เล่มที่ ๓ เรื่อง ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธ ตัวอย่าง
๑
มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของ พระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนั บ ถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่ น และปฏิ บัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกัน อย่างสันติสุข
ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม.๔/๑๔ ๑. วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด
จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. อธิ บ ายประวั ติ พุ ท ธสาวก ได้ แ ก่ พระอั ส สชิ และน าวั ต รปฏิ บั ติ ข องท่ า นไปเป็ น แบบอย่ า ง ในการดาเนินชีวิตได้ ๒. อธิบายประวัติพุทธสาวก ได้แก่ พระกีสาโคตมีเถรี และนาวัตรปฏิบัติของท่านไปเป็นแบบอย่าง ในการดาเนินชีวิตได้ ๓. อธิบ ายประวัติพุ ทธสาวก ได้แก่ พระนางมัล ลิ กาและหมอชีวกโกมารภัจจ์ และนาวัตรปฏิบั ติ ของท่านไปเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิตได้ ๔. อธิ บ ายประวั ติ ช าวพุ ท ธตั ว อย่ า ง ได้ แ ก่ พระนาคเสน -พระยามิ ลิ น ท์ สมเด็ จ พระวั น รั ต พระอาจารย์ มั่ น ภู ริ ทั ต โต และสุ ชี พ ปุ ญ ญานุ ภ าพ และน าวั ต รปฏิ บั ติ ข องท่ า นไปเป็ น แบบอย่ า ง ในการดาเนินชีวิตได้
๒
เรื่อง ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธตัวอย่าง คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย จานวน ๑๕ ข้อ ๒. ให้นักเรียนทาเครือ่ งหมายกากบาท ( X ) ในช่องอักษรข้อ ก ข ค หรือ ง เพียงข้อเดียว ๓. กาหนดเวลาทดสอบ ๑๕ นาที ๑. พระอัสสชิเป็นพระอาจารย์ของพระสาวกรูปใด ก. พระสารีบุตร ข. พระโมคคัลลานะ ค. พระยสกุลบุตร ง. พระนาคเสน ๒. พระอัสสชิ มีคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างเด่นชัดที่สุดในข้อใด ก. กตัญญู ข. เป็นผู้มีชีวิตเรียบง่าย ค. เป็นผู้เข้าใจโลกและชีวิต ง. มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ๓. การกระทาใดที่แสดงว่า พระอัสสชิเป็นผู้มั่นคงในหลักการของพระพุทธศาสนา ก. เทศนาได้ใจความครอบคลุมหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ข. เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านความประพฤติเคร่งครัด ค. สามารถโต้วาทะกับศิษย์เอกของนิครนถ์นาฏบุตร ง. ทาหน้าที่ถ่ายทอดศิลปวิทยาแก่บุตร ๔. “ชีวิตนี้ไม่เที่ยงทุกคนจะต้องตาย” แง่คิดข้อนี้ได้จากการศึกษาประวัติของใคร ก. พระอัสสชิ ข. พระนางมัลลิกา ค. พระกีสาโคตมีเถรี ง. หมอชีวกโกมารภัจจ์
๓
๕. สตรีทั้งหลายเมื่อมีความทุกข์มักจะไปฟังธรรมจากผู้ใด ก. พระอัสสชิ ข. พระสารีบุตร ค. พระโมคคัลลานะ ง. พระกีสาโคตมีเถรี ๖. พระนางมัลลิกาเป็นผู้มีคุณธรรมในเรื่องใดเด่นชัด ก. ความอดทน ข. ความซื่อสัตย์ ค. มีชีวิตเรียบง่าย ง. มีไหวพริบ ๗. ผู้ใดมีส่วนสาคัญที่ทาให้พระพุทธเจ้าประทานอนุญาตให้พระสงฆ์รับผ้าที่ชาวบ้านมาถวาย เป็นจีวรได้ ก. พระเจ้าปเสนทิโกศล ข. พระนางมัลลิกา ค. พระกีสาโคตมีเถรี ง. หมอชีวกโกมารภัจจ์ ๘. “ก่อนจะทาอะไรก็ขอให้นึกถึงพระ” ข้อความนี้สอดคล้องกับการกระทาของใคร ก. นางสุชาดา ข. พระนางมัลลิกา ค. โสตถิยะ ง. หมอชีวกโกมารภัจจ์ ๙. หมอชีวกโกมารภัจจ์มีคุณธรรมในเรื่องใดเด่นชัด ก. ความคิดกว้างไกล ข. ความกตัญญูกตเวที ค. ความมีไหวพริบ ง. ความเสียสละอย่างยิ่ง ๑๐. พระกีสาโคตมีเถรีได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ที่มีความเป็นเลิศด้านใด ก. มีปัญญามาก ข. เคร่งครัดในพระธรรมวินัย ค. มั่นคงในพระรัตนตรัย ง. ในทางทรงจีวรเศร้าหมอง มีความเป็นอยู่เรียบง่าย
๔
๑๑. ผู้ใดเป็นนักเทศน์ที่ใช้เทคนิคการเปรียบเทียบโดยยกอุปมา อุปมัยมาเปรียบให้เห็นเป็นรูปธรรม ก. พระสารีบุตร ข. พระนาคเสน ค. พระอุบาลี ง. พระอัสสชิ ๑๒. ผู้ที่มีส่วนสาคัญที่ทาให้พระนาคเสนบวชในพระพุทธศาสนาคือใคร ก. พระโรหณะ ข. พระติสสทัตตะ ค. พระอัสสคุตตะ ง. พระธัมมรักขิต ๑๓. หนังสือที่บันทึกข้อความการสนทนาโต้ตอบระหว่างพระยามิลินท์กับพระนาคเสนมีชื่อว่าอะไร ก. พุทธปัญหา ข. นาคเสนปัญหา ค. เมนันเดอร์ปัญหา ง. มิลินทปัญหา ๑๔. หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตมีคุณธรรมเรื่องใดที่เด่นชัด ก. ความกตัญญู ข. ความอ่อนน้อมถ่อมตน ค. ความเป็นผู้เสมอต้นเสมอปลาย ง. ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติธรรม ๑๕. ผู้ที่มีส่วนร่วมในการก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกคือใคร ก. พระพิมลธรรม ข. หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ค. สุชีพ ปุญญานุภาพ ง. สมเด็จพระวันรัต
๔๑
แบบทดสอบก่อนเรียน ข้อ
.
๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕.
แบบทดสอบหลังเรียน
คาตอบ
ข้อ
คาตอบ
ก ง ข ค ง ก ง ข ง ง ข ก ง ง ค
๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕.
ก ก ง ค ง ก ข ง ง ง ก ข ง ง ค
๕
สวัสดีค่ะนักเรียน เรามาเริ่มศึกษาเนื้อหากันนะคะ
ภาพที่ ๑ พระอัสสชิเถระ ที่มา http:// www.krukanlayanee1.blogspot.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
พระอั ส สชิ เถระเป็ น บุ ตรของพราหมณ์ ผู้ ห นึ่ งในกรุงกบิ ล พั ส ดุ์ บิ ดาของท่ านเป็ น หนึ่ ง ในจ านวนพราหมณ์ ๘ คนที่ ได้ รับ เชิ ญ ไปท านายพระลั ก ษณะและขนานพระนามเจ้ า ชาย สิทธัตถะ ครั้งเมื่อเจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช โกณฑัญญพราหมณ์ซึ่งเป็นผู้หนึ่งในจานวน พราหมณ์ ๘ คนนั้นเชื่อว่าเจ้าชายสิทธัตถะจะได้ตรัสรู้แน่นอนจึงได้ชักชวนท่านอัสสชิพร้อมสหาย ไปเฝ้ าปรนนิ บั ติขณะที่เจ้ าชายสิ ท ธัตถะทรงบาเพ็ ญ ทุ กรกิริยา อยู่ ณ อุรุเวลาเสนานิ คมและ เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะทรงเลิกบาเพ็ญทุกรกิริยา ท่านอัสสชิพร้อมด้วยสหายได้พากันหนีไปอยู่ที่ ป่าอิสิปกตนมฤคทายวันแขวงเมืองพาราณสี ครั้นเจ้าชายสิทธัตถะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าแล้ว พระองค์ได้เสด็จไปโปรดปั ญจวัคคีย์ทั้ง ๕ โดยแสดงธรรมเทศนาชื่อว่ า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร เมื่อจบพระธรรมเทศนา ท่านอัส สชิได้ดวงตาเห็ นธรรมและได้บวชเป็นสาวกของระพุทธองค์ เช่นเดียวกับสหายทั้ง ๔
๖
พระพุทธเจ้าได้อุปสมบทให้ด้วยวิธี เอหิภิกขุอุปสัมปทา ต่อมาได้ฟังพระธรรมเทศนา ชื่อว่า อนัตตลักขณสูตร ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงจึงได้บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ พระอัสสชิ เป็ น ก าลั ง ส าคั ญ ท่ า นหนึ่ ง ที่ ช่ ว ยประกาศพระศาสนาและท่ า นยั ง เป็ น ผู้ เฉลี ย วฉลาด รู้ จั ก ประมาณตน ไม่โอ้อวดหรือมีความเย่อหยิ่งตลอดถึงกิริยามารยาเรียบร้อยน่าเลื่อมใส หลังจากบรรลุพระอรหันต์แล้ว พระอัสสชิเถระได้เป็นหนึ่งในจานวน พระสาวก ๖๐ รูป ที่พระพุทธเจ้าทรงส่งไปประกาศ ในเช้าวันหนึ่งพระอัสสชิได้เข้าไปบิณฑบาตในกรุงราชคฤห์ อุป ติสสะปริพาชก เดินทางมาพบ พระอัสสชิแล้วเกิดความเลื่อมใสในพระจริยาวัตรของท่าน จึ งขอให้ แ สดงธรรมให้ ฟั ง พระเถระออกตั ว ว่ า บวชเรี ย นมาไม่ น าน ไม่ ส ามารถแสดงธรรม โดยพิสดารได้ อุปติสะกราบท่านว่าแสดงแต่โดยย่อก็ได้ พระอัสสชิได้แสดงแก่นแห่งอริยสัจ ๔ ให้อุปติสสะฟัง อุปติสสะปริพาชกได้ฟังธรรมจากพระอัสสชิได้ดวงตาเห็นธรรมจึงรีบไปบอกแก่ โกลิตะผู้เป็นสหาย โกลิตะได้ฟังคาถาบทนั้นก็ได้บรรลุโสดาปัตติผลเช่นกัน ต่อมาพระอัสสชิจึงได้ ชักนาให้ไปเข้าเฝ้าพระบรมศาสดา ปรากฏว่าภายหลังอุปติสสะและโกลิตะได้บรรพชาอุปสมบท ในพระพุทธศาสนา อุปติสสะปริพาชก มีนามว่าพระสารีบุตรเป็นอัครสาวกเบื้องขวาและโกลิตะ ปริพ าชกมีน ามว่า พระโมคคัล ลานะเป็น อัครสาวกเบื้องซ้ายซึ่งจะเห็ น ว่า พระอัส สชิได้ศิษ ย์ ที่มีความสาคัญองค์หนึ่งในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
๗
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง ๑. เป็นครูที่ดี ๒. เป็ นผู้ มี จริ ยาวั ตรงดงามน่ าเลื่ อมใส เป็ นผู้ มี สติ ปั ญ ญาเฉลี ยวฉลาดรู้ จั ก ประมาณตนและเป็ น ผู้ มั่ น คงในหลั กการของพระพุ ทธศาสนา ซึ่ งชอบแสดงธรรม โดยสังเขป ๓. เป็นผู้อ่อนน้อมถ่อมตน มิได้โอ้อวดว่าตนมีความรู้แต่ประการใด
สรุปข้อคิดจากประวัติพระอัสสชิ ๑. ความเป็นคนอ่อนน้อมถ่อมตน ไม่โอ้อวด ๒. กิริยามารยาทเรียบร้อย ๓. ความเฉลียวฉลาด แนวทางการปฏิบัติ ๑. รู้จักการประมาณตนในการทางานใด ๆ ๒. ฝึกกากับพฤติกรรมกิริยามารยาทตัวเองให้ดี ๓. ศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ
๘
ภาพที่ ๒ พระกีสาโคตมีเถรี ที่มา http:// www.kaeake.blogspot.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ประวัติ : พระกีสาโคตมีเถรี กีส าโคตมี เถรี เกิ ด ในวรรณะแพศย์ นางเป็ น ธิด าแห่ ง กรุงสาวัต ถี ชื่ อ เดิ ม ของนางว่า โคตมี แต่เพราะตัวผอม เขาจึงเรียกว่า กีสาโคตมี นางเกิดในตระกูลเศรษฐี แห่ ง เมื อ งสาวั ต ถี แ ต่ เพราะครอบครั ว นางประสบวิ กฤตการณ์ บางอย่ างท าให้ กลาย เป็นคนยากจน เมื่อถึงเวลาเจริญวัยก็เริ่มไปสู่การครองเรือน แต่ก่อนที่นางจะมีคู่ครอง มีเหตุแห่งนิมิตที่บอกว่านางกีสาโคตรมีเป็นผู้มีบุญบารมีให้ปรากฏแก่ตระกูลของสามี ซึ่งเป็นเศรษฐี ดังมีเรื่องเล่าว่าในเรือนของเศรษฐีคนหนึ่ง ในกรุงสาวัตถี ทองที่ได้เก็บ สะสมมาอยู่ๆก็กลายเป็นถ่านไปหมด เศรษฐี เกิดความเศร้าโศก ไม่ยอมทานอาหาร นอนอยู่บ นเตียงอย่ างเดียว สหายผู้ ห นึ่งของเศรษฐี ได้ ถามว่า “เหตุ ใดจึงเศร้าโศก เล่ า เพื่ อ น”เศรษฐี ก็ เ ล่ า เรื่ อ งราวให้ ส หายฟั ง ครั้ น เมื่ อ ได้ ฟั ง เรื่ อ งราวทั้ ง หมด จนทราบความแล้วสหายผู้นั้นจึงกล่าวว่า“อย่าเศร้าโศกเลยเพื่อน ฉันมีอุบายอย่างหนึ่ง จงทาอุบายนั้นเถิด.” เศรษฐี : ทาอย่างไรเล่าเพื่อน สหาย : เพื่ อ น ท่ า นจงปู เสื่ อ ล าแพนที่ ต ลาดของตน น าทองที่ ก ลาย เป็นถ่านไปกองไว้ ทาเหมือนนั่งขาย ถ้ามีผู้มาพูดกับท่านว่า “คนอื่นเขา ขายผ้า น้ามัน น้ าผึ้ ง และน้ าอ้อยกัน ส่ ว นท่านกลั บ นั่งขายถ่าน” ท่านก็จงพูด กับคนเหล่ านั้ น ว่า “ถ้าเราไม่ขายของๆตน แล้วเราจักทาอะไร”แต่ถ้ามีผู้ใดพูดกับท่านว่า“คนอื่นขายผ้า น้ามัน น้าผึ้งและน้าอ้อย ส่วนท่านทาไมนาทองมาวางขาย”
๙
ท่านก็จงพูดกับผู้นั้นว่า “ไหนกันทอง” เมื่อเธอพูดว่า “นี้ไงเล่า”ท่านก็ จงให้ เขาหยิ บก้อนถ่านขึ้นมาให้ ท่าน และจงรับด้วยมือทั้งสอง ก้อนถ่านที่เขา หยิบ มาใส่ ในมือของท่านก็จะกับมาเป็นทองดังเดิม และถ้าผู้ นั้นเป็น หญิงสาว วัย รุ่น ท่ านจงให้ น างแต่งงานกับ บุ ตรของท่ าน ถ้าเป็ น ผู้ ช ายท่ านก็ พึ งให้ ธิด า ผู้เจริญวัยแล้วในเรือนของท่านแก่เขา เศรษฐีนั้นกล่าวว่า “อุบายดี” จึงนาถ่านไปกองไว้ในร้านตลาดของตน นั่งทาเหมือนจะขาย ครั้งนั้น หญิงรุ่นสาวคนหนึ่งชื่อโคตมี ปรากฏชื่อว่า “กีสาโคตมี”เพราะ นางมี ส รี ร ะบอบบาง เป็ น ธิ ด าของตระกู ล เก่ า แก่ ไปยั งประตู ต ลาดด้ ว ยกิ จ อย่างหนึ่งของตน เห็นเศรษฐีนั้น จึงกล่าวทักว่า “พ่อ คนอื่น ขายผ้ า น้ามัน น้าผึ้ง และน้าอ้อย ส่วนท่านทาไมนาทอง มาวางขาย” เศรษฐีถามว่า เงินทองที่ไหนเล่า แม่ นางโคตมี จึ ง จั บ ก้ อ นถ่ า นนั้ น ขึ้ น มาแล้ ว ถามว่ า นี่ ไ ม่ ใ ช่ ท องหรื อ แล้วนางก็หยิบก้อนถ่านนั้นวางไว้ในมือของเศรษฐี ถ่านนั้นได้กับกลายเป็นทอง ดั งเดิ ม เศรษฐี ถ ามนางว่า “แม่ เรือ นเจ้ าอยู่ ไหน.” เมื่ อ นางบอกสถานที่ อ ยู่ ของนางและเศรษฐีซักถามจนรู้ความที่นางยังไม่มีสามี จึงไปสู่ขอนางให้แต่งงาน กับบุตรของตน ต่อมานางตั้งครรภ์ เวลาผ่านไป ๙ เดือน นางก็ได้คลอดบุตรชาย คนหนึ่ง ครั้นเมื่อบุตรชายของนางอยู่ในวัยพอจะวิ่งไปวิ่งมาเล่นได้ก็มาตายเสีย ความเศร้าโศกก็ได้เกิดขึ้นแก่นาง นางห้ามไม่ให้ใครนาบุตรชายของนางไปเผา เพราะนางไม่เคยเห็นความตาย จึงอุ้มบุตรใส่ เอวเที่ยวเดินไปตามบ้านเรือนแล้ว พูดว่า ขอพวกท่านจงให้ยาแก่บุตรของเราด้วยเถิด
พระกี ส าโคตรมี เ ถรี จึ ง ได้ รั บ การยกย่ อ งจากพระพุ ท ธเจ้ า ว่ า เป็ น “เอตทั ค คะ” (ความเป็ น เลิ ศ กว่ า ผู้ อื่ น ) ในทางทรงจี ว รเศร้ า หมองเป็ น ผู้ ถื อ ธุดงควัตรเคร่งครัด มีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง ๑. เป็นผู้มีความเคารพนอบน้อมยิ่ง
๑๐
ครั้นเมื่อนางเที่ยวเดินถามไปว่า“ท่านทั้งหลายรู้จักยาเพื่อรักษาบุตรของฉัน บ้างไหม”คนทั้งหลายก็พูดกับนางว่า “แม่ เจ้าเป็นบ้าไปแล้วหรือ เจ้าเที่ยวถามถึงยา เพื่อรักษาบุตรที่ตายแล้ว.” พวกคนทั้งหลายต่างก็กระทาการเย้ยหยันว่า ยาสาหรับ คนตายแล้ ว ท่ านเคยเห็ น ที่ ไหนบ้ าง แต่ น างก็ มิ ได้ เข้ า ใจความหมายแห่ งค าพู ด ของพวกเขาเลย มี บุ รุ ษ ผู้ เป็ น บั ณ ฑิ ต คนหนึ่ ง เห็ น นางแล้ ว คิ ด ว่ า “หญิ ง คนนี้ คงจะคลอดบุ ตรคนแรก ยั งไม่เคยพบเห็ นความตายเราควรจะเป็นที่พึ่งของหญิ ง ผู้นี้” จึงกล่าวว่า “แม่ฉันไม่รู้จักยา แต่ฉันรู้จักคนผู้มยี า.” นางโคตมี: ใครหรือ พ่อ บัณฑิต: แม่ พระพุทธองค์ทรงทราบ จงไปทูลถามพระองค์เถิด นางกล่าวว่า “พ่อ ฉันจะไป ขอบใจพ่อมาก” ดังนั้น นางจึงไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ถวายบังคมแล้ว ทูลถามว่า “ทราบว่า พระองค์ทรงมียาเพื่อรักษาบุตรชายของหม่อมฉันหรือพระเจ้าข้า.” พระพุทธองค์: เราพอรู้วิธีปรุงยา นางโคตรมี : ต้องทาอย่างไรพระเจ้าข้า พระพุทธองค์ : เจ้าต้องไปหาเมล็ ดพันธุ์ผั กกาดมาสักหยิบมือหนึ่ง แต่ เมล็ ด พันธุ์ผักกาดนั้นต้องมาจากบ้านที่ไม่เคยมีคนเตยมาก่อนเลยจึงจะใช้มาปรุงยาได้ นางทู ล รั บ ว่า “ได้ พระเจ้ าข้า ” แล้ ว ถวายบั งคมลาพระพุ ท ธองค์ อุ้ ม บุ ต ร ผู้ตายแล้วเข้าเอว แล้วเที่ยวไปถามหาเมล็ดพันธ์ผักกาดทั่วทุกบ้านทุกครัวเรือนแต่นาง ก็ห าเมล็ดพันธุ์ผักกาดจากบ้านที่ไม่เคยมีคนตายไม่ได้แม้แต่ หลังเดียว นางจึงได้ส ติ เข้าใจว่า “ความตายนี้เป็นอย่างนี้ และคนที่ ตายก็มิใช่ว่าจะตายเฉพาะลูกของนาง เท่านั้น ทุกคนเกิดมาก็ต้องตายเหมือนกันหมด”นางจึงได้กลับมาเฝ้าพระพุทธองค์ อีกครั้ง พระพุ ท ธองค์ ได้ ต รั ส สอนว่ า “โคตมี อั น ความตายนั้ น เป็ น ของธรรมดา ที่มีคู่กับสัตว์ทั้งหลายที่เกิ ดมาในโลก” นางได้ฟังพระดารัส ของพระพุทธองค์จบลง ก็ ได้ บ รรลุ อ ริ ย มรรคผลด ารงตนอยู่ ในพระโสดาบั น แล้ ว กราบทู ล ขอบรรพชา พระบรมศาสดารับสั่งให้ไปบรรพชาในสานักของนางภิกษุณี นางบวชแล้ว ได้นามว่า “กีสาโคตมี”
๑๑
พระกี ส าโคตรมี เถรี จึ ง ได้ รั บ การยกย่ อ งจากพระพุ ท ธองค์ ว่ า เป็ น “เอตทั ค คะ” (ความเป็ น เลิ ศ กว่ า ผู้ อื่ น ) ในทางทรงจี ว รเศร้ า หมองเป็ น ผู้ ถื อ ธุดงควัตรเคร่งครัด มีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง ๑. เป็นผู้มีความเคารพนอบน้อมยิ่ง ๒. เป็นผู้มีความคิดฉับไวฉลาดในการใช้ปัญญาพิจารณาสภาพรอบกาย ๓. เป็นครูที่ดีของสตรีทั้งหลาย เช่นเดียวกับ พระปฏาจาราเถรี ๔. เป็นผู้มีชีวิตเรียบง่าย เคร่งครัดในการใช้สอยบริขารจนได้รับการ ยกย่องจากองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่าเป็นผู้เลิศกว่านางภิกษุณีทั้งหลายในการ ทรงจีวรอันเศร้าหมอง
ข้อคิดจากประวัติพระกีสาโคตมีเถรี พระกีสาโคตมีเถรีเป็นบุคคลฉลาด สามารถเข้าใจปัญหาในยาม วิกฤติได้ดีจนสามารถเข้าใจชีวิตและบรรลุธรรมในที่สุด แนวทางการปฏิบัติ รู้จักพลิกวิกฤติเป็นโอกาส เมื่อเจอปัญหาต่าง ๆ ต้องตั้งสติและ หาทางแก้ไขด้วยเหตุผล
๑๒
แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๑ เรื่อง ประวัติพระอัสสชิและพระกีสาโคตมีเถรี คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์
๑. เพราะเหตุใดพระอัสสชิ จึงได้มาเป็นอาจารย์ของพระสารีบุตร ............................................................................................................................................................ ........... ๒. ก่อนแต่งงาน พระกีสาโคตรมีเถรีมีลักษณะพื้นฐานทางครอบครัวเป็นอย่างไร ...................................................................................................................................................................... ๓. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระอัสสชิมีลักษณะเป็นอย่างไร ...................................................................................................................................................................... ๔. พระอัสสชิเป็นครูที่ดีโดยมีหลักการถ่ายทอดศิลปวิทยาอย่างไรบ้าง ...................................................................................................................................................................... ๕. ยาหรือการรักษาที่พระพุทธเจ้าทรงใช้รักษาพระกีสาโคตรมีเถรีคืออะไร ...................................................................................................................................................................... ๖. พระกีสาโคตมีเถรี ต้องไปหาสิ่งใดมาใช้ทาเป็นยาเพื่อรักษาบุตรชายของนาง .......................................................................................................................... ........................................... ๗. ภายหลังจากที่อุปติสสะได้ดวงตาเห็นธรรม ท่านได้กระทาการอย่างไรต่อไป ............................................................................................................................. ......................................... ๘. พระธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนแก่พระกีสาโคตรมีเถรีที่ทาให้ท่านบรรลุโสดาบันนั้นว่าอย่างไร ............................................................................................................................. ......................................... ๙. ความอ่อนน้อมถ่อมตนของพระอัสสชิที่ควรถือเป็นแบบอย่างนั้นปรากฏอยู่ในตอนใดของประวัติท่าน ...................................................................................................................................................................... ๑๐. นักเรียนศึกษา ประวัติของพระกีสาโคตมีเถรีแล้ว นักเรียนได้ข้อคิดอย่างไรไปใช้ในการดาเนิน ชีวิตประจาวัน ......................................................................................................................................................................
๔๒
เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๑ เรื่อง ประวัติพระอัสสชิและพระกีสาโคตมีเถรี คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์
๑. เพราะเหตุใดพระอัสสชิ จึงได้มาเป็นอาจารย์ของพระสารีบุตร ตอบ พระสารีบุตรในขณะที่เป็นอุปติสสะได้พบกับพระอัสสชิขณะที่ออกบิณฑบาตจึงเกิดความประทับใจ ในอิริยาบถอันสารวม จึงได้เข้าไปนมัสการพระอัสสชิ และเรียนถามพระธรรมจากท่าน พระอัสสชิก็เลยแสดง ธรรมโดยย่อให้ฟัง ส่งผลให้อุปติสสะบรรลุโสดาปัตติผล นับตั้งแต่นั้นมาอุปติสสะหรือ พระสารีบุตรจึงนับถือ พระอัสสชิเป็นอาจารย์ของตน ๒. ก่อนแต่งงาน พระกีสาโคตรมีเถรีมีลักษณะพื้นฐานทางครอบครัวเป็นอย่างไร ตอบ พระกีสาโคตมีเถรีเกิดในวรรณะแพศย์ นางมีชื่อเดิมว่า “โคตรมี” เดิมนั้นพระกีสาโคตรมีเถรีเคยเป็นอดีตธิดา ของมหาเศรษฐีแห่งเมืองสาวัตถี แต่ในเวลาต่อมาตระกูลของนางประสบวิกฤตการณ์บางอย่างทาให้กลายเป็นคนยากจน ๓. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระอัสสชิมีลักษณะเป็นอย่างไร ตอบ พระอัสสชิจะปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่น่าเลื่อมใส และบุคลิกภาพที่สารวมน่าเลื่อมใสศรัทธาและเป็น ที่ประทับใจแก่ผู้พบเห็น ๔. พระอัสสชิเป็นครูที่ดีโดยมีหลักการถ่ายทอดศิลปวิทยาอย่างไรบ้าง ตอบ พระอัสสชิมีความสามารถในการถ่ายทอดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ลึกซึ้งให้แก่อุปติสสะฟัง อย่างกะทัดรัดและเข้าใจง่ายทาให้อุปติสสะดวงตาเห็นธรรม จึงถือว่าพระอัสสชิเป็นครูที่ดี ๕. ยาหรือการรักษาที่พระพุทธเจ้าทรงใช้รักษาพระกีสาโคตรมีเถรีคืออะไร ตอบ สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงใช้รักษาพระกีสาโคตรมีเถรีก็คือ สติและปัญญา ๖. พระกีสาโคตมีเถรี ต้องไปหาสิ่งใดมาใช้ทาเป็นยาเพื่อรักษาบุตรชายของนาง ตอบ พระกีสาโคตมีเถรีต้องไปหาเมล็ดพันธุ์ผักกาดที่ได้จากบ้านที่ไม่เคยมีคนตายมาก่อนเท่านั้นเพื่อมาใช้ ปรุงเป็นยารักษาบุตรชายของนาง
๔๓
เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๑ (ต่อ) เรื่อง ประวัติพระอัสสชิและพระกีสาโคตมีเถรี
๗. ภายหลังจากที่อุปติสสะได้ดวงตาเห็นธรรม ท่านได้กระทาการอย่างไรต่อไป ตอบ อุปติสสะได้ชักชวนสหายที่ชื่อ โกลิตะมาฟังธรรมจนบบรรลุโสดาปัตติผลเดียวกันกับตนเอง ๘. พระธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสสอนแก่พระกีสาโคตรมีเถรีที่ทาให้ท่านบรรลุโสดาบันนั้นว่าอย่างไร ตอบ พระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสแก่พระกีสาโคตรมีเถรี ก็คือ อันความตายนั้นเป็นของธรรมดา ที่มีคู่กับสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาในโลก” เมื่อพระกีสาโคตรมีได้ฟังก็คิดได้และบรรลุโสดาปัตติผล ๙. ความอ่อนน้อมถ่อมตนของพระอัสสชิที่ควรถือเป็นแบบอย่างนั้นปรากฏอยู่ในตอนใดของประวัติท่าน ตอบ ตอนที่พระอัสสชิพบกับอุปติสสะ เมื่ออุปติสสะมาขอให้ท่านแสดงธรรมให้ฟัง พระอัสสชิก็ตอบอย่าง อ่อนน้อมถ่อมตนว่าตนเองเพิ่งบวชมาไม่นานคงแสดงธรรมให้ฟังโดยลึกซึ้งไม่ได้ ๑๐. นักเรียนศึกษา ประวัติของพระกีสาโคตมีเถรีแล้ว นักเรียนได้ข้อคิดอย่างไรไปใช้ในการดาเนิน ชีวิตประจาวัน ตอบ ได้ข้อคิดที่ว่า พระกีสาโคตมีเถรีเป็นบุคคลฉลาด สามารถเข้าใจปัญหาในยามวิกฤติได้ดีจนสามารถ เข้าใจชีวิตและบรรลุธรรมในที่สุด ดังนั้นจึงสมารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้เมื่อเราเจอปัญญา ก็ต้องใช้เหตุผลและสติ ในการแก้ไขปัญญา เช่นเดียวกับพระกีสาโคตมีเถรี ( ถ้านักเรียนตอบนอกเหนือจากนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน)
๑๓
ภาพที่ ๓ พระนางมัลลิกา ที่มา http://www. thaihistory.myreadyweb.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
พระนางมัลลิกาเป็นราชธิดาของกษัตริย์พระองค์หนึ่งในเมืองกุสินาราแห่งแคว้นมัลละ พระนางเป็ น หญิ งเบญจกั ล ยาณี ที่ มีค วามงามพร้อมทุ กสั ด ส่ ว น คือ มี ผ มงาม ริมฝี ป ากงาม ฟันงาม ผิวพรรณงาม และวัยงาม เมื่อเจริญวัย พระนางมัลลิกาก็ได้ส มรสกับเสนาบดีพันธุละ โอรสของกษั ต ริ ย์ อี ก พระองค์ ห นึ่ ง ในเมื อ งกุ สิ น าราเช่ น กั น จากนั้ น ได้ พ ากั น อพยพไปอยู่ เมื อ งสาวั ต ถี แคว้ น โกศล เพื่ อ ไปพึ่ ง บารมี พ ระเจ้ า ปเสนทิ โ กศลผู้ เป็ น พระสหายสนิ ท พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงทราบว่า เสนาบดีพันธุละพระสหายมีฝีมือในการทาสงครามจึงโปรด แต่งตั้งให้เป็นเสนาบดีบัญชาการกองทัพ เมื่ อ พระพุ ท ธเจ้ า ได้ เสด็ จ มาประกาศพระศาสนา ณ แคว้ น โกศลท าให้ ศ าสนา ได้แพร่หลายที่เมืองสาวัตถี ประชาชนพากันนับถือพระพุทธศาสนาเป็นจานวนมาก ได้มีการ สร้ างวั ด พระพุ ท ธศาสนาขึ้ น ๒ วัด คื อ วัด เชตวัน สร้างถวายโดยอนาถบิ ณ ฑิ ก เศรษฐี แ ละ วัดบุพพารามสร้างถวายโดยนางวิสาขา เสนาบดีพันธุละและพระนางมัลลิกาได้มีโอกาสฟังธรรม ของพระพุทธเจ้าและได้ นับถือพระพุทธศาสนาจากวัดทั้งสองแห่งนี้ เสนาบดีพันธุละและ พระนางมัลลิกาได้สมรสกันแล้วหลายปี แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน ตามธรรมเนียมอินเดียสมัยนั้นถือเคร่งครัดว่า ถ้าสตรีใดไม่มีบุตรกับสามี สตรีนั้นเป็นอัปมงคล เสนาบดีพันธุละจึงส่งพระนางมัลลิกากลับเมืองกุสินารา การส่งพระนางมัลลิกากลับนั้นเท่ากับ ไม่ยอมรับความเป็ นภรรยาสามี พระนางมัลลิกาจึงยอมกลับบ้านเมืองของตน ก่อนถูกส่งตัว กลับ พระนางขออนุ ญ าตไปกราบทูลพระพุทธเจ้าที่เชตวัน พระพุทธเจ้าตรัสถาม ทรงทราบ ความจริงแล้วตรัสแก่พระนางมัลลิกาว่า ไม่ต้องกลับไปบ้านหรอก กลับไปอยู่กับท่านเสนาบดี พันธุละเถิด เสนาพันธุละได้เห็นพระนางมัลลิกากลับมาจึงถามว่า กลับมาทาไม เมื่อพระนาง มั ล ลิ ก าเล่ าเรื่ อ งทั้ งหมดให้ ฟั งแล้ ว เสนาพั น ธุ ล ะจึ งราพึ งว่า พระพุ ท ธเจ้ าคงเห็ น การณ์ ไกล บางอย่าง จึงให้พระนางมัลลิกากลับ เสนาบดีพันธุละจึงรับพระนางมัลลิกาไว้เป็นชายาตามเดิม
๑๔
ต่อมาพระนางได้แพ้ ท้องอยากลงอาบน้าและดื่ม น้าในสระโบกขรณี อัน เป็นสระน้ามงคล เป็นที่หวงแหนของพวกเจ้าลิจฉวี แต่ด้วยความสงสารภรรยาพันธุละเสนาบดีจึงอุ้มภรรยา ขึ้นรถม้าพร้อมด้วยธนูพาภรรยาลงไปอาบน้าในสระน้ามงคลนี้ พวกเจ้าลิจฉวีเมื่อทราบว่า มี ผู้ บุ ก รุ ก จึ ง ส่ งพวกออกติ ด ตามมา พั น ธุ ล ะเสนาบดี เห็ น ดั ง นั้ น จึ งสั่ งภรรยาว่ า ถ้ า รถม้ า ที่ ต ามมาเป็ น แนวเดี ย วกั น เมื่ อ ใดให้ บ อกทั น ที เมื่ อ พระนางมั ล ลิ ก าบอกว่ า รถม้ า เป็ น แนวเดี ย วกั น แล้ ว พั น ธุ ล ะเสนาบดี ก็ ยิ ง ธนู ด้ ว ยความแรงและเร็ ว เจาะทะลุ หั ว ใจ ของเหล่ า มั ล ลกษั ต ริ ย์ ๕๐๐ คนล้ ม ลงสิ้ น ชี วิ ต หมด ต่ อ มาพระนางมั ล ลิ ก าก็ ค ลอดบุ ต ร เป็ น บุ ต รฝาแฝดถึ ง ๑๖ ครั้ ง รวมบุ ตรทั้ งหมด ๓๒ คน สร้างความปิ ติยิ น ดี เป็ น อย่ างยิ่ ง พระนางได้ อ บรมเลี้ ย งดู บุ ต รเป็ น อย่ างดี ให้ เล่ าเรีย นศิ ล ปวิท ยาเจริญ รอยตามพระบิ ด า เจ้ าชายพั น ธุ ล ะและได้ เข้ ารั บ ราชการทหารในกองทั พ เสนาบดี พั น ธุ ล ะเป็ น นายทหาร ชั้นผู้ ใหญ่ ที่จงรักภักดีต่อพระเจ้ า ปเสนทิโกศล เป็นคนซื่อตรงจนได้รับแต่งตั้งจากพระเจ้า ปเสนทิโกศลให้เป็ นผู้มีหน้ าที่ป ราบปรามข้าราชการที่ทุจริต ซึ่งเสนาบดีพันธุล ะได้ปฏิบัติ หน้าที่ได้อย่างดี เป็น ที่เคารพเชื่อถือของประชาชนทั่วไป แต่การปฏิบัติหน้าที่ปราบปราม ข้าราชการที่ทุจริตคดโกงนี้ได้ทาให้เสนาบดีพันธุละมี ศัตรูมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าราชการ ที่สูญเสียผลประโยชน์และอานาจ จึงได้ยุยงและใส่ความว่าเสนาบดีพันธุละคิดจะแย่งอานาจ ราชบัลลังก์จากพระเจ้าปเสนทิโกศล ครั้งแรกพระเจ้าปเสนทิโกศลทรงไม่เชื่อ แต่หนักๆเข้า ก็มี พ ระทั ย หวั่น ไหวทั้ งนี้ เพราะได้ สั งเกตเห็ น ความนั บ ถือ ของประชาชนชาวเมื อ งที่ มี ต่ อ เสนาบดีพันธุละ พระเจ้าปเสนทิโกศลจึงทรงให้คณะนายทหารวางแผนฆ่า พันธุละเสนาบดี พร้อมกับ บุตรชายทุกคนที่เป็นนายทหารในขณะที่เดินทางไปทาสงคราม พระนางมัลลิกา ทรงทราบข่าวร้ายจากผู้ที่หวังดีที่แอบเขียนจดหมายส่งข่าวมาบอกว่าสามี และบุตรชายของ นางทุกคนถูกฆ่าตาย ซึ่งในขณะนั้นพระนางมัลลิกากาลังทาบุญเลี้ยงพระที่บ้าน การทาบุญ เลี้ยงพระในครั้งนั้น พระนางมัลลิกาได้นิมนต์พระสารีบุตรมาเป็นประธานสงฆ์ขณะที่กาลัง ทาบุญเลี้ยงพระอยู่นั้ น หญิงรับ ใช้ได้ยกถาดอาหารออกมาเพื่อจะถวายพระสารีบุตรหกล้ม ท าให้ ถ าดอาหารหลุ ด มื อ ตกลงแตกกระจายต่ อ หน้ า พระสารีบุ ต รและพระนางมั ล ลิ ก า พระสารีบุตรจึงกล่าวเป็นทานองให้สติพระนางมัลลิกาว่า สิ่งของแตกสลายเป็นเรื่องธรรมดา มันแตกสลายไปแล้วก็ช่างเถอะ อย่าได้คิดเสียใจเลย เมื่อพระนางมัลลิกาได้ยินพระสารีบุตร กล่าวดังนั้น ก็ได้หยิบจดหมายลับซึ่งแจ้งข่าวร้ายเกี่ยวกับการตายของสามีและลูกๆของนาง ออกมาอ่านให้ พระสารีบุ ตรฟั ง พร้อมกับกล่ าวว่า สิ่ งของที่แตกสลายนี้ดิฉันทาใจได้ ไม่คิด เสี ย ใจแต่ อ ย่ า งใดแม้ แ ต่ ข่ า วร้ า ย คื อ การตายของพระสวามี แ ละลู ก ๆ ดิ ฉั น ยั งท าใจได้ ไม่เสียใจเลย เมื่อพระสารีบุตรพร้อมด้วยพระสงฆ์ฉันภัตตาหารเสร็จแล้วได้กล่าวอนุโมนทา แก่พระนางมัล ลิ กาว่า ชีวิตของสั ตว์ทั้งหลายในโลกนี้ไม่มีเครื่องหมายบอกให้ รู้ว่าอนาคต ข้างหน้าจะเป็นอย่างไร ไม่มีใครรู้ได้ทั้งลาบาก ทั้งอายุสั้น ซ้าเต็มไปด้วยความทุกข์
๑๕
ภายหลั ง ท าบุ ญ เลี้ ย งพระเสร็ จ แล้ ว พระนางมั ล ลิ ก าได้ เรี ย กลู ก สะใภ้ ทุ ก คนมาและ เล่าเรื่องทั้งหมดให้ฟัง พร้อมกับสอนลูกสะใภ้ว่า พวกเจ้าอย่าได้พยาบาทอาฆาตพระเจ้า ปเสนทิ โ กศลขอให้ คิ ด ว่ า บิ ด าและสามี ข องพวกเจ้ า ต้ อ งตายครั้ ง นี้ ไ ม่ มี ค วามผิ ด เป็นผู้บริสุทธิ์ แต่ตายเพราะถูกคายุยง เนื่องมาจากความอาฆาตริษยา ขอให้คิดว่าบิดา และสามีของพวกเจ้าตายเพราะกรรมเก่าที่เคยทามาก่อน ขอให้พวกเจ้าทุกคนอย่าได้โกรธ และอาฆาตเพราะจะเป็ น เวรติ ด ตั ว ต่ อ ไปอี ก ขอให้ อ ภั ย แก่ พ ระเจ้ า ปเสนทิ โ กศล เมื่อเสนาบดีพันธุละและบุตรชายทั้งหมดถูกฆ่าตายแล้ว พระเจ้าปเสนทิโกศลได้ส่งหน่วย สื บ ราชการลั บ ติ ดตามความเคลื่ อ นไหวของพระนางมั ล ลิ กาทุ กฝี ก้าว ทรงทราบเรื่อ ง ที่ พ ระนางมั ล ลิ กาท าบุ ญ เลี้ ย งพระและเรื่อ งที่ พ ระนางมั ล ลิ ก าประชุม ลู ก สะใภ้ ที่ บ้ าน เพื่อให้อภัยแก่พระองค์ พระองค์ทรงเสียพระทัยยิ่งนักแต่ก็สายเสียแล้ว พระองค์จึงเสด็จ ไปที่ บ้ านของพระนางมั ล ลิ กาแล้ วทรงสารภาพว่าพระองค์เป็น ฝ่ ายผิ ด ขอให้ พ ระนาง มั ล ลิ ก ายกโทษให้ พ ร้ อ มกั บ พระราชทานโอกาสแก่ พ ระนางมั ล ลิ ก าว่ า ต้ อ งการอะไร ขอให้บอกจะพระราชทานให้ทุกอย่าง พระนางมัลลิ กาจึงขอพระราชทานอนุญาตกลับ เมื อ งกุ สิ น าราบ้ า นเดิ ม ของตน พระเจ้ าปเสนทิ โกศลจ าต้ อ งพระราชทานโดยไม่ เต็ ม พระทัยนัก แต่เพื่อชดเชยกับเรื่องนี้ พระเจ้าปเสนทิโกศลจึงได้ทรงแต่งตั้งนายทหารผู้หนึ่ง ชื่ อ ที ฆ การายนะ ซึ่ งเป็ น หลานชายของเสนาบดี พั น ธุล ะขึ้ น เป็ น แม่ ทั พ ใหญ่ สื บ แทน ตาแหน่งของเสนาบดีพันธุละ พระนางมัลลิกาและลูกสะใภ้ได้กลับมาอยู่ที่เมืองกุสินารา ด้วยความผาสุก โดยวางใจตั้งมั่นอยู่ในหลักธรรมของพระพุทธศาสนา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมาเมืองกุสินาราและเสด็จปรินิพพานที่นั้น พระนางมัลลิกา และลูกสะใภ้ก็ได้พากันไปนมัสการพระพุท ธสรีระของพระพุทธเจ้า ด้วย พระนางมัลลิกา ได้อยู่ที่เมืองกุสินาราด้วยความสุขจนสิ้นชีวิต
๑๖
๑. ๒. ๓. ๔.
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง ปฏิบัติตนเป็นแม่และภรรยาที่ดี ซึ่งพิจารณาได้จากความอ่อนน้อมของพระนาง เป็นผู้มีความอดทน และมีสติสัมปชัญญะ เป็นผู้มีใจกว้างและน้าใจอันประเสริฐ เป็นผู้เข้าใจสัจธรรมแห่งชีวิต คือ เข้าใจโลกและชีวิตเป็นอย่างดี
ข้อคิดจากประวัติพระนางมัลลิกา 1. การมีความอดทนและสติสัมปชัญญะ 2. การมีความเมตตากรุณา 3. การปฏิบัติตนที่ดีอยู่ในหลักธรรมเข้าใจสัจธรรมของชีวิต แนวทางการปฏิบัติ 1. รู้จักอดทนอดกลั้นในสิ่งต่างๆที่เกิดขึ้นมีการไตร่ตรอง 2. มีความเมตตาต่อคนและสัตว์ 3. รู้จักหน้าที่ของตนปฏิบัติตนตามความรับผิดชอบของตน
๑๗
ภาพที่ ๔ หมอชีวกโกมารภัจจ์ ที่มา http:// www.th.wikipedia.org/wiki สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ประวัติ : ชีวกโกมารภัจจ์ เป็นลูกของนางสาลวดี ซึ่งเป็นหญิงโสเภณี ในเมืองราชคฤห์ ธรรมดาหญิงโสเภณีจะไม่เลี้ยงลูกชายจึงให้ สาวใช้นาลูกชายใส่กระด้งไปวางไว้ที่กองขยะ อภัยราชกุมาร พระราชโอรสของพระเจ้าพิมพิสารเสด็จประพาสพระนครผ่านมาเห็ น ฝูงนกการุมล้อมเด็กทารกอยู่ ตรัสสั่งให้นายสารถีไปดูว่าเด็กยังมีชีวิตอยู่หรือเปล่า เมื่อนายสารถี กลับมากราบทูลว่ายังมีชีวิตอยู่ จึงรับสั่งให้นาเข้าไปมอบให้นางนมเลี้ยงดู เป็นอย่างดีแล้วตั้งชื่อ ให้ ว่า“ชีวก”ซึ่งหมายความว่า “ชีวิต ” คื อรอดชีวิตมาได้ เมื่อเจริญ วัยขึ้นมา ทรงประทานนาม เพิ่มเติมว่า “โกมารภัจจ์” ซึ่งหมายถึง เป็นบุตรบุญธรรมของพระราชกุมาร เมื่อชีวกโกมารภัจจ์ เจริ ญ เติ บ โตเข้ า สู่ วัย เรี ย น และทราบว่า ตนเป็ น เด็ ก ก าพร้า จึงต้ อ งการที่ จ ะศึ ก ษาวิ ช าความรู้ เพื่อประกอบอาชีพ ในอนาคต อาชีพ ที่ เขาชอบ ก็คือ หมอรักษาโรคเพื่อช่ว ยเหลื อชีวิตมนุ ษ ย์ ดังนั้น เขาได้หนีออกจากวัง ไปศึกษา อยู่ที่สานักทิศาปาโมกข์ และสาเร็จ จบหลักสูตร ใน ๗ ปี ซึ่งปกติคนอื่น ๆ จะเรียนถึง ๑๖ ปี ชีวกโกมารภัจ จ์เป็ น ผู้มีอัธยาศัยดี และเคารพเชื่อฟังอยู่ ในโอวาทของอาจารย์ จึงทาให้ อาจารย์รักและยอมถ่ายทอดวิชาปรุงยาขนานเอกที่สามารถรักษาได้ ทุกโรคซึ่งเป็นวิชาที่ไม่ค่อย ถ่ายทอดให้แก่ผู้ใด พร้อมทั้งวิธีการรักษาโรค เมื่อเรียนจบแล้วก็ได้ลาอาจารย์กลับสู่เมืองของตน อาจารย์ได้ทดสอบความรู้โดยให้ เข้าไปสารวจป่าดูต้นไม้ ว่าต้นไหนใช้ ทายาไม่ได้ให้นาตัวอย่าง กลั บ มา ปรากฏว่าเขากลั บ มามื อ เปล่ าเพราะต้น ไม้ ทุ กต้ น ใช้ท ายาได้ ห มดอาจารย์จึ งอนุ ญ าต ให้ เขากลั บ บ้ านได้ หลั งจากกลั บ มายั งเมื องราชคฤห์ แล้ ว ชี วกได้ถวายการรักษาพระอาการ ประชวรของพระเจ้าพิมพิสารหายขาดจากโรค “ภคันทลาพาธ” (ริดสีดวงทวาร) จึงได้รับแต่งตั้ง ให้เป็นหมอหลวง พร้อมทั้งพระราชทานสวนมะม่วงให้เป็นสมบัติ
๑๘
ต่อมาชีว กได้ถวายสวนมะม่ วงแห่ งนี้ให้ เป็ นวัดที่ ป ระทั บ ของพระพุ ทธเจ้าและสาวก ทั้งหลาย ครั้งหนึ่งเขาไปถวายการรักษาพระเจ้าจัณฑปัชโชต หายจากโรคร้ายได้รับพระราชทาน ผ้าแพรเนื้ อละเอียดมาหนึ่ งผื น เขาน าไปถวายพระพุทธเจ้า แต่ในสมัยนั้น พระภิกษุส งฆ์ใช้ผ้ า บังสุกุลเพียงอย่างเดียว พระพุทธเจ้าไม่ทรงอนุญาตให้รับผ้าจีวรจากคฤหัสถ์ที่ทาถวาย หมอชีวก จึงกราบทูลพระพุทธเจ้าให้ทรงรับผ้าแพรที่เขาน้อมถวาย และให้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์รับผ้า ที่ชาวบ้านนามาถวาย หมอชี ว กโกมารภั จ จ์ เป็ น ผู้ มี ความศรัทธาต่อ พระพุ ท ธศาสนาเป็ น อย่างยิ่ ง กล่ าวคื อ เมื่ อว่างเว้น จากการรั กษาคนไข้ทั่ ว ไป ก็เข้าเฝ้ าใกล้ ชิด พระพุ ท ธเจ้ าอย่างน้ อยวัน ละ๒ เวลา เช้าเย็นเพื่อฟังธรรมและพยาบาลภิกษุผู้ป่ วยไข้และถวายการรักษาพระพุทธเจ้าอยู่ เป็นประจา ช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยไม่เลือกยากดีมีจน จนได้รับยกย่องจากพระพุทธเจ้าว่าเป็น “เอตทัคคะ”(ความเป็นเลิศกว่าผู้อื่น) ในทางเป็นที่รักของปวงชน ๑. ๒. ๓. ๔.
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง เป็นผู้มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง เมื่อถูกดูถูกแต่เด็กก็เลยคิดจะเรียนแพทย์ให้ได้ก็ทาได้ สาเร็จ เป็นผู้ใฝ่รู้และมีความพากเพียรสูง เช่น ทางานเพื่อแลกสิทธิกับการได้เรียน เป็นอุบาสกที่ดี เป็นแบบอย่างในการถวาย “คฤหบดีจีวร”( ผ้าที่คฤหัสถ์เป็นผู้ถวายโดย ไม่จากัดว่าจะเป็นเมื่อใด) เป็นผู้เสียสละอย่างยิ่ง เป็นแพทย์หลวง เป็นแพทย์ประจาพระองค์พระพุทธเจ้าและดูแล ประชาชน
ข้อคิดจากประวัติหมอชีวกโกมารภัจจ์ ๑. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน ๒. มีความเคารพเชื่อฟังครูอาจารย์ แนวทางการปฏิบัติ ๑. ตั้งใจศึกษาเล่าเรียน ๒. เคารพนับถือครูอาจารย์ที่อบรมสั่งสอน
๑๙
แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๒ เรื่อง พระนางมัลลิกา และหมอชีวกโกมารภัจจ์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์ ๑. พระนางมัลลิกา มีปัญหาใดในการครองเรือน ................................................................................................................................................... ๒. การลาพระพุทธเจ้ากลับเมืองของพระนางมัลลิกาให้แนวคิดที่ดีแก่ชาวพุทธเรื่องใด ........................................................................................................................................................ ๓. เหตุใดพระเจ้าปเสนทิโกศลจึงสั่งฆ่าเจ้าชายพันธุละและบุตรทั้ง ๓๒ คน .................................................................................................................................................... ๔. พระนางมัลลิกาเมื่อทราบข่าวว่าสามีและลูกถูกโจรฆ่าตายได้แสดงอาการอย่างไร ...................................................................................................................................................... ๕. พระนางมัลลิกาได้ฟังธรรมจากใครจนบรรลุโสดาบัน ............................................................................................................................. ......................... ๖. เหตุใดมารดาของหมอชีวกโกมารภัจจ์จึงสั่งสาวใช้ให้นาทารกไปวางไว้ที่กองขยะ ............................................................................................................................. .......................... ๗. ชีวกโกมารภัจจ์ ได้หนีออกจากวัง เพราะสาเหตุใด ........................................................................................................................................................ ๘. พระอาจารย์ของหมอชีวกโกมารภัจจ์ทดสอบความรู้ของท่านก่อนสาเร็จการศึกษาด้วยวิธีการใด .............................................................................................................................................. ........... ๙. หมอชีวกโกมารภัจจ์เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าวันละ ๒ เวลา เพราะเหตุใด .......................................................................................................................................................... ๑๐. การเป็น “เอตทัคคะ”ทางเป็นที่รักของปวงชนของหมอชีวกโกมารภัจจ์มีที่มาอย่างไร ............................................................................................................................................................
๔๔
เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๒ เรื่อง พระนางมัลลิกา และหมอชีวกโกมารภัจจ์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์ ๑. พระนางมัลลิกา มีปัญหาใดในการครองเรือน ตอบ พระนางมัลลิกาไม่สามารถมีบุตรให้พันธุละเสนาบดีสืบสกุลได้ สามีของนางจึงคิดว่านางเป็นหมัน จึงจะส่งตัวนางกลับยังตระกูลเดิมของนาง ๒. การลาพระพุทธเจ้ากลับเมืองของพระนางมัลลิกาให้แนวคิดที่ดีแก่ชาวพุทธเรื่องใด ตอบ การกระทาของพระนางมัลลิกา เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ชาวพุทธ คือ ไม่ว่าจะกระทาการสิ่งใดควร คิดถึงพระรัตนตรัยก่อนตัดสินใจทาอะไรลงไป ๓. เหตุใดพระเจ้าปเสนทิโกศลจึงสั่งฆ่าเจ้าชายพันธุละและบุตรทั้ง ๓๒ คน ตอบ เพราะพระเจ้าปเสนทิโกศลหลงเชื่อคายุยงของเหล่าอามาตย์ต่างๆที่หลุดออกจากตาแหน่งคอยยุยง ว่าเจ้าชายพันธุละคิดก่อการกบฏจึงสั่งฆ่าพันธุละและบุตรชายทั้งหมด ๔. พระนางมัลลิกาเมื่อทราบข่าวว่าสามีและลูกถูกโจรฆ่าตายได้แสดงอาการอย่างไร ตอบ นิ่งเฉยไม่แสดงความเสร้าโศกใดๆให้ผู้ใดเห็น ๕. พระนางมัลลิกาได้ฟังธรรมจากใครจนบรรลุโสดาบัน ตอบ พระสารีบุตร ๖. เหตุใดมารดาของหมอชีวกโกมารภัจจ์จึงสั่งสาวใช้ให้นาทารกไปวางไว้ที่กองขยะ ตอบ เพราะมารดาของหมอชีวกโกมารภัจจ์เป็นหญิงโสเภณี ซึ่งธรรมดาหญิงโสเภณีจะไม่เลี้ยงลูกชายจึงให้ สาวใช้นาไปวางไว้ที่กองขยะ ๗. ชีวกโกมารภัจจ์ ได้หนีออกจากวัง เพราะเหตุใด ตอบ เพราะทราบว่าตนเป็นเด็กกาพร้าจึงต้องการศึกษาหาความรู้ในการเป็นหมอรักษาโรคและได้อยู่ ที่สานักทิศาปาโมกข์และศึกษาสาเร็จในเวลา ๗ ปี ๘. พระอาจารย์ของหมอชีวกโกมารภัจจ์ทดสอบความรู้ของท่านก่อนสาเร็จการศึกษาด้วยวิธีการใด ตอบ อาจารย์ได้ทดสอบความรู้โดยให้เข้าไปสารวจป่าดูต้นไม้ว่าต้นไหนใช้ทายาไม่ได้ให้นาตัวอย่างกลับมา ปรากฏว่าเขากลับมามือเปล่าเพราะต้นไม้ทุกต้นใช้ทายาได้หมดอาจารย์จึงอนุญาตให้เขากลับบ้านได้ ๙. หมอชีวกโกมารภัจจ์เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าวันละ ๒ เวลา เพราะเหตุใด ตอบ เพื่อฟังธรรมและพยาบาลภิกษุผู้ป่วยไข้และถวายการรักษาพระพุทธเจ้าอยู่เป็นประจา ๑๐. การเป็น “เอตทัคคะ”ทางเป็นที่รักของปวงชนของหมอชีวกโกมารภัจจ์มีที่มาอย่างไร ตอบ หมอชีวกโกมารภัจจ์รักษาคนไข้โดยไม่เลือกยากดีมีจน ใครมีมีเงินก็รักษาให้ฟรีไม่เสียค่าใช้จ่าย จึงได้รับยกย่องว่าเป็น “เอตทัคคะ”ทางเป็นที่รักของปวงชน ( ถ้านักเรียนตอบนอกเหนือจากนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน)
๒๐
ต่อไปเรามาศึกษา เรื่อง ชาวพุทธ ตัวอย่างกันนะคะ
ภาพที่ ๕ มิลินทปัญหา ที่มา http://www.การบ้าน.com/simple สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
พระนาคเสน ตามคัมภี ร์บาลี กล่าวว่า ท่านเกิดที่กชังคละคามใกล้ ภู เขาหิ มาลั ย มีชีวิตในราวพุทธศตวรรษที่ ๖ (ประมาณ พ.ศ. ๕๐๐เศษ) บิดาของท่านเป็นพราหมณ์ ชื่อว่า โสณุ ต ตระ เมื่ อ วั ย เด็ ก นาคเสนกุ ม าร ได้ ศึ ก ษาเล่ า เรี ย นศิ ล ปวิ ท ยาต่ า งๆและเรี ย นได้ อย่างรวดเร็วจนจบไตรเพท มีพระเถระรูปหนึ่ง ชื่อ โรหณเถระพระเถระรูปนี้ได้ไปบิณฑบาต ที่บ้านบิดาของท่านเป็นประจาทุกวัน นับเวลาได้ ๗ ปี ๑๐เดือน แต่ไม่ได้รับการยกมือไหว้ การกราบไหว้ หรือสามีจิกรรม (การแสดงความเคารพ) ได้แต่คาพูดเยาะเย้ยถากถาง ดูหมิ่น จนวันหนึ่งขณะที่พระเถระได้เดินสวนทางกับพราหมณ์โสณุตตระและถูกพราหมณ์ถามว่า วั น นี้ ท่ า นได้ อ ะไรบ้ า ง เมื่ อ พระเถระตอบว่ า “ได้ ”พราหมณ์ รู้ สึ ก โกรธนางพราหมณี ผู้ เป็ น ภรรยามาก จึ งได้ ไปต าหนิ ภ รรยา แต่ เมื่ อ นางพราหมณี ต อบว่ า ไม่ ได้ ให้ อ ะไรเลย จึ ง กลั บ ไปต่ อ ว่ า พระเถระหาว่ า “ท่ า นพู ด โกหก”พระเถระจึ ง ตอบว่ า เราไม่ ไ ด้ อ ะไร จากพราหมณี ผู้ เป็ นภรรยาของท่านเลย เพียงแต่ภ รรยาของท่านกล่ าวกับเราด้วยถ้อยคา อันไพเราะเราจึงตอบท่านว่า “ได้”เมื่อพราหมณ์ได้ฟังดังนั้น จึงเกิดความเลื่อมใสต่อพระเถระ มากและได้นิมนต์ให้พระเถระไปรับบิณฑบาตยังเรือนของตนทุก ๆ วัน วันหนึ่ง นาคเสนกุมารได้พบกับพระเถระ จึงเข้าไปสอบถามว่าท่านรู้ศิลปะหรือไม่ พระเถระตอบว่า รู้และรู้ศิลปะสูงสุด นาคเสนกุมารจึงขอให้ พระเถระบอกศิลปะสูงสุดนั้น พระเถระกลับตอบว่าไม่สามารถจะให้เรียนได้ ผู้ที่จะเรียนศิลปะสูงสุดต้องบวชเสียก่อน
๒๑
นาคเสนกุ ม ารจึ ง ไปขออนุ ญ าตบิ ด ามารดาเพื่ อ ออกบวช บิ ด ามารดาก็ อ นุ ญ าต ด้วยหวังว่า เมื่อนาคเสนกุมารได้บวชและได้เรียนศิลปะสูงสุดแล้ว คงสึกออกมาเป็นฆราวาส แน่ น อน นาคเสนกุมารบวชเป็ น สามเณรที่ถ้ ารัก ขิต มีพ ระโรหณะเถระเป็ น พระอุปัช ฌาย์ เมื่ อ ออกบวชแล้ ว พระอุ ปั ช ฌาย์ ได้ ส่ งให้ ไปศึ ก ษาอ ภิ ธ ร ร ม อ ยู ่ ก ั บ พ ร ะ อั ส ส คุ ต เถ ร ะ ที่ วั ด ตนิยเสนาสนะ ต่อมาเมื่อท่านอุปสมบทแล้ว วันหนึ่งพระนาคเสนได้ติดตามพระเถระ ไปฉันภัตตาหารที่บ้านอุบาสิกาคนหนึ่ง หลังฉันเสร็จแล้วพระเถระได้ให้ พระนาคเสนกล่าว อนุโมทนา พระนาคเสนได้กล่าวอนุโมทนาด้ วยอภิธรรมกถาแสดงโลกุตรธรรมประกอบด้วย สุ ญ ญ ตานุ ปั ส สนา อุ บ าสิ ก าฟั ง ไปด้ ว ยพิ จ ารณ าต ามไปด้ ว ย จนได้ บ รรลุ โ สดาบั น ส่วนพระนาคเสนเองก็ได้บ รรลุ เป็นพระโสดาบันด้วย หลั งจากนั้นพระอัสสคุตตเถระได้ส่ ง พระนาคเสนไปอยู่ในสานักของพระธรรมรักขิตเถระ ณ อโศการาม เมืองปาตลีบุตรเพื่อศึกษา พระพุทธวจนะให้ มากยิ่งขึ้น เมื่อนาคเสนเรียนรู้พระไตรปิฎกมากขึ้น ก็เกิดมีทิฐิมานะคิดว่า ไม่มีใครรู้ดีเท่ากับ ตน พระธรรมรักขิตเห็ นว่าพระนาคเสนเชี่ยวชาญในปริยัติยิ่งนัก แต่การ ปฏิบัติยังไม่ถึงที่สุดจึงกล่าวเตือนว่า เด็กเลี้ยงโคได้แต่ดูแลโคให้คนอื่น แต่ไม่ได้ดื่มน้านมโค ประดุจคนที่เรียนรู้พระพุทธพจน์มากมายจนเป็นพหูสูตแต่ถ้าไม่ปฏิบัติตามคาสอนก็ไม่มีโอกาส ได้ ลิ้ ม รสพระธรรม พระนาคเสนจึงรู้สึ ก ตัว และได้ บ าเพ็ ญ เพี ย รถ่ ายถอนกิ เลสจนได้ บ รรลุ พระอรหั ต ตผลพร้ อ มด้ ว ยปฏิ สั ม ภิ ท า๔ ได้ แ ก่ ความแตกฉาน ๔ ประการคื อ ในอรรถ (ใจความ) ในธรรม ในภาษาและในปฏิภาณ ในช่วงเวลาเดียวกัน ได้มีกษัตริย์เชื้ อสายกรีกพระองค์หนึ่ง พระนามว่า เมนันเดอร์ หรือที่เรียกกันตามพระบาลีว่า ”พระยามิลินท์ ”ซึ่งพระองค์ได้อวดอ้างว่าเป็ นผู้รู้ศาสนาและ ปรัชญามากกว่าใครๆจึงท้าโต้วาทะกับสมณพราหมณ์และประชาชนทั่วไป เมื่อไม่มีใครกล้า มาโต้วาทะด้วยก็สาคัญผิดคิดว่าตนเองเป็นผู้มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดมาก พระยามิลินท์ตรัส ถามพวกอ ามาตย์ ว่ายั งมี ภิ ก ษุ รู ป ใดในชมพู ท วีป อี ก บ้ างหรือ ไม่ ที่ ส ามารถตอบปั ญ หาและ โต้วาทะกับเราได้
๒๒
เมื่ ออ ามาตย์ ทู ล ว่ามี ภิ กษุ รูป หนึ่ งชื่อ นาคเสน อยู่ ณ สั งไขยบริเวณ ท่ านเป็ น ผู้ฉลาดมีความสามารถคงจะเจรจาและวิสัชนาปัญหาต่างๆ กับพระองค์ได้ จึงออกเดินทาง พร้อมด้วยบริวารเป็ น อัน มากเสด็จเข้าไปหาพระนาคเสนและมีการโต้ตอบถามปัญ หา ซึ่ งกั น และกั น การสนทนาโต้ ต อบระหว่ างพระนาคเสนกั บ พระยามิ ลิ น ท์ ได้ บั น ทึ ก ไว้ ในหนั ง สื อ มิ ลิ น ทปั ญ หาซึ่ ง เป็ น คั ม ภี ร์ ส าคั ญ เล่ ม หนึ่ ง ในพระพุ ท ธศาสนาและเมื่ อ พระยามิ ลิ น ท์ ได้ รั บ การถวายวิ สั ช นาปั ญ หาจากพระนาคเสนแล้ ว ได้ เกิ ด ความเข้ าใจ ในหลักธรรมแห่งพระพุทธศาสนาสละความเห็นผิดยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาในที่สุด คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ๑. เป็นผู้มีปัญญาใฝ่รู้อย่างแท้จริง พระนาคเสนเป็นผู้มีปัญญามาก เพราะเรียนรู้ สิ่งใดสามารถทรงจาสิ่งนั้น ได้ และเมื่อบวชแล้ วก็ได้ศึกษาอภิธรรมจนเป็นผู้เชี่ยวชาญ ในพระอภิธรรม เมื่อศึกษาพระไตรปิฎ กก็เป็นผู้แตกฉานในพระไตรปิฎก อันนับมาจาก ความเป็นผู้มีปัญญาใฝ่รู้อย่างแท้จริง ๒. เป็ น ผู้ ฉ ลาดมี ป ฏิ ภ าณในการอธิ บ ายธรรม พระนาคเสนขณะที่ ท่ า น ยังเป็นปุถุชน ได้แสดงธรรมแก่อุบาสิกาจนได้สาเร็จเป็นอริยบุคคลแม้ตัวท่านเองก็ได้สาเร็จ โสดาบันเป็นอริยบุคคลเช่นเดียวกัน และเมื่อท่านได้เป็น ผู้ถวายวิสัชนาปัญหาแก่พระยา มิลินท์ซึ่งเป็นผู้มีมิจฉาทิฏฐิ (ความหลงผิด) แล้วก็ยังสามารถสร้างความแจ่มแจ้งและเข้าใจ ในหลักธรรมของพระพุทธศาสนา จนทาให้พระยามิลินท์ละทิ้งมิจฉาทิฏฐิ เป็นสัมมาทิฏฐิ และนับถือพระพุทธศาสนาในที่สุด
๒๓
ภาพที่ ๖ สมเด็จพระวันรัต ที่มา http:// www.fungdham.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
สมเด็จพระวัน รัต (เฮง เขมจารี ป.ธ.๙) นามเดิมชื่อ เฮง หรือ กิมเฮง แซ่ฉั่ว เกิดเมื่ อ วันจั นทร์ที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๔ ณ บ้านท่าแร่ ต. สระแกกรัง อ.น้าซึม จ.อุทัยธานี บิดา เป็นชาวจีน ชื่อ นายตั้วเก๊า มารดาชื่อ นางทับทิมมีพี่น้องร่วมบิดามารดาด้วยกัน ๔ คน ท่านเป็นคน ที่ ๓ มารดาได้เสียชีวิตเมื่อคลอดลู กคนที่ ๔ ซึ่งเป็นหญิงและเสียชีวิตพร้อมกัน ยายชื่อ นางแห ได้อุปถัมภ์เลี้ยงดูตลอดมาเมื่ออายุได้ ๘ ปี ป้าชื่อนางเกศร์ ได้พาไปฝากเรียนหนังสือไทยอยู่ในสานัก อาจารย์ ชั ง วั ด ขวิ ด เมื อ งอุ ทั ย ธานี จนมี ค วามรู้ อ่ า นหนั ง สื อ ไทยได้ ต่ อ มาอายุ ไ ด้ ๑๑ปี ยายและป้ า ได้ พ าไปฝากอยู่ ในส านั ก ของพระปลั ด ใจ คงฺ ค สโร (ต่ อ มาเป็ น พระราชาคณะที่ พระสุนทรมุนีเจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี)เจ้าอาวาสวัดทุ่งแก้ว เมื่อไปอยู่วัดทุ่งแก้วได้ศึกษาภาษาบาลี เริ่มอ่านและเขียนอักษรขอม แล้วหัดอ่านหนังสือพระมาลัยตามประเพณีการศึกษาในสมัยโบราณ แล้วท่องสูตรมูลกัจจายน์และเรียนสนธิ เรียนนามถึงกิต เรียนอุณณาทและ การเรียนพระธรรมบท และมงคลที ป นี กั บ พระอาจารย์ ห ลายท่ าน จากนั้ น ได้ เข้ าไปเรีย นหนั งสื อ เพิ่ ม เติ ม ที่ ก รุงเทพฯ เช่ น เรี ย นลู ก คิ ด เรี ย นเลข เป็ น ต้ น ครั้น อายุ ย่ างเข้ า ๑๒ ปี บรรพชาเป็ น สามเณรและได้ สึ ก จากสามเณรถึง ๒ ครั้งเพราะต้ องเซ่น ไหว้บรรบุ รุษ ในเทศกาลตรุษจีน ตามธรรมเนี ยมของจี น เมื่ออายุย่างเข้า ๑๓ ปี จึงบรรพชาเป็นสามเณรอีก และเรียนภาษาบาลีอยู่ในวัดทุ่ งแก้วตลอดมา จนเรีย นมูล กัจ จายน์ เรีย นพระธรรมบทจนจบ และเรียนมงคลที ป นีไปแล้ ว ๖-๗ ผู ก ครั้นอายุ ย่ า งเข้ า ๑๗ ปี จึ งลงมาอยู่ วั ด มหาธาตุ ฯ กรุ ง เทพฯ เมื่ อ วั น ที่ ๒๒ ตุ ล าคม ๒๔๔๐ ได้ อ ยู่ กั บ พระมหายิ้มและคณะซึ่งมีชื่อเรียกว่า คณะต้นจันทน์ เพราะมีต้นจันทน์อยู่หลังกุฏิ จานวน ๓ ต้น
๒๔
สมัยนั้นสมเด็จพระวันรัต (ฑิต) ดารงสมณศักดิ์ที่พระพิมลธรรม เป็นเจ้าอาวาสวัดมหาธาตุฯ และมี พระราชาคณะผู้ช่วย ๒ องค์ คือ พระราชโมลี (จ่าย) และพระอมรเมธาจารย์ (เข้ม) ท่านได้เข้าเรียน พระปริยัติธรรมและบาลีโดยเข้าสอบพระปริยัติธรรมสนามหลวง ดังนี้ พ.ศ. ๒๔๔๑ สอบได้เปรียญ ๓ ประโยค พ.ศ. ๒๔๔๓ สอบได้เปรียญ ๔ ประโยค พ.ศ. ๒๔๔๔ สอบได้เปรียญ ๕ ประโยค พ.ศ. ๒๔๔๕ อุปสมบท ณ พันธสีมาวัดมหาธาตุฯ เมื่อวันจันทร์ เดือน ๗ ขึ้น ๑๑ ค่า ปีขาล ตรงกับ วันที่ ๑๖ มิถุนายน โดยมีสมเด็จพระวันรัต (ฑิต) เป็นพระอุปัชฌายะ และพระธรรมวโรดม (จ่าย) วัดเบญจมบพิตรกับพระเทพเมธี (เข้ม) วัดพระเชตุพนฯ เป็นคู่กรรมวาจาจารย์ และในปีนี้ สอบได้ เปรียญถึง ๒ ประโยคจึงได้เปรียญ ๗ ประโยค พ.ศ. ๒๔๔๖ สอบได้เปรียญ ๘ ประโยค และสมเด็จพระวันรัต (ฑิต) ได้ถวายตัวฝากเรียนฎีกาสังคหะ (อภิธมฺมตฺถวิภาวินี)กับพระเจ้าน้องยาเธอกรมหลวงวชิรญาณวโรรสทรงเป็นพระอาจารย์แต่นั้นมา พ.ศ. ๒๔๔๗ สอบได้เปรียญ ๙ ประโยค เมื่ออายุย่างเข้า ๒๔ ปีสมเด็จฯ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ตามลาดับ ดังนี้ พ.ศ. ๒๔๕๒ เป็นพระศรีวิสุทธิวงศ์ พ.ศ. ๒๔๕๕ เป็นพระราชสุธี พ.ศ. ๒๔๕๙ เป็นพระเทพโมลี พ.ศ. ๒๔๖๔ เป็นพระธรรมไตรโลกาจารย์ พ.ศ. ๒๔๗๑ เป็นพระพิมลธรรม พ.ศ. ๒๔๘๒ เป็นสมเด็จพระวันรัต เมื่ออายุ ๕๙ ปี ๓๘ พรรษา สมเด็ จ พระวั น รั ต (เฮง เขมจารี ) เป็ น นั ก การศึ ก ษา ต าแหน่ ง หน้ า ที่ ป ระจ าที่ ไ ม่ เคย เปลี่ ย นแปลงและยื ด ยาวนานของท่ า นคื อ นายกมหาธาตุ วิ ท ยาลั ย ซึ่ ง ท่ า นได้ รั บ ช่ ว งสื บ ต่ อ มาจากสมเด็ จ พระวั น รั ต (ฑิ ต ) พระอุ ปั ช ฌาย์ ข องท่ า น และท่ า นก็ ส ามารถท านุ บ ารุ ง และ จัดการศึกษาของสถานศึกษาฝ่ายพระมหานิกายแห่งนี้ให้เจริญก้าวหน้าเป็นอย่างยิ่ง สมดังพระราช ปณิ ธ านของพระบาทสมเด็จ พระจุ ล จอมเกล้ าเจ้าอยู่ หั ว ซึ่งปรากฏในประกาศพระราชปรารภ ในการก่อพระฤกษ์สังฆิกเสนาสนราชวิทยาลัยท้าวความเดิมถึงพระราชปณิธานที่ทรงตั้งมหาธาตุ วิทยาลัยไว้ว่า“อีกสถานหนึ่งเป็ นที่เล่าเรียนของคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ได้ตั้งไว้ที่วัดมหาธาตุฯ ได้เปิดการเล่าเรียนมาตั้งแต่ วันที่ ๘ พฤศจิกายน รัตนโกสินทรศก ๑๐๘ (พ.ศ. ๒๔๓๒) สืบมา” สมเด็จฯทุ่มเทชีวิตจิตใจและสติปัญญาลงในการจัดการศึกษาของมหาธาตุวิทยาลั ยอย่างจริงจัง นอกจากจัดการศึกษาโดยตรงแล้ว เพื่อสนับสนุนการศึกษาให้มั่นคงถาวรยิ่งขึ้น
๒๕
สมเด็ จ ฯได้ ข วนขวายจั ด ตั้ ง มู ล นิ ธิ บ ารุ ง การศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรมของมหาธาตุ วิ ท ยาลั ย ขึ้ น เมื่ อ พ.ศ.๒๔๖๘ เรี ย กชื่ อ ตามตราสารตั้ ง มู ล นิ ธิ ว่ า “มู ล นิ ธิ โ รงเรี ย นบาลี ม หาธาตุ วิ ท ยาลั ย ” มีคณะกรรมการทั้งฝ่ายบรรพชิตและฝ่ายคฤหัสถ์ร่วมจัดการ และมีระเบียบดาเนินการอย่างรัดกุม เป็ นอย่างดียิ่งสานั กงานของมูลนิธิตั้งอยู่ที่สานักงานพระคลั งข้างที่ในพระบรมราชวัง การจัดตั้ง มู ล นิ ธิ ข องสมเด็ จ ฯ ท าให้ ม หาธาตุ วิ ท ยาลั ย สมั ย นั้ น มี ฐ านะมั่ น คงเข้ ม แข็ งและสามารถขยาย การศึ ก ษาได้ ก ว้ า งขวางยิ่ ง ขึ้ น ในการศึ ก ษาพระปริ ยั ติ ธ รรม แม้ เ มื่ อ สมเด็ จ ฯบ าเพ็ ญ กุ ศ ล ในคราวมี อ ายุ ค รบ ๕ รอบ หรื อ ๖๐ ปี บ ริบู รณ์ ใน พ.ศ. ๒๔๘๕ ยั งได้ ส ร้างหนั งสื อแปลบาลี แบบสนามหลวง ตั้งแต่ประโยค ๓ ถึงประโยค ๙ ซึ่งสมเด็จฯ แปลขึ้นเพื่อใช้เป็นตัวอย่างแจกจ่าย ไปตามสานักเรียนต่าง ๆ ทั้งในกรุงและหัวเมือง ตลอดถึงนักเรียนผู้ต้องการทั้งในสานักวัดมหาธาตุฯ และต่างสานักท่านได้อาพาธด้วยโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังกั บขั้วปอดโตขึ้น มีอาการไอกาเริบ และ มรณภาพในวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๔๘๖ ณ หอเย็นวัดมหาธาตุฯ สิริรวมอายุได้ ๖๓ ปี ๔๒ พรรษา คุณธรรมที่ควรยึดถือเป็นแบบอย่าง ๑. เป็ น ผู้ เคารพต่ อ พระรั ต นตรั ย ท่ า นเป็ น ผู้ เคร่ งครั ด ในการท าวั ต ร ไหว้ พ ระสวดมนต์ ทุกค่าเช้า ๒. เป็ น ผู้ มี ค วามกตั ญ ญู กตเวที เป็ น คุ ณ สมบั ติ ป ระการหนึ่ งของท่ าน เช่ น การที่ เคารพ พระอุปัชฌาย์ของท่านมาก ๓. การบ าเพ็ ญ สาราณี ย ธรรม ท่านจะแบ่งปั นลาภที่ได้รับ มาให้ กับพระสงฆ์ห รือสามเณร อย่างเป็นธรรม ๔. เป็ น นั ก การปกครองที่ ดี เ ยี่ ย ม การจั ด การปกครองของท่ า นได้ รั บ ความไว้ ว างใจ จากพระเถระให้เลื่อนตาแหน่งสูงขึ้นเรื่อยๆ
๒๖
แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๓ เรื่อง ชาวพุทธตัวอย่าง ( พระนาคเสน –พระยามิลินท์ และสมเด็จพระวันรัต ) คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์
๑. ชาติกาเนิดและอุปนิสัยของพระนาคเสน เป็นเช่นไร ....................................................................................................................................................................... ๒. พระโรหณะเถระมีบทบาทต่อชีวิตของพระนาคเสนอย่างไร ....................................................................................................................................................................... ๓. พระนาคเสนมีบทบาทในการหันมายอมรับนับถือพระพุทธศาสนาของพระยามิลินท์อย่างไร ....................................................................................................................................................................... ๔. พระโรหณะเถระมีบทบาทต่อชีวิตพระนาคเสนอย่างไร ....................................................................................................................................................................... ๕. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างของพระนาคเสนเกี่ยวกับสติปัญญา ไหวพริบ มีที่มาจากเหตุการณ์ใด ....................................................................................................................................................................... ๖. สถานที่ใด เป็นสถานที่สาคัญที่ทาให้ สมเด็จพระวันรัตมีความรู้หนังสือไทยจนอ่านออกเขียนได้ ....................................................................................................................................................................... ๗. ผลงานที่สาคัญของสมเด็จพระวันรัตที่มีต่อพระพุทธศาสนาคืออะไร ....................................................................................................................................................................... ๘. เพราะเหตุใด ตอนอายุย่างเข้า ๑๒ ปี สมเด็จพระวันรัตจึงต้องศึกออกมาจากการบวชเป็นสามเณร ....................................................................................................................................................................... ๙. สมเด็จพระวันรัต ท่านอาพาธด้วยโรคใดจนมรณภาพ ............................................................................................................................................ ........................... ๑๐. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างของสมเด็จพระวันรัตในเรื่องใด ที่เหมาะสมกับนักเรียนและสามารถ นามาใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ .......................................................................................................................................................................
๔๕
เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๓ เรื่อง ชาวพุทธตัวอย่าง ( พระนาคเสน –พระยามิลินท์ และสมเด็จพระวันรัต ) คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์
๑. ชาติกาเนิดและอุปนิสัยของพระนาคเสน เป็นเช่นไร ตอบ พระนาคเสนเกิดในตระกูลพราหมณ์ บิดาของท่านชื่อว่า โสณุตตระ พระนาคเสนมีอุปนิสัยใฝ่เรียนรู้ ทาให้เรียนจบไตรเพทตั้งแต่อายุยังน้อย ๒. พระโรหณะเถระมีบทบาทต่อชีวิตของพระนาคเสนอย่างไร ตอบ พระโรหณะเถระเป็นอาจารย์ที่ประเสริฐของพระนาคเสน และเป็นพระอุปัชฌาย์ของพระนาคเสน สั่งสอนและขัดเกลาพระนาคเสนให้สิ้นจากกิเลสและบรรลุเป็นพระอรหันต์ ๓. พระนาคเสนมีบทบาทในการหันมายอมรับนับถือพระพุทธศาสนาของพระยามิลินท์อย่างไร ตอบ พระนาคเสนสามารถแก้ความมีมิจฉาทิฐิของพระยามิลินท์ได้ โดยการโต้วาทะกับพระยามิลินท์จน เข้าในและหันมายอมรับนับถือพระพุทธศาสนา ๔. พระโรหณะเถระมีบทบาทต่อชีวิตพระนาคเสนอย่างไร ตอบ พระโรหณะเถระเป็นอาจารย์ที่ประเสริฐของพระนาคเสน ชักฃวนให้พระนาคเสนบวชเป็นบรรพชิต และได้มีโอกาสศึกษาพระธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า ๕. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างของพระนาคเสนเกี่ยวกับสติปัญญา ไหวพริบ มีที่มาจากเหตุการณ์ใด ตอบ มีทมี่ าจากเหตุการณ์ ตอนที่พระนาคเสนโต้วาทะกับพระยามิลินท์เกี่ยวกับหลักของพระพุทธศาสนา
๔๖
เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๓ (ต่อ) เรื่อง ชาวพุทธตัวอย่าง ( พระนาคเสน –พระยามิลินท์ และสมเด็จพระวันรัต ) คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์
๖. สถานที่ใด เป็นสถานที่สาคัญที่ทาให้ สมเด็จพระวันรัตมีความรู้หนังสือไทยจนอ่านออกเขียนได้ ตอบ วัดขวิด เพราะป้าของท่านได้พาท่านไปฝากให้เรียนหนังสือในสานักพระอาจารย์ชัง วัดขวิด ๗. ผลงานที่สาคัญของสมเด็จพระวันรัตที่มีต่อพระพุทธศาสนาคืออะไร ตอบ การปฏิสังขรณ์ปูชนียสถานและศิลปวัตถุต่างๆ ในวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ๘. เพราะเหตุใด ตอนอายุย่างเข้า ๑๒ ปี สมเด็จพระวันรัตจึงต้องศึกออกมาจากการบวชเป็นสมาเณร ตอบ เพราะสมเด็จพระวันรัต ต้องศึกออกมาเพื่อทาพิธีเซ่นไหว้บรรพบุรุษตามธรรมเนียมจีน ๙. สมเด็จพระวันรัต ท่านอาพาธด้วยโรคใดจนมรณภาพ ตอบ โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังกับขั้วปอดโตขึ้น ๑๐. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่างของสมเด็จพระวันรัตในเรื่องใด ที่เหมาะสมกับนักเรียนและสามารถ นามาใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ ตอบ คุณธรรมของสมเด็จพระวันรัต ที่เหมาะสมและควรนามาใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันคือ ความกตัญญูกตเวที ( ถ้านักเรียนตอบนอกเหนือจากนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน)
๒๗
ภาพที่ ๗ หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ที่มา http:// www.fungdham.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโตเถระ เป็นอาจารย์ที่มีชื่อเสียงทางวิปัสสนาท่าน มีผู้นับถือมาก ทั้ งบรรพชิต และคฤหั ส ถ์ ทั่ ว ประเทศไทย ท่ านเป็ น บุ ตรชายของ นายคาด้ ว งและนางจั นทร์ แก่นแก้ว เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๐ มกราคม ๒๔๑๓ ที่อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี มีพี่น้อง ๙ คน โดยท่านเป็นคนโต พระอาจารย์มั่น มีสติปัญญาดีมาตั้งแต่กาเนิด ท่านได้ศึกษา เล่าเรียนหนังสือกับอา โดยเรียนหนังสือไทยน้อย อักษรไทย อักษรขอม จนอ่านออกเขียนได้ ในขณะที่ยั งเด็กอยู่นั้น ท่านได้พบกับพระอาจารย์ เสาร์ กันตสี โล และถวายตัวเป็นศิษย์ และ ฝึกหั ดกัมมัฏ ฐานกับท่านพระอาจารย์เสาร์ ต่อมาเมื่ออายุได้ ๑๕ ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณร อยู่ เป็ น สามเณรได้ ๒ พรรษาได้สึ กออกมาช่วยงานบิดามารดา ต่อมาอายุได้ ๒๒ ปี ท่านจึง อุ ป สมบทเป็ น พระภิ ก ษุ ที่ วั ด เลี ย บในตั ว เมื อ งจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ในวั น ที่ ๑ ๒ มิ ถุ น ายน พ.ศ.๒๔๓๖ โดยมีพระอริยกวี เป็นพระอุปัชฌาย์ มีฉายาว่า“ภูริทตฺโต”เมื่ออุปสมบทแล้วได้กลับ สานักไปศึกษาวิปัสสนาธุระกับท่านอาจารย์ เสาร์ กันตสีโล ที่วัดเลียบจังหวัดอุบลราชธานี
๒๘
ท่ า นเล่ า ว่ า เมื่ อ ก าลั ง ศึ ก ษากั ม มั ฏ ฐานภาวนาในส านั ก ท่ า นพระอาจารย์ เสาร์ กนฺตสีลเถร ณ วัดเลียบ จังหวัดอุบลราชธานี นั้น ชั้นแรกยังใช้บริกรรมภาวนาว่า พุทโธ ๆ อยู่ อยู่มาวันหนึ่ง จะเป็นเวลาเที่ยงคืนหรือ อย่างไรไม่แน่ บังเกิดสุบินนิมิตว่า ได้เดินออก จากหมู่บ้านด้านหนึ่ง มีป่า เลยป่าออกไปก็ถึงทุ่งเวิ้งว้าง กว้างขวางจึงเดินตามทุ่งไปได้เห็น ต้น ชาติ ต้ น หนึ่ ง ที่ บุ คคลตัดให้ ล้ ม ลงแล้ วปราศจากใบ ตอของต้น ชาติสู งประมาณ ๑ คื บ ใหญ่ประมาณ ๑ อ้อม ท่านขึ้น สู่ขอนชาตินั้น พิจารณาดูอยู่ รู้ว่าผุพังไปบ้างและจักไม่งอก ขึ้ น ได้ อี ก ในขณะที่ ก าลั ง พิ จ ารณาอยู่ นั้ น มี ม้ า ตั ว หนึ่ ง ไม่ ท ราบว่ า มาจากไหน มาเที ย ม ขอนชาติ ท่านจึงขึ้นขี่ม้าตัวนั้น ม้าพาวิ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนืออย่ างเต็มฝีเท้า ขณะที่ ม้าพาวิ่งไปนั้น ได้แลเห็นตู้ใบหนึ่ง เหมือนตู้พระไตรปิฎก ตั้งอยู่ข้างหน้า ตู้นั้นวิจิตรด้วยเงินสี ขาวเลื่อมเป็นประกายผ่องใสยิ่งนัก ม้าพาวิ่งเข้าไปสู่ตู้นั้น ครั้นถึงม้าก็หยุดและหายไป ท่านลง จากหลังม้าตรงตู้พระไตรปิฎกนั้น แต่มิได้เปิดตู้ดูไม่ทราบว่ามีอะไรอยู่ในนั้น แลดูไปข้างหน้า เห็นเป็นป่าเต็มไปด้วยขวากหนามต่างๆ จะไปต่อไปไม่ได้ เลยรู้สึกตัวตื่นขึ้น สุ บิ น นิ มิตนี้ เป็ น บุ พ พนิ มิตบอกความมั่น ใจในการทาความเพียรของท่าน ท่ านจึง ตั้งหน้าทาความเพียรประโยคพยายามมิได้ท้อถอย มีการเดินจงกรมบ้าง นั่งสมาธิบ้าง ข้อวัตร ปฏิ บั ติ ต่ า งๆ ก็ มิ ได้ ท อดทิ้ ง คงด าเนิ น ตามข้ อ ปฏิ บั ติ อั น ท่ า นโบราณบั ณ ฑิ ต ทั้ ง หลาย มีพระพุทธเจ้าเป็นต้นทรงบาเพ็ญตามทางแห่งอริยมรรค ครั้นต่อมาท่านจึงหวนไปพิจารณาสุบินนิมิตนั้น จึงได้ความว่า การที่ท่านออกมาบวช ในพระพุทธศาสนาและปฏิบั ติตามอริยมรรคนั้น ชื่อว่าออกจากบ้าน บ้านนั้นคือความผิ ด ทั้งหลาย และป่านั้นคือกิเลส ซึ่งเป็นความผิดเหมือนกัน อันความที่บรรลุถึงทุ่งอันเวิ้งว้างนั้น คื อ ละความผิ ด ทั้ งหลาย ประกอบแต่ ค วามดี ค วามงาม ขอนชาติ ได้ แ ก่ ช าติ ค วามเกิ ด ม้า ได้แก่ ตัวปัญญาวิปัสสนาจักมาแก้ความผิด การขึ้นสู่ม้าแล้วม้าพาวิ่งไปสู่ตู้พระไตรปิฎกนั้น คือ เมื่อพิจารณาไปแล้ว จักสาเร็จเป็นปฏิสัมภิทานุสาสน์ ฉลาดรู้อะไรๆ ในเทศนาวิธีทรมาน แนะน าสั่ ง สอนสานุ ศิ ษ ย์ ทั้ ง หลายให้ ได้ รั บ ความเห็ น ใจและเข้ า ใจในข้ อ ปฏิ บั ติ ท างจิ ต แต่ จ ะไม่ ได้ ในจตุ ป ฏิ สั ม ภิ ท าญาณเพราะไม่ ไ ด้ เปิ ด ดู ตู้ นั้ น ส่ ว นข้ า งหน้ า มั น เต็ ม ไปด้ ว ย ขวากหนามนั้ น ได้ความว่า เมื่อพิจ ารณาเกินไปจากมรรค จากสั จจะ ก็คือ ความผิดนั้นเอง เมื่อพิจารณาได้ความเท่านี้แล้ ว ก็ถอยจิตคืนมาหาตัว พิจารณากายเป็นกายคตาสติภาวนา ต่อไป
๒๙
วัตรปฏิบัติของท่านมีดังนี้ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.
ผ้าที่ใช้ทาสบง จีวร สังฆาฏิ คือผ้าที่นามาจากการบังสุกุลเท่านั้น ออกบิณฑบาตทุกวัน ยกเว้นวันที่ไม่ฉัน ฉันอาหารเฉพาะในบาตร ใครนามาถวายทีหลังท่านไม่รับ ฉันอาหารมื้อเดียว มีภาชนะสาหรับฉันที่ไว้ใส่อาหาร คือบาตรเพียงอย่างเดียวเท่านั้น อาศัยต้นไม้ในป่า หุบเขา หน้าผา เป็นที่ปฏิบัติธรรม เครื่องนุ่งห่มที่ใช้มีเพียงผ้าไตรจีวร ๓ ผืนเท่านั้น
นอกจากกวาดลานวัด ตักน้าใช้ น้าฉัน อาบน้าชาระร่างกายให้สะอาดแล้ว ท่านยังปฏิบัติ เจริญภาวนาตั้งแต่เย็นจนพลบค่า แล้วจึงเทศนาสั่งสอนสติปัญญาให้กับสานุศิษย์เป็นระยะเวลา พอสมควร ท่านจะเข้าห้องสวดมนต์ไหว้พระ นั่งสมาธิแล้วพักผ่อนตั้งแต่ ๕ ทุ่ม แล้วตื่นตอนตี ๓ เพื่อทากิจในวันต่อไป พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต มรณภาพเมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายนพ.ศ. ๒๔๙๒ ที่วัดป่าสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง ๑. ปฏิ บั ติตนตามสมณวิสั ย กล่ าวคื อ ไม่ ว่าท่ านจะจาริกไปที่ ใดก็ต ามท่ านก็จ ะอบรมสั่ งสอน ศีลธรรมให้กับประชาชนในท้องถิ่นนั้นๆ ๒. เอาใจใส่การศึกษาและปฏิบัติตามพระธรรมวินัย ๓. มีความเพียรในการสั่งสอน ท่านใช้ความพยายามในการสั่งสอนศิษย์ให้ฉลาดด้วยการฝึกฝน อบรมจิตใจตามหลักสมถวิปัสสนา
๓๐
ภาพที่ ๘ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ที่มา http:// www. su-usedbook.com สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ เกิดวันที่ ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๐ ที่ตาบลบางไทรป่า อาเภอ บางปลา (อาเภอบางเลน ในปัจจุบัน) จังหวัดนครปฐม ท่านมีพี่น้องทั้งหมด ๑๒ คนที่เกิดร่วมพ่อแม่ เดียวกัน โดยท่านเป็นคนที่ ๑๑ แต่เหลือรอดเพียงคนเดียวนอกนั้น เสียชีวิตตั้งแต่วัยเยาว์ เหลือท่าน เพียงคนเดียวเท่านั้น พ่อแม่จึงตั้งชื่อให้ท่านว่า "บุญรอด" ภายหลัง ท่านได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “สุชีพ” ตามฉายาภาษาบาลีของท่านคือ "สุชีโว" (ผู้มีชีวิตที่ดี) ซึ่ง สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (เจริญ ญาณวโร) พระอุปัชฌาย์ของท่านได้ตั้งให้เพื่อเป็นสิริมงคล อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ เป็นผู้ที่ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ ท่ า นจึ ง ประสบความส าเร็ จ ในการศึ ก ษาทางธรรม และมี ค วามรู้ ก ว้ า งขวางทั้ ง ในภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ และที่สาคัญมีความรู้ในทางศาสนาเป็นที่ยอมรับนับถือ ท่านอุปสมบทเป็นพระภิ กษุ ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๐ ถึง พ.ศ. ๒๔๙๙ เป็นเวลา ๑๙ ปี ได้รับสมณศักดิ์สูงสุดเป็นพระศรีสิสุทธิญาณ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ เป็นผู้อุทิศตนเพื่อศาสนามาเป็นเวลานาน นับตั้งแต่ท่านอุปสมบท และอยู่ ในชี วิต ฆราวาส ในเวลาต่ อ มาท่ านได้ มี ส่ ว นริเริ่ ม งานส าคั ญ หลายเรื่ อ ง เช่ น การพั ฒ นา สภาการศึ ก ษามหามกุ ฏ ราชวิ ท ยาลั ย เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย สงฆ์ อาจารย์ ก็ ยั ง ช่ ว ยเหลื อ กิ จ การ ของสภาการศึ กษามหามกุฎ ฯอยู่ ตลอดมา โดยการเป็ นกรรมการ เป็น ที่ป รึกษา และเป็ นอาจารย์ บรรยายวิชาทางพระพุทธศาสนาและศาสนาเปรียบเทียบ
๓๑
อาจารย์ สุ ชี พ ปุ ญ ญานุ ภ าพ เป็ น ผู้ ที่ มี คุ ณ ธรรม สมควรเป็ น ผู้ ใ หญ่ ที่ มี ผู้ น้ อ ย เคารพนั บ ถื อ ตลอดจนถื อ เป็ น แบบอย่ า งในการด าเนิ น ชี วิ ต ท่ า นใช้ ห ลั ก ธรรมทาง พระพุทธศาสนาเป็นแนวทาง ในการทางานและปฏิบัติตนให้ถูกต้อง ท่านมักกล่าวแก่ศิษย์และ ผู้ใกล้ชิดอยู่เสมอว่า “ใครเขาจะทะเลาะเบาะแว้งติเตียนกันอย่างไรก็ตาม เราก็ควรดารงตนเป็น ผู้ ใหญ่ พิ จ ารณาให้ ร อบด้ าน ไม่ เข้าไปทะเลาะกั บ ใคร” ท่ านมี ท่ าที ป ระนี ป ระนอมอยู่ เสมอ ไม่ทาให้ผู้อื่นเสียใจหรือเสียหน้า และเป็นที่พึ่งในทางความคิดเห็นของศิษย์และเพื่อนร่วมงาน อยู่เสมอ ผลงานโดดเด่น ที่เป็ น การบุ กเบิ กของอาจารย์อีกอย่างหนึ่ งในทางวรรณกรรมและ วงการพระพุทธศาสนาของไทย ก็คือการแต่งนวนิยายอิงหลักธรรม ความบันดาลใจที่ทาให้ อาจารย์ ริ เ ริ่ ม งานด้ า นนี้ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ อาจารย์ อ่ า นเรื่ อ ง กามนิ ต ของ คาล เยลเลรุ ป ขณะเป็ น สามเณรอายุ ร าว ๑๕ - ๑๖ ปี เรื่อ งนี้ เดิ ม ประพั น ธ์ขึ้ น ในภาษาเยอรมั น และแปล เป็ น ภาษาอั งกฤษ ต่อ มาผู้ รู้ ข องไทยได้ แ ปลจากภาษาอั งกฤษสู่ ภ าษาไทยในชื่ อ ว่า กามนิ ต นวนิยายเรื่องนี้ได้อาศัยเรื่องราวจากคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน ประกอบกับเรื่องราว จากคัมภีร์ฝ่ายพราหมณ์บ้างสร้างเป็นเรื่องราวขึ้น โดยมุ่งให้ผู้อ่านได้รับรสทั้งในแง่วรรณกรรม ศาสนาและศีล ธรรมไปพร้ อม ๆ กัน อาจารย์เห็ น ว่าเป็ น วิธี ก ารสั่ งสอนศี ล ธรรมและเผยแผ่ พระพุทธศาสนาได้ดีวิธีห นึ่ ง เมื่ออ่านเรื่องกามนิตในครั้งนั้น อาจารย์มีความประทับใจมาก ถึ ง กั บ ตั้ ง ใจไว้ ว่ า เมื่ อ ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนามี ค วามรู้ พ อก็ จ ะแต่ ง เรื่ อ งท านองนี้ ขึ้ น บ้ า ง ผลงานทางนวนิยายอิงหลักธรรมของอาจารย์ นอกจากจะถือได้ว่าเป็นก้าวใหม่ในการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาด้านวรรณกรรมแล้ว ยังถือได้ว่าเป็นการริเริ่มมิติใหม่ในวงวรรณกรรมของไทย ด้ ว ย เพราะหลั งจากผลงานชั้ น บุ ก เบิ ก ของอาจารย์ ป รากฏสู่ บ รรณโลกแล้ ว ต่ อ มาไม่ น าน ก็ได้เกิดนวนิยายอิงหลักธรรมโดยนักประพันธ์คนอื่น ๆ ตามมาอีกหลายเรื่อง จนเป็นที่รู้จักกันดี และเป็นที่ชื่นชอบของนักอ่านโดยทั่วไป ผลงานที่ทาให้อาจารย์เป็นบุคคลอมตะตลอดไปในวงการวิชาการทางพระพุทธศาสนา ของไทยก็ คื อ พระไตรปิ ฎ กฉบั บ ส าหรั บ ประชาชน ซึ่ ง เป็ น การย่ อ ความพระไตรปิ ฎ ก จ านวน ๔๕ เล่ ม ให้ เหลื อ เพี ย ง ๕ เล่ ม ซึ่ ง ภายหลั ง ได้ ร วมพิ ม พ์ เป็ น หนั ง สื อ ขนาดใหญ่ เล่มเดียวจบ นับเป็นงานที่อาจารย์ผู้ริเริ่ม และทาเสร็จเป็นคนแรกในประเทศไทย เป็นประโยชน์ ต่อการศึกษาพระไตรปิฎก และศึกษาพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง
๓๒
เพราะเป็นการช่วยให้คนทั่วไปที่สนใจหรือต้องการจะศึกษาพระไตรปิฎก สามารถอ่าน หรือศึกษาได้สะดวกในเวลาอัน สั้น ช่ว ยให้ เข้าใจสารัตถะและจับประเด็นสาคัญของคาสอน ทั้งหมดของพระพุทธศาสนาได้อย่างถูกต้อ งโดยไม่ต้องเสียเวลาอ่านพระไตรปิฎกทั้ง ๔๕ เล่ม ซึ่งทั้งยากแก่การทาความเข้าใจและยืดยาวชวนเบื่ อส าหรับคนทั่ว ไป ผลงานชิ้นนี้ นอกจาก จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาและเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นอย่างมากแล้ว ยังแสดงให้เห็นถึง ความแตกฉานในพระไตรปิ ฎ กและความวิริยะอุตสาหะของอาจารย์ ในอั นที่ จะสร้างสรรค์ สิ่งอันเป็นประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาอีกด้วย คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่าง ๑. เป็นผู้ใฝ่รู้เป็นอย่างยิ่ง อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ เป็นเปรียญ ๙ ตั้งแต่อายุ พรรษายังน้อย เป็นผู้ฝักใฝ่ศึกษาพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะพระไตรปิฎกจนแตกฉาน ๒. เป็นพหูสูต ท่านมีเทคนิคการจาพุทธวจนะได้ดีเยี่ยม จนได้สมญานามว่า “ตู้พระไตรปิฏกเดินได้”ท่านได้ศึกษาค้นคว้าพระไตรปิฎกจนแตกฉาน ๓. เป็นครูที่ดี ตั้งใจประสิทธิประสาทความรู้ มีความสุขใจที่ได้ให้ความรู้แก่ศิษย์
๓๓
แบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๔ เรื่อง ชาวพุทธตัวอย่าง ( หลวงปู่มั่น ภูรทิ ัตโต และ อาจารย์สุชพี ปุญญานุภาพ ) คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์
๑. พระอาจารย์รูปใดที่หลวงปู่มั่น ให้ความเคารพรักและถวายตัวเป็นศิษย์ ................................................................................................................................................................ ๒. ผ้าที่ใช้ทาสบง จีวร ของหลวงปู่มั่น เป็นผ้าชนิดใด ............................................................................................................................................................... ๓. สถานที่ที่หลวงปู่มั่นชอบใช้เป็นที่ปฏิบัติธรรม คือที่ใด .............................................................................................................................................................. ๔. หลวงปู่มั่นท่านอยู่เป็นสามเณรได้ ๒ พรรษา ต้องลาสิกขาออกมาเพราะเหตุใด ............................................................................................................................................................... ๕. นอกจากหลวงปู่มั่น จะเอาใจใส่ศึกษาพระธรรมวินัยแล้วยังส่งเสริมพระพุทธศาสนาในแนวทางใด ............................................................................................................................................................... ๖. อุปนิสัยของอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ เป็นผู้แก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธีมีลักษณะอย่างไร จงอธิบาย ................................................................................................................................................................ ๗. สมณศักดิ์สูงสุดที่ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ได้รับในตอนที่ท่านอุปสมบทคืออะไร ............................................................................................................................................................ ๘. อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ มีบทบาทในการพัฒนาพระพุทธศาสนาที่สาคัญอย่างไรบ้าง ................................................................................................................................... ............................. ๙. สื่อสาหรับเผยแผ่พระพุทธศาสนาแนวใหม่ของ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ เกิดขึ้นจากแนวคิดใด ............................................................................................................................................... ................ ๑๐. เหตุใด อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ จึงได้รับสมญานาม ตู้พระไตรปิฎกเดินได้ ..............................................................................................................................................................
๔๗
เฉลยแบบฝึกกิจกรรม ที่ ๑.๔ เรื่อง ชาวพุทธตัวอย่าง ( หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต และ สุชีพ ปุญญานุภาพ ) คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ได้ความหมายที่สมบูรณ์ ๑. พระอาจารย์รูปใดที่หลวงปู่มั่น ให้ความเคารพรักและถวายตัวเป็นศิษย์ ตอบ พระอาจารย์ที่หลวงปู่มั่นให้ความเคารพและถวายตัวเป็นศิษย์คือ พระอาจารย์เสาร์ กันตสีโล ๒. ผ้าที่ใช้ทาสบง จีวร ของหลวงปู่มั่น เป็นผ้าชนิดใด ตอบ เป็นผ้าที่นามาจากการบังสุกุลเท่านั้น ๓. สถานที่ที่หลวงปู่มั่นชอบใช้เป็นที่ปฏิบัติธรรม คือที่ใด ตอบ สถานที่ที่หลวงปู่มั่นชอบใช้ปฏิบัติธรรม คือบริเวณต้นไม้ในป่า หุบเขา หน้าผา ๔. หลวงปู่มั่นท่านอยู่เป็นสามเณรได้ ๒ พรรษา ต้องลาสิกขาออกมาเพราะเหตุใด ตอบ ท่านต้องลาสิกขาออกมาเพราะออกมาช่วยงานบิดา มารดา ๕. นอกจากหลวงปู่มั่น จะเอาใจใส่ศึกษาพระธรรมวินัยแล้วยังส่งเสริมพระพุทธศาสนาในแนวทางใด ตอบ ท่านจะมีความเพียรพยายามในการสั่งสอนศิษย์ให้อบรมจิตใจตามหลักสมถวิปัสสนา ให้มีจิตใจ อดทนมั่นคงต่อพระธรรมวินัย และท่านยังปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างแก่ศิษย์อีกด้วย ๖. อุปนิสัยของอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ เป็นผู้แก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธีมีลักษณะอย่างไร จงอธิบาย ตอบ ท่านจะสอนศิษย์ไม่ให้ทะเลาะวิวาทกับใคร และให้ใช้ความมีเหตุผลและการประนีประนอมเข้า แก้ไขปัญหาอยู่เสมอ ๗. สมณศักดิ์สูงสุดที่ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ ได้รับในตอนที่ท่านอุปสมบทคืออะไร ตอบ สมณศักดิ์สูงสุดที่ท่านได้รับ คือพระศรีสิสุทธิญาณ ๘. อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ มีบทบาทในการพัฒนาพระพุทธศาสนาที่สาคัญอย่างไรบ้าง ตอบ ท่านได้ริเริ่มงานสาคัญในหลายเรื่อง เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เช่น พัฒนาสภาการศึกษา มหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ ก่อตั้งส่งเสริมยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย เป็นต้น ๙. สื่อสาหรับเผยแผ่พระพุทธศาสนาแนวใหม่ของ อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ เกิดขึ้นจากแนวคิดใด ตอบ เกิดขึ้นจากแนวคิดในการแต่งนิยายอิงธรรมะ ๑๐. เหตุใด อาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ จึงได้รับสมญานาม ตู้พระไตรปิฎกเดินได้ ตอบ เพราะอาจารย์สุชีพ ปุญญานุภาพ มีเทคนิคการจาพุทธวจนะได้ดีเยี่ยม จึงได้สมญานามว่า “ตู้พระไตรปิฎกเดินได้” ( ถ้านักเรียนตอบนอกเหนือจากนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน)
๓๔
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและชาวพุทธตัวอย่าง
คาชี้แจง ๑. แบบทดสอบเป็นแบบปรนัย จานวน ๑๕ ข้อ ๒. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท ( X ) ในช่องอักษรข้อ ก ข ค หรือ ง เพียงข้อเดียว ๓. กาหนดเวลาทดสอบ ๑๐ นาที ๑. การกระทาใดที่แสดงว่า พระอัสสชิเป็นผู้มั่นคงในหลักการของพระพุทธศาสนา ก. เทศนาได้ใจความครอบคลุมหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ข. เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านความประพฤติเคร่งครัด ค. สามารถโต้วาทะกับศิษย์เอกของนิครนถ์นาฏบุตร ง. ทาหน้าที่ถ่ายทอดศิลปวิทยาแก่บุตร ๒. พระอัสสชิเป็นพระอาจารย์ของพระสาวกรูปใด ก. พระสารีบุตร ข. พระโมคคัลลานะ ค. พระยสกุลบุตร ง. พระนาคเสน ๓. พระอัสสชิ มีคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างเด่นชัดที่สุดในข้อใด ก. กตัญญู ข. เป็นผู้มีชีวิตเรียบง่าย ค. เป็นผู้เข้าใจโลกและชีวิต ง. มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ๔. “ชีวิตนี้ไม่เที่ยงทุกคนจะต้องตาย” แง่คิดข้อนี้ได้จากการศึกษาประวัติของใคร ก. พระอัสสชิ ข. พระนางมัลลิกา ค. พระกีสาโคตมีเถรี ง. หมอชีวกโกมารภัจจ์
๓๕
๕. สตรีทั้งหลายเมื่อมีความทุกข์มักจะไปฟังธรรมจากผู้ใด ก. พระอัสสชิ ข. พระสารีบุตร ค. พระโมคคัลลานะ ง. พระกีสาโคตมีเถรี ๖. พระนางมัลลิกาเป็นผู้มีคุณธรรมในเรื่องใดเด่นชัด ก. ความอดทน ข. ความซื่อสัตย์ ค. มีชีวิตเรียบง่าย ง. มีไหวพริบ ๗. “ก่อนจะทาอะไรก็ขอให้นึกถึงพระ” ข้อความนี้สอดคล้องกับการกระทาของใคร ก. นางสุชาดา ข. พระนางมัลลิกา ค. โสตถิยะ ง. หมอชีวกโกมารภัจจ์ ๘. ผู้ใดมีส่วนสาคัญที่ทาให้พระพุทธเจ้าประทานอนุญาตให้พระสงฆ์รับผ้าที่ชาวบ้านมาถวาย เป็นจีวรได้ ก. พระเจ้าปเสนทิโกศล ข. พระนางมัลลิกา ค. พระกีสาโคตมีเถรี ง. หมอชีวกโกมารภัจจ์ ๙. หมอชีวกโกมารภัจจ์มีคุณธรรมในเรื่องใดเด่นชัด ก. ความคิดกว้างไกล ข. ความกตัญญูกตเวที ค. ความมีไหวพริบ ง. ความเสียสละอย่างยิ่ง ๑๐. พระกีสาโคตมีเถรีได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ที่มีความเป็นเลิศด้านใด ก. มีปัญญามาก ข. เคร่งครัดในพระธรรมวินัย ค. มั่นคงในพระรัตนตรัย ง. ในทางทรงจีวรเศร้าหมอง มีความเป็นอยู่เรียบง่าย
๓๖
๑๑. ผู้ที่มีส่วนสาคัญที่ทาให้พระนาคเสนบวชในพระพุทธศาสนาคือใคร ก. พระโรหณะ ข. พระติสสทัตตะ ค. พระอัสสคุต ง. พระธัมมรักขิต ๑๒. ผู้ใดเป็นนักเทศน์ที่ใช้เทคนิคการเปรียบเทียบโดยยกอุปมาอุปมัยมาเปรียบให้เห็นเป็นรูปธรรม ก. พระสารีบุตร ข. พระนาคเสน ค. พระอุบาลี ง. พระอัสสชิ ๑๓. หนังสือที่บันทึกข้อความการสนทนาโต้ตอบระหว่างพระยามิลินท์กับพระนาคเสนมีชื่อว่าอะไร ก. พุทธปัญหา ข. นาคเสนปัญหา ค. เมนันเดอร์ปัญหา ง. มิลินทปัญหา ๑๔. หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตมีคุณธรรมเรื่องใดที่เด่นชัด ก. ความกตัญญู ข. ความอ่อนน้อมถ่อมตน ค. ความเป็นผู้เสมอต้นเสมอปลาย ง. ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติธรรม ๑๕. ผู้ที่มีส่วนร่วมในการก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลกคือใคร ก. พระพิมลธรรม ข. หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ค. สุชีพปุญญานุภาพ ง. สมเด็จพระวันรัต