สื่ออารมณ์ดี R-romdee ฉบับเดือนตุลาคม 2564

Page 1

สื่ อ อ า ร ม ณ์ ดี ฉบับเดือนตุลาคม 2564 ฉบับที่ 120

R-romdee

งานให้คำปรึกษาและช่วยเหลือนักศึกษา ส่วนพัฒนานักศึกษา

student-support@mfu.ac.th l facebook.com/MFUCounseling


ง า น ใ ห้ คำ ป รึ ก ษ า ฯ

ชวนคุย

กำลังใจจากบังทัน (BTS) กว่า 2 ปีแล้วที่มนุษย์โลกต้องเผชิญกับภาวะ การระบาดของโรค Covid-19 แน่นอนว่า หลายสิ่งที่พวกเราเคยทำ จำเป็นต้องหยุดชะงัก โดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ ช่วยวัยที่มาพร้อมกับความ เปลี่ยนแปลง ช่วงเวลาที่ต้องปรับตัวมากที่สุด BTS ศิลปินชื่อดังได้กล่าวสุนทรพจน์ให้ กำลังใจคนรุ่นใหม่ ในพิธีเปิดการประชุมสัมชชา ใหญ่สหประชาชาติ (UN) ณ มหานครนิวยอร์ก ในฐานะทูตพิเศษด้านวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ แห่งเกาหลีใต้ ซึ่งมีเนื้อหาที่ซาบซึ้งกินใจ ผู้จัดทำ สื่ออารมณ์ดี จึงขอยกคำกล่าวนี้มาให้น้องๆ ได้ อ่านเพื่อสร้างพลังใจให้ตัวเองต่อไปค่ะ “บางครั้งเหมือนโลกจะติดอยู่กับที่ บางครั้งเหมือนว่าพวกคุณจะหลงทาง .. พวกเราก็เคยรู้สึกเหมือนกัน เราไม่ควรเรียกคนรุ่นใหม่ ราวกับว่าเป็นกลุ่มคน ที่สูญหายเพราะ covid-19 เพราะนี่คือ .. รุ่นที่เปิดรับและทดลองสิ่งใหม่ๆ ท่ามกลาง วิกฤติ ผมหวังว่าเราจะไม่มองว่าอนาคตเป็น เพียงความมืดมิด ยังมีหน้ากระดาษอีกมากมาย ให้เขียนเรื่องราวของเรา"

ผู้จัดทำสื่ออารมณ์ดี งานให้คำปรึกษาฯ ส่วนพัฒนานักศึกษา ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุกัล กฤตลักษณ์วงศ์ (อ.แพนด้า) ทีมงาน : พี่ตุ้ม พี่เหมียว พี่ดาว พี่เว พี่เมล์ 0-5391-6167 ถึง 9 และ 0-5391-6666 Student-support@mfu.ac.th facebook.com/MFUCounseling


เคล็ดไม่ลับ...ดูแลสุขภาพใจ


HEALTH

&

BEAUTY

ฝึกหายใจ ทางเลือกใหม่เพื่อการคลายเครียด

การฝึกหายใจ นับเป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยบรรเทาความเครียด

วิตกกังวล และภาวะแพนิค อีกทั้งยังช่วยให้เข้าใจถึงร่างกายและจิตใจ รวมทั้ง อยู่กับปัจจุบันได้มากยิ่งขึ้น ซึ่งการฝึกหายใจนั้นเป็นกิจกรรมที่ไม่ยุ่งยาก

ใช้เวลาเพียงไม่กี่นาที และสามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา การฝึกหายใจสามารถ ทำได้หลายรูปแบบ โดยตัวอย่างของวิธีฝึกหายใจมีดังนี้

ฝึกหายใจแบบใช้กะบังลม (Diaphragmatic Breathing) นอกจากจะมีประโยชน์ต่อจิตใจและยังส่งผลดีต่อการทำงานของ สมอง หัวใจ หลอดเลือด ระบบทางเดินหายใจ และระบบทางเดิน อาหารด้วย โดยขั้นตอนมีดังนี้ นั่งในท่าที่สบายตัวหรือนอนราบไปกับพื้น หายใจเข้าออกลึกๆ ผ่านจมูก ให้ความสนใจไปยังลมหายใจเข้าออก ผ่อนคลายไหล่ก่อนจะวางมือข้างหนึ่งไว้ที่หน้าท้อง และอีกข้างไว้บริเวณหน้าอก หายใจเข้าลึกทางจมูกให้ลมเข้าไปยังท้อง โดยให้ความรู้สึกท้องป่อง ขณะหายใจเข้า และค่อยๆ ผ่อนท้องโดยไม่ให้หน้าอกเคลื่ อนไหว กดลงบนหน้าท้องเบาๆ และหายใจออกอย่างผ่อนคลายทางจมูก โดยให้ความรู้สึกท้องแฟบเวลาหายใจออก ทำซ้ำหลายๆ ครั้ง

ฝึกหายใจเข้าออกอย่างเท่าเทียม (Equal Breathing) วิธีนี้เน้นไปยังการกำหนดลมหายใจเข้าออกในระยะเวลาที่เท่ากัน เพื่อให้สามารถหายใจได้อย่างสะดวกและช่วยให้ลมหายใจคงที่ โดยขั้นตอนมีดังนี้ นั่งในท่าที่สบายตัว และหายใจเข้าออกผ่านจมูก นับวินาทีการหายใจเข้าและหายใจออกให้เท่ากันในแต่ละครั้ง โดยอาจคิดคำพูดหรือประโยคที่ต้องการไว้ในใจ ไปพร้อมๆ กับ การหายใจ และอาจพักเป็นเวลาสั้นๆ หลังการหายใจเข้าและออก ฝึกหายใจรูปแบบนี้ซ้ำๆ ติดต่อกันอย่างน้อย 5 นาที


ฝึกหายใจแบบจดจ่อลมหายใจ (Breath Focus) วิธีนี้จะใช้จินตนาการ คำพูดหรือประโยคที่อยู่ในความคิดมาเป็น ส่วนช่วยให้เกิดความผ่อนคลาย และเป็นการฝึกสมาธิ โดยขั้นตอนมีดังนี้ หลับตาลง หายใจเข้าออกตามปกติ สลับกับหายใจเข้าออกลึกๆ และสังเกตความแตกต่างของการหายใจสั้นๆ และการหายใจเข้าลึก ฝึกหายใจเข้าออกลึกๆ เป็นเวลา 2-3 นาที หายใจเข้าพร้อมจินตนาการว่าลมที่เข้าสู่ร่างกายนั้นเป็นลมแห่ง ความสงบ โดยให้เกิดความรู้สึกว่าลมเข้าไปทั่วทั้งร่างกาย หายใจออกพร้อมจินตนาการว่าเป็นการปล่อยลมออกไปพร้อมกับ ความเครียดโดยเป็นการถอนหายใจ คิดคำพูดหรือประโยคที่ต้องการไว้ในใจไปพร้อมๆ กับการหายใจ หายใจออกพร้อมกับนึกคำหรือประโยคที่ต้องการไว้ในใจ เริ่มต้นการฝึกหายใจเป็นเวลา 10 นาทีต่อ 1 ครั้งในช่วงแรก ก่อนจะค่อยๆ เพิ่มไปจนถึง 20 นาทีต่อ 1 ครั้ง

ฝึกหายใจแบบคลายกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้นทีละส่วน (Progressive Muscle Relaxation) การฝึกหายใจรูปแบบนี้จะช่วยผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ โดยขั้นตอนมีดังนี้ นอนราบบนพื้นในท่าที่ผ่อนคลาย ก่อนจะหายใจเข้าออกลึกๆ เพื่อให้เกิดความผ่อนคลาย หายใจเข้าพร้อมกับเกร็งกล้ามเนื้ อเท้า และหายใจออกพร้อมกับ ผ่อนคลายกล้ามเนื้ อเท้า หายใจเข้าพร้อมกับเกร็งกล้ามเนื้ อน่อง และหายใจออกพร้อมกับ ผ่อนคลายกล้ามเนื้ อน่อง ค่อยๆ หายใจเข้าพร้อมเกร็ง และหายใจออกพร้อมผ่อนคลาย กลุ่มกล้ามเนื้ อส่วนอื่ นๆ ของร่างกาย เช่น กล้ามเนื้ อขา หน้าท้อง หน้าอก นิ้ว แขน ไหล่ คอหรือใบหน้า เป็นต้น

ทั้งนี้ การเลือกฝึกหายใจในสถานที่ที่ชอบ มีความผ่อนคลาย

สามารถนั่ง หรือนอนได้อย่างสะดวกสบาย จะช่วยให้เกิดการฝึกหายใจ

เป็นประจำทุกวันได้ และไม่ควรฝึกอย่างหักโหมเกินไป อาจเป็นการเริ่มต้น การฝึกวันละ 10-20

1-2

นาทีต่อวัน

ครั้ง ในเวลาเดิมของทุกวัน และฝึกเป็นเวลาอย่างน้อย ที่มา :

https://www.pobpad.com


ด้วยรักและกำลังใจ "5 วิธีคิดสำหรับคนที่อยาก ปล่อยวางกับชีวิตให้มากขึ้น" โดย พัชชา พูนพิริยะ

1 . จำ ไ ว้ เ ล ย ว่ า คุ ณ คื อ ผู้ ค ว บ คุ ม ส ถ า น ก า ร ณ์ ทุ ก อ ย่ า ง เ ร า มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะ บั ง คั บ ร่า ง ก า ย เ ร า ทำ ทุ ก สิ่ ง ไ ด้ ตื่ น เ ดิ น วิ่ ง กิ น น อ น แ ล ะ แ น่ น อ น ว่ า อ า ร ม ณ์ ก็ เ ป็ น สิ่ ง ที่ เ ร า เ ลื อ ก ใ ห้ เ กิ ด ไ ด้ แ ล ะ กำ ห น ด ไ ด้ เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้น เ ร า ก็ มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะ เ ลื อ ก ใ ห้ ตั ว เ อ ง รู้สึ ก อ ย่ า ง ไ ร กั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ต ร ง ห น้ า เ ป รีย บ เ ที ย บ ว่ า ฝ่ า ย ต ร ง ข้ า ม ห ยิ บ ยื่ น ก ล่ อ ง ข อ ง ข วั ญ ม า ใ ห้ แ ต่ พ อ เ ร า เ ปิ ด แ ล้ ว มั น คื อ ก้ อ น พ ลั ง ด้ า น ล บ แ ท น ที่ เ ร า จ ะ รับ มั น ไ ว้ แ ล้ ว เ อ า ม า คิ ด เ อ า ม า เ ก็ บ เ ป็ น ปั ญ ห า เ ร า ก็ แ ค่ ป ฏิ เ ส ธ มั น เ ท่ า นั้น

2 . ไ ม่ มี อ ะ ไ ร ยั่ ง ยื น เ มื่ อ ไ ร ก็ ต า ม ที่ เ ร า ยึ ด ติ ด กั บ อ ะ ไ ร ม า ก ๆ เ มื่ อ นั้น เ อ ง ค ว า ม เ จ็ บ ป ว ด ค ว า ม เ ศ ร้า ค ว า ม ผิ ด ห วั ง จ ะ ม า ห า โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ถ้ า เ ร า ยึ ด ติ ด กั บ พ ว ก สิ่ ง ข อ ง น อ ก ก า ย เ ร า จ ะ ไ ม่ มี วั น ใ ช้ เ ว ล า กั บ มั น อ ย่ า ง เ ป็ น สุ ข เ ล ย เ พ ร า ะ มั ว แ ต่ ก ลั ว ว่ า มั น จ ะ ห า ย มั น จ ะ พั ง มั น จ ะ โ ด น ข โ ม ย แ ล ะ ก ฎ ข้ อ นี้ ก็ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ทุ ก ค น บ น โ ล ก เ มื่ อ ไ ร ก็ ต า ม ที่ เ ร า เ ห็ น ค น อื่ น ห รือ ตั ว เ อ ง มี ค ว า ม สุ ข ค ว า ม สุ ข นั้น ก็ ไ ม่ ไ ด้ อ ยู่ ต ล อ ด เ ช่ น เ ดี ย ว กั น กั บ ค ว า ม ทุ ก ข์ ด้ ว ย มั น จ ะ ม า แ ล้ ว มั น ก็ จ ะ ไ ป เ ห มื อ น กั น ห ม ด ถ้ า เ ข้ า ใ จ เ ร า จ ะ เ ป็ น ค น มี ส ติ แ ล ะ ส ง บ ขึ้ น

3 . ทุ ก อ ย่ า ง เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ต ล อ ด เ ร า ไ ม่ ใ ช่ ค น เ ดิ ม กั บ ที่ เ ร า เ ค ย เ ป็ น อ ดี ต ที่ เ ค ย เ กิ ด ขึ้ น สิ่ ง ที่ เ ค ย เ กิ ด แ ล้ ว เ ร า ช อ บ นึ ก ว่ า มั น จ ะ ตี ก ร อ บ ค ว า ม เ ป็ น เ ร า มั น ไ ม่ มี อ ยู่ จ ริง เ พ ร า ะ ฉ ะ นั้น อ ยู่ กั บ ปั จ จุ บั น แ ล ะ อ ย่ า ไ ป ห วั่น ไ ห ว ห งุ ด ห งิ ด โ ม โ ห กั บ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ที่ มั น เ กิ ด ขึ้ น แ บ บ ไ ม่ ทั น ตั้ ง ตั ว


4 . จ ด ลิ ส ต์ สิ่ ง ที่ คุ ณ เ ค ย ทำ สำ เ ร็ จ ถึ ง แ ม้ มั น จ ะ เ ป็ น เ รื่ อ ง เ ล็ ก ๆ จ ะ จ ด ลิ ส ต์ ห รือ จ ะ โ น้ ต ไ ว้ ใ น มื อ ถื อ ก็ ไ ด้ ห รือ จ ะ จำ มั น ไ ว้ เ ฉ ย ๆ ก็ ไ ด้ ว่ า ชี วิ ต นี้ เ ร า เ ค ย ทำ อ ะ ไ ร ดี ๆ เ พื่ อ ตั ว เ อ ง เ พื่ อ ค น ร อ บ ข้ า ง ห รือ สิ่ ง ที่ เ ร า เ ค ย ทำ สำ เ ร็จ อ ะ ไ ร เ อ า ไ ว้ บ้ า ง คิ ด ไ ว้ ทุ ก วั น ห า สิ่ ง นั้น ที่ ทำ ทุ ก วั น แ ล้ ว ทุ ก ค รั้ง ที่ เ ร า เ ค รีย ด วิ ต ก กั ง ว ล ชี วิ ต ห ม ด พ ลั ง แ ล ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ ถ อ ด ตั ว เ อ ง อ อ ก จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ์ นั้น ไ ด้ ใ ห้ นึ ก ถึ ง เ รื่ อ ง เ ห ล่ า นี้ เ อ า ไ ว้ มั น จ ะ ช่ ว ย เ พิ่ ม ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ใ น ตั ว เ อ ง ขึ้ น ม า แ ล้ ว จ ะ ทำ ใ ห้ คุ ณ เ ริ่ม เ ห็ น คุ ณ ค่ า ใ น ตั ว เ อ ง แ ล ะ พ ร้อ ม จั ด ก า ร กั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ นั้น ๆ ไ ด้ ดี ขึ้ น

5 . เ ผื่ อ ที่ ไ ว้ ใ ห้ ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด ไ ม่ มี ใ ค ร ดี เ ลิ ศ เ ล อ ไ ป ทุ ก อ ย่ า ง ทุ ก ค น มี ข้ อ เ สี ย แ ล ะ เ ค ย ทำ ผิ ด ม า ก่ อ น ทั้ ง นั้น แ ล ะ มั น เ ป็ น เ รื่ อ ง ป ก ติ ม า ก ก า ร ที่ ค น เ ร า ช อ บ เ ศ ร้า ก็ เ พ ร า ะ เ ร า คิ ด ว่ า ค ว า ม เ ศ ร้า ค ว า ม ผิ ด ค ว า ม ก ลั ว สิ่ ง ไ ม่ ดี มั น ไ ม่ ค ว ร มี มั น ไ ม่ ค ว ร เ กิ ด ขึ้ น แ ต่ ที่ จ ริง แ ล้ ว เ ร า เ ป็ น ม นุ ษ ย์ ธ ร ร ม ด า ทั่ ว ไ ป เ ร า มี ค ว า ม รู้สึ ก แ ล ะ ค ว า ม รู้สึ ก ไ ม่ ดี เ ห ล่ า นั้น จ ะ ช่ ว ย เ ป็ น บ ท เ รีย น ใ ห้ เ ร า ไ ด้ ไ ม่ ต้ อ ง ผ ลั ก ไ ส ไ ล่ ส่ ง มั น ไ ป ไ ห น น้ อ ม รับ มั น ไ ว้ แ ต่ แ ค่ รู้จั ก ที่ จ ะ ว า ง มั น ใ ห้ ถู ก ที่

5 ข้ อ ที่ น่ า จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ห ล า ย ๆ ค น รู้ จั ก ก า ร ป ล่ อ ย ว า ง ม า ก ขึ้ น ทิ้ ง ท้ า ย ไ ว้ ใ ห้ เ ป็ น ข้ อ คิ ด สั้ น ๆ ว่ า ใ น ทุ ก ส ถ า น ก า ร ณ์ เ ร า มี 3 ตั ว เ ลื อ ก ใ ห้ เ ลื อ ก เ ท่ า นั้ น คื อ เ อ า ตั ว อ อ ก จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ์ นั้ น ๆ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ถ า น ก า ร ณ์ นั้ น ๆ แ ล ะ ย อ ม รั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ นั้ น แ ต่ ก า ร จั บ จ ด มั ว แ ต่ เ ก็ บ ม า คิ ด ม า เ ค รี ย ด ม า โ ม โ ห ไ ม่ ช่ ว ย อ ะ ไ ร เ อ า ล่ ะ ม า เ ริ่ ม ป ล่ อ ย ว า ง กั น

ที่มา : www.https://thestandard.co/podcast/newyearnewyou31/



Find out more on reallygreatsite.com


Find out more on reallygreatsite.com


Find out more on reallygreatsite.com


ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ใ ค ร ว่ า ย า ก May be กับ Maybe ใช้ต่างกันอย่างไร

May be

และ

Maybe

ดูเผินๆ อาจจะไม่ต่างกัน แถมความหมาย

ยังคล้ายกันด้วย แต่สองคำนี้ ทำหน้าที่แตกต่างกันนะ ถ้าเผลอนำไปใช้ผิดที่

ผิดทาง เราอาจจะได้กากบาทหรือศูนย์คะแนนในข้อนั้นมาโดยไม่รู้ตัว มาดูกัน ดีกว่าว่าสองคำนี้มีความแตกต่างกันอย่างไร

May be ( เขียนแยกกัน ) ตัวนี้ทำหน้าที่เป็น

May

ต้องตามด้วย

Modal Verb

infinitive verbs

มีความหมายว่า อาจจะ

หรือ กริยารูปธรรมดาที่ไม่ผันเท่านั้น

ทำหน้าที่เป็นกริยาวลีในประโยค ใช้เดี่ยวๆ ไม่ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

May be + คำคุณศัพท์ (adj.) เช่น

The weather may be hot today. (

อากาศอาจจะร้อนนะวันนี้ )

May be + คำนาม เช่น

He may be her relative. (

เขาอาจจะเป็นญาติของเธอก็ได้นะ )

May be + V.ing เช่น

The shop may be closing tomorrow. (

ร้านอาจจะปิดพรุ่งนี้ก็ได้ )


May be + V.3 ในรูป Passive เช่น

He may be bitten from his dog. (

เขาอาจจะถูกกัดจากหมาของเขาเองก็เป็นได้นะ )

Maybe ( เขียนติดกัน ) Maybe

คำนี้ มีความหมายว่า บางที โดยส่วนใหญ่แล้วจะวางไว้ต้นประโยค

หรืออาจใช้เดี่ยวๆ ก็ได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ใช้เป็น Adv. ในประโยค เช่น

Maybe it will rain tomorrow. (

บางทีพรุ่งนี้ฝนอาจจะตก )

ใช้เป็นคำตอบในกรณีไม่แน่ใจ เช่น

Q:

Do you think he’ll pass the exam? (

A:

Maybe. (

ข้อสังเกต :

คุณคิดว่าเขาจะสอบผ่านไหม ) อาจจะผ่าน ) จะมีความหมายเหมือน perhaps หากไม่แน่ใจว่าจะใช้ may be หรือ maybe ให้ลองใช้ perhaps ใส่ในประโยคนั้น หากใช้ perhaps แทนได้ ก็คือใช้ maybe นั่นเอง maybe

ที่มา :

https://www.trueplookpanya.com


แ น ะ นำ ห นั ง สื อ น่ า อ่ า น

ใช้ความคิดเอาชนะโชคชะตา : ผู้เขียน :

Mindset

CAROL S. DWECK

สำนักพิมพ์ : วีเลิร์น หมวด : จิตวิทยา

ความสำเร็จในชีวิตขึ้นอยู่กับความคิด 2 แบบ แบบหนึ่งจะทำให้คุณประสบความสำเร็จแบบครึ่งๆ กลางๆ ส่วนอีกแบบจะทำให้คุณพัฒนาแบบก้าว กระโดด และประสบความสำเร็จอย่างต่อเนื่ อง ... จะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว ขึ้นอยู่กับ ความคิด 2 แบบนี้ แล้วคุณกำลังคิดแบบไหน ?

Miracle Morning

ผู้เขียน :

ทุกสิ่งในชีวิตจะดีขึ้นเมื่อตื่ นเช้า

Hal Elrod

สำนักพิมพ์ : บีมีเดีย หมวด : จิตวิทยา

ได้เวลาตื่ นขึ้น เพื่อปลดปล่อยศักยภาพขั้นสูงสุด ในตัวคุณ พบกับหลักปฏิบัติ 6 ประการ เพื่อช่วย ให้คุณออกจากชีวิตที่ใช้ศักยภาพไม่เต็มที่ ... ขั้นตอนเล็กๆ ที่แสนง่าย ที่จะทำให้เราสามารถ เริ่มต้นวันใหม่ กลายเป็นบุคคลที่สามารถสร้างสรรค์ ความสำเร็จได้ตามที่ต้องการ !


มหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล (SEOUL NATIONAL UNIVERSITY)

มอบทุนเรียนต่อบัณฑิตศึกษา

มหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล ประเทศเกาหลีใต้ มอบค่าเล่าเรียน ตั๋วเครื่องบิน ค่าครองชีพราย เดือนและการสนับสนุนนักศึกษาต่างชาติที่สมัคร เรียนระดับบัณฑิตศึกษา รายละเอียดทุน: – สถาบันในสังกัด : Seoul National University – สาขาที่กำหนด : ไม่ระบุ – ระดับการศึกษา : บัณฑิตศึกษา – รูปแบบทุน : ค่าเล่าเรียนสำหรับหนึ่งภาคการศึกษา ค่าครองชีพ 1,200,000 วอนต่อเดือน (ประมาณ 33,700 บาท) ตั๋วเครื่องบินชั้นประหยัดสำหรับนักศึกษาต่างชาติ – จำนวนทุน : 60 ทุน คุณสมบัติ: – รับสมัครนักศึกษาต่างชาติจากทุกประเทศ – ต้องเป็นพลเมืองของประเทศอื่นที่ไม่ใช่เกาหลีใต้ – ลงทะเบียนในหลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอนในสถาบัน – มีเกรดเฉลี่ย 3.0 ขึ้นไป เมื่อสิ้นสุดแต่ละภาคการศึกษาต้องรักษาเกรดเฉลี่ยนี้ไว้ จึงจะมีสิทธิ์ได้รับทุนต่อไป ต้องมีทักษะภาษาเหล่านี้ – ภาษาเกาหลี : TOPIK ระดับ 3 ขึ้นไป – ความสามารถทางภาษาอังกฤษ : TOEFL (PBT 550, CBT 213, iBT 80), TEPS 551, IELTS 5.5 หรือสูงกว่า – แนบเอกสารทางการอื่นๆ ที่แสดงหลักฐานความสามารถทางภาษา

หมดเขตรับสมัคร : ธันวาคม 2021

รายละเอียดเพิ่มเติม: OIA.SNU.AC.KR

ที่มา : SCHOLARSHIP.IN.TH


ปฏิทินกิจกรรม ตุลาคม 2564 พ. 20 - พฤ.21 สัมภาษณ์ทุน มฟล. ครั้งที่ 2 (รอบส่วนก ลาง) ออนไลน์

บริการใ

9 2 . ศ 1 ศ. พ์ ท ศั ร ท โ ง า ท ะ ล แ น์ ล ไ น อ อ า ษ ก ห้ คำปรึ


แนะนำบริการพิเศษ จากงานให้คำปรึกษาฯ

ห า ก นั ก ศึ ก ษ า กำ ลั ง รู้ สึ ก เ ห นื่ อ ย ล้ า เ ค รี ย ด กั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ต่ า ง ๆ พี่ ๆ ง า น ใ ห้ คำ ป รึ ก ษ า ฯ ส่ ว น พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า อ ย า ก ช ว น ใ ห้ น้ อ ง ๆ ไ ด้ พั ก แ ล ะ อ า ส า ช่ว ย แ บ่ ง เ บ า น ะ ค ะ

ล ง ท ะ เ บี ย น เ พื่ อ ข อ รั บ บ ริ ก า ร H T T P S : / / F O R M S . G L E / N S Z K A Q K A K L P K E W 3 Y 8 ง า น ใ ห้ คำ ป รึ ก ษ า ฯ ส่ ว น พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า อ า ค า ร D 1 1 2 7 โทร: 053-916666, 053-916167-69 EMAIL: STUDENT-SUPPORT@MFU.AC.TH FB: FACEBOOK.COM/MFUCOUNSELING #MFUCOUNSELING


ขำขัน "แนะนำจังหวัดตัวเองอย่างไรให้ไม่ตกขบวน"

ปล.บ้าจริง! นี่เราหยุดฮัมเพลงไม่ได้เลย

ข้อมูลจากผู้ใช้ twitter @unclekungfu


ข้อคิด คำคม

เครดิตจากเพจทำเรื่องเล่นให้เป็นเรื่องใหญ่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.