SPT Editor's Picks February 2015

Page 1

SPTEP THE 14TH



EDITOR’s TALK ไม่รู้จะด้วยอาถรรพ์เลข 13 หรือเพราะวันปล่อยผี ที่ทำ�ให้ SPTEP ห่างหายไปนานหลังจากปล่อยเล่มสุดท้ายออกไป แม้ไม่นานมาก แต่ก็เป็นช่วงเวลาที่ให้เพื่ิอนๆ หลายๆ ท่าน คิดถึง ลืม หรือไม่ทราบ ว่ากลุ่ม Street Photo Thailand มี e-magazine ที่รวบรวมผลงาน ภาพถ่ายแนวสตรีทที่มีคุณภาพของเพื่อนๆ ที่โพสในกลุ่ม แถมยังมี บทสัมภาษณ์จาก ช่างภาพสตรีท เจ๋งๆ และบทความที่น่าสนใจเกี่ยว กับแนวทางการถ่ายภาพนี้ แต่ไม่ต้องเสียใจไป เพราะเรากลับมาแล้ว ด้วยพลังแห่งความรักอัน ยิ่งใหญ่ จากท่าน St. Valentine ใช่แล้วครับ ความรักชนะทุกอย่าง ฮา ในช่วงที่ผ่านมา หลายท่านน่าจะสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงใน กลุ่ม นั้นคือ เราได้ทดลองใช้ระบบ approve ซึ่งจะทำ�ให้ภาพไม่ขึ้น หน้าฟีดทันที หรือในบางครั้งอาจจะไม่ขึ้นเลย สำ�หรับภาพที่ไม่ตรง ตามกฏ หรือที่แอดมินพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่อยู่ในแนวทางของกลุ่ม สำ�หรับภาพก้ำ�กึ่งจะถูกกด Like โดยแอดมินเพื่อโวต หากยอด Like ไม่พอ เราก็จำ�เป็นที่ต้องลบภาพออกไป ทั้งนี้ทั้งนั้นก็เพื่อพัฒนามาตราฐานการถ่ายภาพแนวนี้ให้ดียิ่งๆ ขึ้นไป นะครับ อย่าโกรธกันเลยน้า นอกจากมาตราการ Approve เรายังเพิ่มการคัดเลือกภาพยอดเยี่ยม Top of The Month เพื่อให้เป็นภาพปกของ SPTEP เดือนถัดไป และ เก็บไว้ในพูล ซึ่งอาจจะมีการนำ�มาร่วมแสดงในงานกิจกรรมของกลุ่ม ในโอกาสต่างๆ พูดมาซะยาว ที่ให้เขียนจะหมด ขอตัดจบตรงนี้เลยละกันครับ ที่เหลือ คือเชิญเสพครับ ศราวุธ แต้โอสถ Ming Ch

ปล. จะปล่อย SPTEP เล่มนี้วันที่ 14 แก้เคล็ดสักหน่อย ก็ยังไม่วาย มาปั่นบทบรรณาธิการนี่ในคือ ศุกร์ 13


CONTRIBUTORS Adam Birkan An Inhermood Ateneo Sta Ines David Cartier Nicky Enrico Markus Essl Frey Phadthanun Rueangpeerapat Fung Chow Gimio Chien Naung Charnyuth Nic Hughes Noppadol Maitreechit Nuthakorn Chienprapa Ping Spg Pradubkiat Bouklee Rop พลิ้ว Saptawee Puthom Sarrote Sakwong Street Naja Supornchai Ratanamethanon Tanet Sae Au Warut Rinprom

ช้าง ฝรั่ง บุรุษ ไปสตรีท อนุเทพ อมาตยกุล


Arjsuk Jantamas


PEERA VORAPREECHAPANICH STREET PHOTO TALK



PEERA VORAPREECHAPANICH

ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา เรียกได้ว่าเป็นช่วงเวลาที่วงการสตรีทไทยค่อนข้างคึกคักเป็นพิเศษ เริ่มมีคนพูดถึงและทดลอง ถ่ายภาพแนวนี้มาขึ้น มีงานเจ๋งๆ ของช่างภาพสตรีทไทยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งความเจ๋งที่ว่านี้ต้องบอกว่าเป็นความเจ๋งที่วัดกัน ในระดับสากลเลยที่เดียว งานของช่างภาพหลายๆท่าน ได้รับการยอมรับให้ลงในกรุ๊ป flickr สุดหิน ที่ไม่ใช่ใครจะส่งรูป อะไรไปก็จะได้ลง และที่สำ�คัญมีช่างภาพหลายๆท่านหลุดเข้าไปอยู่ใน Finalist และได้รางวัลการถ่ายภาพในรายการระ ดับท๊อปๆของโลก หนึ่งในช่างภาพมือรางวัลที่เราจะพูดคุยด้วยในวันนี้ คือ คุณ พีระ วรปรีชาพาณิชย์ ผู้ที่เพิ่งคว้ารางวัล ประเภท The Storyteller ของ eyeEM ปีล่าสุดมาหมาดๆ ไปคุยกับเค้ากันครับ

SPT: สวัสดีครับคุณ พีระ ช่วยแนะนำ�ตัวเองแบบคร่าวๆ หน่อยครับ Peera: สวัสดีครับ พี พีระ วรปรีชาพาณิชย์ ตอนนี้เป็น ครีเอทีฟโฆษณา เริ่มถ่ายภาพมาหลายปีแล้ว แต่มายึดเป็น งานอดิเรกที่จริงจัง (มาก) ราวๆ 2-3 ปีก่อน แวะเข้าไปชม ผลงานได้ที่ www.peera-v.com ครับ SPT: ทำ�ไมถึงได้ใจถ่ายภาพแนวสตรีทอะครับ Peera: จุดเริ่มต้นที่ทำ�ให้สนใจในภาพแนวสตรีทอย่าง จริงจังคือการที่เปลี่ยนมือถือมาใช้ iPhone ครับ เพราะ ช่วงนั้นคือยุคบูมของ Instagram และเป็นจุดกำ�เนิดของ กลุ่มช่างภาพมือถือที่ถ่ายสตรีทอย่างกลุ่ม Mobile Photo Group พอดี ซึ่งก็ใช้ IG เป็นช่องทางในการเผยแพร่งานของ

ตัวเอง ในตอนนั้นผมเป็นคนติด IG มาก ชอบดูภาพของ ช่างภาพเมืองนอก พอเห็นภาพของกลุ่มนี้เข้าปุ๊บ ก็ชอบเลย ทันที เลยคิดว่า เราเองก็ถ่ายแบบนี้ได้นี่ ทำ�ให้เริ่มถ่ายสตรี ทแบบจริงจังขึ้น บวกกับตัวเองเป็นคนที่มีนิสัยชอบมองหา อะไรแปลกๆ ตามท้องถนน ความอยากรู้อยากเห็น และ ชอบที่จะเดินไปในที่แปลกๆ ทั้งหมดทั้งมวลนี้เลยทำ� ให้ ช่วงนั้นคลั่งการถ่ายสตรีทมากๆ ครับ แรกๆ ก็จะถ่ายด้วย iPhone ทั้งหมด ก่อนจะขยับมาใช้กล้องที่จริงจังขึ้นครับ

SPT: มีช่างภาพไอดอลในดวงใจไหมครับ ขอลิสต์สักสอง สามชื่อเป็นวิทยาทานหน่อยฮะ Peera: 2 คนนี้เลยครับ คนแรกคือ Daido Moriyama ภาพถ่ายขาว-ดำ�ของเขา ดูแล้วสามารถสัมผัสได้ถึงอารมณ์


ความรู้สึกบางอย่างที่อยู่ข้างใน และที่ชอบอีกอย่างคือแนวคิด ในการทำ�งานของเขาคือ เขาจะคิดว่าตัวเองเป็น “หมาจรจัด” (Stray Dog) พเนจรทะลุซอกซอยต่างๆ แล้วบันทึกภาพที่เห็น อีกคนหนึ่งคือ Micheal Wolf งานของเขาจะเป็นภาพชุดที่แต่ละ อันมีไอเดียที่เจ๋งมาก และสะท้อนความเป็นไปของสังคมเมือง เช่น ถ่ายภาพพนักงานออฟฟิศที่โดนอัดก๊อปปี้ติดกระจกในรถไฟ ใต้ดิน หรือ ซูมเข้าไปถ่ายคนที่อยู่ในตึกต่างๆ ครับ

ไปด้วยกันอย่างไม่มีจุดให้สะดุดเลย

SPT: สตรีทในนิยามของคุณพีระคืออะไร Peera: สตรีทในความคิดผม คือ การบันทึกเรื่องราวที่เกิดขึ้นใน พื้นที่สาธารณะผ่านสายตาและมุมมองของแต่ละบุคคล เป็นการ ถ่ายสิ่งที่ตัวช่างภาพเองมีความสนใจในชั่วขณะเวลานั้น แต่ใน อีกมุมหนึ่งต่อคำ�ว่าสตรีท ผมเองคิดว่าคำ�นี้ไม่ใช่แนวทางถ่าย ภาพขนาดนั้น แต่เป็นเหมือนคำ�กว้างๆ ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อบอก SPT: คุณพีระได้สะสม photobook บ้างไหมครับ มีสักเล่มเป็น ให้ทุกคนเข้าใจตรงกันว่า คือการถ่ายรูปในพื้นที่สาธารณะนะ best recommend ไหมครับ ไม่ใช่การจัดฉากนะ เพราะในงานสตรีท ก็มีหลากหลายแนวทาง Peera: ค่อยๆ เก็บสะสมอยู่ครับ ตอนนี้ยังมีไม่เยอะ ส่วนเล่ม ที่แยกออกไปอีก เช่น บางคนถ่ายเป็นแนว conceptual บางคน ที่ Best Recommend คงจะเป็น The Americans ของ Robert ถ่าย urban landscape บางคนถ่ายแบบ snapshot บางคนถ่าย Frank เป็นเรื่องราวของตัวเอง หรือ ที่เรียกว่างาน personal เป็นต้น ครับ SPT: ทำ�ไมถึงแนะนำ�เล่มนี้อะครับ Peera: ชอบวิธีนำ�เสนอเรื่องราวของเขาภายในเล่มครับ ที่เลือก SPT: คิดว่างานสตรีทของตัวเองมีลักษณะเป็นอย่างไร จะตามเก็ บ ภาพสิ่ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ นภาพความคิ ด ทั่ ว ไปของคน Peera: งานของผมจะเป็นงานที่นิ่งๆ ไม่ได้หวือหวาด้านคอม อเมริกันในสมัยนั้น อย่าง คาวบอย หรือคนผิวสี นอกจากนี้ อีกสิ่ง โพสิชั่น หรือ จังหวะ 1-2-3 ภายในภาพ แต่จะเน้นไปที่การมอง ที่ผมได้เรียนรู้จากเล่มนี้คือเรื่องการ edit และ เรียงภาพ เพราะทั้ง หาความแปลกประหลาด หรือ จุดเล็กๆ ที่ซ่อนอยู่ในท้องถนนที่ เล่มตั้งแต่หน้าแรกจนถึงหน้าสุดท้าย แต่ละใบเชื่อมต่อร้อยเรียง คนส่วนใหญ่มองข้าม ส่วนใหญ่จะเป็นภาพชุดครับ โดยมีไอเดีย



ความรู้สึกบางอย่างที่อยู่ข้างใน และที่ชอบอีกอย่างคือแนวคิด ในการทำ�งานของเขาคือ เขาจะคิดว่าตัวเองเป็น “หมาจรจัด” (Stray Dog) พเนจรทะลุซอกซอยต่างๆ แล้วบันทึกภาพที่เห็น อีกคนหนึ่งคือ Micheal Wolf งานของเขาจะเป็นภาพชุดที่แต่ละ อันมีไอเดียที่เจ๋งมาก และสะท้อนความเป็นไปของสังคมเมือง เช่น ถ่ายภาพพนักงานออฟฟิศที่โดนอัดก๊อปปี้ติดกระจกในรถไฟ ใต้ดิน หรือ ซูมเข้าไปถ่ายคนที่อยู่ในตึกต่างๆ ครับ

ไปด้วยกันอย่างไม่มีจุดให้สะดุดเลย

SPT: สตรีทในนิยามของคุณพีระคืออะไร Peera: สตรีทในความคิดผม คือ การบันทึกเรื่องราวที่เกิดขึ้นใน พื้นที่สาธารณะผ่านสายตาและมุมมองของแต่ละบุคคล เป็นการ ถ่ายสิ่งที่ตัวช่างภาพเองมีความสนใจในชั่วขณะเวลานั้น แต่ใน อีกมุมหนึ่งต่อคำ�ว่าสตรีท ผมเองคิดว่าคำ�นี้ไม่ใช่แนวทางถ่าย ภาพขนาดนั้น แต่เป็นเหมือนคำ�กว้างๆ ที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อบอก SPT: คุณพีระได้สะสม photobook บ้างไหมครับ มีสักเล่มเป็น ให้ทุกคนเข้าใจตรงกันว่า คือการถ่ายรูปในพื้นที่สาธารณะนะ best recommend ไหมครับ ไม่ใช่การจัดฉากนะ เพราะในงานสตรีท ก็มีหลากหลายแนวทาง Peera: ค่อยๆ เก็บสะสมอยู่ครับ ตอนนี้ยังมีไม่เยอะ ส่วนเล่ม ที่แยกออกไปอีก เช่น บางคนถ่ายเป็นแนว conceptual บางคน ที่ Best Recommend คงจะเป็น The Americans ของ Robert ถ่าย urban landscape บางคนถ่ายแบบ snapshot บางคนถ่าย Frank เป็นเรื่องราวของตัวเอง หรือ ที่เรียกว่างาน personal เป็นต้น ครับ SPT: ทำ�ไมถึงแนะนำ�เล่มนี้อะครับ Peera: ชอบวิธีนำ�เสนอเรื่องราวของเขาภายในเล่มครับ ที่เลือก SPT: คิดว่างานสตรีทของตัวเองมีลักษณะเป็นอย่างไร จะตามเก็ บ ภาพสิ่ ง ที่ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ ใ นภาพความคิ ด ทั่ ว ไปของคน งานของผมจะเป็นงานที่นิ่งๆ ไม่ได้หวือหวาด้านคอมโพสิชั่น หรือ อเมริกันในสมัยนั้น อย่าง คาวบอย หรือคนผิวสี นอกจากนี้ อีกสิ่ง จังหวะ 1-2-3 ภายในภาพ แต่จะเน้นไปที่การมองหาความแปลก ที่ผมได้เรียนรู้จากเล่มนี้คือเรื่องการ edit และ เรียงภาพ เพราะทั้ง ประหลาด หรือ จุดเล็กๆ ที่ซ่อนอยู่ในท้องถนนที่คนส่วนใหญ่มอง เล่มตั้งแต่หน้าแรกจนถึงหน้าสุดท้าย แต่ละใบเชื่อมต่อร้อยเรียง ข้าม ส่วนใหญ่จะเป็นภาพชุดครับ โดยมีไอเดีย หรือ theme อะไร


บางอย่างคลุมภาพทั้งหมดไว้ด้วยกัน และบอกเล่าเรื่องราวอะไร บางอย่างผ่านภาพถ่ายของตัวเอง งานภาพเดียวจบก็มีบ้างครับ แต่ไม่มาก จะว่าไปแล้วงานของผมคงไม่ใช่งานสตรีทแบบเพียวๆ แต่มีเจือ ด้วยกลิ่นของงานภาพแบบสารคดีหรือ conceptual แบบบางๆ ครับ

SPT: ในแต่ละช็อตอะไรคือสิ่งที่ทำ�ให้กดชัตเตอร์ Peera: สิ่งที่ทำ�ให้มีความรู้สึกว่า “เฮ้ย อะไรเนี่ย” หรือ “มาอยู่ ตรงนี้ได้ยังไง” ครับ คือเรียกได้ว่าเห็นอะไรที่เตะตาหรือคิดว่ามัน ต้องมีเรื่องราวอะไรบางอย่างแน่ๆ ก็จะกดไว้ก่อนเลยครับ เพราะ กล้องที่ใช้อยู่เป็นกล้องดิจิตอล เน้นว่ากดไว้ก่อน แล้วค่อยมา เลือก edit ทีหลังครับ

SPT: มีประสบการณ์ร้ายๆจากการถ่ายสตรีทไหมครับ ถ้ามีผ่าน มันไปยังไง Peera: จริงๆ ตั้งแต่ถ่ายมาก็ไม่เคยเจอเรื่องร้ายแรงครับ ที่หนัก สุด น่าจะเป็นโดนคนแก่ถือไม้เท้าไล่ครับ ตอนนั้นเดินผ่านเขา แล้วเราก็ใช้ไอโฟนกดถ่ายสองสามช็อต แล้วก็เดินผ่านไปเลย เดินไปสักพักก็ได้ยินเสียงจากด้านหลัง เลยลองชำ�เลืองกลับไปดู เห็นแกยกไม้เท้าตะโกนใส่เหมือนจะเอาเรื่อง แต่ตอนนั้นใส่หูฟัง อยู่ ก็ทำ�เนียนเดินต่อไปไม่สนใจครับ

SPT: แล้วประสบการณ์ดีๆ ล่ะ ได้เรียนรู้แลกเปลี่ยนกับคนอื่นๆ รวมถึงได้ฟังความเห็นที่หลาก หลายเกี่ยวกับงานของตัวเองครับ เพราะปกติเวลาคลอดโปร เจ็คท์ออกมาชิ้นหนึ่ง ก็จะเอาไปให้เพื่อนวิจารณ์ ซึ่งก็จะได้ความ เห็นแบบหนึ่ง ให้ช่างภาพคนอื่นดูก็ได้ความเห็นอีกแบบหนึ่ง ที่ SPT: ปกติชอบถ่ายย้ำ�หรือไม่ย้ำ�ฮะ บางครั้งก็แตกต่างแบบสุดขั้วเลย บางคนชอบ บางคนไม่ชอบ Peera: ย้ำ�ครับ ย้ำ�ค่อนข้างเยอะด้วย ถ้าเป็นสิ่งของที่อยู่นิ่งๆ ก็จะ เลย ทำ�ให้เราได้เห็นในมุมที่คนอื่นเห็นแต่เราเองไม่เห็น และเปิด กดไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพอใจครับ ย้ายไปมุมนั้นมุมนี้บ้าง บางที กว้างในการรับฟังคำ�วิจารณ์จากคนอื่นได้มากขึ้นด้วยครับ มุมเดียวกดเป็นสิบรูปก็มี แต่ถ้าหากถ่ายภาพจังหวะหรือโมเมนต์ ของคนก็จะกดเผื่อไว้จนกว่าเขาจะเดินไปหรือเปลี่ยนท่าครับ SPT: ปกติ edit ภาพทันที หรือทิ้งไว้นานๆ แล้วค่อยกลับมาดู Peera: เรื่อง edit ผมมองเป็นสองส่วนครับ ส่วนแรกคือการแต่ง SPT: แล้วปกติออกไปถ่ายสตรีทถี่บ่อยแค่ไหนครับ ภาพ ปรับสี ครอป อะไรทำ�นองนี้ (หรือที่เมืองนอกใช้คำ�ว่า enPeera: แล้วแต่ช่วงเลยครับ อย่างตอนนี้ต้องเดินทางไปทำ�งาน chance) ส่วนสองคือ การเลือกภาพและเรียงภาพครับ (หรือที่ ด้วย MRT ก็เลยถือโอกาสทำ�โปรเจ็คถ่ายสตรีทใน MRT ซะเลย เมืองนอกใช้คำ�ว่า edit) ก็จะถ่ายช่วงไป-กลับจากออฟฟิศ เกือบจะทุกวัน ส่วนวันเสาร์ ส่วนใหญ่จะเอาไฟล์ลงคอมไว้ แต่งภาพให้เสร็จแล้วก็ทิ้งไว้เลย อาทิตย์สุดสัปดาห์ก็มีบ้างครับ แต่ส่วนใหญ่จะเป็นพกกล้อง ครับ พอผ่านไปสักระยะค่อยกลับมาดูอีกรอบ แล้วเริ่ม edit หรือ ติดตัวไว้ เจออะไรน่าสนใจก็หยิบมาถ่ายเลยเสียมากกว่า เลือกและเรียงภาพ จากตรงนั้นครับ เพราะบางที รูปที่ชอบมากหลังกดชัตเตอร์เสร็จ พอเวลาผ่านไป SPT: มีรูทสิ้นคิดไหมครับ แบบคิดอะไรไม่ออกละ ไปเดินรูทนี้ล่ะ แล้วกลับมาดูใหม่ เราก็อาจจะไม่ชอบมันแล้ว Peera: ถ้านึกอะไรไม่ออกก็จะหยิบกล้องแล้วก็เดินไปเรื่อยๆ ครับ เพราะส่วนตัวเชื่อว่าในทุกที่มีเรื่องราวของมันอยู่ แต่จะใช้ SPT: มีขั้นตอน edit ภาพยังไงบ้างครับ วิธีเปลี่ยนเส้นทางครับ อย่าง ละแวกบ้านผมที่มีซอกซอยเยอะ Peera: ถ้าเป็นกระบวนการภาพชุด จะใช้วิธีนี้ครับ มาก ก็จะลองเดินไปในซอยที่ไม่เคยเข้าไป หรือ ปกติเส้นนี้จะ ขั้นแรกคือตัดภาพที่ใช้ไม่ได้ทิ้งไปก่อน (เช่น ภาพเบลอ โฟกัส ต้องเลี้ยวซ้าย ไหนลองเลี้ยวขวาดูซิ ว่าจะไปโผล่ไหน ไปเจอกับ หลุด ภาพซ้ำ�ๆ ในมุมเดียวกัน) ขั้นต่อมาคือการเลือกภาพที่เรา อะไรครับ คิดว่าใช้ได้ออกมาเป็นชุดแรกครับ โดยเลือกแบบกว้างๆ ก่อน ขอ



Fading Memories


เรียกภาพชุดนี้ว่า edit A ขั้นถัดมาคือเอา edit A มาเลือกภาพที่ดีจริงๆ ออกมาอีกทีครับ อย่างเช่นภาพบางภาพมุมเดียวกัน หรือ เล่าเรื่องเหมือนกันก็ ต้องตัดใจเลือกออกมาแค่ภาพเดียวจริงๆ ภาพที่เหลือรอดจาก กระบวนการนี้ขอเรียกว่า edit B ครับ สุดท้าย คือ อัดรูป edit B ออกมาเรียงว่า จะให้ภาพไหนมาก่อน มาหลัง สลับตำ�แหน่งดูว่าแบบไหนดีกว่ากัน แล้วก็นำ�ไปถาม ความเห็นจากเพื่อนๆ ในกลุ่มที่ถ่ายภาพด้วยกัน หรือ ช่างภาพ คนอื่นว่าคิดอย่างไรครับ

SPT: ดูงานของคุณพีระมาสักพัก เหมือนจะเน้นงานเป็นภาพชุด มากกว่าภาพเดี่ยวรึป่าวครับ Peera: ใช่ครับ ส่วนใหญ่จะเป็นภาพชุด SPT: อะไรคือเสน่ห์ของภาพชุด Peera: ภาพชุดสามารถถ่ายทอดสิ่งที่อยู่ในใจของช่างภาพได้ดี กว่าภาพเดี่ยวครับ ซึ่งสิ่งนั้นอาจจะเป็นเรื่องราวที่เขาอยากจะ เล่า หรือ อารมณ์ความรู้สึกที่เขาอยากจะให้ผู้ที่ได้ดูรูป ได้รู้สึก ตามไปกับเขาโดยใช้ภาพถ่ายเป็นสื่อ ด้วยปริมาณภาพที่มากก ว่า การเรียงลำ�ดับภาพ และ statement ของงาน เลยทำ�ให้ภาพ ชุดสามารถเล่าเรื่องราวได้ลึกและเหนือกว่าภาพเดี่ยวครับ เสน่ห์อีกอย่างคือ พลังที่เกิดจากการเรียงลำ�ดับภาพครับ ภาพ ชุดบางชุด เมื่อนำ�มาแยกดูเป็นรูปๆ ก็อาจจะไม่รู้สึกอะไร แต่เมื่อ ลองเปิดดูตั้งแต่ต้นจนจบตามลำ�ดับ กลับรู้สึกได้ถึงอารมณ์ความ รู้สึกบางอย่างที่ช่างภาพต้องการจะสื่อครับ

SPT: แอบสืบทราบมาว่าเพิ่งไปคว้ารางวัลประเภท The Storyteller ของ eyeEM มา ทำ�ไมถึงเลือกใบนั้นฮะ Peera: ผมชอบเรื่องราวที่เกิดขึ้นจากความผิดที่ผิดทางของน้อง หมาที่ไปโผล่อยู่ตรงนั้นครับ ซึ่งมันก่อให้เกิดคำ�ถามต่อคนที่ได้ เห็นภาพได้เก็บไปคิดต่อได้ เช่น น้องหมาจะเป็นอย่างไรต่อ เขา จะปะทะกันอย่างไร ทำ�ไมคนเลี้ยงถึงพาน้องหมาไปด้วยในพื้นที่ หากเทียบง่ายๆ ผมคิดว่าภาพเดี่ยวคือ คลิปสั้นๆ แต่ภาพชุดคือ นั้น เป็นต้น ทำ�ให้เรื่องราวในภาพมันไม่ได้จบอยู่แค่ในกรอบ หนังหนึง่ เรื่อง ที่มีฉากเปิด ฉากไคลแม็กซ์ ฉากจบ ครับ สี่เหลี่ยมตรงหน้าครับ

SPT: วิธีการทำ�งานแบบภาพชุดนี่มันเป็นยังไงอะครับ SPT: ก่อนหน้านี้ก็เหมือนได้รางวัล จากภาพชุด Fading Memo- Peera: ส่วนตัวผม มีวิธีการทำ�งานสองแบบครับ ries งานชุดนี้คืออะไร ยังไง ช่วยเล่าให้ฟังหน่อยครับ Peera: งานชุดนี้ทำ�ขึ้นมาเพื่อส่งประกวดไปที่ Kuala Lumpur แบบแรกคือมีเรื่องหรือไอเดียที่อยากจะเล่าอยู่ในใจแล้ว ก็จะ Photo Awards 2013 หมวด Smartphone Story ซึ่งมี Theme ออกไปเก็บภาพตามที่คิดเอาไว้ คือ 1000 Yards หรือ เรื่องราวที่เกิดขึ้นรอบๆ ตัว จากโจทย์นี้เลย แบบสองคือการออกไปถ่ายภาพตามปกติ แต่เมื่อรวบรวมภาพ ตีความออกมาเป็นเรื่องราวของร้านค้าเก่าแก่ในละแวกบ้านที่ ได้จำ�นวนนึงแล้วค่อยเอามา edit รวมกันเป็นภาพชุด โดยหา ผมเห็นมาตั้งแต่สมัยเด็กๆ ซึ่งเจ้าของก็ล้วนแต่เป็นผู้สูงอายุ และ แกนหรือไอเดียอะไรบางอย่างมาผูกมันเข้าไว้ด้วยกันครับ ผมเองก็ไม่รู้เหมือนกันว่าต่อไปจะมีผู้มาสืบทอดกิจการของพวก แต่ทั้งนี้ก็ไม่ตายตัวครับ บางทีออกไปเดินถ่ายภาพก็ปิ๊งไอเดีย เขาไหม ดังนั้น นี่จึงเปรียบเสมือนความทรงจำ�ที่ค่อยๆ จะเลือน ภาพชุดขณะถ่าย หรือ ตอนที่ได้ภาพที่น่าสนใจจะเอาไปต่อยอด หายไป ซึ่งก็ออกมาเป็นงานภาพชุดนี้ โดยใช้วิธีการถ่ายภาพ ได้ก็มีครับ portrait ของเจ้าของร้านวางคู่กับสิ่งของหรือบรรยากาศในร้าน นั้นๆ พร้อมคำ�บรรยายเรื่องราวสั้นๆ ของแต่ละร้าน โดยถ่ายและ SPT: ปกติภาพชุดหนึ่งนี่ทำ�เร็วช้ายังไงครับ ตกแต่งภาพทั้งหมดด้วย iPhone ครับ งานนี้ชนะรางวัล Hornor- Peera: ไม่ตายตัวครับ บางชุดมีกรอบเวลาที่ชัดเจน อย่างเช่น able Mention และ IPA Grant Prize ครับ ออกไปถ่ายภาพสตรีทในเหตุการณ์หนึ่ง เมื่อเหตุการณ์จบลง ก็-


Unsolved Mystery

จบครับ หรือ บางงานที่ไม่มีกรอบ ก็ถ่ายไปเรื่อยๆ ครับ ค่อยๆ SPT: ได้ทักษะหรือมีพัฒนาการอะไรเพิ่มขึ้นบ้างจากการทำ� เก็บภาพสะสมเอาไว้ และเมื่อวันนึงเราคิดว่า อ่ะ พอแล้ว ก็จะ workshop ครับ หยุดถ่าย และ ขั้นต่อไปคือการนำ�ภาพไป edit ครับ Peera: หลายอย่างครับ อันดับแรกเลยคือได้เรียนรู้ว่าระบบ การคิดและการถ่ายทอดผลงานออกมาสักชิ้นนึงเนี่ย จะต้องมี SPT: แอบสืบทราบมาอีกว่าคุณพีระเคยเข้าร่วม workshop กับ กระบวนการอะไรบ้าง ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีที่เราจะได้เรียนรู้สอบถาม ทาง IPA เมื่อหลายปีก่อน อยากทราบว่าตอนนั้นคิดอะไร ทำ�ไม จากผู้ที่มีประสบการณ์ครับ ต่อมาคือ เรื่องแนวคิดที่มีต่อผล ถึงอยากร่วม workshop งานของตัวเอง เพราะที่ไปเวิร์คช็อปมาไม่ว่าจะ IPA หรือ AngPeera: จริงๆ ที่ได้ไป workshop กับ IPA เพราะได้รางวัลมาจาก kor Photo Workshop ติวเตอร์มักจะมีคำ�ถามตลอดว่า “ทำ�ไม งาน Kuala Lumpur Photo Awards 2013 ครับ ซึ่งหนึ่งในรางวัล คุณถ่ายภาพนี้” “ภาพนี้รู้สึกอย่างไรต่อคุณ” “ทำ�ไมเลือกภาพนี้ ที่ได้คือการได้ workshop ฟรีกับ IPA ที่ไหนก็ได้ ซึ่งในปีนั้นมีที่ แทนที่จะเป็นภาพนี้” “ทำ�ไมถึงทำ�เป็นขาวดำ�แทนที่จะเป็นสี” ซึ่ง กรุงเทพด้วย เลยได้ไปเข้าร่วมครับ ทั้งหมดนี้ จะทำ�ให้เราได้ตอบตัวเองอย่างตรงไปตรงมาถึงงาน ของตัวเอง ว่าเราเข้าใจถึงสิ่งที่ตัวเองต้องการจะสื่อมากขึ้นแค่ SPtT: แล้วมี workshop อะไรนอกเหนือจากที่เราสืบทราบอีกไห ไหน และสิ่งนี้เองที่ช่วยผมได้มากในเรื่องการ edit ภาพเพื่อเล่า มอะครับ เรื่องในภาพชุดครับ นอกจากแค่การถ่าย จุดนี้ยังช่วยให้เราดูงาน มี Angkor Photo Workshop 2012 ที่เสียมเรียบครับ ซึ่งเวิร์ค ของช่างภาพคนอื่นได้ลึกขึ้น มองสิ่งที่นอกเหนือจากคอมโพสิชั่น ช็อปนี้เปลี่ยนชีวิตการถ่ายภาพของผมไปเลยครับ เป็นครั้งแรกที่ แต่ลึกเข้าไปเจอหรือมองหาเรื่องราวที่เขาต้องการจะสื่อ ครับ ได้เรียนรู้การทำ�ภาพชุดจริงๆ ว่าเขาทำ�กันอย่างไร ต้องคิดอะไร สุดท้ายคือได้เพื่อนใหม่ๆ เยอะขึ้นมาก ทั้งคนไทยและคนต่าง edit รูปกันแบบไหน เรียกว่าเคี่ยวกันแบบจัดเต็มมาก อีกอันที่ ชาติ บางคนตอนนี้ก็สนิทมาก ติดต่อพูดคุย เอางานมาโชว์ให้ เคยเข้าร่วมคือ iN-PUBLiC Street Photography workshop ที่ วิจารณ์กันอยู่เรื่อยๆ ครับ จัดโดย TCDC ครับ


Unsolved Mystery

Unsolved Mystery


Unsolved Mystery

Unsolved Mystery


Unsolved Mystery

SPT: การทำ� workshop มีผลอะไรกับงานเรา ณ ปัจจุบันไหม ครับ Peera: มีผลมากๆ ครับ เพราะการเวิร์คช็อปคือการที่เราต้องทำ� ผลงานภายใต้ระยะเวลาที่จำ�กัด ดังนั้น จึงช่วยผลักดันตัวเราเอง ให้ข้ามขัดจำ�กัดเดิมๆ ที่มีอยู่ ได้ทดลองทำ�งานด้วยวิธีหรือมุม มองใหม่ๆ ซึ่งสามารถนำ�มาต่อยอดกับงานของเราต่อไปได้ใน อนาคตครับ เพราะอย่างผมก็มีงานอยู่ชิ้นนึง ที่นำ�งานที่ทำ�ในช่วง เวิร์คช็อปมาทำ�ต่อ รวมถึงการที่มีคนมาช่วยวิจารณ์ผลงานของ เราแบบตรงไปตรงมา ก็ส่งผลให้เราต้องใส่ใจและคิดเยอะขึ้น เวลาที่เราทำ�งานของตัวเองออกมา อีกอย่างคือ วิธีการ edit ที่ได้ เรียนรู้มาตอน workshop ช่วยในการเลือกภาพของตัวเองมากๆ ครับ

SPT: คิดว่าตัวเองตอนนี้ต่างจากตอนที่เริ่มถ่ายสตรีทใหม่ๆยังไง บ้าง Peera: แต่ก่อนเวลาถ่าย ผมก็จะชอบคิดว่าถ่ายแล้วจะเอาไป ลงที่เว็บนู้น เว็บนี้ ต้องได้ไลค์เยอะๆ ต้องมีคนเข้ามาเม้นท์ชม มากๆ มันจึงเป็นการบังคับตัวเองว่า จะต้องถ่ายในแบบที่คนอื่น เขาชอบ แต่พอตอนนี้ ความคิดของผมเปลี่ยนไป ผมจะเน้นถ่าย งานเพื่อตอบในสิ่งที่ตัวเองต้องการจะสื่อสารออกไป เล่าในสิ่งที่ อยากจะเล่า บอกต่อในสิ่งที่ตัวเองได้เห็นด้วยความคิดที่ว่า นี่แห ล่ะ คือความคิดที่มาจากเราจริงๆ ซึ่งสิ่งนี้ทำ�ให้ผูกพันกับงานของ ตัวเองมากขึ้น

SPT: แล้วในอนาคต 3 ปี 5 ปี นี่จะเป็นยังไงบ้าง Peera: ก็คงจะถ่ายไปเรื่อยๆ ครับ หวังในใจลึกๆ ว่า อยากจะมี SPT: คิดว่าถ้าไม่ได้ทำ� workshop งานเรา ณ ตอนนี้จะเป็นยังไง Photobook ผลงานของตัวเองสักหนึ่งเล่ม แต่ก็ไม่รู้จะเป็นจริงได้ ครับ แค่ไหนครับ (หัวเราะ) เข้าใจว่างานของตัวเองก็น่าจะอยู่ในกรอบเดิมๆ เท่าที่เคยเห็น มา งมและจมอยู่กับการทำ�งานในแบบที่ตัวเองคิดว่าดี โดยที่ไม่รู้ SPT: มีอะไรอยากแนะนำ�คนที่กำ�ลังสนใจและอยากเริ่มถ่าย ว่า จริงๆ แล้วมันดีอย่างที่เราคิดเอาไว้รึเปล่า และก็คงไม่ได้รู้จัก ภาพสตรีทบ้างครับ คนในวงการถ่ายภาพมากเท่าทุกวันนี้ครับ Peera: เริ่มต้นถ่ายเลยครับ! ไม่ต้องกังวลว่า ภาพนี้จะเป็นสตรีท หรือไม่เป็นสตรีท ถ่ายไปก่อนเลย ทีนี้ถ้าเริ่มรู้สึกตัวแล้วว่า อยาก



อยากจะจริงจังกับการถ่ายแนวนี้ ก็ต้องศึกษาเพิ่มเติมครับ ดูรูป เยอะๆ ทั้งของช่างภาพไทยและช่างภาพเมืองนอก ดูว่าตอนนี้เขา มีถ่ายกันแบบไหนบ้าง เขาเล่าเรื่องแบบไหน ทำ�ไมเขาถึงเลือก ถ่ายแบบนี้กับเรื่องแบบนี้ พร้อมกับศึกษาเรื่องการ edit ภาพ ครับ ผมว่าจุดนี้เป็นจุดสำ�คัญมากๆ ที่หลายคนมองข้ามไป ช่าง ภาพหลายคนบอกว่า การ edit รูปนั้นยากกว่าลงมือถ่ายรูปเสีย อีก เพราะต่อให้ถ่ายออกมาได้ดีขนาดไหน แต่ถ้ารูปที่เลือกมา โชว์ เป็นภาพที่ไม่แข็งแร็งพอ รูปดีๆ ที่ถ่ายมาแต่ไม่ถูกเลือกก็ไม่มี ประโยชน์ครับ สุดท้ายคือ หาคนที่มีความรู้เรื่องภาพถ่ายและ กล้าวิจารณ์ภาพถ่ายเราแบบตรงไปตรงมา ดีบอกดี แย่บอกแย่ ให้เจอครับ SPT: ถ้าขณะออกเดท มีคนยกกล้องถ่ายคุณ คุณจะทำ�อะไรยัง ไงบ้างครับ Peera: คงจะหมุนตัวหลบกล้องครับ เพราะปกติไม่ว่าจะเวลา ทั่วไป หรือ เวลาออกไปถ่ายภาพ จะพยายามย้ายตัวเองให้ไม่ไป ติดอยู่ในกล้องของคนอื่นอยู่แล้วครับ

#Me #PDRC #Protest


#Me #PDRC #Protest

#Me #PDRC #Protest


#Me #PDRC #Protest

#Me #PDRC #Protest



#Me #PDRC #Protest


สตรีทกับการเป็นช่างภาพผู้หญิง

WOMEN ON STREET by Tipawan Gatesomboon

Diane Arbus

การถ่ายภาพสตรีทนั้นถือเป็นการถ่ายภาพที่ใช้งบประมาณต่ำ�ที่สุดแล้วเมื่อเทียบกับการถ่ายภาพแบบอื่นๆ ไม่ต้องจ้าง นางแบบ ไม่ต้องเสียค่าออกทริป ไม่จำ�เป็นต้องใช้กลองชั้นเลิศ ไม่จำ�เป็นต้องมีเลนส์ใหญ่ๆยาวๆ เพียงแค่คุณมีกล้องคู่ใจ ขนาดกระทัดรัดเหมาะมือ ใจที่ขยันหมั่นเดิน และมุมมองเฉพาะตัวของคุณ คุณก็สามารถสร้างงานได้แล้ว ดังนั้นไม่ว่า หญิงหรือชายก็มีโอกาสที่จะได้ภาพที่ดีได้พอๆกัน แต่ช่างภาพหญิงก็มีข้อได้เปรียบในบางเรื่อง ขณะที่ช่างภาพชายก็ได้ เปรียบในบางด้านเช่นกัน จึงอยากจะแชร์ประสบการณ์ในฐานะที่เป็นช่างภาพผู้หญิงคนหนึ่งว่ามีข้อดีข้อด้อยอย่างไรบ้าง จากเหตุการณ์ที่เคยประสบพบเจอมา


แน่นอนว่าช่างภาพผู้หญิงก็มีข้อด้อยในเรื่องนี้เช่นกัน คือในทางตรงกัน ข้าม ผู้หญิงจะไม่สามารถเข้าไปในพื้นที่ส่วนตัวหรือพื้นที่ละหมาดใน โซนผู้ชายได้นั่นเอง ข้อ 3 ดูไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อเจ้าหน้าที่ ในบางสถานที่ที่มีความ รัดกุ​ุมเรื่องความปลอดภัย เรื่องภาพพจน์ เจ้าหน้าที่จะไม่เพ่งเล็งอะไร คุณมากมายหากคุณเป็นผู้หญิง แต่ก็ขึ้นอยู่กับการแต่งกาย การวางตัว ลักษณะท่าทางคาแร็กเตอร์ของคุณด้วย เคยเจอประสบการณ์ครั้งหนึ่ง ไปถ่ายคนเต้นในคอนเสิร์ตหมอลำ�กับเพื่อนช่างภาพผู้ชายอีก 2 คน ดนตรีมันส์จนมีคนตีกัน ทันใดนั้นเจ้าหน้าที่ สห.ก็เข้าระงับเหตุการณ์ ด้วยไม้กระบอง ไม่พลาดที่จะถ่ายเอาไว้ พอหลังเหตุการณ์สงบ เจ้า หน้าที่มาไล่ดูกล้องพวกเรา ต่างใช้ทริกหลีกเลี่ยงกันไป ปรากฏว่าของ เพื่อนผู้ชายโดนลบภาพ ส่วนเราไม่โดน อาจเนื่องจากเราเลื่อนภาพ วนไปภาพแรกๆที่ถ่าย แต่อีกส่วนหนึ่งคือเจ้าหน้าที่ไม่ได้ดูภาพของเรา ทั้งหมดอย่างละเอียด แน่นอนว่าเป้าหมายการตรวจเช็คตกไปอยู่ที่ช่าง ภาพผู้ชายเสียมากกว่า นี่ก็เป็นข้อดีเล็กๆน้อยๆหรือโชคช่วยก็ไม่รู้ © Diane Arbus ถึงแม้ว่าการเป็นช่างภาพผู้หญิงจะมีข้อได้เปรียบหลายอย่างอยู่ แต่ ขอให้ช่างภาพผู้หญิงพึงระวังและอย่าชะล่าใจว่าเราไปถ่ายได้ทุกที่ ทุก อย่างแรกคือ เรื่องมุมมอง เราพอจะทราบกันมาบ้างว่าสมองผู้ชาย สถานการณ์ ในสถานที่ที่เสี่ยง ถ้าเป็นไปได้อย่าไปถ่ายภาพเพียงลำ�พัง กับผู้หญิงนั้นถูกสร้างมาแตกต่างกัน วิธิคิดแตกต่างกัน ผู้ชายจะมอง ต้องประเมินสถานการณ์ให้รอบคอบว่าที่ที่เราจะไปถ่ายนั้นต้องระวัง ภาพรวมได้ดี มีวิธิการคิดเป็นระเบียบแบบแผน ส่วนผู้หญิงก็ถูกสร้าง อันตรายอะไรบ้าง และเรามีวิธีการรับมือ วิธีการป้องกันตัวที่ดีพอหรือยัง ให้ละเอียดถี่ถ้วน ใส่ใจในรายละเอียด อ่อนหวาน งดงาม ภาพถ่ายจึง ถ้าไม่มี ก็ไม่ควรไป เป็นตัวถ่ายทอดความคิดมุมมอง และลักษณะนิสัยของแต่ละคนได้ เป็นอย่างดี ช่างภาพหญิงมักจะมองเห็นรายละเอียดเล็กๆน้อยๆที่ช่าง และข้อ 4 คือ การถ่ายภาพที่ส่อไปในทางทะลึ่งทะเล้น โดย ภาพชายมักจะมองไม่เห็น แต่ก็ไม่ได้เสมอไป ขึ้นอยู่กับมุมมองและการ เฉพาะเมื่อตัวแบบเป็นผู้หญิง ถ้าช่างภาพเป็นผู้ชายอาจดูไม่เหมาะ ฝึกฝนของแต่ละคนด้วย สม ผู้ถูกถ่ายอาจรู้สึกว่าถูกคุกคามได้ ถ้าเป็นช่างภาพหญิงก็จะดูไม่ น่าเกลียดมากนัก แต่ถ้าเปลี่ยนตัวแบบเป็นสาวประเภทสองเมื่อไหร่ ข้อที่ 2 คือเรื่องความไว้วางใจของผู้คนที่เราเข้าไปถ่าย หรือเมื่อเราเข้าไป สถานการณ์ความได้เปรียบจะกลับกันเลยทันที ฮ่าๆๆ... ในพื้นที่ส่วนตัวของผู้อื่น เคยเจอประสบการณ์อย่างหนึ่งตอนไปเยือน พม่า ครั้งนั้นไปเที่ยวกับเพื่อนผู้ชายที่สะพานอุเบง เห็นสาวพม่าผมยาว อาจเป็นความคิดเห็นส่วนตัวที่มองจากมุมมองและประสบการณ์ของ สลวย ลมพัดผมเธอพริ้ว เพื่อนที่ไปด้วยกันก็เข้าไปถ่ายสาวผมยาวคน ช่างภาพหญิงเพียงด้านเดียว อาจไม่รอบด้าน ขาดตกบกพร่องสิ่งใดก็ นั้น โดยที่ไ่ม่ได้คิดอะไรและไม่ได้ดูตาม้าตาเรือ ทันใดนั้นแฟนหนุ่มของ ขออภัยด้วย หรือมีความคิดเห็นเพิ่มเติมก็สามารถแลกเปลี่ยนกันได้นะ เธอที่นั่งอยู่ข้างๆหันมามองจ้องและแสดงอาการไม่พอใจทันที เลยต้อง หยุดถ่ายซะตอนนั้น เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ช่างภาพชายไปถ่ายสาว แฟน เขาอาจจะหึงเอาได้ แน่นอนว่าหากเป็นช่างภาพผู้หญิง ก็คงไม่เป็นแบบ นี้ นอกจากนี้แล้ว ช่างภาพผู้หญิงจะสามารถเข้าไปถ่ายบางสถานที่ที่มี ความเป็นส่วนตัวของเพศหญิงได้ดีกว่าผู้ชาย เช่น ถ้าคุณเจอหญิงสาว ที่มีคาแร็กเตอร์โดดเด่นในผับแห่งหนึ่ง ซึ่งเธอกำ�ลังจะเดินไปเข้าห้องน้ำ� คุณรู้ว่าผู้หญิงเข้าห้องน้ำ�ต้องมีการเติมหน้าทาปากอย่างแน่นอน และ คุณคิดว่ามันต้องเป็นภาพที่ดีแน่ๆ ถ้าคุณเป็นผู้หญิง แน่นอนคุณไม่มี ปัญหา แต่ถ้าคุณเป็นผู้ชาย คุณต้องรอด้านนอกเท่านั้น หรืออย่างการ ละหมาดในมัสยิดที่มีการแบ่งพื้นที่ชัดเจนระหว่างหญิง-ชาย ช่างภาพ หญิงจะสามารถเข้าไปถ่ายส่วนของผู้หญิงได้สะดวกกว่า ขึ้นอยู่กับ ความเคร่งครัดของแต่ละมัสยิด



นอกจากนี้แล้วเรามีความคิดเห็นของเหล่าบรรดาช่างภาพชายด้วยว่า พวกเขาคิดอย่างไรกับช่างภาพหญิงกันบ้าง

Naruepol Nikomray “ ในฐานะที่เป็นผู้ชายนะครับ ความคิดเห็นต่อช่างภาพหญิง โดยรวมๆแล้วผมมองว่าเท่ห์นะ แบกกระเป๋าใบเบ้อเร่อ เดิน ไปมา ดูลุยๆดี แล้วด้วยนิสัยส่วนใหญ่ของผู้หญิงเนี่ยจะชอบ มีอะไรกระจุกกระจิกเสมอ อ็อพชั่นเล็กน้อย น่ารักๆไม่มากก็ น้อย เช่น กระเป๋าหรือสายคล้องคอ จะมีแอสโซซี่รี่ตลอด ดู น่ารักดี เจริญหูเจริญตาดี อุอุ มาถึงเรื่องของการถ่ายภาพบ้าง เนื่องด้วยผู้หญิงเป็นคนที่พิถีพิถันมากกว่าผู้ชาย อันนี้จะทำ�ให้ มองเห็นอะไรที่มากกว่า แต่บางทีก็อาจกลายเป็นมากไปเน้นไป ซีเรียสไป แล้วการถ่ายรูปเนี่ย สังคมส่วนใหญ่จะมองว่าเป็นเรื่องของผู้ชาย ผู้หญิงจึงต้องมีความมุ่งมั่นกว่าเยอะครับ แต่ สุดท้ายไม่เกี่ยวกันเลยครับว่าผู้หญิงหรือผู้ชายจะถ่ายดีกว่ากัน ผมว่าการถ่ายรูปไม่แบ่งเพศนะ

ในด้านแนวการถ่ายภาพ ผมไม่พูดถึงฝีมือนะ ตีว่าเท่าๆกัน ผู้หญิงได้เปรียบทุกแนวครับ ไม่ว่าจะ แนวสตีลไลฟ์ ถ่ายอาหาร อันนี้ได้เปรียบมากๆ คงไม่ต้องบอก ของกระจุ๊กกระจิ๊ก เติมเพียบ ถ่าย พรีเวดดิ้งหรือรับปริญญา เป็นผู้หญิงแล้วแบบสาวๆจะไม่ค่อยเขินครับ ขนาดผมเคยรับเอาน้อง ผู้หญิงไปช่วยแบกรีเฟลค เธอยังช่วยสั่งท่าทางได้เยอะเลย ถ้าแนวอีเว้นท์เนี่ย ฝ่ายชายอาจได้ เปรียบกว่านิดหน่อย เรื่องพลังครับ เบียดเสียด มุด ลอดช่อง อาจคล่องตัวกว่าฝ่ายหญิงนิดหน่อย มาถึงแนวสตรีทหล่ะ สูสีนะ ถ้าพูดถึงการเข้าถึงฝ่ายหญิงได้เปรียบกว่าแน่นอนครับ เป็นมิตรและ ดูไม่คุกคามมากนัก แค่ยิ้มก็รอดแล้ว 555 แต่ฝ่ายชายจะได้เปรียบเรื่องความคล่องตัวกับการเข้า ในสถานที่ๆก้ำ�กึ่งอันตรายนิดๆ (ไม่ใช่ฝ่ายหญิงเข้าไม่ได้นะครับ) จะมีอยู่สายเดียวที่เห็นได้ชัด ว่าด้อยกว่าฝ่ายชายก็คือแนวสงครามและด๊อกฯอะครับ ด้วยสรีระทางร่างกายและความเป็นอยู่ ไม่ใช่ไม่มีเลยแต่จะน้อยม๊ากกกก “

Visit Kulsiri “ ช่างภาพสตรีทหญิงระดับโลก ระดับตำ�นานนั้นมีหลายคน ทุกท่านคงพอทราบกันดี งานของพวกเธอเหล่านั้น ไม่ได้ยิ่ง หย่อนไปกว่าผู้ชาย ทั้งถ่ายทอดให้เห็นถึงความน่ารักอ่อน โยนของชีวิตในแบบของผู้หญิง หรือถ่ายทอดถึงความโหด ร้าย เศร้าหมองของสังคม ก็มีให้เห็น ผมมองว่า ไม่ว่าจะเป็น ผู้หญิงหรือผู้ชาย ก็มีความสามารถพอๆกัน หากมีใจรักในสิ่ง ที่ทำ� “

© Vivain Maier


© Vivain Maier

Akkara Naktamma “แม้คนภายนอก(วงการถ่ายภาพ)จะมองการถ่ายภาพกับผู้หญิงในแง่ที่ว่า ผู้หญิงควรจะเป็นแบบให้ ถ่ายภาพมากกว่าที่จะจับกล้องซะเอง หรือ งานถ่ายภาพเป็นงานของพวกช่าง และคำ�ว่า “ช่าง” อยู่ใน โลกของผู้ชายที่ผู้หญิงจำ�กัดอยู่แค่เพียงชายขอบเท่านั้น คำ�พูดเหล่านี้ถูกลบล้างมานับครั้งไม่ถ้วน ผู้ หญิงมีความสามารถในการถ่ายภาพไม่น้อยไปกว่าผู้ชายและมากกว่าด้วยซ้ำ�ในบางกรณี ตัวอย่างเช่น กรณีของ Vivian Maier ที่กำ�ลังมีสารคดีฉายอยู่ในตอนนี้ หรือ Diane Arbus ช่างภาพสตรีทหญิงที่โด่ง ดังที่สุดคนหนึ่งของประวัติศาสตร์การถ่ายภาพของอเมริกา ด้วยเป็นที่รู้ๆกันว่าธรรมชาติของผู้หญิงมี ความซับซ้อนและแปรปรวน บางครั้งดูเหมือนอ่อนแอ แต่บางครั้งก็กล้าหาญอย่างไม่น่าเชื่อ ทำ�ให้งาน ที่ออกมาจากช่างภาพที่เป็นผู้หญิงมีความเฉพาะตัวสูง และโดดเด่นออกมาจากงานที่สร้างโดยช่างภาพ ผู้ชาย อย่างเห็นได้ชัด” Vinai Dithajohn “คิดว่าปัจจุบันคงไม่ใช่เรื่องแปลก แต่ก่อนคือแปลก คือแค่แปลกตา แปลกใจ ที่นานๆจะเห็นผู้หญิงจะ มาสนใจถ่ายภาพ เล่นกล้อง ถือกล้องเดินไปมา มันเป็นเรื่องที่ผู้ชายสนใจ มันเป็นช่าง เป็นเทคนิคที่ต้อง ใส่ใจฝึกฝน แต่ปัจจุบันเทคโนโลยี่ทำ�ให้ทุกๆคนเข้าถึงการถ่ายภาพได้อย่างง่ายดาย และรวดเร็ว พอ ฝึกฝนไม่นานก็สามารถผลิตภาพตามความคิดของตัวเองได้ และกล้องก็ถูกผลิดออกมามากมาย ให้ เลือก มีน้ำ�หน้กเบา และก็มีกล้องในมือถืออีกด้วย ส่วนช่างภาพอาชีพผู้หญิงนั้นก็มีจำ�นวนมากขึ้นกว่า แต่ก่อนแล้ว แต่สัดส่วนก็ยังน้อยกว่าผู้ชายอยู่ดี”


EDITOR’s PICKS



Ateneo Sta Ines


Saptawee Puthom


Pradubkiat Bouklee


Nuthakorn Chienprapa


David Cartier Nicky


Naung Charnyuth


Nuthakorn Chienprapa



Nic Hughes


Adam Birkan


Arjsuk Jantamas


Ping Spg


Supornchai Ratanamethanon


Fung Chow


ช้าง ฝรั่ง



Noppadol Maitreechit


Noppadol Maitreechit


อนุเทพ อมาตยกุล


Supornchai Ratanamethanon


An Inhermood


Street Naja



Gimio Chien


Tanet Sae Au


Ping Spg


Frey Phadthanun Rueangpeerapat


Enrico Markus Essl


บุรุษ ไปสตรีท


Warut เก้ ่าสามห้Rinprom า ชัตเตอร์ลั่น


Sarrote Sakwong


SUBMISSION

Post your photo on www.facebook.com/groups/streetphotothailand If your photo is cool, we’ll publish your photo in this e-magazine.


Rop พลิ้ว



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.