เล่มที่ 1 ประวัติและความสำคัญ

Page 1

เล่มที่ ๑ เรื่อง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา


มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม.๔/๑ ,๔,๕ ๑. วิเคราะห์ สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัย ของศาสดาที่ตนนับถือ ๒. วิเคราะห์ข้อปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนเองนับถือ ตามที่กาหนด ๓. วิเคราะห์การพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนา ที่ตนเองนับถือตามที่กาหนด

จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. อธิบายสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้าได้ ๒. วิเคราะห์ หลักคาสั่งสอนที่เป็ นทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลของพระพุทธศาสนาพร้อมทั้ง ยกตัวอย่างประกอบได้ ๓. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างศรัทธาและปัญญา พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบได้ ๔. เสนอแนวทางในการพัฒนาตนโดยอาศัยศรัทธาและปัญญาเป็นพื้นฐานได้

สาระการเรียนรู้ ๑. ลักษณะของสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า ๒. พระพุทธศาสนามีทฤษฎีที่เป็นสากลและมีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง ๓. พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง


เรื่อง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย จานวน ๑๐ ข้อ ๒. ให้นักเรียนทาเครือ่ งหมายกากบาท ( X ) ในช่องอักษรข้อ ก ข ค หรือ ง เพียงข้อเดียว ๓. กาหนดเวลาทดสอบ ๑๐ นาที ๑. ทาไมคาสอนของพระพุทธศาสนาจึงไม่มีคาว่า “เดา” หรือ “สันนิษฐาน” ก. เพราะพิสูจน์ไม่ได้ ข. เพราะเป็นหลักคาสอนที่เป็นความจริงที่มีเหตุผลสมบูรณ์ถูกต้อง ค. เพราะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ง. เพราะมีระยะเวลาที่จากัดจึงไม่สามารถเดา หรือสันนิษฐานได้ ๒. หลักการใด ไม่ใช่หลักการ ของพระพุทธศาสนา ก. หลักความเป็นกฎธรรมชาติ ข. หลักความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ค. หลักกฎแห่งกรรม ง. หลักของความเป็นเหตุเป็นผล ๓. คาว่า “วรรณะ” ตามหลักความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ คือข้อใด ก. ชนชั้นทางสังคม ข. ผิวพรรณ ค. ระบบการปกครอง ง. พิธีกรรมทางศาสนา ๔. “จัณฑาล” มักถูกเหยียดหยามและไม่มีศักดิ์มีสิทธิ์ใด ๆ ในสังคม เหตุผลใดถูกต้องที่สุด ก. เพราะยากจน ข. เพราะเป็นกรรมกร ค. เพราะเป็นลูกจ้าง ง. เพราะบิดามารดาเป็นคนต่างวรรณะกัน ๕. ความเชื่อใดที่ถือว่า เป็นความเชื่อตามหลักพระพุทธศาสนา ก. ความเชื่อเทพเจ้า และการบวงสรวงเทพเจ้า ข. ความเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของพระรัตนตรัย ค. ความเชื่อทุกสรรพสิ่งเป็นไปตามเหตุปัจจัย ง. ความเชื่อในวิญญาณนิยม


๖. ความเชื่อเช่นไรถือว่า “ศรัทธานาไปสู่ปัญญา” ก. เชื่อตามตาราที่ได้มาตรฐาน แต่งโดยผู้รู้ ข. เชื่อตามทฤษฎีที่ได้พิสูจน์มาแล้ว ค. เชื่อแล้วค้นหาข้อเท็จจริง เพื่อให้ได้ความรู้ที่ถูกต้อง ง. เชื่อตามที่คิดตรองตามแนวเหตุผลแล้ว ๗. ข้อใดคือผลที่เกิดจาก “กรรม” ก. มนุษย์กระทาเช่นไร ย่อมสามารถทาได้โดยไม่ได้รับผลตอบสนอง ข. มนุษย์สามารถกระทาการเช่นไรก็ได้ เพราะมีความเป็นอิสระ ค. มนุษย์กระทาเช่นไร ย่อมได้รับผลของการกระทาเช่นนั้น ง. มนุษย์หลุดพ้นจากกฎเกณฑ์ทั้งปวง เพราะความฉลาดกว่าสัตว์อื่น ๘. เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาจึงมีหลักการและวิธีการที่เป็นสากล ก. เป็นศาสนาที่แพร่หลายไปทั่วโลก ข. เป็นศาสนาที่มุ่งเน้นความสะดวกสบายของมนุษย์ ค. เป็นศาสนาที่มงุ่ เอาชนะธรรมชาติ ง. เป็นศาสนาที่มุ่งเน้นความสันติสุขของมวลมนุษยชาติ ๙. ผลจากการก่อเกิดพระพุทธศาสนา มีผลต่อการปฏิรูปสังคมชมพูทวีปโดยตรงและโดยอ้อม อย่างไรบ้าง ก. การไม่แบ่งชั้นวรรณะ การแก้ไขความทุกข์ของสังคม การช่วยให้สังคมเกิดสันติสุข ข. การล่มสลายของศาสนาอื่น ๆ ค. การล่มสลายของชั้นวรรณะ ง. ความเชื่อในอเทวนิยม (ไม่เชื่อในพระเจ้า) ๑๐. การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าก่อให้เกิดผลต่าง ๆ ผลที่สาคัญที่สุด คือข้อใด ก. ก่อให้เกิดพระศาสดา ข. เกิดพุทธบริษทั ค. เกิดพุทธสถาน ง. ความเข้าใจความเป็นจริงที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ หรือ สัจธรรม


๒๘

แบบทดสอบก่อนเรียน

แบบทดสอบหลังเรียน

ข้อ

คาตอบ

ข้อ

คาตอบ

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.

ข ข ก ง ค ค ค ง ก ง

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.

ง ง ค ข ค ข ค ก ง ก

.

.


สวัสดีค่ะนักเรียน เรามาเริ่มศึกษาเนื้อหากันนะคะ

พระบรมศาสดาของพระพุ ท ธศาสนาทรงมี พระนามเดิมว่า “สิทธัตถะ”ทรงเป็นพระราชโอรสของ พระเจ้ า สุ ท โธทนะ กษั ต ริ ย์ ผู้ ค รองนครกบิ ล พั ส ดุ์ พระราชมารดาของพระองค์พระนามว่า พระนางสิริมหา มายา เมื่อมี พระชนมายุ ได้ ๑๖ พรรษา ก็ท รงอภิเษก สมรสกั บ พระนางยโสธรา ครั้ น มี พ ระชนมายุ ไ ด้ ๒๙ พรรษา ทรงมีพระราชโอรสพระองค์หนึ่งพระนามว่า “ราหุล” ในช่วงเวลา ดังกล่าวพระองค์ได้ทอดเนตรเห็น คนแก่ คนเจ็ บ คนตายและ สมณะอั น เป็ น เหตุ ใ ห้ ท ร งคิ ด ว่ า ชี วิ ต เร า ล้ ว น เวี ย น ว่ า ย อ ยู่ ใน วั ง ว น แห่ งความทุกข์ทาอย่างไร มนุษย์จึ งจะหลุดพ้นออกไป เสี ย จากวั ฏ จั ก รแห่ ง ความทุ ก ข์ อั น นี้ ได้ คื น วั น หนึ่ ง พระองค์ตัดสินพระทัยเสด็จออกผนวชโดยมีม้ากัณฐกะ เป็ น พระราชพาหนะกั บ นายฉั น ทะเป็ น ผู้ ต ามเสด็ จ ณ ริมฝั่งแม่น้าอโนมาจากนั้นพระองค์ ทรงใช้เวลาศึกษา หาความรู้ จากส านั ก พระอาจารย์ จนสิ้ น สุ ด ความรู้ จาอาลาไปศึกษาทดลองด้วยพระองค์เอง ในขั้นสุดท้าย ทรงบ าเพ็ ญ ทุ ก รกิ ริ ย า แต่ ถึ ง กระนั้ น ก็ ห าได้ ท าให้ พระองค์ค้นพบคาตอบสุดท้ายแห่งชีวิต พระบรมศาสดาของพระพุทธศาสนาทรงมี

ภาพที่ ๑ กาเนิดเจ้าชายสิทธัตถะ ที่มา http://www.amazingthaisea.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

พระนามเดิมว่า “สิทธัตถะ” ทรงเป็นพระ


จึ ง เปลี่ ย นพระทั ย มาด าเนิ น ทางสายกลาง บาเพ็ญจิตภาวนาจนบรรลุโพธิญาณตรัสรู้อริยสัจ ๔ ในคื น วั น เพ็ ญ เดื อ นวิ ส าขะ หลั ง จากตรั ส รู้ แ ล้ ว ทรงจาริกไปประกาศศาสนาครั้งแรก แก่ปัญจวัคคีย์ ที่ ป่ า อิ สิ ต นมฤคทายวั น แคว้ น มคธ ทรงแสดง ธั ม มจั ก กั ป ปวั ต นสู ต ร ว่ า ด้ ว ยอริ ย สั จ ๔ และ ทางสายกลาง ทาให้พราหมณ์โกณฑัญญะดวงตาเห็น ธรรมและขอบวช ท าให้ พ ระองค์ได้ พ ระสงฆ์ส าวก เป็ น ครั้ ง แรกและเกิ ด พระรั ต นตรั ย ครบบริ บู ร ณ์ นั บ แต่ นั้ น เป็ น ต้ น มา พระพุ ท ธองค์ ท รงใช้ เวลาถึ ง ๔๕ พรรษาแห่ ง พระชนม์ ชี พ เที่ ย วจาริ ก สั่ ง สอน พระธรรมวินัยจนมีผู้คนหัน มาเลื่อมใสศรัทธาอย่าง มากมาย พระองค์ ท รงประสบความส าเร็จ ในการ ประกาศพระศาสนาอย่ า งงดงามและในที่ สุ ด พ ร ะ พุ ท ธ อ ง ค์ ท ร ง มี พ ร ะ ช น ม า ยุ ยื น ย า ว ถึง ๘๐ พรรษา ก็เสด็ จดับขันธปรินิพพานนอกกรุง กุสินารา แคว้นมัลละ

ภาพที่ ๒ พระพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญจิตภาวนา ที่มา http://www. watphagothenburg.se สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

พระบรมศาสดาของพระพุทธศาสนาทรงมี พระนามเดิมว่า “สิทธัตถะ” ทรงเป็นพระ ราชโอรส ของพระเจ้าสุทโธทนะ กษัตริย์ผู้ครองนครกบิลพัสดุ์ พระราชมารดาของพระองค์พระนาม ว่า พระนาง สิริมหามายา เมื่อมีพระชนมายุได้ ๑๖ พรรษา ก็ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางยโสธรา ครั้นมีพระชนมายุได้ ๒๙ พรรษา ทรงมีพระราชโอรสพระองค์หนึ่งพระนามว่า “ราหุล” ในช่วงเวลา ดังกล่าวพระองค์ได้ทอดเนตรเห็นคนแก่ คนเจ็บ คนตายและ สมณะอันเป็นเหตุให้ทรงคิดว่า ชีวิต เราล้วนเวียนว่ายอยู่ในวังวนแห่งความทุกข์ ทาอย่างไร มนุษย์จึงจะหลุดพ้นออกไปเสียจากวัฏจักร แห่งความทุกข์ อันนี้ได้ คืนวันหนึ่งพระองค์ตัดสินพระทัยเสด็จออกผนวชโดยมีม้ากัณฐกะเป็นพระ ราชพาหนะกับนายฉันทะเป็นผู้ตามเสด็จ ณ ริมฝั่งแม่น้าอโนมาจากนั้นพระองค์ ทรงใช้เวลาศึกษาหา ความรู้ จากสานักพระอาจารย์ จนสิ้นสุดความรู้ จาอาลาไปศึกษา ทดลองด้วยพระองค์เอง ในขั้น สุดท้าย ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยา แต่ถึงกระนั้นก็หาได้ทาให้พระองค์ค้นพบคาตอบสุดท้ายแห่งชีวิต


พระพุ ทธเจ้ า ทรงตรั ส รู้ อ นุ ต รสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณ ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ กระบวนการตรัสรู้ดาเนินไปตามลาดับ โดยเริ่ ม ตั้ งแต่ เช้ าตรู่ ของวัน ที่ พ ระองค์ ท รงรั บ ข้ าวมธุป ายาส จากนางสุ ช าดาผู้ เป็ น ธิ ด าของนายบ้ า นเสนานิ ค ม จากนั้ น ท รงส น าน พ ระ วรก าย ใน แ ม่ น้ าเน รั ญ ช รา แ ล้ ว เส ว ย ข้า วมธุ ป ายาสจนหมด จากนั้ น ทรงไปพั ก ผ่ อ นพระอิ ริ ย าบถ อยู่ ในดงไม้ ส าละ จนถึ งเวลาเย็ น จึ ง เสด็ จ ด าเนิ น ไปประทั บ นั่ ง ขั ด สมาธิ ใต้ โ คนต้ น โพธิ์ ทรงก าหนดพระทั ย ตั้ ง ปณิ ธ าน อย่างมั่นคงว่า ต่อให้เลือดและเนื้อเหือดแห้งไป หากยังไม่ตรัสรู้ สัมมาสัมโพธิญาณจะไม่ข อลุกจากบัลลังก์เป็นอันขาด จากนั้น ทรงเจริ ญ สมาธิ จ นพระทั ย สงบแน่ ว แน่ เข้ า ถึ ง ปฐมฌาน ทุติย ฌานและจตุตถฌาน แล้วจึงทรงบรรลุวิชชา ๓ ประการ กล่าวคือ ๑. ปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ทาให้ทรงระลึกชาติได้ ๒. มัชฌิมยาม ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ ทาให้ทรง เห็นการเวียนว่ายตายเกิดของสรรพสัตว์ ๓. ปัจฉิมยาม ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ ทาให้ ตัดกิเลสได้สิ้นเชิง สาเร็จเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สิ่งที่พระพุทธองค์ตรัสรู้เรียกว่า “อริยสัจ ๔” เป็นความจริง ที่ พ ระองค์ ท รงค้ น พบและความจริ ง ที่ พ ระองค์ ท รงค้ น พบ เกิ ด จากวิ ธี ก ารทางปั ญ ญาของพระองค์ เ องไม่ เ กี่ ย วข้ อ ง กั บ อาจารย์ ค นใดจึ ง ทรงปฏิ ญ าณว่ า ในเรื่ อ งการตรั ส รู้ แ ล้ ว ไม่มีใครเป็นครูของพระองค์

ภาพที่ ๓ นางสุชาดาถวายข้าวมธุปายาส ที่มา http://www.foodnetworksolution.com สืบค้นเมือ่ วันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗


พระพุทธเจ้ าทรงได้รับการยกย่องว่าเป็นบรมครู เพราะพระองค์ ทรงมีเทคนิคการสอนหรือ การเผยแผ่ ที่ ส ามารถปรั บ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ บุ ค คลและสถานการณ์ ดั งเมื่ อพระองค์ ท รงพบกษั ต ริย์ ก็ทรงสอนเรื่องการเมืองการปกครองได้อย่างผู้ที่รู้จริง เมื่อทรงพบกับพราหมณ์ แพศย์ ศูทร ชาวนา คนเลี้ ย งโคนั ก บวชต่ างศาสนา หรื อ แม้ แ ต่ โสเภณี ก็ ท รงสอนให้ เขาเหล่ า นั้ น เข้ า ใจอย่ างปรุ โปร่ ง จนมีคายกย่องการสอนของพระองค์ว่า “เหมือนหงายของที่คว่าไว้ เหมือนเปิดของที่ปิด เหมือนบอก ทางแก่คนหลงทาง และเหมือนส่องประทีปในที่มืด ” เหตุผลสาคัญที่ทาให้พระองค์ทรงเป็นครูแห่งครู ก็เพราะทรงเป็ นผู้ ตรัส รู้จริง ทรงทาได้อย่างที่สอนจริง และทรงมีจิตวิญญาณแห่ งความเป็นครูที่แท้ คื อ ทรงสอนโดยไม่ ห วั งผลประโยชน์ ต อบแทนความเป็ น ครูชั้ น ยอดของพระองค์ เราะจะพบได้ จากคาสรรเสริญหลายต่อหลายครั้งที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก ในการสอนหรื อ การเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนา พระพุ ท ธเจ้าทรงมี ห ลั กการสอนที่ เรีย กว่ า “พุทธลีลาในการสอน ๔” หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เทคนิคการสอน ๔ ขั้นตอน กล่าวคือ ๑. แจ่มแจ้ง ทรงอธิบายให้เห็นชัดเจนทุกถ้อยกระทงความ เหมือนกับจูงมือไปดู ให้เห็นกับตา ๒. จูงใจ ทรงชี้แจงให้ซาบซึ้ง ตระหนักถึงคุณค่าจนอยากน้อมนาไปปฏิบัติตาม ด้วยตนเอง ๓. เร้าให้กล้า ทรงชักชวนให้เห็นด้วย คล้อยตาม จนเกิดความมุมานะ อาจหาญ พร้อมที่จะนาไปพิสูจน์ทดลองด้วยตนเองอย่างไม่ย่อท้อ ๔. ปลุกให้ร่าเริง ทรงแนะนาและโน้มน้าวให้เห็นว่า หากปฏิบัติตามที่พระองค์ ทรงสอนแล้ว จะได้รับประโยชน์ในทางดีงาม หรือมีความก้าวหน้า อย่างไร จนผู้ฟังมั่นใจในผลดีที่จะได้รับ เกิดความหวังกาลังใจ น้อมนาธรรมไปปฏิบัติด้วยความแช่มชื่น เบิกบาน สาราญใจ


สังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาในสมัยก่อนพระพุทธเจ้า แบ่งออกตามด้านต่างๆดังนี้

อินเดียในสมัยพุทธกาลแบ่งการปกครอง ออกเป็นแว่นแคว้นต่างๆ แคว้นที่มีอาณาเขต กว้างขวางเรียกว่า “มหาชนบท” ชนบทเหล่านี้แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนกลางเรียกว่า มัชฌิมชนบท ส่วนหัวเมืองชั้นนอก เรียกว่า ปัจจันตชนบท

ภาพที่ ๔ แผนทีแ่ สดงแคว้นต่างๆในชมพูทวีปสมัยพุทธกาล ที่มา http://www.samkokview.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

รูปแบบการปกครองแบ่งออกเป็น ๒ ระบอบ คือ ราชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีอานาจสิทธิขาดในการปกครอง มี รัชทายาทสื บสันตติวงศ์ ส่วนอีกรูปแบบหนึ่ง คือ สามัคคีธ รรม การปกครองแบบนี้ ไ ม่ มี พ ระมหากษั ต ริ ย์ เ ป็ น ประมุ ข การบริ ห ารประเทศจะท าโดยรั ฐ สภา ซึ่งเรียกกันว่า สัณฐาคาร


สภาพสั ง คมอิ น เดี ย จั ด แบ่ ง ผู้ ค นออกเป็ น ชนชั้ น เรี ย กว่ า “วรรณะ” เพราะความเชื่ อ ทางศาสนาพราหมณ์ จึ งถือ เอาเชื้ อ ชาติ ม าเป็ น เกณฑ์ ในการแบ่ งวรรณะ ระบบวรรณะของอิน เดี ย ประกอบด้วยชนชั้นต่างๆ ดังนี้ ๒.๑ วรรณะพราหมณ์ ได้แก่ พวกศึกษาคัมภีร์พระเวท มีหน้าที่ติดต่อกับเทวะ และกระทาพิธีกรรมทางศาสนา ภาพที่ ๕ วรรณะพราหมณ์ สีประจาวรรณะ คือ สีขาว ที่มา http://www .champmelove.wordpress.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

๒.๒ วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ พวกนักรบ นักปกครอง สีประจาวรรณะ คือ สีแดง ภาพที่ ๖ วรรณะกษัตริย์ ที่มา http://www .champmelove.wordpress.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

๒.๓ วรรณะแพศย์ ได้แก่ ประชาชนที่ประกอบอาชีพ พ่อค้า แม่ค้า สีประจาวรรณะ คือสีเหลือง

ภาพที่ ๗ วรรณะแพศย์ ที่มา http:// www. champmelove.wordpress.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗


๑๐

๒.๔ วรรณะศูทร ได้แก่ พวกกรรมกรผู้ใช้แรงงาน ไม่มีสีประจาวรรณะ ส่วนใหญ่ จะใช้สีดา หรือสีเขียว ภาพที่ ๘ วรรณะศูทร ที่มา http:// www.champmelove.wordpress.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

๒.๕ วรรณะจัณฑาล ได้แก่ บุคคลที่เกิดจากบิดามารดา ต่างวรรณะกัน ชนชั้นนี้ จะถูกเหยียดหยามว่าเป็นคนชั้นต่า

ภาพที่ ๙ วรรณะจัณฑาล ที่มา http:// www.champmelove.wordpress.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ความเชื่ อ ในเรื่ อ งการล้ างบาป ชาวอิ น เดี ย เชื่ อ ในความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข อง แม่ น้ าคงคาว่า ถ้ าใคร ได้อาบน้ าหรื อดื่ มน้ าในแม่ น้ าคงคาที่เมื องพาราณสี ถือกันว่าจะได้ บุญ มาก ความชั่ว ที่ท าไว้ทั้ งหมด จะถูกลอยไปกับสายน้า กลายเป็นผู้บริสุทธิ์ทางกายและทางใจ

ภาพที่ ๑๐ การล้างบาป ในแม่น้าคงคา ที่มา http:// www.dhammapiwat.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗


๑๑

๑. หลั ก ธรรมที่ เ ป็ น สากลเป็ น หลั ก ธรรมที่ ส ามารถถื อ ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ไ ด้ ทุ ก ชาติ ทุ ก ภาษา ทุ ก ชนชั้ น ของสั ง คมหากประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต ามก็ จ ะสามารถด ารงชี วิ ต อยู่ ใ นโลกนี้ ได้อย่างสันติสุข โลกเกิดความสงบไม่เบียดเบียนทาร้ายซึ่งกันและกันไม่ก่อให้เกิด สงคราม ซึ่งส่งผล เสียหายต่อมวลมนุษยชาติและธรรมชาติอย่างมหาศาล ๒. หลั ก ความเป็ น กฎธรรมชาติ ถื อ ว่ า ความจริ ง นั้ น เป็ น กฎธรรมชาติ เ ป็ น สิ่ ง ที่ มี อยู่ตามธรรมดาของมัน พระพุทธเจ้ามีฐานะเป็น ผู้ค้นพบ หมายความว่า กฎความจริงของธรรมชาติ มั น มี อ ยู่ อ ย่ างนั้ น เองเป็ น ธรรมดา พระพุ ท ธเจ้ าจะอุ บั ติ ขึ้ น หรือ ไม่ อุ บั ติ ขึ้ น ก็ ต าม ธรรมชาติ ก็ เป็ น ธรรมชาติอยู่อย่างนั้นไม่มีใครฝืนกฎของธรรมชาติไปได้ ซึ่งหลักการนี้ถือว่าเป็นสากลเพราะการที่เรา ฝื น ธรรมชาติ จ ะก่ อ ให้ เกิ ด ความเสี ย หายมากมาย เช่ น การผลิ ต เทคโนโลยี ที่ ส นองความต้อ งการ หรือความสะดวกสบายของมนุษย์ ก่อให้เกิดผลเสียต่อธรรมชาติเกิดมลพิษทั้งในอากาศ ในน้าและ บนบก

นักเรียนเข้าใจแล้วนะคะว่า พระพุทธศาสนาของเรามีความเป็น สากลอย่างไร


๑๒

วิธีการทางพระพุทธศาสนาที่เป็นสากล มีวิธีการมากมายที่เป็นสากลสามารถนาไป เป็นแนวปฏิบัติได้ทั้งหมดในที่นี้จะขอกล่าวถึง วิธีการพัฒนามนุษย์และสังคม กระบวนการ การพั ฒ นามนุ ษ ย์ ที่ ส าคั ญ แบ่ ง ออกเป็ น ๓ ด้ า นโดยสอดคล้ อ งกั บ องค์ ป ระกอบ แห่ ง การด าเนิ น ชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ ที่ มี ๓ ด้ า นคื อ พฤติ ก รรม จิ ต ใจและปั ญ ญา เรี ย กว่ า “ไตรสิกขา” ซึ่งมีสาระสาคัญดังนี้ ๑ ศี ล คื อ การฝึ ก ฝนพั ฒ นาด้ านพฤติ ก รรม หมายถึ ง การพั ฒ นาพฤติ ก รรมทางกาย และวาจา ให้มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้องมีผลดี ได้แก่ ๑.๑) การรั ก ษาวิ นั ย แม่ บ ทของชุ ม ชนหรื อ ขององค์ ก ร เช่ น ศี ล กฎ หมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี ระเบียบข้อบังคับ และจรรยาบรรณของวิชาชีพต่าง ๆ เป็นต้น ๑.๒) การรู้จักใช้อิน ทรีย์ เช่น รู้จักพิจารณาเลือกที่ จะดู จะฟัง แยกแยะได้ว่าสิ่งใด ควรดู ควรฟัง สิ่งใดที่เป็นสิ่งดีงาม มีประโยชน์หรือเป็นโทษภัยและละเว้นกระทาสิ่งที่ไม่ดี เหล่านั้น การรู้จักดู ฟัง อย่างมีสติ ไม่ปล่อยตัวลุ่มหลงมัวเมาตกเป็นทาสของสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง การไม่เห็นแต่ความสนุกสนานบันเทิงเพียงอย่างเดียว ควรดู ฟังในสิ่งที่ก่อให้เกิดปัญญา ๑.๓) การหาเลี้ ย งชี พ ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ เช่ น เป็ น อาชี พ ที่ ไม่ เบี ย ดเบี ย น เอาเปรี ย บผู้ อื่ น เป็ น อาชี พ ที่ ช่ ว ยแก้ ไขปั ญ หาหรื อ สร้ า งสรรค์ ชี วิ ต และสั ง คม เป็ น อาชี พ ที่ ช่ ว ยให้ พั ฒ นา คุณภาพชีวิต เป็นอาชีพที่ไม่ทาลายคุณค่าของชีวิต เป็นอาชีพที่ทาให้ได้ปัจจัยต่ างๆมาเลี้ยง ชีวิตด้วยกาลังกาย กาลังใจ และกาลังปัญญาของตนเอง เป็นต้น


๑๓

๒ . สมาธิ คื อ การฝึ ก ฝนพั ฒ นาด้ า นจิ ต ใจ หมายถึ ง การพัฒนาจิตใจดังต่อไปนี้ ๒.๑) คุณภาพจิต ได้แก่ คุณธรรมความดีงาม ต่างๆ เช่น เมตตา กรุณา กตัญญูกตเวทิตา สัมมาคารวะ หิ ริ โ อตั ป ปะฯลฯ ซึ่ ง หล่ อ เลี้ ย งจิ ต ใจให้ ง อกงามและ เป็นพื้นฐานของพฤติกรรมที่ดีงาม ๒.๒) สมรรถภาพจิ ต ได้ แ ก่ ความสามารถ เข้มแข็ง มั่นคง มีประสิทธิภาพของจิต เช่น ฉันทะ (ความใฝ่รู้ ใฝ่ ดี ใฝ่ ท า) วิ ริ ย ะ(ความเพี ยร) อุ ตสาหะ (ความขยั น ) ขันติ (ความอดทน) สติ (ความระลึกได้ การควบคุมตนได้) สมาธิ (ความตั้ งมั่ น ความแน่ วแน่ ความสงบ) รวมทั้ ง ความไม่ ประมาทเป็ นต้ น ที่ ท าให้ ก้ าวหน้ ามั่ นคง ในพฤติกรรมที่ดีงาม และพร้อมที่จะใช้ปั ญญา สุขภาพจิต ได้แก่ สภาพจิตที่ปราศจากความขุ่นมัว เศร้าหมอง เร่าร้อน เป็ นต้ น ความสดชื่ น เอิ บอิ่ ม ร่ าเริ งเบิ กบาน ผ่ อนคลาย ผ่องใส เป็นสุข ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพกาย และทาให้พฤติกรรม ที่ดีงาม มีความมั่นคง สอดคล้องกลมกลืน ๓. ปั ญ ญา คื อ การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาให้ รู้ จ ริ ง เริ่ ม จาก ความเชื่ อ ที่ มี เ ห ตุ ผ ล ความเห็ น ที่ เข้ า สู่ แ นวท าง แห่ ง ความเป็ น จริ ง การรู้ จั ก หาความรู้ การพิ จ ารณา และรู้ จั ก วิ นิ จ ฉั ย ไตร่ ต รอง ทดลอง ตรวจสอบความรู้ ค วาม เข้ าใจ ค วาม ห ยั่ งรู้ เ ห ตุ ผ ล ก ารน าค วาม รู้ ม า แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ คิ ด ก า ร ต่ า ง ๆ ใน ท า ง เกื้ อ กู ล และสร้างสรรค์ เน้นเรื่องความรู้ตรงความเป็นจริง หรือรู้ เห็ น ตามการเป็ น ไปของโลกและชี วิ ต ที่ ท าให้ จิ ต ใจ เป็ น อิ ส ระ ป ลอดปั ญ ห าไร้ ทุ กข์ เข้ า ถึ ง อิ ส รภ าพ โดยสมบูรณ์

ภาพที่ ๑๑ การนั่งสมาธิ ที่มา http:// www. phunamron.ac.th สืบค้นเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗


๑๔

แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๑ เรื่อง ประวัตแิ ละความสาคัญของพระพุทธศาสนา คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง คาตอบ

ข้อความ .............๑. พระนามเดิมของพระพุทธเจ้า .............๒. สถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้า .............๓. อภิเษกสมรสกับพระนางยโสธรา .............๔. พาหนะประจาพระองค์ .............๕. สถานที่อธิฐานเป็นบรรพชิต ………….๖. การทรมานตนเองอย่างยิ่งยวด ..............๗. อริยสัจ ๔ ..............๘. พราหมณ์โกณฑัญญะ ..............๙. นางสุชาดา ..............๑๐. เสด็จดับขันธปรินิพพาน

ก. ข. ค. ง. จ. ฉ. ช. ซ. ฌ. ญ. ฎ. ฏ. ฐ. ฑ. ฒ.

หลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ พระสงฆ์รูปแรกในพระพุทธศาสนา ทุกรกิริยา พระเจ้าสุทโธทนะ แม่น้าคงคา นอกกรุงกุสินารา ข้าวมธุปายาส สวนลุมพินี พระนางยโสธรา แม่น้าอโนมา พระนางปชาบดีโคตรมี ม้ากัณฐกะ อายุ ๑๖ พรรษา เมืองพาราณสี เจ้าชายสิทธัตถะ


๒๙

เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๑ เรื่อง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง ข้อความ ..............ฒ............๑. พระนามเดิมของพระพุทธเจ้า ..............ซ.............๒. สถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้า ..............ฐ.............๓. อภิเษกสมรสกับพระนางยโสธรา ..............ฏ.............๔. พาหนะประจาพระองค์ ..............ญ............๕. สถานที่อธิฐานเป็นบรรพชิต …………..ค.............๖. การทรมานตนเองอย่างยิ่งยวด ..............ก.............๗. อริยสัจ ๔ ..............ข.............๘. พราหมณ์โกณฑัญญะ ..............ช.............๙. นางสุชาดา ..............ฉ..........๑๐. เสด็จดับขันธปรินิพพาน


๑๕ 21

แบบฝึกกิจกรรมที่ ๑.๒ เรื่อง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา

คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์

๑. การปกครองแบบราชาธิปไตย มีลักษณะอย่างไร …………………………………………………………………………………………………..………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ๒. ความคล้ายคลึงของการปกครองระบอบสามัคคีธรรมในสมัยพุทธกาล กับระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบัน คือ ………………………………………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................ ๓. วรรณะพราหมณ์ มีหน้าที่อย่างไรในสมัยพุทธกาล ……………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………….. ๔. ชาวอินเดียในสมัยพุทธกาล มีความเชื่อเรื่องการล้างบาปอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………. ๕. ผู้รักตน ไม่ควรเบียดเบียนผู้อื่น พุทธดารัสนี้มุ่งสอนเราในเรื่องใด …………………………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………


๓๐

เฉลยแบบฝึกกิจกรรมที่ ๑.๒ เรื่อง ประวัตแิ ละความสาคัญของพระพุทธศาสนา คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์ ๑. การปกครองแบบราชาธิปไตย มีลักษณะอย่างไร ตอบ การปกครองแบบราชาธิปไตย จะมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมีอานาจสิทธิขาด ในการปกครอง มีรัชทายาทสืบสันตติวงศ์ในการปกครองต่อไป ๒. ความคล้ายคลึงของการปกครองระบอบสามัคคีธรรมในสมัยพุทธกาล กับระบอบประชาธิปไตยในปัจจุบัน คือ ตอบ การมีคณะกรรมการคล้ายรัฐสภาที่เรียกว่า สัณฐาคาร ทาหน้าที่บริหารประเทศ โดยวินิจฉัยตัดสินข้อราชการต่างๆ ตามเสียงข้างมากและคุณธรรมสาคัญของการปกครอง ระบอบนี้คือ ความสามัคคี ๓. วรรณะพราหมณ์ มีหน้าที่อย่างไรในสมัยพุทธกาล ตอบ วรรณะพราหมณ์ ในสมัยพุทธกาล มีหน้าที่ ศึกษาคัมภีร์พระเวทติดต่อกับเทวะและกระทา พิธีกรรมทางศาสนา ๔. ชาวอินเดียในสมัยพุทธกาล มีความเชื่อเรื่องการล้างบาปอย่างไร ตอบ ชาวอินเดีย มีความเชื่อว่า แม่น้าคงคา เป็นแม่น้าศักดิ์สิทธิ์ถ้าใครได้อาบน้าหรือดื่มน้า ในแม่น้าคงคาที่เมืองพาราณสีจะได้บุญมาก ความชั่วที่ทาไว้ทั้งหมดจะถูกลอยไปกับสายน้า กลายเป็นผู้บริสุทธิ์ทั้งทางกายและทางใจ ๕. ผู้รักตน ไม่ควรเบียดเบียนผู้อื่น พุทธดารัสนี้มุ่งสอนเราในเรื่องใด ตอบ การเคารพในสิทธิของผู้อื่น ( ถ้านักเรียนตอบนอกเหนือจากนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน)


๑๖

เรามาศึกษา เรื่องการพัฒนาศรัทธา และปัญญาที่ถูกต้องกันต่อนะคะ

พระพุทธศาสนาที่เน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง ๑. หลักศรัทธา ศรัทธา หมายถึง ความเชื่อ ศรัทธาในพระพุทธศาสนา หมายถึงความเชื่ออย่างมี เหตุผล อาจแบ่งความเชื่อออกเป็น ๒ ประเภทง่าย ๆ คือ ๑.๑. ความเชื่อแบบปิดกั้นปัญญา หมายถึง การใช้วิธีการโฆษณาชวนเชื่อ การปลุกเร้า หรือการบังคับให้เชื่อ โดยไม่ให้มีข้อสงสัย ข้อคาถาม แต่ให้ทาตาม เพียงอย่างเดียว เป็นสิ่งที่ต้องถือปฏิบัติตาม ยึดมั่นโดยไม่ต้องถามหาเหตุผล ๑.๒. ความเชื่อแบบสื่อนาสู่ปัญญา หมายถึง ความเชื่อที่มีเหตุผล โดยผู้ศึกษาอาศัยปัญญาพิจารณา วิเคราะห์ในสิ่งที่ควรเชื่อหรือไม่ควรเชื่อ เมื่อเชื่อแล้วก็ค้นหาข้อเท็จจริง พยายามศึกษาค้นคว้าทดลอง หลักความเชื่อ ในพระพุทธศาสนาใน กาลามสูตร กล่าวไว้ดังนี้ อย่าเชื่อ เพียงเพราะได้ฟัง (เรียน) ตามกันมา อย่าเชื่อ เพียงเพราะได้ถือปฏิบัติสืบต่อกันมา อย่าเชื่อ เพียงเพราะเสียงเล่าลือ อย่าเชื่อ เพียงเพราะอ้างตารา อย่าเชื่อ เพียงเพราะโดยตรรกะ อย่าเชื่อ เพียงเพราะอนุมานเอา อย่าเชื่อ เพียงเพราะคิดตรองตามแนวเหตุผล อย่าเชื่อ เพียงเพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีของตน อย่าเชื่อ เพียงเพราะมีรูปลักษณะน่าเชื่อถือ อย่าเชื่อ เพียงเพราะเห็นว่า ท่านสมณะนี้เป็นครูอาจารย์ของเรา


๑๗

ศรัทธาที่พึงประสงค์และศรัทธาที่ควรพัฒนาให้มีขึ้นในตน ศรัทธาที่พึงประสงค์และศรัทธาที่ควรพัฒนาให้มีขึ้นในตน ควรเป็นศรัทธาที่นับเนื่องอยู่ใน หลักศรัทธา ๔ ประการ คือ ๑. กรรมศรัทธา เชื่อว่ากฎแห่งกรรมมีจริง ทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์กระทาด้วย เจตนาจะส่งผลเป็นกฎแห่งกรรมเสมอ และเชื่อว่าคนจะเป็นอย่างไรขึ้นอยู่กับว่าเขาทากรรมอย่างไร ๒. วิบากศรัทธา เชื่อว่าผลแห่งกรรมมีจริง และผลแห่งกรรมนั้นเกิดมาจากสาเหตุ ถ้าเหตุดีผลก็ดี เหตุเลว ผลก็เลว เราจึงควรสร้างแต่เหตุที่ดีเพื่อให้ได้รับผลที่ดี ๓. กัมมัสสกตาศรัทธา เชื่อว่าทุกคนมีกรรมเป็นของตน ใครทากรรมอย่างใดไว้ ก็ต้องรับผล แห่งกรรมนั้น เราจึงควรเลือกทากรรมดีเพื่อจะได้รับแต่ผลกรรมที่ดีที่เราเป็นคนก่อไว้เอง ๔. ตถาคตโพธิศรัทธา เชื่อในพระปัญญาตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ยอมรับว่า พระองค์ ทรงเป็นผู้ตรัสรู้จริง เป็นผู้ประเสริฐ เป็นอัครบุคคลผู้พัฒนาตนได้อย่างสมบูรณ์แล้ว และมนุษย์ทุกคน ถ้าประสงค์จะพัฒนาตนให้บรรลุคามเป็นพุทธะ คือ ผู้รู้ ผูต้ ื่น ผู้เบิกบาน เช่นเดียวกับพระองค์ ก็ย่อมสามารถทาได้


๑๘

๒. หลักปัญญา หลักการพัฒนาปัญญา ปั ญ ญา แปลว่า ความรู้ในเรื่อ งใด ถ้ารู้ไม่ทั่ ว ถึง ไม่ท ะลุ ปรุโปร่ง ไม่ รอบด้าน ไม่นั บ เป็ น ปัญญาที่แท้ ความรู้มีอยู่ ๒ ประเภท คือ ความรู้ที่มีมาตั้งแต่เกิด และความรู้ที่มีขึ้นด้วยการศึกษา เล่ าเรี ย นและฝึ ก ฝน บางคนก็ มี ค วามรู้พิ เศษที่ ค นอื่ น ไม่ มี ซึ่ ง ภาษาไทยเรีย กว่ า “พรสวรรค์ ” เช่ น มีความสามารถวาดภาพได้งดงาม ทั้งๆที่ไม่ได้เรียนมาจากใครเลย ปัญญา หรือ ความรู้ที่ควรพัฒนา มี ๓ ลักษณะได้แก่ ๒.๑ ปั ญ ญารู้จักความเสื่ อม หมายถึง รู้ว่าอะไร คือความเสื่อม และอะไรคือเหตุ ทาให้เกิดความเสื่อม ๒.๒ ปัญญารู้ความจริง คือ รู้ว่าอะไรคือความดี ความจริงที่แท้และ ก็รู้ด้วยว่าอะไร คือสาเหตุให้เกิดความดีความเจริญนั้น ๒.๓ ปั ญ ญารู้ จั ก วิ ธี ก ารละเหตุ แ ห่ ง ความเสื่ อ มและสร้ า งเหตุ แ ห่ ง ความเจริ ญ คือ รู้ทั้งสองด้าน เรียกว่า “รู้ครบวงจร”


๑๙

วิธีการพัฒนาปัญญา วิธีการพัฒนาปัญญา ได้แก่ ๑. สุตมยปัญญา ปัญญาที่เกิดจากการฟัง การศึกษาค้นคว้า การสั่งสมข้อมูล การเพิ่มพูน องค์ความรู้ให้กว้างขวางและลึกซึ้ง ปัญญาชนิดนี้พัฒนาได้โดยใช้หลักพหูสูต ๕ คือ ๑.๑ ฟัง อ่าน ศึกษา ค้นคว้าให้มากที่สุดจากคน จากสื่อมวลชน ๑.๒ จดจาสาระของแต่ละเรื่องให้แม่นยา ๑.๓ ท่องเนื้อหาสาคัญให้คล่องปาก ๑.๔ เข้าใจชัดเจนเหมือนเห็นอยู่ตรงหน้า ๑.๕ ตีประเด็นให้แตกและรู้จักประยุกต์ใช้อย่างชาญฉลาด ทันสมัย ๒. จินตมยปัญญา ปัญญาที่เกิดจากการคิด การฝึกใช้เหตุผลหรือตรรกะ การวิเคราะห์ เจาะลึกด้วยความคิด พัฒนาโดยฝึกคิดตามหลักการคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๓. ภาวนามยปั ญ ญา ปั ญ ญาที่ เกิ ด จากการลงมื อ ปฏิ บั ติ โ ดยตรง เช่ น ปั ญ ญาของพ่ อ ค้ า ชาวจีน ที่ไม่เคยเรียนการตลาด ไม่เคยผ่ านการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย แต่กลายเป็นเจ้าของธุรกิจ ที่มีมูลค่านับพันล้านอีกความหมายหนึ่งของ ภาวนามยปัญญา ก็คือ ปัญญาที่เกิดจากการเจริญสมาธิ หรือฝึกวิปัสสนา ปัญญาชนิดนี้เป็นปัญญาชั้ นสูงเมื่อเกิดขึ้นแล้วทาให้คนเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นคนใหม่ ทาให้เข้าใจโลกและชีวิตอย่างรู้เท่าทันและมีความสุข


๒๐

แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๓ เรื่อง หลักการพัฒนาศรัทธาและปัญญา

คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์

๑ ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนามีความหมายว่าอย่างไร ................................................................................................................................................... ๒. ศรัทธาที่ควรพัฒนาในทางพระพุทธศาสนาสอดคล้องกับหลักกรรมอย่างไร ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ๓. ความรู้เช่นไร จึงถือว่าเป็นปัญญาที่แท้ .................................................................................................................................................. ๔. ปัจจัยสาคัญที่ช่วยพัฒนาปัญญาคืออะไร ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... ๕. ผู้ที่มีปัญญารู้จักความเสื่อม ต้องมีลักษณะเช่นไร ................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................


๓๑

เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๓ เรื่อง หลักการพัฒนาศรัทธาและปัญญา

คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์

๑. ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนามีความหมายว่าอย่างไร ตอบ ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง ความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล และเชื่อมั่นในคุณงามความดี ๒. ศรัทธาที่ควรพัฒนาในทางพระพุทธศาสนาสอดคล้องกับหลักกรรมอย่างไร ตอบ ในทางพระพุทธศาสนาเชื่อว่าไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นลอยๆ โดยไม่มีเหตุปัจจัย จึงสอดคล้องกับเรื่องของหลักกรรมและกฎแห่งการกระทาว่ากระทาเช่นใด จะต้องรับผลเช่นนั้น ๓. ความรู้เช่นไร จึงถือว่าเป็นปัญญาที่แท้ ตอบ ความรู้ในเรื่องใด ๆ อย่างทั่วถึงทะลุปรุโปร่ง และรอบด้าน จึงนับเป็นปัญญาที่แท้ ๔. ปัจจัยสาคัญที่ช่วยพัฒนาปัญญาคืออะไร ตอบ การฝึกฝนพัฒนา ดังคากล่าวที่ว่า ปัญญามีได้เพราะการฝึกฝนพัฒนา ๕. ผู้ที่มีปัญญารู้จักความเสื่อม ต้องมีลักษณะเช่นไร ตอบ ต้องรู้ว่าอะไรคือความเสื่อม และอะไรคือสาเหตุที่แท้จริงของความเสื่อม ( ถ้านักเรียนตอบนอกเหนือจากนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน)


๒๑

แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๔ เรือ่ ง หลักการพัฒนาศรัทธาและปัญญา คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง ข้อความ

คาตอบ

.............๑. ความเชื่อที่อยู่บนพื้นฐานของความจริง ก. หลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ ความถูกต้อง ข. พระสงฆ์รูปแรกในพระพุทธศาสนา .............๒. ความเชื่อที่งมงามไม่อาจอธิบายด้วยเหตุผล ศึกค.ษาเนื ศรัทธาที ่ประกอบด้ววยปัญญา ้อหาจบแล้ .............๓. กัมมัสสกตาศรัทธา ง. วิบากศรัทธา งเรียน ทาแบบทดสอบหลั .............๔. เชื่อว่ากฎแห่งกรรมมีจริง จ. ปัญญา กันนะคะ .............๕. ความรู้อย่างทั่วถึง ความรู้จริง ความรู้รอบ ฉ. ปัญญาที่เกิดจากการฟัง การศึกษา ………….๖. สุตมยปัญญา ค้นคว้า ..............๗. ปัญญาที่เกิดจากการคิด การฝึกใช้เหตุผล ช. กรรมศรัทธา ..............๘. ภาวนามยปัญญา ซ. ศรัทธาที่ไม่ประกอบด้วยปัญญา ..............๙. เชื่อว่าผลแห่งกรรมมีจริง ฌ. สังขาร ..............๑๐. เชื่อในพระปัญญาตรัสรู้ของงพระพุทธเจ้า ญ. เชื่อว่าทุกคนมีกรรมเป็นของตนเอง ฏ. ตถาคตโพธิศรัทธา ฐ. จินตามยปัญญา ฑ. ปัญญาที่เกิดจากการลงมือปฏิบัติ โดยตรง ฒ. มัชฌิมาปฎิปทา

ศึกษาเนื้อหาและทาแบบฝึกกิจกรรม กันเรียบร้อยแล้ว ต่อไปเรามาทา แบบทดสอบหลังเรียนกันนะคะ


๓๒

เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๔ เรื่อง หลักการพัฒนาศรัทธาและปัญญา คาชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่ข้อความที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง ข้อความ ..............ค............๑. ความเชื่อที่อยู่บนพื้นฐานของความจริงความถูกต้อง ..............ซ.............๒. ความเชื่อที่งมงามไม่อาจอธิบายด้วยเหตุผล ..............ญ.............๓. กัมมัสสกตาศรัทธา ..............ช.............๔. เชื่อว่ากฎแห่งกรรมมีจริง ..............จ............๕. ความรู้อย่างทั่วถึง ความรู้จริง ความรู้รอบ …………..ฉ.............๖. สุตมยปัญญา ..............ฐ.............๗. ปัญญาที่เกิดจากการคิด การฝึกใช้เหตุผล ..............ฑ.............๘. ภาวนามยปัญญา ..............ง.............๙. เชื่อว่าผลแห่งกรรมมีจริง ..............ฏ..........๑๐. เชื่อในพระปัญญาตรัสรู้ของงพระพุทธเจ้า


๒๒

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ประวัติและความสาคัญของพระพุทธศาสนา

คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย จานวน ๑๐ ข้อ ๒. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท ( X ) ในช่องอักษรข้อ ก ข ค หรือ ง เพียงข้อเดียว ๓. กาหนดเวลาทดสอบ ๑๐ นาที ๑. “จัณฑาล” มักถูกเหยียดหยามและไม่มีศักดิ์มีสิทธิ์ใด ๆ ในสังคม เหตุผลใดถูกต้องที่สุด ก. เพราะยากจน ข. เพราะเป็นกรรมกร ค. เพราะเป็นลูกจ้าง ง. เพราะบิดามารดาเป็นคนต่างวรรณะกัน ๒. การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าก่อให้เกิดผลต่าง ๆ ผลที่สาคัญที่สุด คือข้อใด ก. ก่อให้เกิดพระศาสดา ข. เกิดพุทธบริษัท ค. เกิดพุทธสถาน ง. ความเข้าใจความเป็นจริงที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ หรือ สัจธรรม ๓. ข้อใดคือผลที่เกิดจาก “กรรม” ก. มนุษย์กระทาเช่นไร ย่อมสามารถทาได้โดยไม่ได้รับผลตอบสนอง ข. มนุษย์สามารถกระทาการเช่นไรก็ได้ เพราะมีความเป็นอิสระ ค. มนุษย์กระทาเช่นไร ย่อมได้รับผลของการกระทาเช่นนั้น ง. มนุษย์หลุดพ้นจากกฎเกณฑ์ทั้งปวง เพราะความฉลาดกว่าสัตว์อื่น ๔. หลักการใด ไม่ใช่หลักการ ของพระพุทธศาสนา ก. หลักความเป็นกฎธรรมชาติ ข. หลักความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ค. หลักกฎแห่งกรรม ง. หลักของความเป็นเหตุเป็นผล ๕. ความเชื่อใดที่ถือว่า เป็นความเชื่อตามหลักพระพุทธศาสนา ก. ความเชื่อเทพเจ้า และการบวงสรวงเทพเจ้า ข. ความเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของพระรัตนตรัย ค. ความเชื่อทุกสรรพสิ่งเป็นไปตามเหตุปัจจัย ง. ความเชื่อในวิญญาณนิยม


๒๓

๖. ทาไมคาสอนของพระพุทธศาสนาจึงไม่มีคาว่า “เดา” หรือ “สันนิษฐาน” ก. เพราะพิสูจน์ไม่ได้ ข. เพราะเป็นหลักคาสอนที่เป็นความจริงที่มีเหตุผลสมบูรณ์ถูกต้อง ค. เพราะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ง. เพราะมีระยะเวลาที่จากัดจึงไม่สามารถเดา หรือสันนิษฐานได้ ๗. ความเชื่อเช่นไรถือว่า “ศรัทธานาไปสู่ปัญญา” ก. เชื่อตามตาราที่ได้มาตรฐาน แต่งโดยผู้รู้ ข. เชื่อตามทฤษฎีที่ได้พิสูจน์มาแล้ว ค. เชื่อแล้วค้นหาข้อเท็จจริง เพื่อให้ได้ความรู้ที่ถูกต้อง ง. เชื่อตามทีค่ ิดตรองตามแนวเหตุผลแล้ว ๘. คาว่า “วรรณะ” ตามหลักความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ คือข้อใด ก. ชนชั้นทางสังคม ข. ผิวพรรณ ค. ระบบการปกครอง ง. พิธีกรรมทางศาสนา ๙. เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนาจึงมีหลักการและวิธีการที่เป็นสากล ก. เป็นศาสนาที่แพร่หลายไปทั่วโลก ข. เป็นศาสนาที่มุ่งเน้นความสะดวกสบายของมนุษย์ ค. เป็นศาสนาที่มุ่งเอาชนะธรรมชาติ ง. เป็นศาสนาที่มุ่งเน้นความสันติสุขของมวลมนุษยชาติ ๑๐. ผลจากการก่อเกิดพระพุทธศาสนา มีผลต่อการปฏิรูปสังคมชมพูทวีปโดยตรงและโดยอ้อม อย่างไรบ้าง ก. การไม่แบ่งชั้นวรรณะ การแก้ไขความทุกข์ของสังคม การช่วยให้สังคมเกิดสันติสุข ข. การล่มสลายของศาสนาอื่น ๆ ค. การล่มสลายของชั้นวรรณะ ง. ความเชื่อในอเทวนิยม (ไม่เชื่อในพระเจ้า)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.