวัน ๗. เว้นนัจจคีตวาทิต-มาลาคันธวิเลปนะฯ งดเว้นการฟ้อนรา ขับร้อง เล่นดนตรี ดูการละเล่น และการประดับตกแต่งร่างกายใช้ของหอม เครื่องลูบไล้ ๘. เว้นอุจจาสยนมหาสยนา งดนอนบนฟูกฟู ที่นั่งที่นอนสูงใหญ่ หรูหราบาเรอตน

๑๓


ภาพที่ ๔ ตราองค์กรชาวพุทธ ที่มา http:// www.sdsweb.org สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

พุทธศาสนาถือได้ว่าเป็ น ศาสนาประจาชาติไทย หลักศีลธรรมจริยธรรมซึ่งเป็นหลั ก คาสอนในพระพุทธศาสนาได้ หล่อหลอมจิตใจของพุทธศาสนิกชนชาวไทยให้เป็นผู้มีจิตใจสงบ เยือกเย็น เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ สภาพสั ง คมในปั จ จุ บั น มี ค วามเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว และหลากหลาย อันเนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีตกอยู่ภายใต้กระแสโลกาภิวัฒ น์ทาให้แนวคิด วิถีชีวิตค่านิยมของบุคคลในสังคมเกิดความเปลี่ยนแปลงเบี่ยงเบนไปจากหลักศีลธรรม จริยธรรม อันดีงามของสังคม การเข้ าร่ ว มกิ จ กรรม และเป็ น สมาชิ ก ขององค์ ก รชาวพุ ท ธไม่ ว่ าจะเป็ น กิ จ กรรม หรือองค์กรใดก็ตามย่อมเป็นส่วนหนึ่งที่พุทธศาสนิกชนควรได้เข้าไปมีส่วนร่วมและมีบทบาท ที่ ส าคั ญ ในการน าหลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนามาประพฤติ ป ฏิ บั ติ ร่ ว มกั น ช่ ว ยเหลื อ ซึ่งกันและกันเพื่อก่อให้เกิดความสงบสุขขึ้นในสังคม วัตถุประสงค์ขององค์กรชาวพุทธก็คือเพื่อเป็นองค์กรที่ทาหน้าที่เผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยยึดหลักพระธรรมวินั ย มุ่งส่งเสริมการศึกษาของพุ ทธธรรมการปฏิบัติธ รรม เพื่ อพัฒ นา เยาวชน ประชาชนให้มีคุณธรรม และมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา นอกจากนั้น บางองค์กรยังมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรสื่อการสอนและวิทยากร เพื่ อ ให้ ง านเผยแผ่ พุ ท ธธรรมการปฏิ บั ติ ข ยายตั ว ไปอย่ า งกว้ า งขวางและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บางองค์ก รช่ว ยส่ งเสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ ค รู อาจารย์ ผู้ ส อนวิช าพระพุ ท ธศาสนาตลอดจน พระสงฆ์ได้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะยิ่งขึ้น มีศักยภาพในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานให้กว้างขวางออกไปและยังมีการขยายความร่วมมือไปยังคณะ บุ ค คล สถาบั น และองค์ ก รต่ า งๆเพื่ อ ให้ มี เครื อ ข่ า ยหรื อ สาขาในอั น ที่ จ ะร่ ว มกั น เผยแผ่ พระพุ ท ธศาสนา พุ ท ธธรรมและการปฏิ บั ติ วิ ปั ส สนากั ม มั ฏ ฐานให้ เป็ น ไปอย่ า งกว้ างขวาง ทั้งในและต่างประเทศ ๑๔


องค์การชาวพุท ธที่มีการก่อตั้งขึ้นมาในประเทศไทย ซึ่งชาวพุทธควรให้ความสนใจเข้าร่วม เป็นสมาชิกขององค์กรมีอยู่เป็นจานวนมาก เช่น - องค์กรพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก - สภาพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย - ศูนย์ส่งเสริมพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย - ศูนย์พิทักษ์พระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย - เครือข่ายชาวพุทธเพื่อพระพุทธศาสนาและสังคมไทย - มูลนิธิพุทธธรรม -

นักเรียนเข้าใจเรื่อง การเข้าร่วมเป็นสมาชิก ขององค์กรชาวพุทธกันแล้วนะคะ

๑๕


คาว่า ทิศ ๖ หมายถึง บุคคลประเภทต่างๆ ที่เราต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์ ดุจทิศที่อยู่รอบตัว จัดเป็น ๖ ทิศ เป็นข้อธรรมที่ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตนต่อบุคคลต่างๆรอบตัวเรา แบ่งได้ดังนี้ ๑. อุปริมทิส (ทิศเบื้องบน) ได้แก่ พระสงฆ์ สมณะพราหมณ์ ๒. ปุรัตถิมทิส (ทิศเบื้องหน้า) ได้แก่ บิดา มารดา ๓. ทักขิณทิสทิศ (ทิศเบื้องขวา) ได้แก่ ครูอาจารย์ ๔. ปัจฉิมทิส (ทิศเบื้องหลัง) ได้แก่ สามีภรรยา ๕. อุตตรทิส (ทิศเบื้องซ้าย) ได้แก่ มิตรสหาย ๖. เหฏฐิมทิส (ทิศเบื้องล่าง) ได้แก่ ลูกจ้างกับนายจ้าง

ภาพที่ ๕ การตักบาตร ที่มา http:// www.wordpress.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ชาวพุทธที่ดีพึงปฏิบัติต่อพระสงฆ์ตามหลักทิศเบื้องบน ดังนี้ ๑) จะทาสิ่งใด ก็ทาด้วยเมตตา ๒) จะพูดสิ่งใด ก็พูดด้วยเมตตา ๓) จะคิดสิ่งใด ก็คิดด้วยเมตตา ๔) ต้อนรับด้วยความเต็มใจ ๕) อุปถัมภ์ด้วยปัจจัย ๔

๑๖


ภาพที่ ๖ รูปบิดา-มารดา ที่มา http:// www. phasomdeaj.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

มารดาบิดาอนุเคราะห์บุตรธิดา ดังนี้ ๑. ห้ามปรามจากความชั่ว ๒. ให้ตั้งอยู่ในความดี ๓. ให้ศึกษาศิลปวิทยา ๔. หาคู่ครองที่สมควรให้ ๕. มอบทรัพย์สมบัติให้ในโอกาสอันสมควร

บุตรธิดาพึงบารุงมารดาบิดา ดังนี้ ๑. ท่านเลี้ยงเรามาแล้วเลี้ยงท่านตอบ ๒. ช่วยทากิจของท่าน ๓. ดารงวงศ์สกุล ๔. ประพฤติตนให้เหมาะสมกับความเป็น ทายาท ๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้วทาบุญอุทิศให้ท่าน

๑๗


ภาพที่ ๗ ครูอาจารย์ ที่มา http:// www.happyreading.in.th สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ครูอาจารย์อนุเคราะห์ศิษย์ ดังนี้ ๑. ฝึกฝนแนะนาให้เป็นคนดี ๒. สอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง ๓. สอนศิลปวิทยาให้สิ้นเชิง ๔. ยกย่องให้ปรากฏในหมู่เพื่อน ๕. สร้างเครื่องคุ้มกันภัยในสารทิศ คือ สอนให้ศิษย์ปฏิบัติ ได้จริง นาวิชาไปเลี้ยงชีพทาการงานได้

ศิษย์พึงบารุงครูอาจารย์ ดังนี้ ๑. ลุกต้อนรับแสดงความเคารพ ๒. เข้าไปหา ๓. ใฝ่ใจเรียน ๔. ปรนนิบัติ ๕. เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ

๑๘


ภาพที่ ๘ รูปสามี -ภรรยา ที่มา http:// www.seesketch.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

สามีพึงปฏิบัติต่อภรรยา ดังนี้ ๑. ยกย่องให้เกียรติสมฐานะ ๒. ไม่ดูหมิ่น ๓. ไม่นอกใจ ๔. มอบความเป็นใหญ่ในบ้านให้ ๕. ให้ของกานัลตามโอกาส

ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามี ดังนี้ ๑. จัดงานบ้านให้เรียบร้อย ๒. สงเคราะห์ญาติมิตรทั้งสองฝ่ายด้วย ๓. ไม่นอกใจ ๔. รักษาทรัพย์สมบัติที่หามาได้ ๕. ขยันในงานทั้งปวง

๑๙


ภาพที่ ๙ มิตร สหาย ที่มา http:// www.seesketch.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

พึงบารุงมิตรสหาย ดังนี้ ๑. เผื่อแผ่แบ่งปัน ๒. พูดจามีน้าใจ ๓. ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ๔. มีตนเสมอร่วมสุขร่วมทุกข์ด้วย ๕. ซื่อสัตย์จริงใจต่อกัน

มิตรสหายอนุเคราะห์ตอบ ดังนี้ ๑. เมื่อเพื่อนประมาทช่วยรักษาป้องกัน ๒. เมื่อเพื่อนประมาท ช่วยรักษาทรัพย์ สมบัติของเพื่อน ๓. ในคราวมีภัย เป็นที่พึ่งได้ ๔. ไม่ละทิ้งในยามทุกข์ยาก ๕. นับถือตลอดถึงวงศ์ญาติของมิตร

๒๐


ภาพที่ ๑๐ เจ้านาย ลูกน้อง ที่มา http:// www.seesketch.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

นายจ้างพึงบารุงลูกจ้าง ดังนี้ ๑. จัดการงานให้ทาตามกาลังความสามารถ ๒. ให้ค่าจ้างรางวัลสมควรแก่งานและความเป็นอยู่ ๓. จัดสวัสดิการดีมีช่วยรักษาพยาบาลในยาม เจ็บไข้ เป็นต้น ๔. ได้ของแปลกๆ พิเศษมา ก็แบ่งปันให้ ๕. ให้มีวันหยุดและพักผ่อนหย่อนใจตามโอกาส อันควร

ลูกจ้างอนุเคราะห์นายจ้าง ดังนี้ ๑. เริ่มทางานก่อน ๒. เลิกงานทีหลัง ๓. เอาแต่ของที่นายให้ ๔. ทาการงานให้เรียบร้อยและดียิ่งขึ้น ๕. นาความดีของนายไปเผยแพร่

๒๑

แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๒ เรื่อง การปฏิบัตติ นเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและสังคม


คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์ ๑. “นุดา บริจาคสิ่งของแก่คนยากจนด้วยความเต็มใจ” จากข้อความ ใครเป็นทายก และใครเป็นปฏิคาหก ………………………………………………………………………………………………………………………………. ๒. “ให้แก่ผู้ที่ควรให้” มีความหมายว่าอย่างไร .............................................................................................................................................. ๓. การให้ด้วยจิตใจอันบริสุทธิ์ ผู้ให้พึงได้รับสิ่งใด ................................................................................................................................................ ๔. ผู้ที่ได้รับการให้ควรปฏิบัติตนอย่างไร ................................................................................................................................................ ๕. ศีล คือ อะไร จงอธิบาย ................................................................................................................................................. ๖. วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งองค์กรชาวพุทธคืออะไร .................................................................................................................................................. ๗. จงยกตัวอย่าง องค์การชาวพุทธที่นักเรียนรู้จักมา ๒ องค์กร ................................................................................................................................................. ๘ หน้าที่พระสงฆ์ ข้อที่ว่า บอกทางสวรรค์ให้ หมายถึงอะไร ................................................................................................................................................ ... ๙. ในฐานะสามีพึงปฏิบัติต่อภรรยาของตนเองอย่างไรบ้าง จงตอบมาอย่างน้อย ๒ ข้อ .................................................................................................................................................. ๑๐. ทักขิณทิสทิศ หมายถึงบุคคลใด ตามหลักทิศ ๖ ..................................................................................................................................................

๓๖

เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๒ เรื่อง การปฏิบัตติ นเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและสังคม


คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์ ๑. “นุดา บริจาคสิ่งของแก่คนยากจนด้วยความเต็มใจ” จากข้อความ ใครเป็นทายก และใครเป็นปฏิคาหก ตอบ นุดาเป็นทายก เพราะเป็นผู้ให้ทาน คนยากจนเป็นปฏิคาหก เพราะเป็นผู้รับทาน ๒. “ให้แก่ผู้ที่ควรให้” มีความหมายว่าอย่างไร ตอบ การให้ทานแก่ผู้ที่ควรให้ หมายถึง ควรให้ทานกับผู้ที่ควรได้รับ เช่น คนเจ็บป่วย ทุพพลลภาพ คนชรา สตรีมีครรภ์ ๓. การให้ด้วยจิตใจอันบริสุทธิ์ ผู้ให้พึงได้รับสิ่งใด ตอบ ผู้ให้ด้วยจิตใจที่บริสุทธิ์ จะได้รับความสุข ความเบิกบานใจจากการที่ได้ประกอบความดี ๔. ผู้ที่ได้รับการให้ควรปฏิบัติตนอย่างไร ตอบ ผู้ที่ได้รับการให้ควรสานึกถึงบุญคุณของผู้ให้ และนาสิ่งที่ได้มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ๕. ศีล คือ อะไร จงอธิบาย ตอบ ศีล คือ การประพฤติดีงาม การมีพฤติกรรมที่ไม่เบียดเบียนผู้อื่นและช่วยให้สังคมมี ความสงบเรียบร้อย ๖. วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งองค์กรชาวพุทธคืออะไร ตอบ วัตถุประสงค์ ของการจัดตั้งองค์กรชาวพุทธ ก็เพื่อทาหน้าที่เผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยยึดหลักพระธรรมวินัย มุ่งส่งเสริมการศึกษาของพุทธธรรมการปฏิบัติธรรม เพื่อพัฒนา เยาวชน ประชาชนให้มีคุณธรรม และมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ๗. จงยกตัวอย่าง องค์การชาวพุทธที่นักเรียนรู้จักมา ๒ องค์กร ตอบ องค์กรพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก และ สภาพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ๘ หน้าที่พระสงฆ์ ข้อที่ว่า บอกทางสวรรค์ให้ หมายถึงอะไร ตอบ บอกทางสวรรค์ให้ หมายถึง การบอกทางสุข ทางเจริญ โดยการแนะนา ทางดาเนินชีวิตที่ดีงาม และเป็นประโยชน์สุขแก่ประชาชน ๙. ในฐานะสามีพึงปฏิบัติต่อภรรยาของตนเองอย่างไรบ้าง จงตอบมาอย่างน้อย ๒ ข้อ ตอบ ๑. ยกย่องให้เกียรติสมฐานะ ๒. ไม่ดูหมิ่นภรรยา ๑๐. ทักขิณทิสทิศ หมายถึงบุคคลใด ตามหลักทิศ ๖ ตอบ ทักขิณทิสทิศ หมายถึง ทิศเบื้องขวา ครู อาจารย์ ( ถ้านักเรียนตอบนอกเหนือจากนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน) ๒๒


ภาพที่ ๑๑ การไหว้พระสงฆ์ ที่มา http:// www. variety.thaiza.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

การปฏิ บั ติ ต นต่ อ พระภิ ก ษุ ท างกาย วาจา และใจ ที่ ป ระกอบ ด้ ว ยเมตตาเป็ น หน้ า ที่ อย่างหนึ่ งของชาวพุ ทธที่พึ งบ ารุง ในฐานะที่พระภิกษุ เป็นผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ เป็นผู้ สืบทอด พระพุทธศาสนาและเผยแผ่หลักธรรมคาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นชาวพุทธ พึงปฏิบัติตนต่อพระภิกษุ ดังนี้ ๑. การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุทางกายที่ประกอบด้วยเมตตา ได้แก่ การช่วยด้วยกาลังกาย เช่น ๑.๑) ช่วยทาธุรกิจต่าง ๆ ให้ด้วยความเต็มใจ เช่น การก่อสร้าง การปฏิสังขรณ์ การบารุงรักษาศาสนสถาน การบารุงรักษาพยาบาลภิกษุที่เจ็บป่วย เป็นต้น ๑.๒) ช่วยป้องกันภัยอันตรายต่าง ๆ เช่น โจร อัคคีภัย อุทกภัย วาตภัย และทุพภิกขภัย เป็นต้น ๑.๓) แสดงความเคารพ แสดงความต้อนรับต่อพระภิกษุ ๒. การปฏิ บั ติต นต่ อ พระภิ กษุ ท างวาจาที่ ป ระกอบด้ ว ยเมตตา ได้แ ก่ การสงเคราะห์ ด้วยวาจา หากมีภัยเกิดขึ้นต่อพระภิกษุหรือต่อพระศาสนาและการกล่าววาจาที่มีสาระที่มีประโยชน์ รวมทั้งการกล่าววาจาต่อพระภิกษุด้ว ยคาสัตย์จริง ด้วยคาสุภาพอ่อนโยนและถูกกาลเทศะไม่กล่าว วาจาที่ก่อให้เกิดความแตกแยก หรือแตกความสามัคคีในหมู่สงฆ์ เป็นต้น ๓. การปฏิ บั ติ ต นต่ อ พระภิ ก ษุ ท างใจที่ ป ระกอบด้ ว ยเมตตาได้ แ ก่ ค วามปรารถนาดี ต่อพระภิกษุ ไม่อาฆาตมาดร้ายต่อท่าน คิดในสิ่งที่เป็นกุศลต่อท่านเป็นต้น

๒๓


ภาพที่ ๑๒ การปฏิสันถารกับพระสงฆ์ ที่มา http:// www.dmc.tv สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

การปฏิ บั ติ ต นที่ เหมาะสมต่ อ พระสงฆ์ ในที่ ส าธารณะเนื่ อ งจากพระสงฆ์ อ ยู่ ในฐานะ ที่ควรเคารพขอชาวพุทธ ชาวพุทธจึงควรเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์ดังต่อไปนี้ ๑. เวลาพบปะในสถานที่ต่าง ๆ เวลาพบปะพระสงฆ์ในสถานที่ต่าง ๆ เช่น ตามถนน บนรถโดยสาร หรือสถานที่ต่าง ๆ พึงปฏิบัติดังนี้ ๑.๑ แสดงความเคารพ ด้วยการประนมมือ (อัญชลี) ไหว้ (วันทา หรือนมัสการ) กราบ (อภิวาท) การลุกขึน้ ต้อนรับ มาจากคาว่า อุฏฐานะ เป็นการแสดงความเคารพอย่างหนึ่ง ๑.๒ ไม่พึงนั่ งบนอาสนะ (ที่นั่ง) เดี ยวกับพระภิกษุ ถ้าจาเป็น ต้องนั่ง ก็พึ งนั่ ง ด้วยอาการเคารพสารวม ๑.๓ สาหรับสตรี จะนั่งบนม้ายาวหรือเก้าอี้ยาว เช่น ที่นั่งในรถโดยสาร รถไฟ เป็นต้น ไม่ได้โดยเด็ดขาดแม้จะนั่งคนละมุมก็ตาม ในกรณีที่จาเป็นจะต้องมีบุรุษมานั่งคั่นกลางให้ ๑.๔ บนเรือหรือบนรถโดยสาร เป็นต้น เมื่อเห็นพระภิกษุขึ้นมา พึงลุกให้ที่นั่ง แก่ท่านด้วย ๑.๕ การลุกขึ้นต้อนรับ เช่น เมื่ อพระภิกษุเดินมายังสถานที่พิธี ควรลุกขึ้น ยืนรับแล้วยกมือไหว้ ๑.๖ การตามส่ งพระภิ ก ษุ เช่ น เมื่ อ ท่ านจะเดิ น ทางกลั บ ท่ านเดิ น ผ่ า น ต้องลุกขึ้น ยื น ไหว้ หากนั่ งอยู่ ควรไหว้ หรือกราบให้ เหมาะสมแก่สถานที่นั้นๆ ส่ วนเจ้าภาพ ควรตามไปส่งจนพ้นบริเวณงาน

๒๔


๑.๗ การให้ ท างพระสงฆ์ คื อ เมื่ อ ท่ า นเดิ น ทางตามหลั ง มาควรยื น ชิ ด ทางซ้ายมือ ยกมื อไหว้และเดิน สวนทางกับ พระภิ กษุ ควรหลี กทางให้ ห รือ การเดิ น ตามหลังท่านก็ควรเดินเยื้องไปทางซ้ายเว้นระยะห่างพอสมควร ๑.๘ การเข้าพบพระภิกษุ ต้องแต่งกายให้เรียบร้อยมิดชิด ควรแจ้งล่วงหน้า ทุกครั้งเมื่อต้องการพบและพูดจากับท่านอย่างสุภาพ

๒. การถวายภัตตาหารและปัจจัยที่สมควรแก่สมณะ การถวายภัตตาหารและปัจจัย สมควร แก่สมณะ พึงปฏิบัติดังนี้ ๒.๑ เวลาใส่ บ าตร พึ งถอดรองเท้า ตัก ข้าวและอาหารใส่ บาตรด้ วยความเคารพ แล้วย่อตัวลงไหว้ ๒.๒ เมื่อถวายอาหาร หรือเครื่องอุปโภคแก่พระภิกษุ พึงประเคน คือ ยกของให้ท่าน ภายใน “หัตถบาส” (ระยะบ่วงมือ คือ ห่างประมาณหนึ่งศอก) ๒.๓ เมื่อนาของไปถวายพระภิกษุหลังเที่ยง ไม่พึงประเคนให้ท่าน พึงวางไว้เฉย ๆ หรือให้ศิษย์วัดนาไปเก็บไว้ต่างหาก (การปฏิบัติเช่นนี้เพื่อมิให้ท่านละเมิดข้อบัญญัติว่าด้วยการสะสม อาหาร) ๒.๔ เมื่อจะถวายปั จจัย (เงิน) ไม่พึงประเคนให้ ท่าน พึงถวายเฉพาะใบปวารณา มอบเงินให้ไวยาวัจกรหรือศิษย์วัด ในกรณีที่ไม่มีไวยาวัจกรหรือศิษย์วัดพึงเอาปัจจัยใส่ซองใส่ลงในย่าม ให้ท่านเอง ๒.๕ เวลานิมนต์พระสงฆ์ไปฉันภัตตาหารที่บ้านตน ไม่พึงระบุชื่ออาหาร ๒.๖ ถ้าจะนิ มนต์พระสงฆ์ไปรับสั งฆทาน ไม่พึงเจาะจงภิกษุผู้รับ เช่น ขอนิมนต์ ท่านเจ้าคุณพร้อมพระสงฆ์อีกห้ารูปไปรับสังฆทาน เป็นต้น

๒๕


๓. เวลาสนทนากับพระสงฆ์หรือฟังโอวาทการสนทนาหรือฟังโอวาทกับพระสงฆ์ ควรปฏิบัติดังนี้ ๓.๑ ใช้สรรพนามให้เหมาะสม คือใช้สรรพนามแทนผู้ชายว่า “ผม, กระผม” ผู้หญิงใช้คาว่า “ดิฉัน” ๓.๒ ใช้สรรพนามแทนท่านว่า “พระคุณเจ้า, หลวงพ่อ, ท่านพระครู, ท่านเจ้าคุณ, ใต้เท้า, พระเดชพระคุณ” ตามควรแก่กรณี ๓.๓ เวลารับคา ผู้ชายใช้คาว่า “ครับ, ขอรับ” ผู้หญิงใช้คาว่า “ค่ะ, เจ้าค่ะ” ๓.๔ เวลาพระท่านพูด พึงตั้งใจฟังโดยความเคารพ ไม่พึงขัดจังหวะ หรือพูดแทรกขึ้นมาในระหว่างที่ท่านกาลังพูดอยู่ ๓.๕ เวลาท่านให้โอวาทหรืออวยพร พึงประนมมือฟังโดยเคารพ ๓.๖ เวลารับไตรสรณคมน์ และรับศีล พึงว่าตามด้วยเสียงดัง ไม่พึงนั่ง เงียบเฉย ๓.๗ เวลาฟังพระสวด เช่น สวดเจริญพุทธมนต์ สวดศพ เป็นต้น พึงประนมมือฟังด้วยความเคารพ ไม่คุยกันหรือทาอย่างอื่นในระหว่างที่ท่านกาลังสวด

๒๖


แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๓ เรื่อง การปฏิสันถารต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง คาตอบ

ข้อความ .............๑. ปฏิสังขรณ์ .............๒. การแสดงความเคารพ .............๓. อุฏฐานะ .............๔. สตรีเพศนั่งอาสนะยาวเดียวกับพระสงฆ์ .............๕. การตามส่งพระภิกษุ ………….๖. การให้ทางพระสงฆ์ ..............๗. หัตถบาส ..............๘. การนิมนต์พระสงฆ์รับสังฆทาน ..............๙. สรรพนามแทนผู้ชาย ..............๑๐. สรรพนามแทนพระภิกษุสงฆ์

ก. พระคุณเจ้า, หลวงพ่อ, ท่านพระครู ข. ศีล ๒๒๗ ข้อ ค. ผม,กระผม ง. เวลาฟั งพระสวด ศึกษาเนื ้อหาจบแล้ว จ.ทหนึ ่งศอก าแบบทดสอบหลั งเรียน ฉ. ไม่เจาะจงภิกษุผู้รับ กันนะคะ ช. การประนมมื อ ไหว้ นมัสการ หรือ กราบ ซ. มีบุรุษมานั่งคั่นกลาง ฌ. มัชฌิมาปฎิปทา ญ. การบารุงรักษาศาสนสถาน ฎ. การลุกขึน้ ต้อนรับ ฏ. เจ้าภาพควรตามไปส่งจนพ้นบริเวณงาน ฐ. ควรยืนชิดทางซ้ายมือหรือหลีกทางให้ ฑ. ศาสนทายาท ฒ. กรรมศรัทธา

ศึกษาเนื้อหาและทาแบบฝึกกิจกรรม กันเรียบร้อยแล้ว ต่อไปเรามาทา แบบทดสอบหลังเรียนกันนะคะ ๓๗


แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๓ เรื่อง การปฏิสันถารต่อพระภิกษุสงฆ์ในโอกาสต่างๆ คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง ข้อความ ...........ญ.........๑ ...........ช.........๒. ...........ฎ.........๓. ...........ซ.........๔. ...........ฏ........๕. ……….ฐ………๖. ...........จ.........๗. ...........ฉ.........๘. ...........ค.........๙. ...........ก.......๑๐.

ปฏิสงั ขรณ์ การแสดงความเคารพ อุฏฐานะ สตรีเพศนั่งอาสนะยาวเดียวกับพระสงฆ์ การตามส่งพระภิกษุ การให้ทางพระสงฆ์ หัตถบาส การนิมนต์พระสงฆ์รับสังฆทาน สรรพนามแทนผู้ชาย สรรพนามแทนพระภิกษุสงฆ์

๒๗


เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย จานวน ๑๕ ข้อ ๒. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท ( X ) ในช่องอักษรข้อ ก ข ค หรือ ง เพียงข้อเดียว ๓. กาหนดเวลาทดสอบ ๑๕ นาที ๑. ผู้รับของ ควรมีคุณสมบัติที่สาคัญที่สุด ตามข้อใด ก. เป็นผู้ที่ประกอบด้วยสัมมาทิฏฐิ ข. เป็นคนยากจน ค. เป็นคนขอทาน ง. เป็นคนพิการ ๒. พระสงฆ์จะสร้างศรัทธาให้แก่ชาวโลกได้หลายวิธี สาหรับวิธีที่ดีที่สุด คือข้อใด ก. แสดงธรรมตามปกติ ข. ศึกษาธรรมและนาไปเผยแผ่ ค. เทศนาสั่งสอนด้วยวิธีการแปลกใหม่ ง. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ๓. ขณะสนทนากับพระภิกษุ นักเรียนควรใช้สรรพนามแทนว่าอย่างไร จึงจะเหมาะสม ก. โยม ข. อุบาสก, อุบาสิกา ค. ผม, ดิฉัน ง. ข้าพเจ้า ๔. การปฏิบัติตนเป็นชาวพุทธที่ดีต่อ “อุปริมทิศ” หมายถึง การปฏิบัติตนต่อบุคคลใด ก. บิดามารดา ข. พระสงฆ์ ค. ครูอาจารย์ ง. มิตรสหาย

๒๘


๕. ข้อใด ไม่ควร ปฏิบัติต่อพระภิกษุ ก. แต่งกายสุภาพเมื่อไปวัด ข. นั่งบนอาสนะเสมอท่าน ค. สนทนากับท่านอย่างสุภาพ ง. นาน้าผลไม้มาถวายท่าน ๖. พฤติกรรมใด ไม่ควร กระทาในการถวายภัตตาหารและปัจจัยแก่พระภิกษุ ก. การนาภัตตาหารไปถวายหลังเที่ยง ข. ไม่ควรถวายปัจจัย (เงิน) ให้ท่านโดยตรง ค. เมื่อนิมนต์ไปฉันภัตตาหาร ไม่ควรระบุชื่ออาหาร ง. ในการนิมนต์พระภิกษุไปรับสังฆทาน ไม่ควรเจาะจงภิกษุผู้รับ ๗. “ทายก” หมายถึง ก. ผู้ให้ ข. ผู้รับ ค. ผู้ถือศีล ง. ผู้มีศรัทธา ๘. “วันคืนล่วงไป บัดนี้เราทาอะไรอยู่” ข้อคิดนี้ หมายความว่าอย่างไร ก. การปล่อยเวลาให้ผ่านไปโดยไม่กระทาสิ่งใดที่เป็นประโยชน์ ข. การเตือนตนเองให้กระทาในสิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ค. การไม่ปฏิบัติงานตามกาหนดเวลาที่วางไว้ ง. การทางานแบบเช้าชาม เย็นชาม ไม่สนใจเวลา ๙. เมื่อชะเอมจะนอนบนที่นอนประเภทเสื่อโดยมีผ้าปูที่นอนปูทับอีกชั้นหนึ่ง เธอบอกกับเพื่อนๆ ว่า ต้องปฏิบัติตนให้อยู่ในศีลอย่างเคร่งครัด แสดงว่า เธอปฏิบัติตนตามศีลข้อใด ก. ข้อ ๕ ข. ข้อ ๖ ค. ข้อ ๗ ง. ข้อ ๘ ๑๐. การยกของประเคนจะต้องยกให้ท่านภายใน “หัตถบาส” คาว่า หัตถบาส เป็นระยะประมาณ เท่าใด ก. ๑ ศอก ข. ๒ ศอก ค. ๑ คืบ ง. ๒ คืบ ๒๙


๑๑. หลักของ “การให้ “ ที่สาคัญคือ ก. ให้ของที่มีราคา ข. ให้ของที่มีคุณภาพดี ค. ให้ของที่สมควรแก่บุคคล ง. ให้ของที่ประณีต สวยงาม ๑๒. ปัญญาระดับญาณ เกิดขึ้นในทางใด ก. ฝึกสมาธิ ข. ถือศีลปาฏิโมกข์ ค. ฝึกควบคุม กาย ใจ ง. ฝึกวิปัสสนากรรมฐาน ๑๓. ในการสนทนากับพระผู้ใหญ่ ควรปฏิบัติตนอย่างไร ก. พูดเสียงดังฟังชัด ข. ใช้สรรพนามแทนตนว่าหนู ค. ควรประนมมือพูดกับท่านทุกครั้ง ง. ประสานมือวางไว้ที่หน้าตักเสมอ ๑๔. การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ในข้อใดเหมาะสมที่สุด ก. เมื่อพระสงฆ์เดินผ่านให้ยืนค้อมตัว ข. ถวายปัจจัยแด่พระสงฆ์อย่างสม่าเสมอ ค. พบพระสงฆ์ที่ใดให้กราบเบญจางคประดิษฐ์เสมอ ง. ถ้าจาเป็นต้องนั่งแถวเดียวกับพระสงฆ์ควรนั่งเก้าอี้ด้านซ้ายมือท่าน ๑๕. เมื่อพระภิกษุเดินมายังบริเวณพิธี และเดินผ่านหน้านักเรียน นักเรียนควรปฏิบัติตนเช่นไร ก. ลุกขึ้นยืนและยกมือไหว้ ข. คุกเข่าลงและกราบ ค. นั่งสารวมและยกมือไหว้ ง. ลุกขึ้นโค้งคานับหรือถอนสายบัว




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.