สื่ออารมณ์ดี R-romdee ฉบับเดือนกรกฎาคม 2564 No.117

Page 1

สื ออารมณ์ ดี R-romdee ฉบับเดือนกรกฎาคม 2564 ฉบับที 117

งานให้คําปรึกษาและช่วยเหลือนักศึกษา ส่วนพั ฒนานักศึกษา student-support@mfu.ac.th

facebook.com/MFUCounseling


บ ริ ก า ร ใ ห้ ก า ร ป รึ ก ษ า โ ด ย บุ ค ล า ก ร ง า น ใ ห้ คํา ป รึ ก ษ า ฯ ส่ ว น พั ฒ น า นั ก ศึ ก ษ า

We're always here to help you.

พีเหมียว สยุมพร ไชยวงค์

จิตวิทยาการปรึกษาและแนะแนว ด้านการเรียน การใช้ชวี ต ิ และสุขภาพจิต

พีเว กรรณิกา มาโน

จิตวิทยาการปรึกษา ด้านการเรียน การใช้ชวี ต ิ และสุขภาพจิต

พีดาว แววดาว บังเมฆ

พีเมล์ จันทร์จริ า ณ พิกล ุ

ให้การปรึกษาเบืองต้นด้านการเรียน ให้การปรึกษาเบืองต้นด้านการเรียน การใช้ชวี ต ิ เสริมสร้างกําลังใจ การใช้ชวี ต ิ เสริมสร้างกําลังใจ

ติดต่อทีมงานให้คําปรึกษาฯ ส่วนพัฒนานักศึ กษา (เวลาทําการ จันทร์-ศุ กร์ 08.00-16.00 น.) อาคาร

D1

ห้อง

127

student-support@mfu.ac.th

0-5391-6167

ถึง

9

และ

0-5391-6666

facebook.com/MFUCounseling


7 วิธรี บ ั มือกับความคิดลบๆ จากคนใกล้ตว ั หลายคนกําลังเจอความเครียดและความทุกข์ จากความคิดเห็น คําพู ดและการกระทําจากคนใกล้ตัว และทีสําคัญคือหนีไปไหนไม่ได้ วันนีมี 7 วิธเี พือให้คณ ุ รับมือกับสถานการณ์เหล่านัน

1. บอกไปตรงๆ ว่าคุณรูส ้ ก ึ อย่างไร เพราะหลายๆ คน อาจไม่เคยรูต ้ ัวว่าคําพู ดและการกระทําของตัวเองจะ ไปกระทบกระเทือนความรูส ้ ก ึ หรือกําลังใจใคร

2. หันไปหาสิงทีเปนบวก เช่น เพือนสนิททีให้พลังทีดี หนังดีๆ หรือบทความดีๆ จากเพจทีให้กําลังใจ ในกรณี ทีคุณรูส ้ ก ึ แย่และต้องการบางอย่างเพือช่วยกระตุน ้ ให้ คุณกลับมาสูส ่ ภาวะอารมณ์ทดี ี ให้เร็วทีสุด

5. ใช้เวลาทําความรูจ้ ก ั และยอมรับข้อดีขอ ้ เสีย ของตัวเอง เพราะโดยส่วนใหญ่คนอืนมักวิพากษ์ วิจารณ์หรือตําหนิทีจุดอ่อนหรือความผิดพลาด ของคุณ ซึงหากคุณรูจ้ ก ั และยอมรับตัวเองดีอยู่ แล้ว คุณก็จะยอมรับได้และไม่เสียใจกับสิงทีถูก ตําหนิมากนัก

6.มีทัศนคติทีว่าคนเราพัฒนาได้ เปลียนแปลงได้ อย่าเอาคําพู ดหรือคําดูถก ู เหล่านันมาตัดสินทังชีวต ิ ของคุณ เช่นความผิดพลาดเพียงครังเดียว ก็ไม่ได้ หมายความว่าคุณคือคนทีไม่ได้เรือง

3. ตระหนักรูว้ า่ ไม่มใี ครรูจ้ ก ั คุณดีมากกว่าตัวคุณเอง สิงทีคนอืนวิจารณ์หรือตําหนิคณ ุ คือมุมมองทีมองมา จากด้านเดียว ซึงเขาไม่ได้เห็นหรือรูจ้ ก ั คุณทังหมด

4. เข้าใจอีกฝายว่าบางครังสิงทีคนในครอบครัวหรือ คนใกล้ตวั พู ดออกมา อาจเปนวิธท ี ปองกั ี นไม่ให้คณ ุ ออกไปเสียงหรือหาเรืองใส่ตวั ซึงความรูส ้ ก ึ ข้างในอาจ เกิดจากความห่วงใย โดยเขาเข้าใจไปเองว่าพู ดแบบนี แล้วได้ผล

7. ฝกใจให้ strong หากคุณมันใจในตัวเอง ศรัทธา ในตัวเองและรับผิดชอบชีวต ิ ตัวเองแล้ว เมือคุณ ตัดสินใจบางอย่างลงไป หากคนใกล้ตัวไม่เห็นด้วย แต่คณ ุ ศึกษามาเพียงพอและพร้อมรับผิดชอบ ผลลัพธ์ทีเกิดขึน ก็จะช่วยให้คณ ุ ก้าวต่อไปได้

ทีมา www.istrong.co


แรงบั น ดาลใจ จาก "เอแคลร์ จื อ ปาก" ความพยายามของเด็ ก สลั ม คลองเตย ในวั น นั น สู่ ชี วิ ต ที ดี ใ นวั น นี ..

หลั ง จากได้ ติ ด ตามคลิ ป ซือบ้ า นใหม่ ใ ห้แ ม่ แ ละยายของเอแคลร์ เจ้ า ของเพจจื อ ปากโดยบั ง เอิ ญ รู ส ้ ึ ก ประทั บ ใจเรืองราวชีวิต ของเธอมากค่ ะ ทั ศ นคติ ต่ อ ต้ น ทุ น ชีวิต ที มี อ ย่ า งจํา กั ด แต่ เ ธอยั ง สามารถมองโลกในแง่ ดี ไ ด้ อย่ า งน่ า ชืนชม เราจึ ง รวบรวมและสรุ ป เนื อหาจากรายการต่ า งๆ มาให้ทุ ก คนได้ อ่ า นเพื อรับ พลั ง งานดี ๆ กั น นะคะ


1. "เอแคลร์ จื อ ปาก" บิ ว ตี บล็ อ คเกอร์วัย 24 ป มี ผู้ ติ ด ตามมากกว่า 8 แสนคน เริมทํา เพจตั งแต่ เ รีย นมหาวิท ยาลั ย ป 3 2. เอแคลร์เ ล่ า ชีวิต วัย เด็ ก ว่า พ่ อ ทํา งานชิป ป ง (SHIPPING) ของการท่ า เรือ ตอนนั นถื อ ว่า รายได้ ดี ครอบครัว อยู่ ส บาย 3. เรีย นอยู่ ชัน ป.1 คุ ณ พ่ อ เสี ย ทํา ให้ค รอบครัว ลํา บากมาก เพราะขาดเสาหลั ก แม่ ตั ด สิ น ใจจะพาลู ก ลาออกโรงเรีย น แต่ คุ ณ ครู ห้า มไว้ บอกว่า เปนเด็ ก เรีย นดี จะให้ทุ น เรีย นต่ อ 4. ชีวิต วัย เรีย นเธอใช้เ งิ น วัน ละ 40 บาท พอขึ นป.6 ไฟไหม้ บ้ า นวอดทั งหลั ง สิ งที คว้า มาได้ คื อ เอกสารกั บ หนั ง สื อ เรีย นเท่ า นั น ไม่ มี เ งิ น ติ ด บ้ า นเลย ทุ ก เช้า ก่ อ นไป โรงเรีย นจะเห็น ภาพแม่ วิงไปยื ม เงิ น เพื อนบ้ า นมาให้ ยื ม มาหมดทั งในและนอกระบบ 5. เรีย นที ม.รัง สิ ต เอกภาษาอั ง กฤษ ชีวิต การเรีย นมี ค วามสุ ข มาก ชอบสั ง คมที มหาวิท ยาลั ย มากๆ ได้ ทํา กิ จ กรรม ได้ เ ปนตั ว เอง แต่ ค รอบครัว บอกว่า น่ า จะส่ ง ไม่ ไ หวแล้ ว จนได้ รู จ ้ ั ก กั บ กองทุ น กยศ. ที เหมื อ นต่ อ ลมหายใจของเธอ จนเธอมี โ อกาสเรีย นต่ อ 6. ด้ ว ยความรัก ในการเรีย น อยากเรีย นให้จ บ จึ ง ทํา งานพิ เ ศษต่ า งๆ ล้ า งจาน พนั ก งานโลตั ส ฯลฯ ก็ ยั ง ไม่ พ อค่ า ใช้จ่ า ยอยู่ ดี จึ ง กู้ เ งิ น ซือกล้ อ งเพื อมาทํา คอนเทนต์ เธอบอกกั บ แม่ ณ ตอนนั นว่า “กล้ อ งตั ว นี ต้ อ งหาเงิ น ให้ พ วกเราแม่” 7. หลั ง จากแจ้ ง เกิ ด ในคลิ ป สอนแต่ ง หน้ า สไตล์ เ อแคลร์ ทุ ก คลิ ป ถ่ า ยทํา ในบ้ า นสลั ม หลั ง นี (เธอเรีย กตั ว เองว่า กะเทย DIY) ไม่ น านก็ ป ลดหนี ให้แ ม่ ไ ด้ ทั งหมด เธอเล่ า ติ ด ตลกว่า “แม่ กู้ ฉํา คื น ฉํามากค่ ะ ” 8. เอแคลร์ข อบคุ ณ ชีวิต ที เกิ ด มาในสลั ม คลองเตย เพราะทํา ให้เ ธอเข้ ม แข็ ง และขอบคุ ณ มิ ต รภาพจากเพื อนบ้ า นที คอยช่ว ยเหลื อ กั น เสมอ แม้ ต อนนี จะมี บ้ า น หลั ง ใหม่ ที ซือด้ ว ยเงิ น สดราว 30 ล้ า น แต่ เ ธอบอกว่า บ้ า นสลั ม หลั ง นี คื อ ความทรงจํา ที จะไม่มีวัน ลื ม ว่า เรามาจากไหน สรุ ป เนื อหาโดยผู้ จั ด ทํา สื ออารมณ์ ดี ขอขอบคุ ณ ข้ อ มู ล จาก JUEPAK HTTPS://YOUTU.BE/VAGVO3M6CJM และรายการแฉ (ออกอากาศ 17 กั น ยายน 2563) ดู ค ลิ ป เต็ ม ได้ ที ลิ ง ก์ ค่ ะ


HEALTH

&

BEAUTY

ประโยชน์ ดี ๆ ของการ Digital Detox

เคยได้ ยิ น คํา ว่า ดิ จิ ทั ล ดี ท็ อ กซ์กั น บ้ า งไหมคะ ? ความหมายของ

ดิ จิ ทั ล ดี ท็ อ กซ์ ก็ คื อ การกํา หนดตนเองให้อ ยู่ ห่า งจากการใช้ง านโซเชีย ลมี เ ดี ย

รวมถึ ง การพึ งพาเทคโนโลยี ใ นชีวิต ประจํา วัน ในช่ว งเวลาที กํา หนดไว้ร ะยะหนึ ง แล้ ว ทํา ไมเราจึ ง ควรถอยห่า งจากสื อดิ จิ ทั ล นานๆ ครัง ก็ เ พราะมี ป ระโยชน์ ดี ๆ จากการ

Digital Detox

มากมาย มี อ ะไรบ้ า ง ไปดู กั น เลย !

ช่ว ยฟ นฟู สั ม พั น ธภาพกั บ คนใกล้ ชิด เพราะการใช้อุ ป กรณ์ สื อสารระหว่า ง ทํา งาน หรือ ระหว่า งอยู่ กั บ เพื อนฝู ง

ครอบครัว ล้ ว นเปนตั ว ทํา ลายบรรยากาศ การสนทนาได้ ทั งโดยตั งใจและไม่ ไ ด้ ตั งใจ

ช่ว ยลดความเครี ย ดได้ เพราะการเปดรับ ข้ อ มู ล ข่ า วสารหรือ ความคิ ด เห็น ต่ า งๆ ที มากเกิ น ไป อาจเปนบ่ อ เกิ ด แห่ง ความเครีย ดได้

ดั ง นั นวิธีจั ด การแก้ ป ญหาที ง่ า ยและ ตรงประเด็ น ที สุ ด ก็ คื อ การหยุ ด พั ก การเปดรับ สื อในโลกออนไลน์ นั นเอง มีเ วลาให้ กั บ ตั ว เองได้ ม ากขึ น เพื อนํา ไปใช้ใ ห้เ กิ ด ประโยชน์ อื นๆ กั บ ร่า งกายและจิ ต ใจ เช่น การออกกํา ลั ง กาย หรือ ทํา กิ จ กรรมอื นๆ ที ไม่ ต้ อ งพึ งพาเทคโนโลยี


ปลุ ก ความคิ ด สร้า งสรรค์ ช่ว ยเพิ มประสิ ท ธิภ าพการทํา งาน นอนหลั บ ได้ เ ต็ ม อิ ม และเปนการนอนที มี คุ ณ ภาพ โดยไม่ มี สิ งใดรบกวน ช่ว ยฟ นฟู สุ ข ภาพกาย แม้ ก ารพั ก ร้อ นจากโลกออนไลน์

จะไม่ ส ามารถแก้ ป ญหาเรือรัง ต่ า งๆ อาทิ ปวดหลั ง ปวดคอ ปวดศี ร ษะ หรือ อาการเกี ยวกั บ ดวงตาต่ า งๆ ได้ อ ย่ า งถาวร แต่ ก็ เ ปนการบรรเทาได้ ช่ว ยฟ นฟู สุ ข ภาพใจ การหยุ ด ตนเองจากการเปดรับ ข้ อ มู ล ข่ า วสารเพี ย งฝายเดี ย ว แล้ ว หัน ไป สนใจกั บ การสื อสารกั บ คนรอบข้ า ง ช่ว ยลดความรู ส ้ ึ ก โดดเดี ยวได้ เพิ มสมาธิ ในการจดจ่ อ หรือ ให้ค วามสนใจกั บ สิ งใดสิ งหนึ งมากขึ น เพิ มทั ก ษะคิ ด วิเ คราะห์ แ ละการแก้ ป ญหา เนื องจากการพึ งพาเทคโนโลยี ม ากเกิ น ไป มี แ นวโน้ ม ทํา ให้เ ราเลื อ กที จะ ไม่ ดึ ง ศั ก ยภาพของสมองและความขบคิ ด วิเ คราะห์ข องตนมาใช้

ที มา :

https://www.thaihealth.or.th


แบบทดสอบ...ทายใจ

มองแวบแรกคุณเห็นอะไร ?


เฉลยจ้า

ต้นไม้

คุณมีพลังอยูเ่ สมอ แถมชอบทําสิงใหม่ๆ คุณยอมรับชีวต ิ ทีไม่เปลียนแปลงเลยไม่ได้

หน้าคน

คุณทําอะไรมีเหตุผล ชอบคิดคํานวณ เดือนหน้ายังมาไม่ถึง คุณก็เริมคิดแล้วว่าเดือนหน้าจะทําอะไร การจัดการล่วงหน้าแบบนี จะทําให้คณ ุ สบายใจ

ทีมา WWW.HONGHONGWORLD.COM


แ น ะ นํา ห นั ง สื อ น่ า อ่ า น บริก ารยื ม - คื น หนั ง สื อ แนวจิ ต วิท ยา ให้กํา ลั ง ใจ ห้อ งสมุ ด กํา ลั ง ใจ อาคาร D1 ห้อ ง 127 วัน จั น ทร์- ศุ ก ร์ เวลา 08.00-16.00 น .

ความสํา เร็จ อยู่ ไ ม่ ไ กลแค่ ใ ช้เ วลาให้เ ปน ผู้ เ ขี ย น : มาโคโตะ อิ โ ต สํา นั ก พิ ม พ์ :

KANBATTE

หมวด : จิ ต วิท ยา

เทคนิ ค การใช้เ วลาที จะนํา พาเราไปสู่ ฝ นโดยไม่ ล ะทิ ง ความสุ ข เช่น จะทํา อย่ า งไรเมื อสมาธิห ลุ ด วางแผน ชีวิต ด้ ว ยการมองจากเปาหมาย ต้ อ งเดิ น ไปทางไหน หากยั ง ไม่ รู ว้ ่า ตั ว เองอยากทํา อะไร ...

จงรัก ในความไม่ ส มบู ร ณ์ แ บบของตั ว เอง ผู้ เ ขี ย น :

Haemin Sumin

สํา นั ก พิ ม พ์ :

AMARINDHAMMA

หมวด : อื นๆ ไม่ มี ใ ครที เกิ ด มาสมบู ร ณ์ แ บบ เราเองก็ ไ ม่ ส มบู ร ณ์ แบบเช่น กั น ” นี ไม่ ใ ช่ก ารดู ถู ก ตนเอง แต่ คื อ การ ตระหนั ก และเข้ า ใจความเปนจริง ของชีวิต แม้ เ ราจะ ไม่ ส มบู ร ณ์ แ บบ แม้ จ ะเคยทํา ผิ ด พลาด ก็ ส ามารถ ปรับ ปรุ ง แก้ ไ ข และพั ฒ นาตนเองให้ดี ขึ นต่ อ ไปได้ “


ด้ ว ยรั ก และกํา ลั ง ใจ

"มองชีวต ิ อย่างไร.... ในวันทีคาดเดาอะไรไม่ได้เลย " MAY 18, 2021 BY SIRICHAIWATT

เราคงเคยพบว่า เมือทําอะไรไม่ได้วางแผนหรือมองการณ์ไกล ถึงเวลา เลยรับมือไม่ได้, ไม่ทัน มันก็เสียหาย แต่ในอีกด้านบางที ทังตังใจ และวางแผน เอาไว้ดบ ิ ดีก็มอ ี ะไรมาทําให้พง ั ไม่เปนท่า มันก็ทําให้รส ู้ ก ึ ยําแย่ เพราะว่าอุ ตส่าห์ ลงทุนอะไรไปมากมาย… ถ้าจะบอกว่าเหตุเพราะ วิกฤติไวรัสระลอกใหม่กว่า ทีต่อจากระลอกใหม่ หลังจากระลอกแรก… เอ่อ มันก็คือวิกฤติคราวเดียวกัน แต่มน ั คงต้องแบ่ง เรียกเพือเหตุผลทาง… ทางความรับผิดชอบกระมัง จะได้โทษนันนีกันได้ อย่างไรก็ตาม สิงทีเสียหายกว่าการปวยทางกาย คือ “การปวยใจ และแรง กดดันในการดําเนินชีวต ิ ” ของใครหลายคน


ถึงแม้ไม่มวี ก ิ ฤตินี คนเราย่อมมีความแตกต่างกันในยามประสบปญหา ชีวต ิ ถึงจะต่างกรรม ต่างวาระ ทว่าบางคนต้อง “ล้ม ลุก คลุก คลาน” แต่บาง คนแค่ “ซวนเซ เป แล้วก็ไปต่อ…” คงตอบชัด ๆ ได้ยากว่า เหตุผลเพราะอะไร บางคนอาจแค่โชคดี บางคนปญหาของเขาอาจไม่หนักหนาจริงก็ได้ บางคน อาจมีต้นทุนดี แต่สงเหล่ ิ านีอยูท ่ ี “แค่เรามองเขา” เขาอาจไม่ได้ต้นทุนดี, อาจเจอปญหาหนักมากอยู่ หรือไม่มโี ชคอะไรช่วยก็ได้ ทีสําคัญถ้านีเปนเวลาที ปญหาเกิดกับเรา มันไม่มป ี ระโยชน์อะไรเลยในการมัววิเคราะห์คนอืน หรือ เปรียบเทียบกับคนอืน โดยอย่างยิงในเวลาทีเราแย่กว่า… เพราะในช่วงเวลาทีเต็มไปด้วยปญหา หรือสถานการณ์ทีคาดเดาอะไรยาก สิงทีต้องมีมากคือ “สติ” และการ “มองตัวเอง” เท่านัน เขียนเช่นนีดูง่าย เอะอะก็ให้มส ี ติ มองโลกแง่ดี เรืองเช่นนีใครก็รู ้ ดูอ่านกันจนเบือ แต่มน ั ก็เริมที ตรงไหนไม่ได้นอกจาก “ตรงนี” นีแหละจริง ๆ


"เดินช้าให้มองใกล้ เดินไวให้มองไปข้างหน้า" อันทีจริง “สติ” ใช่มเี พียง บางเวลา หากต้องพยายามมีให้ตลอดเวลา ถ้าตอนนียังไม่มเี มือไหร่จะมี? โดย แง่คิดหนึงทีอยากให้ไว้จากเรืองนีคือ ในช่วงชีวต ิ ทียังปกติดีเสมือนเส้นทาง ชีวต ิ ราบเรียบหรือก้าวหน้า ก็เหมือนเราวิง หรือเดินไปข้างหน้าได้ไว ในช่วงนี เราควรมองไปให้ไกล มองไปข้างหน้ามาก ๆ เพราะยังไม่รวู ้ า่ จะเจออะไร ยิงไป ได้เร็วยิงต้องคิดเผือ มองอนาคตให้มาก หากไม่อยากล้มแรงตอนสะดุด เพราะส่วนใหญ่จะระเริงกันอยูม ่ ากกว่า… ในทางตรงกันข้าม เวลาทีปญหาถาโถม มีปจจัยแย่ ๆ หลายอย่างก็ควร หยุด ลด นีไม่ใช่เวลามาคิดอะไรไกล ๆ จินตนาการไม่ควรนํามาใช้ (ทีพอเอามา คิดตอนนีก็มก ั จะเปนเชิงลบ) มองตัวเรา มองรอบๆตัว อะไรทีต้องแก้ก่อน หรือในเวลานีเราทําได้ เหมือนเดินช้า ๆ ก็มองใกล้ ๆ สํารวจหาสิงเล็กน้อยทีพอ ทําได้ไปเรือย ๆ อย่างระมัดระวัง… นีล่ะ “เดินช้าให้มองใกล้ เดินไวให้มองไปข้าง หน้า” เพราะชีวต ิ ไม่วา่ ช่วงเวลาไหนเราก็คาดเดาอะไรไม่ได้อยูแ ่ ล้ว มันจึง ต้องปรับตามสิงทีเปนจริง วันนีเดินช้า วันหน้าเดินเร็ว วันนีทุกข์ใจ ก็ต้อง ผ่านให้ได้ วันหน้าทีจะสุขใจก็ยง ั พร้อมรออยู่ มีง่าย มียาก สลับกันไป “เลิก เดา” แล้วปรับตัวตามเท่าทีเราทําได้ แล้วทําให้เต็มที ดีทีสุด… ทีมา: sirichaiwatt.com/บทความดีๆสันๆ


ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ใ ค ร ว่ า ย า ก หลั ก การใช้ Punctuation Mark

;

หรือ

ในการเขี ย นประโยคภาษาอั ง กฤษ มั ก จะพบเห็น สั ญ ลั ก ษณ์ . หรือ

?

ได้ ใ นหลายๆ ครัง กลุ่ ม สั ญ ลั ก ษณ์ เ หล่ า นี คื อ เครืองหมายวรรคตอน

หรือ ที ภาษาอั ง กฤษเรีย กว่า

Punctuation Mark

ซึงมี เ ครืองหมายใดบ้ า ง

ได้ ร วบรวมมาพร้อ มทั งวิธีก ารใช้ง านและตั ว อย่ า งประโยคดั ง นี

. (Full Stop) ใช้เ วลาจะจบประโยค Ex.

I spent 3 hours drove from Bangkok to Huahin. (

ฉั น ขั บ รถจากกรุ ง เทพไปหัว หิน ใช้เ วลาสามชัวโมง )

, (Comma) ใช้เ วลาแบ่ ง แยกของหลายๆ สิ งออกจากกั น หรือ ใช้แ ยกวลี ส องวลี ใ นประโยค Ex.

I like watching series, reading books, and traveling. (

ฉั น ชอบดู ซีร ย์ ี อ่ า นหนั ง สื อ แล้ ว ก็ ท่ อ งเที ยว )

? (Question Mark) ใช้กั บ ประโยคคํา ถาม Ex.

Where will you go this weekend?

(

เสาร์อ าทิ ต ย์ นี เธอจะไปไหน ?)

! (Exclamation Mark) ใช้กั บ การสื อถึ ง ความรู ส ้ ึ ก ที เข้ ม ข้ น ไม่ ว่า จะดี ใ จ หรือ ตกใจ Ex.

Wow! This movie is so awesome!

(

ว้า ว ! หนั ง เรืองนี มั น เจ๋ ง จริง ๆ !)


; (Semi-colon) เอาไว้เ ชือมวลี ย่ อ ยๆ เข้ า ไว้ด้ ว ยกั น Ex.

My son is a doctor; My daughter is a teacher. (

ลู ก ชายฉั น เปนหมอ ; ลู ก สาวฉั น เปนครู )

: (Colon) เอาไว้บ อกว่า มี ร ายการอะไรบ้ า งในหัว ข้ อ นั นๆ Ex.

They plan to have three meetings next week: Weekly meeting, management meeting and external parties meeting. (

พวกเขามี แ ผนประชุ ม สามงานอาทิ ต ย์ ห น้ า คื อ การประชุ ม รายสั ป ดาห์, การประชุ ม ระดั บ สู ง และ การประชุ ม กั บ บุ ค คลภายนอก )

" " (Quotation Mark) ใช้แ สดงถึ ง คํา พู ด ของบุ ค คลใดบุ ค คลหนึ ง Ex.

“I’m very bored” she said.

(“

ฉั น เบื อมาก ” เธอพู ด )

‘ (Apostrophe) ใช้แ สดงความเปนเจ้ า ของ หรือ ใช้ย่ อ คํา ก็ ไ ด้ Ex.

David’s house is so big.

(

บ้ า นของเดวิด ใหญ่ ม าก )

- (Hyphen) ใช้เ ชือมคํา เข้ า ด้ ว ยกั น ให้ก ลายเปนกลุ่ ม คํา ที มี ค วามหมายเดี ย ว Ex.

Her six-year-old daughter loves dancing. (

ลู ก สาววัย หกขวบของเธอชอบเต้ น รํา )

/ (slash) ใช้พู ด ถึ ง กลุ่ ม คํา ที ต้ อ งการจะสื อถึ ง ทั งสอง Ex.

Free ticket will be given to women/children only. (

ตั วฟรีจ ะให้กั บ ผู้ ห ญิ ง และเด็ ก เท่ า นั น ) ที มา :

https://www.trueplookpanya.com


แ น ะ แ น ว แ น ะ นํา


ปฏิทน ิ กิจกรรม เดือน กรกฎาคม 2564

พฤ.1-ส.31 รับสมัครทุนการ ศึกษามหาวิทยาลัย ณ ห้อง 113 อาคาร D1

จ.12-ส.31 กิจกรรม How to live and learn

อา.18 ถวายเครืองสักการะ พิธท ี านหาแม่ฟาหลวง

พฤ.15-ศ.30 ยืนแบบ คําขอกู้กองทุน กยศ. ราย ใหม่และรายเก่าเปลียน ระดับการศึกษา ณ ห้อง 114 อาคาร D1


เหนือยก็พก ั หนักก็วาง พักผ่อนบ้างแล้วค่อยสูใ้ หม่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.