Vol. 7 No.24 January - March 2021 : TH/EN
www.sugar-asia.com Published By
‘ศรีส�ำโรง 1’ พันธุ์อ้อยตัวเลือกใหม่ที่คุ้มค่า ของเกษตรกรในตลาดเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ‘Si Samrong 1’: New & Worthy Alternative Cane for Thai Farmers and Health Drink Market Page 22 www.sugar-asia.com
THB 150 : USD 5
ASIA'S LARGEST SPECIALIZED SUGAR, SUGARCANE, BIOETHANOL AND AGRICULTURE EXHIBITION & CONFERENCE
3 rd Edition
Co-Located With: Thailand
UGAR S 2021
THAILAND 2021
9-10 SEPTEMBER 2021
Conference
KICE
KHONKAEN THAILAND
Sugar Expo & Conference
www.thaisugarexpo.com
CALL FOR MORE INFORMATION
(+66) 2 513 1418
thai@asiafireworks.com
CONFERENCE BY :
OFFICIAL MEDIA :
ORGANIZED BY :
JuzTalk (Thailand)
Sugar Asia Magazine
Fireworks Media (Thailand) Co.,Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group
www.sugar-asia.com
Kenny Yong Guest Editor Managing Director
Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd.
EDITOR’S MESSAGE Editor Managing Director Kenny Yong Publications Manager Rungnapa Manathanakit rungnapa@fireworksbi.com
Editorial Consultants Poontarika Saenrit Board of Directors Kenny Yong Susan Tricia Content Editor Apissara Kaewraksa editor.th@fireworksbi.com
Media Executive Naritsara Saengnoi sales.th@fireworksbi.com
Translator Korapat Pruekchaikul Designer Tansit Sachare
Deat Readers, As we enter the year of the Ox, we are pinning our hopes that 2021 will terminate all the troubles that 2020 has brought to our lives. Even if we are still in the middle of this pandemic, it is our wish that we can overcome our obstacles and that our businesses and livelihood will expand and flourish all-year round. In this edition, we are honored as the exclusive interview in this issue’s in Planter Conners with Raweewan Chuakittisak, an Agricultural Research Officer Senior Professional Level of Khon Kaen Field Crops Research Center and Field and Renewable Energy Crops Research Institute (FCRI) shared us about a new sugarcane variety worthy alternative for Thai farmers and health drink market. Flip to find out more on page 22. For any interesting articles pertaining to the sugar or ethanol industry, please feel free to share it with us at editor.th@fireworksbi.com. Wishing you peace, joy, good health and prosperity in the New Year! Cheerios!
Follow us on Sugar Asia Magazine
FBI Publications (Thailand) Promphan 2 Office & Residence, 8th Floor (Office Zone, Room 807) 1 Soi Lat Phrao 3, Lat Phrao Road, Jompol, Chatuchak, Bangkok 10900 Thailand
Tel : (+66) 2513-1418 ext 108 Fax : (+66) 2513-1419 Email : thai@fireworksbi.com
Publisher :
SugarAsiaMag
Sugar Asia Magazine
Sugar TV
#STRONGERTOGETHER Around the world, people are demonstrating resilience, solidarity and perseverance in the face of COVID-19. We thank all farmers and supply chain workers for continuing to provide us with safe and nutritious food. Working side by side, we’ll get through this pandemic, stronger together.
ประชาชนทัว่ โ ลกพสิู จนใ หเห็นแลววา พวกเขาสามารถปรับตวัไ ด มีความเป็ นน้ำหนึ่งใ จเดียวกนั และมีความมุงมัน่ เมื่อเผชิญ กับวกิฤตโ ควดิ19 เราขอขอบคุณเกษตรกรทังหลายและทุ ้ กทานที่เกี่ยวของใ นหวงโซอุปทานดานการเกษตรที่ชวยขบัเคลื่อน ใ หประชากรโ ลกไ ดรับผลิตภณัฑทางการเกษตรที่สมบูรณและปลอดภยั เราจะเคียงบาเคียงไหลกนั เพื่อฝ าวกิฤตนี้ไ ปดวยกนั
#StrongerTogether www.caseih.com
C
ONTENTS Vol. 7 No.24 January - March 2021
6
25
13
34
36
REGIONAL INDUSTRY NEWS
INTERNATIONAL NEWS
6
มอุปทานน�้ำตาลในตลาดโลก ปี 2563-2564 12 คาดแนวโน้ Global Sugar Market Supply Outlook in 2020-21
7
ภาครัฐเปิดแผนอุตฯ อ้อยน�้ำตาลปี 64 ชูเกษตรกรไทยตัดอ้อย สด-ยกระดับรายได้ Thai Govt. Announces Cane & Sugar Industrial Plan 2021, Promoting Fresh Cane Harvest & Boosting Income มิตรผลดัน ‘เกษตรสมัยใหม่’ กุญแจส�ำคัญสูค่ วามยัง่ ยืนควบคูส่ งิ่ แวดล้อม พร้อมแข่งขันบนเวทีโลก Mitr Phol Introduces ‘Modern Farm’ as Key to Sustainable Environment for Global Competitiveness
8
อุตฯ น�้ำตาลพม่าฟื้นตัว รับอานิสงส์น�้ำตาลในตลาดโลก Myanmar To Forge Ahead With High Benefit From Global Sugar Market
10
ท�ำไมเวียดนาม ตัดสินใจน�ำเข้าน�้ำตาลราคาถูกมากกว่า ที่จะผลิตเอง? Why Vietnam Imported Sugar Cheaper than DomesticallyProduced One?
11
อินโดนีเซียผงาดเป็นผู้น�ำเข้าน�้ำตาลรายใหญ่สุดของอินเดีย Indonesia May Emerge as the Biggest Importer of Indian Sugar
13
บราซิลครองแชมป์ต�ำแหน่งผู้จัดหาน�้ำตาลรายใหญ่ระดับโลก Brazil to Remain the Major Global Sugar Supplier
นเดียคว้าโอกาสดี ส่งออกน�ำ้ ตาลตลาดต่างประเทศ 14 อิIndia Sees Great Opportunity in Sugar Export to International Markets
ไบเปิดตัวการลงทุนอุตฯ น�้ำตาลในภูมิภาคอเมริกาใต้ 15 ดูDubai Unveiled the Sugar Investment in South America Region ตฯ อ้อยปากีสถาน คาดว่าจะมีการผลิตน�้ำตาลที่สูงขึ้นในปี 64 16 อุPakistan Sugarcane Industry Estimates Higher Sugar Production in 2021
COVER STORY
บตาอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลไทย-อินโด 18 จัThai-Indonesian Cane & Sugar Industries under Close Speculation
www.sugar-asia.com
SUGAR ASIA MAGAZINE
18
22
39
PLANTER CORNER
ส�ำโรง 1’ พันธุ์อ้อยตัวเลือกใหม่ที่คุ้มค่าของเกษตรกร ในตลาด 22 ‘ศรี เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
‘Si Samrong 1’: New & Worthy Alternative Cane for Thai Farmers and Health Drink Market
SPECIAL INSIGHT
่องอบแห้งด้วยก๊าซเสียมีความเหมาะสมมากกว่าเครื่องอุ่น 25 เครื อากาศหรือไม่ส�ำหรับการกู้ความร้อนในหม้อไอน�้ำ
Is Flue Gas Dryer A Better Choice for Heat Recovery in Bagasse-Fired Boiler Than Air Heater?
วมเชิดชูเกษตรกรไร่อ้อยหญิงชาวไทย 28 เคสไอเอสร่ Thai Sugar Industry Benefits from Harvesting Mechanisation as More Women Take on Farm Leadership Roles
ETHANOL NEWS
31
รัฐบาลอินเดียประกาศแผนความช่วยเหลือผลิตเอทานอล Indian Government Modified Notified Scheme on Ethanol Production
32
จีนหวนคืนสู่ตลาดเอทานอลของสหรัฐฯ ในช่วงครึ่งแรกของปี 64 China Returned to U.S. Ethanol Market in the First Half of 2021 www.sugar-asia.com
ดตัวโรงงานเชือ้ เพลิงแอลกอฮอล์อากาศยาน แห่งแรกของยุโรป 33 เปิLaunching of Europe’s First of its Kind Alcohol-to-Jet Production Plant
BIOENERGY NEWS
นหน้าครองต�ำแหน่งผู้ผลิตพลาสติกชีวภาพอันดับ 3 ของโลก 34 ไทยเดิ Thailand Ranked 3rd Bioplastic Manufacturer of the World นเดีย จับมือพันธมิตรเนเธอร์แลนด์ ขยาย 14 โครงการก๊าซชีวภาพอัด 35 อิIndia, Netherlands Partner on 14 Compressed Biogas Projects เริ่มแผนโครงการชีวอนาคต พร้อมเร่งขับดันเศรษฐกิจชีวภาพหลัง 36 IEA โควิด 19
EIA initiates ‘Biofuture’ Principles for Post-COVID Bioeconomy Recovery and Acceleration
RESEARCH NEWS กวิจัยโปรตุเกส สกัดสารไบโอซิลิกาจากอ้อยได้เป็นผลส�ำเร็จ 38 นัPortuguese Researchers Create Biosilica Extracted from Sugarcane
ผลิตจากอ้อย ช่วยลดปริมาณก๊าซ 39 นวัคาร์ตบกรรมยางแบบใหม่ อนไดออกไซด์ให้ตำ�่ กว่า
New Innovation Rubber Made from Sugarcane Lower CO2 Footprint
Regional News
ภาครัฐเปิดแผนอุตฯ อ้อยน�ำ้ ตาลปี 64 ชูเกษตรกร ไทยตัดอ้อยสด-ยกระดับรายได้ Thai Govt. Announces Cane & Sugar Industrial Plan 2021, Promoting Fresh Cane Harvest & Boosting Income
กอน. ตั้งเป้าหมายปริมาณอ้อยสดเข้าหีบในฤดูการผลิตปี 2563/64 ไม่น้อยกว่า 80% ของปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งหมด
ส�ำ
นักงานคณะกรรมการอ้อยและน�้ำตาลทราย (กอน.) เตรียมมาตรการจูงใจให้เกษตรกร ชาวไร่อ้อยให้หันมาตัดอ้อยสดก่อนส่งโรงงาน พร้อม ดันแนวทางและนโยบายต่างๆ ทีจ่ ะสนับสนุนเกษตรกร ชาวไร่อ้อยมีความมั่นคง เผยมีลุ้นรายได้ตันละไม่ต�่ำ กว่า 1,000 บาท คาดประสบความส�ำเร็จอ้อยสดเข้า โรงงานหีบ 80% ในฤดูกาลผลิตปี 2563/64 เป็นการ ยกมาตรฐานสิ่งแวดล้อม สังคม สิ่งแวดล้อมส่งผลดี ต่ออุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลไทยไปพร้อมกัน
นายเอกภัทร วังสุวรรณ เลขาธิการคณะกรรมการอ้อย และน�้ำตาลทราย (กอน.) เปิดเผยว่า “มีการตั้งเป้าหมาย ฤดูการผลิตปี 2563/64 นีจ้ ะมีปริมาณอ้อยสดเข้าหีบตลอด ระยะเวลาเปิดหีบอ้อยประมาณ 100 วัน ไม่น้อยกว่า 80% ของปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งหมด ที่ปนี ี้คาดว่าจะมีปริมาณอยู่ ที่ 67.04 ล้านตัน น้อยกว่าปี ที่ผ่านมามี 75 ล้านตัน ทั้ง ในเรื่องของการส่งเสริมให้ราคาอ้อยสดสูงกว่าอ้อยไฟไหม้ การสนับสนุนเครื่องสางใบอ้อยให้เกษตรกรชาวไร่อ้อยยืม ฟรี และในกรณีมนี โยบายการช่วยเหลือจากภาครัฐ จะช่วย เหลือเฉพาะเกษตรกรชาวไร่ออ้ ยทีต่ ดั อ้อยสดเท่านัน้ ” นายเอกภัทร กล่าวว่า แนวโน้มราคาอ้อยในฤดูการผลิต ปี 2563/64 เกษตรกรชาวไร่อ้อยจะมีรายได้รวมตันละไม่ ต�ำ่ กว่า 1,000 บาทแน่นอน ส�ำหรับนโยบายและทิศทางการ ด�ำเนินงานของส�ำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย (สอน.) ในปี 2564 ที่จะท�ำให้เกษตรกรชาวไร่อ้อยมีความ มั่นคง มีรายได้ที่เพียงพอ โดย สอน. ได้เตรียมความพร้อม และแนวทางในการเพิม่ รายได้ให้กบั เกษตรกรชาวไร่ออ้ ย เช่น การน�ำอ้อยไปผลิตผลิตภัณฑ์อื่นๆ เพื่อการเพิ่มมูลค่า และ การแบ่งปันผลประโยชน์ เนือ่ งจากพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) อ้อยและน�้ำตาลทราย พ.ศ.2527 ยังไม่สามารถน�ำน�้ำอ้อย ไปผลิตสินค้าอื่นที่ไม่ใช่น�้ำตาลทรายได้ “ในปี 2563 มีโรงงานทีข่ ออนุญาตจ�ำหน่ายน�ำ้ เชือ่ มเพือ่ ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเอทานอล 175,462 ตัน สามารถ รองรับการผลิตเอทานอลได้ประมาณ 34.9 ล้านลิตร และ ในปี 2564 คาดว่าจะมีการใช้น�้ำเชื่อมความเข้มข้นต�่ำเป็น วัตถุดิบผลิตเอทานอลประมาณ 500,000 ตัน คาดว่าจะ ผลิตเอทานอลได้ประมาณ 100 ล้านลิตร”
6
นอกจากนี้ ยังได้มกี ารส่งเสริมวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ชีวภาพในกลุ่มพลาสติกชีวภาพ เคมีชีวภาพ และเวชภัณฑ์ ชีวภาพ/เครื่องส�ำอาง และเชื้อเพลิงชีวภาพ และผลักดันให้ มีการน�ำไปต่อยอดเชิงพาณิชย์รวมถึงการพัฒนาบุคลากร ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม ชีวภาพ ท�ำให้มกี ารจัดตัง้ ศูนย์สง่ เสริมอุตสาหกรรมชีวภาพที่ ต.บางพระ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี เพื่อเชื่อมโยงงานวิจัยสู่ภาค อุตสาหกรรม ซึง่ ได้รบั จัดสรรเงินงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2565 จ�ำนวน 70.40 ล้านบาท ก่อสร้างอาคาร คาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จภายในปี 2565 สอน.ยังเตรียมความพร้อมและแนวทางในการเพิม่ ราย ได้ให้กบั เกษตรกรชาวไร่ออ้ ย เพือ่ เป็นการสร้างความมัน่ คงใน อาชีพและรายได้แก่ชาวไร่ออ้ ย โดย 1.การน�ำใบอ้อยและยอด อ้อยทีเ่ กิดจากนโยบายการตัดอ้อยสดน�ำส่งให้กบั โรงงานเพือ่ น�ำไปเป็นเชือ้ เพลิง ซึง่ เกษตรกรชาวไร่ออ้ ยสามารถจ�ำหน่าย ใบอ้อยและยอดอ้อยให้แก่โรงงานได้ในราคาตันละ 8001,000 บาท เมื่อหักค่าใช้จ่ายใน 1 ไร่ จะมีใบอ้อยที่ขายได้ ประมาณ 1 ตัน ท�ำให้เกษตรกรมีรายได้จากการขายใบอ้อย เพิ่มขึ้นอีกไร่ละ 500 บาท หากคิดพื้นที่ 1 ไร่ ปลูกอ้อยได้ 10 ตัน จะท�ำให้ได้ราคาอ้อยเพิ่มอีกตันละ 50 บาท
year, no less than 80% of all fresh cane for extraction would be sent to sugar mills, the equivalent of 67.04 million tons. The amount is less than the previous year when 75 million tons of cane were sent to sugar mills. Besides, the OSCB is still campaigning on increasing prices for fresh cane over burnt one, lending a cane leave combing machine to farmers for free and providing exclusive public aid to farmers who opt for cane cutting only. According Mr. Ekapat, in terms of the price of cane for the production year of 2020/2021, local farmers will certainly earn a total of no less than 1,000 Baht. In terms of the OSCB’s policy and work plan this year, it aims to help local farmers to have stable and sufficient income by implementing a guideline to add values to cane as other products and interest sharing as, in accordance with the Cane and Sugar Act of B.E. 2527, cane juice cannot be used to produce anything other than sugar. “In 2020, there were factories asking for selling syrup as an ingredient to produce ethanol of 175,462 tons, the amount of which can be used to make approximately 34.9 million liters of ethanol. This year, low concentrated syrup of around 500,000 tons is expected to use to make around 100 million liters of ethanol,” said Mr. Ekapat. Besides, bioproducts, especially bioplastic, biochemistry, biopharmaceutical products/ cosmetics and biofuels, are promoted and developed, and encouraged to boost commercial values as well as human resources development of public and private organizations to support bioindustrial development. As a result, a center for bioindustrial promotion is launched in Bang Phra sub-district, Sri Racha district, Cholburi, to connect research with industrial sectors. The center is being constructed under budget of 70.40 million Baht and will be completed in 2022.
O
ffice of Cane and Sugar Board (OSCB) is planning to encourage local cane farmers in Thailand to cut fresh cane instead of burning it. The OSCB is also mobilizing policy to support the farmers’ stable income, expecting no less than 1,000 Baht per a ton of the product. It speculated that 80% fresh cane would be sent for extraction in the current production year of 2020/2021. Doing so will upgrade social and environmental standards of Thailand’s cane and sugar at the same time.
Mr. Ekapat Wangsuwan, the OSCB’s Director General, revealed that, for the current production
Mr. Ekapat Wangsuwan, the OSCB’s Director General The OSCB is planning to boost more income to cane farmers so that they have stable profession. For instance, farmers are encouraged to sell a ton of cane’s leaves and crests to a factory for 800-1,000 Baht so that the factory use them as fuel. When expenses are deducted per a Rai land, around one ton of cane leaves can be sold and farmers will earn 500 Baht more per a Rai land. If 10 tons of cane are planted in a Rai land, farmers will earn 50 Baht more to a price they sell per a ton.
www.sugar-asia.com
Regional News
มิตรผลดัน ‘เกษตรสมัยใหม่’ กุญแจส�ำคัญสู่ความ ยั่งยืนควบคู่สง ิ่ แวดล้อม พร้อมแข่งขันบนเวทีโลก Mitr Phol Introduces ‘Modern Farm’ as Key to Sustainable Environment for Global Competitiveness
ก
ลุ่มมิตรผล พลิกโฉมภาคเกษตรไทยให้ไร้ฝุ่น พร้อมชูขอ้ ดี ‘เกษตรสมัยใหม่’ ตามหลัก “มิตรผล โมเดิร์นฟาร์ม” ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทั้งด้านคุณภาพ และผลผลิต ยืนยันอ้อยไฟไหม้ลดลง มีออ้ ยสดสูง 99% ส่งเสริมเกษตรกรไทยให้ยงั่ ยืนทัง้ อาชีพและสิง่ แวดล้อม พร้อมก้าวเป็น Smart Farmer ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ดิจดิ อลมาบริการเพือ่ ต่อยอดสร้างมูลค่าเพิม่ อ้อย หวัง ดันภาคเกษตรไทยให้สามารถแข่งขันบนเวทีโลก พร้อม เทงบ 380 ล้าน เปิดรับซือ้ ใบอ้อย-ฟางข้าว 3.8 แสนตัน เพื่อเป็นอีกแนวทางในการจูงใจชาวไร่ลด PM 2.5 นายบรรเทิง ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการบริษัท กลุ่มมิตรผล เปิดเผยว่า ภาคการเกษตรมักจะถูกมองว่า เป็นส่วนหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เกิดฝุน่ PM 2.5 จากการเผาพืชผลทาง เกษตรหรือเศษชีวมวลต่าง ๆ ในช่วงฤดูเก็บเกี่ยว เช่น เผา ฟางข้าว ซังข้าวโพด หรือเผาอ้อย ซึ่งทางออกในการแก้ไข ปัญหาเรื่องการเผาในภาคเกษตรอย่างยั่งยืน โดยในฤดูการ ผลิตประจ�ำปี 2563/2564 โรงงานน�้ำตาลกลุ่มมิตรผล ใน จังหวัดสุพรรณบุรี สิงห์บุรี ขอนแก่น ชัยภูมิ กาฬสินธุ์ เลย และอ�ำนาจเจริญ ได้เปิดโครงการรับซือ้ ใบอ้อยและฟางข้าวจาก ชาวไร่ ตันละ 1,000 บาท (ราคาหน้าโรงงาน) ต่อเนือ่ งจาก ปีก่อน เพื่อน�ำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไฟฟ้าชีวมวล ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2563 – 15 มีนาคม 2564 อย่างไรก็ตาม ต้องยอมรับว่าทีผ่ า่ นประเทศไทยก�ำลัง เผชิญกับปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคเกษตร ส่งผล ให้เกษตรกรบางส่วนเลือกทีจ่ ะเผาวัสดุทางการเกษตรในช่วง ฤดูเก็บเกีย่ ว เพือ่ ให้สามารถเก็บเกีย่ วผลผลิตได้ทนั เวลา แต่ การเผาก็จะท�ำให้สญ ู เสียคุณภาพผลผลิต และกระทบความ อุดมสมบูรณ์ของดิน ซึ่งหลายภาคส่วนพยายามร่วมมือกัน แก้ไขปัญหานี้ ซึง่ ต้องมีแนวทางแก้ไข ด้วยการเปลีย่ นวิธกี าร ท�ำการเกษตรแบบดัง้ เดิมเป็นเกษตรสมัยใหม่ เริม่ ต้นตัง้ แต่ การวางแผนการปลูก บ�ำรุง เก็บเกีย่ ว ทีจ่ ะต้องน�ำนวัตกรรม เทคโนโลยี เครือ่ งจักรกลการเกษตรขนาดกลางและเล็ก เข้า มาใช้แทนแรงงานคนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ช่วยลดต้นทุน และช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นแนวทางหนึ่ง “ทางกลุม่ มิตรผลได้สง่ เสริมแนวทางการท�ำไร่ออ้ ยสมัย ใหม่ตามหลัก “มิตรผล โมเดิรน์ ฟาร์ม” ให้แก่ชาวไร่ออ้ ยมา 5-6 ปี ซึ่งท�ำให้ปริมาณอ้อยไฟไหม้ของกลุ่มมิตรผลน้อยลง ตัวอย่างเช่น โรงงานน�ำ้ ตาลมิตรภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ มีออ้ ย สดเข้าหีบสูงถึง 99%” นายบรรเทิง กล่าว นายบรรเทิง กล่าวว่า “ผมมองเห็นว่าเกษตรสมัยใหม่ www.sugar-asia.com
คือจุดเปลีย่ นผ่านส�ำคัญทีจ่ ะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพให้กบั ภาค เกษตรของไทยให้สามารถแข่งขันบนเวทีโลกได้ ทัง้ ในด้านของ คุณภาพและปริมาณผลผลิต เราจึงต้องส่งเสริมให้เกษตรกร มีทัศนคติที่อยากปรับเปลี่ยนตัวเองให้เป็น Smart Farmer เป็นเกษตรยุคใหม่ที่ใช้หลักการบริหาร เทคโนโลยีดิจิตอล เข้ามาปรับใช้ รวมถึงให้ความส�ำคัญกับการดูแลสิง่ แวดล้อม หากไม่ปรับตัวในวันนี้ ไม่ใช่เพียงแค่เรือ่ งฝุน่ ทีเ่ กิดขึน้ เท่านัน้ แต่ภาคเกษตรยังต้องเผชิญกับปัญหาภัยแล้งหรือน�ำ้ ท่วมทีม่ ี ผลจากปัญหาโลกร้อนและสภาพอากาศแปรปรวน รวมถึง การแข่งขันในตลาดอุตสาหกรรมเกษตรระดับโลกที่ท้าทาย มากขึ้น ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตและรายได้”
M
itr Phol Group is transforming Thailand’s agriculture into a dust-free sector, emphasizing advantages of ‘modern agriculture’ according to ‘Mitr Phol modern farm’ that promotes effectiveness in quality and products. The company already confirmed the decrease of burnt sugar cane while the fresh one reached up to 99%. At the same time, sustainable profession and environment are promoted among Thai farmers. They will eventually become smart farmers able to apply digital technology to add more values to sugar cane. In so doing, Thailand’s agricultural sector will be able to compete in global business. To buy 380,000 tons of cane leaves and straws, Mitr Phol will invested 380 million Baht as a way to encourage local farmers to reduce burning sugar cane, the major cause of PM 2.5 smog. Mr. Buntoeng Vongkusolkit, the Mitr Phol Group’s Chairman, revealed that the agricultural sector was regarded as a cause of PM 2.5 smog owing mainly to burning agricultural products or biomass leftovers during the harvest season,
particularly straws, corncob or sugar cane. To solve the problem sustainably, in the harvest season of 2020/2021, sugar mills of Mitr Phol Group in Suphan Buri, Singburi, Khon Kaen, Chaiyaphum, Kalasin, Loei and Amnart Charoen has launched a program to buy sugar cane leaves and straws from local farmers. Each ton costs 1,000 Baht (The on-site price). The leaves and straws will serve as raw materials for biomass electricity generating. This program started on December 2020 and will end on 15 March 2021. Nonetheless, one must accept that Thailand has for the recent years been facing labor shortage in agriculture, resulting some local farmers opting for burning agricultural materials during the harvest season so that they are able to collect crops in time. Burning causes loss of product quality and affects soil fertility. Many concerned sectors are attempting to solve this problem, and a solution is to change conventional agriculture to modern one, starting from planning to grow, maintain and harvest crops, all of which require innovation, technology as well as medium and small agricultural machines to replace human beings. Doing so will enhance effectiveness, reduce capital costs and protect environment. “Mitr Phol Group has promoted a way to modern cane farming according to “Mitr Phol Modern Farm” for Thai farmers for 5-6 years. As a result, the amount of burnt sugar cane received by the company has constantly decreased. The Mitr Phu Khiew sugar mill in Chaiyaphum received up 99% of fresh cane,” explained Mr. Buntoeng. Moreover, the company provided knowledge to farmers continuously so that sustainable and environmentally prioritized agriculture will enable farmers to gain most benefits in terms of product quality and income apart from protecting environment, balancing the ecosystem and reducing use of chemical substances. In addition, adding more values to biomass materials for agriculture like sugar cane leaves and straws, which are used to cover soil to prevent weeds and maintain humidity as they are organic ingredients to soil, includes using them as a supplement fuel for biomass electricity generating. Doing so will promote use of clean energy and reduce fossil fuel. When local farmers understand that the biomass materials are priceless, boost more income and jobs, they will stop harvesting sugar cane by burning it. Mr. Buntoeng stated that he viewed modern agriculture as major transition to increase effectiveness to Thai agriculture until it was able to compete globally in terms of quality and product amount, so we should encourage local framers to change themselves to smart ones who know how to manage digital technology and realize the importance of environment. Unless they adjust themselves, the current smog will become worse and local agriculture will face drought or floods caused by the present global warming and unstable climate, not to mention an increasing challenge of the world’s agricultural industries which may affect products and income later.
7
Regional News
อุตฯ น�ำ้ ตาลพม่าฟื้นตัว รับอานิสงส์นำ้� ตาลในตลาดโลก Myanmar to forge ahead with High Benefit from Global Sugar Market
เกษตรกรหญิงก�ำลังเพาะปลูกอ้อย ในเขตมะกเว ประเทศพม่า
ติ
ฮาทาน (U Thi Ha Tun) เลขาธิการสมาคมผลิตภัณฑ์ น�ำ้ ตาลและอ้อยของพม่า เปิดเผยว่า ราคาน�ำ้ ตาลที่ ผลิตได้คาดว่าจะเพิม่ สูงขึน้ เนือ่ งจากคลังในประเทศเริม่ หมดและยังคงมีน�้ำตาลน�ำเข้าอยู่น้อย จะเห็นได้ชัดว่า ในปีนี้ราคาน�้ำตาลในตลาดต่างประเทศพุ่งสูงขึ้นอย่าง น่าตกใจและตลาดน�้ำตาลในประเทศก็ดูเหมือนจะมี แนวโน้มเช่นเดียวกัน ปัจจุบนั พม่ามีพนื้ ทีป่ ลูกอ้อยกว่า 4 ล้านเอเคอร์ และคาดการณ์ว่าโรงงานจะรับซื้ออ้อย ประมาณ 4.2 ล้านตันในฤดูกาลนี้ เนื่องจากอุปสงค์ น�้ำตาลทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้น
สิง่ นีแ้ สดงให้เห็นถึงแนวโน้มทีเ่ ปลีย่ นไป เนือ่ งจากพม่า ต้องเผชิญกับภาวะปริมาณน�ำ้ ตาลในประเทศล้นตลาดมานาน หลายปีก่อนที่อุปสงค์จะพุ่งสูงขึ้น ในความเป็นจริงแล้วเป็น เพราะภาษีอากรที่ไม่ดึงดูดใจและข้อก�ำหนดทางศุลกากรที่ เข้มงวดท�ำให้การส่งออกน�ำ้ ตาลไปยังประเทศจีนหยุดชะงักลง ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2563 ขณะเดียวกันเกษตรกรชาวไร่อ้อย ในประเทศก็ลดการผลิตลงในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เพราะมี ต้นทุนการผลิตที่สูงเกินไป เขากล่าวว่า “การปลูกอ้อยในช่วงสีป่ ที ผี่ า่ นมามีมลู ค่า ที่สูงเนื่องจากอ้อยมีราคาอยู่ที่ 50,000 จ๊าดต่อตัน และมี ค่าแรงที่ลดลง” โรงงานน�้ำตาลภายในประเทศจะสามารถ แข่งขันกันได้ก็ต่อเมื่ออ้อยมีราคารับซื้ออยู่ที่ 45,000 จ๊าด ต่อตันหรือถูกกว่านั้น อูวินเท (U Win Htay) รองประธานสมาคมฯ คาด เดาว่า “เมียนมาร์จะสามารถส่งออกน�้ำตาลที่ผลิตภายใน ประเทศไปยังจีนและเวียดนามได้ เนื่องจากอุปทานที่ไม่ เพียงพอ ราคาน�ำ้ ตาลจึงจะเพิม่ ขึน้ ตามอุปสงค์ทเี่ พิม่ ขึน้ อย่าง แน่นอน” กรมวิชาการเกษตรระบุวา่ เนือ่ งจากมีการปลูกอ้อย ครอบคลุมพื้นที่ 438,420 เอเคอร์ทั่วประเทศในปีนี้ ท�ำให้ โรงงานน�้ำตาลของเมียนมาร์คาดว่าจะหีบอ้อยจ�ำนวน 4.2 ล้านตันในฤดูกาลอ้อยปี พ.ศ. 2563-2564 สมาคมระบุว่า ก่อนหน้านี้ พม่าส่งออกน�้ำตาลทราย ดิบซึง่ เป็นน�ำ้ ตาลทรายไม่บริสทุ ธิซ์ งึ่ ผลิตจากอ้อยไปยังจีน แต่ เนือ่ งจากข้อจ�ำกัดในการน�ำเข้าและการปราบปรามการค้าทีผ่ ดิ กฎหมาย เกษตรกรจึงค่อยๆ ยุตกิ ารปลูกอ้อยไปเป็นจ�ำนวน มาก ในความเป็นจริงแล้วผูท้ อี่ ยูว่ งในคาดการณ์วา่ พืน้ ทีเ่ พาะ ปลูกอ้อยในปีงบประมาณ 2563-2564 จะลดลงเหลือเพียง 350,000 เอเคอร์หรือลดลงร้อยละ 25 เมื่อเทียบกับ 7 ปี ที่แล้วและต�่ำเป็นประวัติการณ์ในภาคอุตสาหกรรม ในขณะเดียวกัน พม่าก็นำ� เข้าน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิ์ เนือ่ งจากมีโรงงานน�ำ้ ตาลในพม่าเพียงสองแห่งเท่านัน้ ทีก่ าร ผลิตน�ำ้ ตาลทรายขาวบริสทุ ธิจ์ ากโรงงานน�ำ้ ตาลทัง้ หมดจ�ำนวน 29 แห่ง ในปีงบประมาณ 2562-2563 พม่าน�ำเข้าน�้ำตาล ทรายขาวบริสุทธิ์กว่า 57,000 ตัน ซึ่งน้อยกว่าปีก่อนหน้า
8
นี้ประมาณร้อยละ 40-50 เนื่องจากราคาที่สูงขึ้นและข้อ จ�ำกัดที่รัฐบาลก�ำหนด เพื่อฟื้นฟูตลาดน�้ำตาลภายในประเทศ พม่าควร ลงทุนในการยกระดับโรงงานภายในประเทศและการเข้า ถึงเมล็ดพันธุ์อ้อยที่มีคุณภาพสูงขึ้น ปัจจุบันธุรกิจอาหาร และเครื่องดื่มภายในประเทศได้รับอนุญาตให้น�ำเข้าน�้ำตาล ทรายขาวบริสุทธิ์ได้ตามความต้องการและประเทศน�ำเข้า น�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์จากประเทศไทยเพียงแห่งเดียว จ�ำนวน 10,000 ตัน แต่นโยบายเหล่านีส้ ามารถและควรมีการเปลีย่ นแปลง อูวินเท กล่าวว่า “หากมีอุปสงค์คือน�้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ รัฐบาลควรก�ำหนดนโยบายใหม่เพื่อยกระดับโรงงานภายใน ประเทศอย่างน้อยสองแห่งให้สามารถแปรรูปน�้ำตาลทราย ขาวบริสุทธิ์ได้ หากกิจการภายในประเทศต้องใช้น�้ำตาล ทรายขาวบริสทุ ธิก์ จ็ ะสามารถท�ำสัญญากับโรงงานเหล่านีใ้ น การจัดหาน�ำ้ ตาลได้ ซึง่ จะช่วยเพิม่ มูลค่าให้กบั อุตสาหกรรม น�้ำตาลภายในประเทศและลดการพึ่งพาการน�ำเข้า”
U
Thi Ha Tun, Myanmar Secretary of Sugar and Cane Related Products Association revealed that the price of new sugar produced is expected to rise as local stockpiles are running low, and imported sugar is remained less. It is obviously seen that sugar price has surprisingly risen this year in the international market, and the domestic sugar market also sees a potential. Currently, there are more than 4 million acres of sugarcane plantations and the mills forecast purchasing about 4.2 million tonnes of sugarcane this season, as global demand for sugar is rising.
This represents a change in trends, as Myanmar had been struggling for years with a domestic sugar glut prior to the surge in demand. In fact, due to unattractive duties and onerous customs requirements, sugar exports to China had ground to a halt earlier in 2020. Meanwhile, local sugarcane farmers had also been winding down production over the years as costs had become unviable. “It was worth growing sugarcane in the last
four years because prices were K50,000 per tonne and labour costs were lower,” U Win Htay said. Local sugar mills are only able to compete if sugarcane is purchased at K45,000 or less per tonne. Sugar millers purchased sugarcanes in mid-December, and the mills are operating to produce sugar by the 2020-2021 sugarcane season. At present, the sugar mills in eastern and western Bago Region are running. The mills in northern and southern Shan State and Sagaing Region are soon to operate. “Myanmar can export locally produced sugar to China and Viet Nam. As the supply is deficient, the price will rise on the growing demand for sure,” vice-chairman U Win Htay of the association guessed. Sugarcane covered 438,420 acres in the country this year. Myanmar’s sugar mills intend to grind 4.2 million tonnes of sugarcanes in the 2020-2021 sugarcane season, the Agriculture Department stated. Prior to this, Myanmar exported raw, unrefined sugar, which is produced from sugarcane, to China. But due to import restrictions and a clampdown on illegal trade, fariners have gradually stopped growing as much sugarcane. In fact, insiders had forecast a shrinking of sugarcane plantations in fiscal 2020-21 to just over 350,000 acres, a decline of 25pc compared to seven years ago, and a record low for the industry, according to the association. Meanwhile, Myanmar imports refined sugar, as only two out of the 29 sugar factories in Myanmar produces refined sugar. In fiscal 2019-20, Myanmar imported more than 57,000 tonnes of refined sugar, which is around 40-50 percent less than before due to rising prices and government-imposed restrictions. To revive the local sugar market, Myanmar should invest in upgrading local factories and getting access to higher quality sugarcane seeds. Currently, local food and beverage businesses are permitted to import refined sugar for their needs and the coutnry imports some 10,000 tonnes of refined sugar from Thailand alone.
But these policies can, and should change. “If the demand is for refined sugar, the government should set new policies to upgrade at least two local factories to enable them to process refined sugar. If local businesses require refined sugar, they can contract with these factories for supply. This will help the local sugar industry to add value and reduce reliance on imports,” U Win Htay said.
www.sugar-asia.com
Regional News
ท�ำไมเวียดนาม ตัดสินใจน�ำเข้าน�้ำตาลราคาถูก มากกว่าที่จะผลิตเอง? Why Vietnam Imported Sugar Cheaper Than Domestically-Produced One?
นั
บตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา เวียดนามได้ ด�ำเนินการตามความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement: ATIGA) โดย การลดภาษีนำ� เข้าน�ำ้ ตาล ท�ำให้โรงกลัน่ น�ำ้ ตาลภายใน ประเทศเริม่ มีความหวังว่าเมือ่ มีการน�ำเข้าน�ำ้ ตาลอย่าง เป็นทางการเพิ่มมากขึ้น พวกเขาก็จะสามารถแข่งขัน และลดปริมาณน�ำ้ ตาลทีล่ กั ลอบน�ำเข้าอย่างผิดกฎหมาย ลงได้ แต่ความหวังดังกล่าวกลับพังทลายลงเมือ่ น�ำ้ ตาล น�ำเข้ามีราคาที่ถูกกว่าน�้ำตาลที่ผลิตได้ภายในประเทศ จึงท�ำให้โรงกลั่นน�้ำตาลหลายแห่ง ได้ประสบปัญหา ขาดทุนและเกษตรกรเลิกปลูกอ้อย นายเกา อาห์น เซือง (Cao Anh Duong) ผู้รักษา การต�ำแหน่งประธานสมาคม VSSA อธิบายว่า เนือ่ งจากผล ตอบแทนที่ต�่ำเกินไป เกษตรกรจึงไม่สนใจที่จะปลูกอ้อยอีก ต่อไปและเปลีย่ นไปปลูกพืชชนิดอืน่ แทน ผลผลิตอ้อยจึงลด ลงอย่างรวดเร็ว ด้วยเหตุนกี้ ารบริโภคและการแปรรูปอ้อยจึง ลดลงต�่ำที่สุดในจ�ำนวนพืช 19 ชนิด ท�ำให้มีโรงกลั่นน�้ำตาล ทีย่ งั คงด�ำเนินกิจการมีจำ� นวนน้อยลง ซึง่ ปัจจุบนั เหลือเพียง 29 แห่งเท่านั้น จากก่อนหน้านี้ที่มีทั้งหมด 44 แห่ง เขาวิเคราะห์วา่ ในปี พ.ศ. 2563 ซึง่ เป็นปีทเี่ วียดนาม เริ่มด�ำเนินการตามข้อผูกพันของความตกลงการค้าสินค้า ของอาเซียน (ATIGA) กับอุตสาหกรรมน�้ำตาล ด้วยเหตุ นี้จึงมีการน�ำเข้าน�้ำตาลเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งจากข้อมูลของ กรมศุลกากรเวียดนามในช่วง 8 เดือนแรก เวียดนามได้ น�ำเข้าน�้ำตาลจากไทย 740,931 ตัน จากมาเลเซียกว่า 46,000 ตัน และจากพม่ากว่า 13,000 ตัน ท�ำให้ปริมาณ การน�ำเข้าอ้อยของเวียดนามเพิ่มขึ้นถึง 6 เท่าจากในช่วง เวลาเดียวกันของปีก่อน จากข้อมูลของสมาคม ระบุว่า ราคาน�้ำตาลภายใน ประเทศลดลง เนื่องจากมีการแข่งขันน�ำเข้าน�้ำตาล รวม ทั้งปัญหาการลักลอบน�ำเข้าน�้ำตาลยังคงเกิดขึ้น นอกจาก นี้ การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นสาเหตุให้การบริโภค น�้ำตาลลดลง ราคาน�้ำตาลจึงเริ่มลดลงตามไปด้วย โรงกลั่น น�ำ้ ตาลจึงมีทางเลือกเพียงสองทางเท่านัน้ ทางเลือกแรก คือ ต้องกักตุนน�ำ้ ตาลไว้กอ่ นเพือ่ รับมือกับการอ่อนตัวของกระแส เงินสดจากการด�ำเนินงาน (operating cash flows) ซึ่ง หมายความว่า นายจ้างจะไม่จ่ายค่าจ้างให้กับลูกจ้าง หรือ ไม่สามารถจ่ายเงินให้กับเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยฤดูกาลก่อน หน้านี้ได้ อีกทางเลือกหนึ่งคือ ยอมขายน�้ำตาลด้วยราคา ขาดทุนเพื่อรักษากระแสเงินสดจากการด�ำเนินงาน แม้ว่า โรงกลั่นน�้ำตาลจะพยายามอย่างเต็มที่ในการพยุงราคาอ้อย
10
ทีล่ ดลง เพือ่ รักษาพืน้ ทีเ่ พาะปลูกวัตถุดบิ ไว้ แต่ทา้ ยทีส่ ดุ แล้ว โรงงานหลายแห่งก็ต้องปิดตัวลง สาเหตุทนี่ ำ�้ ตาลน�ำเข้ามีราคาถูกกว่าน�ำ้ ตาลทีผ่ ลิตได้ใน ประเทศนัน้ ทางสมาคมอ้อยและน�ำ้ ตาลเวียดนาม ระบุวา่ มี ประเทศผูผ้ ลิตน�ำ้ ตาลรายใหญ่จำ� นวน 4 ประเทศในอาเซียน ได้แก่ ไทย ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย และเวียดนาม ทัง้ นีป้ ระเทศ ทีเ่ หลือไม่ได้เปิดตลาดน�ำ้ ตาลภายใต้ความตกลงการค้าสินค้า ของอาเซียน (ATIGA) ประเทศเหล่านี้จะมีมาตรการใน การคุ้มครองเกษตรกรและอุตสาหกรรมน�้ำตาลภายในจาก ผลกระทบน�้ำตาลจากตลาดต่างประเทศที่มีราคาถูก ยกตัวอย่างเช่น ไทยส่งออกน�้ำตาลทรายดิบที่อัตรา 350 เหรียญสหรัฐต่อตัน ในขณะที่ราคาน�้ำตาลของไทยอยู่ ที่ 450 เหรียญต่อตัน อุตสาหกรรมน�้ำตาลของฟิลิปปินส์ เคยได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากน�้ำตาลข้าวโพดที่ น�ำเข้าจากจีน ด้วยเหตุนี้จึงมีการเก็บภาษีการบริโภคเครื่อง ดืม่ ทีม่ นี ำ�้ ตาลข้าวโพดเป็นส่วนผสมเพิม่ ขึน้ เป็นสองเท่า ตามการคาดการณ์ของสมาคม จากปริมาณการ เพาะปลูกอ้อยในปี พ.ศ. 2563-2564 คาดว่าจะมีโรงกลั่น น�้ำตาลปิดตัวลงอีกถึงสี่แห่ง นายเกา อาห์น เซือง แนะน�ำ ว่า สถานประกอบการต่างๆ จ�ำเป็นต้องติดตามและรวบรวม ข้อมูลเกีย่ วกับสถานการณ์การผลิตและการค้าน�ำ้ ตาลภายใน ประเทศเพือ่ เสนอให้สมาคมและกระทรวงอุตสาหกรรมและ การค้าพิจารณาตรวจสอบและใช้มาตรการปกป้องการน�ำเข้า ผลิตภัณฑ์นำ�้ ตาลตามบทบัญญัตขิ องกฎหมายเวียดนามและ แนวทางปฏิบัติระหว่างประเทศ
F
rom 2020, Vietnam implements the ASEAN Trade in Goods Agreement (ATIGA) to reduce import tariffs on sugar. Domestic sugar refineries were happy that when the official import of sugar increases, they can compete and restrict smuggled sugar. However, the joy did not last long, imported sugar is cheaper than domesticallyproduced one, making many sugar refineries continue to suffer losses, and farmers stop growing sugarcane.
Mr. Cao Anh Duong, Acting Chairman of the VSSA, explained because the income is
too low, farmers are no longer interested in sugarcane and have switched to other crops, so sugarcane output has decreased sharply. Thus, this is the sugarcane crop with the lowest sugarcane consumption and processing in the last 19 crops, leading to the lowest number of active sugar refineries, which is only 29 plants now from 44 previously. Mr. Duong analyzed that entering 2020, Vietnam started to implement the ATIGA commitments for the sugar industry, so the sugar imports have exploded with a large amount of sugar. According to the General Department of Vietnam Customs, in the first eight months of this year, Vietnam had imported 740,931 tons of sugar from Thailand, more than 46,000 tons from Malaysia, and more than 13,000 tons from Myanmar. The amount of sugarcane imported into Vietnam increased six times over the same period last year. According to the VSSA, the prices of domestic sugar dropped due to the competitive effect of imported sugar. Moreover, sugar smuggling is still happening. Besides, the Covid-19 pandemic has caused sugar consumption to decline, so the prices of sugar have begun to plunge. From there, sugar refineries have only two choices. The first one is to continue to stockpile sugar to deal with the exhaustion of operating cash flows, which means that they will not pay wages for their workers, or they even cannot pay money to farmers in the previous sugarcane crop. The other option is to accept to sell some amount of sugar at a loss to maintain the operating cash flow. Although the sugar refineries tried their best to curb decreases in sugarcane prices to keep raw material growing areas, many of them also have had to shut down. Explaining the reason why imported sugar is cheaper than domestically-produced one, the VSSA said that there are four main sugar manufacturing countries in the ASEAN, namely Thailand, Philippines, Indonesia, and Vietnam. However, the remaining countries did not actually open their sugar markets under the ATIGA agreement. They have a mechanism to protect their farmers and domestic sugar industries from the destructive effects of cheap sugar from international markets. For example, Thailand exported raw sugar at US$350 per ton, while the price of sugar in Thailand was at $450 per ton. The Filipino sugar industry used to be severely harmed by corn sugar imported from China, so it has doubled consumption tax on soft drinks containing corn sugar. According to the forecast of VSSA, in the 2020-2021 sugarcane crop, there will be four more sugar refineries closed. Mr. Cao Anh Duong suggested that enterprises need to monitor and collect information on the situation of domestic sugar production and trading to propose to the association and the Ministry of Industry and Trade to consider investigating and applying safeguards measures for sugar products following the provisions of Vietnamese laws and international practice.
www.sugar-asia.com
Regional News
อินโดนีเซียผงาดเป็นผู้น�ำเข้าน�้ำตาลรายใหญ่สุด ของอินเดีย Indonesia May Emerge as The Biggest Importer of Indian Sugar
อิ
นโดนีเซีย กลายเป็นผู้น�ำเข้าน�้ำตาลทรายดิบราย ใหญ่ทสี่ ดุ ของผูผ้ ลิตน�ำ้ ตาลรายใหญ่อนั ดับสองของ โลกอย่างอินเดีย ซึง่ ช่วยชดเชยการชะลอส่งออกน�ำ้ ตาล ไปยังอิหร่าน ที่ก�ำลังประสบปัญหาการช�ำระเงิน ทั้งนี้ ข้อมูลจากสมาคมโรงงานน�ำ้ ตาลอินเดีย (Indian Sugar Mills Association: ISMA) นายอะบินาส เวอร์มา ผู้ อ�ำนวยการสมาคมฯ เปิดเผยว่า อินโดนีเซียน�ำเข้า น�ำ้ ตาลจากอินเดียถึง 20 แสนตัน ปัจจุบนั ราคาน�ำ้ ตาล ในตลาดโลกเพิม่ ขึน้ สูงสุดเป็นประวัตกิ ารณ์นบั ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2560 ท�ำให้มโี อกาสในการเร่งส่งออกน�ำ้ ตาล
นายเวอร์มา กล่าวว่า โอกาสของอินเดียในการส่ง ออกน�ำ้ ตาลไปยังอินโดนีเซียนัน้ ถือว่ามีความสดใสเนือ่ งจาก ประเทศไทย ทีน่ ำ� เข้าน�ำ้ ตาลไปยังจาการ์ตา ซึง่ คิดเป็นร้อยละ 80-85 ของการน�ำเข้าทั้งหมด ก�ำลังประสบปัญหาผลผลิต ลดลงติดต่อกันเป็นปีที่สอง “สิ่งนี้ท�ำให้อินเดียมีความได้ เปรียบ นอกจากนี้ อินเดียยังได้รบั อนุญาตให้สง่ ออกน�ำ้ ตาล ไปอินโดนีเซียได้โดยมีภาษีนำ� เข้าในอัตราพิเศษเช่นเดียวกับ ไทยและออสเตรเลียซึง่ จะช่วยให้การส่งออกน�ำ้ ตาลของอินเดีย เติบโตมากขึ้น” เจ้าหน้าที่ของสมาคมฯ ซึ่งเป็นหน่วยงาน ระดับสูงสุดของโรงงานน�้ำตาลเอกชนในอินเดียกล่าว ราฮิล เสคห์ กรรมการผูจ้ ดั การของเอ็มอีไออาร์ คอม โมดิตี้ส์ อินเดีย (MEIR Commodities India) กล่าวว่า “บทบาทของอินโดนีเซียและอิหร่านทีม่ ตี อ่ การส่งออกน�ำ้ ตาล ของอินเดียเปลี่ยนไปโดยจาการ์ตามีแนวโน้มที่จะน�ำเข้า น�้ำตาลกว่า 10 แสนตัน เมื่อเทียบกับฤดูกาลที่แล้วที่น�ำเข้า เพียง 3 แสนตันเท่านั้น (ตุลาคม พ.ศ. 2562 - กันยายน พ.ศ. 2563)” เขากล่าวว่า มีการท�ำสัญญาส่งออกน�้ำตาล อย่างน้อย 16 แสนตัน นับตั้งแต่รัฐบาลสหภาพ (Union government) ประกาศให้เงินอุดหนุนการส่งสินค้าจ�ำนวน 6,000 รูปีต่อตันในเดือนธันวาคม เขาให้ขอ้ มูลว่า การส่งออกเริม่ ดีตามราคาน�ำ้ ตาลทราย ดิบทีด่ ี “เราไม่อาจแข่งกับบราซิลในตลาดได้ แต่เมือ่ เทียบกับ ประเทศอื่นๆ เราอยู่ในจุดที่ดีกว่า” อย่างไรก็ตามอินเดียมี โอกาสที่จะส่งออกได้ในปริมาณที่ดีไปจนถึงเดือนมีนาคม เมื่ออ้อยจากบราซิลซึ่งเป็นผู้ผลิตน�้ำตาลรายใหญ่ที่สุดของ โลกเข้าสูต่ ลาด และสิน้ สุดลงในเดือนกันยายน อินเดียจะส่ง ออกน�ำ้ ตาลทรายขาวได้ยาก แต่เราสามารถทีจ่ ะผลักดันการ ส่งออกน�ำ้ ตาลทรายดิบได้ในแง่ของข้อจ�ำกัดด้านท่าเรือ การ www.sugar-asia.com
เคลื่อนย้าย และตู้คอนเทนเนอร์ เปาโล โรเบอร์โต เดอร์ ซัวซา (Paulo Roberto de Souza) ประธานบริษัทแอลเวียน ผู้ค้าน�้ำตาลรายใหญ่ที่สุด ของโลกบอกกับสื่อบลูมเบิร์ก (Bloomberg) ว่า ตลาดทั่ว โลกจะเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนน�้ำตาลเป็นเวลาสอง ปีอันเนื่องมาจากผลผลิตที่ลดลงถึง 50 แสนตันในฤดูกาล นี้ และ 60 แสนตันในฤดูกาลหน้า ด้านนายเวอร์มา กล่าวว่า ความต้องการน�ำ้ ตาลทราย ดิบอยูใ่ นเกณฑ์ดี ประเทศส่วนใหญ่ตา่ งมีการตัง้ โรงงานหรือ โรงกลั่นน�้ำตาลทรายดิบ หากอินโดนีเซียกลายเป็นผู้น�ำเข้า น�้ำตาลอินเดียรายใหญ่ที่สุด น�้ำตาลทรายดิบก็จะมีบทบาท ส�ำคัญ” ประเทศต่างๆ เช่น มาเลเซีย บังกลาเทศ และประเทศ ในแถบอ่าวนัน้ ล้วนมีโรงกลัน่ น�ำ้ ตาลทรายดิบ “แต่จะยังคงมี การส่งออกไปยังประเทศต่างๆ เช่น ศรีลงั กา อัฟกานิสถาน และแอฟริกาตะวันออกเป็นจ�ำนวนมาก” เขากล่าว อินเดียจ�ำเป็นต้องส่งออกน�้ำตาลอย่างน้อย 50 แสน ตันในฤดูกาลนี้ เพือ่ ให้แน่ใจว่าโรงงานน�ำ้ ตาลจะไม่ตอ้ งแบก รับภาระในการสต๊อกสินค้าไว้เป็นจ�ำนวนมาก อุตสาหกรรม น�ำ้ ตาลมีสต็อกน�ำ้ ตาลกว่า 10.7 ล้านตัน ตัง้ แต่ฤดูกาลทีแ่ ล้ว จนถึงฤดูกาลนี้ แม้วา่ จะมีการส่งออกน�ำ้ ตาลมากถึง 57 แสน ตัน แต่ยงั คงมีสต็อกคงค้างอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ซึง่ ก็ยงั ถือว่า สูงเป็นประวัติการณ์อยู่ดี
I
ndonesia could emerge as the largest importer of raw sugar from India, world’s second-largest sugar producer, and may make up for any drop in exports to Iran, where shippers are facing payment problems. According to Indian Sugar Mills Association (ISMA), Director-General Abinash Varma revealed Indonesia could import 20 lakh tonnes of sugar from India. Currently, the The sugar prices in the world market are increasing at a record high since 2017 that make the opportunity speed up the sugar export.
ISMA’s Varma said India’s chances of exporting sugar to Indonesia are bright since Thailand, which accounts for 80-85 percent of Jakarta’s total sugar imports, is having a second consecutive bad crop year. “It gives India an advantage. Also, Indian sugar is now allowed into Indonesia at preferential import duty like Thailand and Australian sugar, which will help it to make further headway,” said the official of ISMA, the apex body of private sugar mills in India. “The roles of Indonesia and Iran with regard to India’s sugar exports are set to change with Jakarta likely to import over 10 lakh tonnes against three lakh tonnes last season (October 2019-September 2020),” said MEIR Commodities India Managing Director Rahil Shaikh. Shaikh said that at least 16 lakh tonnes of sugar have been contracted for exports since the Union government announced a Rs 6,000 per tonne subsidy for shipments on December. He said exports had begun well with prices being good for raw sugar. “We are not as competitive as Brazil in the market but compared to other destinations, we are better,” he said. However, India has an opportunity to export a good quantity until March, when the crop from Brazil, the world’s biggest sugar producer, enters the market. Arrivals of its crop ended in September. It could be difficult for India to export white sugar now. We will be able to push raw sugar in view of limitations on ports, movements and containers. World’s largest sugar trader Alvean CEO Paulo Roberto de Souza told Bloomberg that the global market will face two years of sugar shortage with production falling short of demand by 50 lakh tonnes this season and 60 lakh tonnes next season.
“Demand for raw sugar is good. Most countries have set up facilities or refineries for raw sugar. If Indonesia becomes the largest importer of Indian sugar, then raw sugar will play a big role,” said ISMA’s Varma. Countries such as Malaysia, Bangladesh and those in the Gulf all have refineries for raw sugar. “However, exports to countries such as Sri Lanka, Afghanistan and East Africa will be in whites,” Varma said. India needs to export at least 50 lakh tonnes of sugar this season to ensure sugar mills are not burdened with huge carryover stocks. The industry carried over 10.7 million tonnes of sugar stocks from last season to this season. The huge carryover stocks were despite a record 57 lakh tonnes sugar exports.
11
International News
คาดแนวโน้มอุปทานน�้ำตาลในตลาดโลกปี 63-64 Global Sugar Market Supply Outlook in 2020-21
แ
ม้วา่ อินเดียทีเ่ ป็นประเทศผูผ้ ลิตน�ำ้ ตาลรายใหญ่อาจ มีแนวโน้มที่จะผลิตน�ำ้ ตาลได้มากขึ้น แต่ปริมาณ น�ำ้ ตาลคงค้างสต็อกทีม่ อี ยูจ่ ำ� นวนมากก็อาจเป็นตัวการ ทีท่ ำ� ให้ราคาน�ำ้ ตาลขยับสูงขึน้ ไม่มาก แต่ในทางกลับกัน ราคาน�้ำตาลอาจจะมีแนวโน้มพุ่งสูงขึ้น ถ้าหากอินเดีย กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป และประเทศไทย ได้ลด ปริมาณการส่งออกน�้ำตาลลง แต่อย่างไรก็ตาม ราคา น�้ำตาลก็ยังคงร่วงลงไปกว่าร้อยละ 30 ในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ถึงเมษายน เมื่อปี พ.ศ. 2563 เนื่องจาก ภาวะการหยุดชะงักจากสถานการณ์การระบาดของโค วิด-19 และการล็อกดาวน์ จากสภาพอากาศทีไ่ ม่เอื้ออ�ำนวยในบราซิลและในไทย ประกอบกับปริมาณการส่งออกน�้ำตาลในยุโรปลดลง ท�ำให้ อินเดียถูกคาดการณ์วา่ อาจจะมีการพยายามเร่งส่งออกน�ำ้ ตาล ในช่วงฤดูกาลผลิตในปี 2563/2564 ซึ่งในสถานการณ์ที่ ผลผลิตน�้ำตาลในตลาดโลกขาดดุล ราคาน�้ำตาลในอินเดีย คาดว่าจะยังคงทรงตัวถึงระดับที่แข็งแกร่ง แต่สินค้าน�้ำตาล ที่ค้างสต๊อกเหลืออยู่เป็นจ�ำนวนมากอาจเป็นปัจจัยที่เป็นตัว ก�ำหนดราคาน�้ำตาล องค์การน�้ำตาลระหว่างประเทศ (ISO) ได้คาดการณ์ ว่า ปริมาณผลผลิตน�้ำตาลทั่วโลกอยู่ที่ 171.1 ล้านตัน ส่วน ความต้องการบริโภคน�้ำตาลในปัจจุบันเท่ากับ 174.6 ล้าน ตัน การขาดดุลของผลผลิตน�้ำตาลที่มีแนวโน้มสูงขึ้นนี้ เป็น ผลมาจากการผลิตน�ำ้ ตาลในกลุม่ สหภาพยุโรป บราซิล และ ประเทศไทยที่ประเมินว่ามีปริมาณลดลง บราซิลมีการส่งออกน�้ำตาลประมาณหนึ่งในห้าของ ปริมาณการส่งออกน�ำ้ ตาลทัง้ หมดของโลก เห็นได้จากปริมาณ การผลิตที่ร่วงลงในปี 2563/2564 สาเหตุมาจากสภาพ อากาศที่แห้งแล้ง ขณะที่ราคาน�้ำมันดิบปรับตัวสูงขึ้น ประเทศไทยมีสัดส่วนการส่งออกอยู่ที่ประมาณ 9 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณการส่งออกน�้ำตาลโลก ซึ่งอาจเป็น เพราะมีการเพาะปลูกน้อยลงในปีนี้เนื่องจากสภาพอากาศ แห้งแล้งเช่นกัน สหภาพยุโรปได้คาดการณ์และจับตาดู ว่าการผลิตน�้ำตาลจะลดลงเป็นปีที่สามติดต่อกัน เป็นผล เนื่องมาจากพื้นที่เพาะปลูกลดลง และผลกระทบอย่างหนัก จากสถานการณ์โรคระบาดไวรัส ด้วยการผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์ อุปสงค์ของ น�้ำตาลจากประเทศรายใหญ่ในเอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อินโดนีเซียและจีนที่เป็นผู้น�ำเข้ารายใหญ่สองอันดับแรก ก็ มีแนวโน้มที่จะสูงขึ้น โดยมีข้อมูลว่าอินโดนีเซียก�ำลังจะมี การน�ำเข้าน�้ำตาลจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 10 ซึ่ง เป็นจ�ำนวนถึง 3.3 ล้านตันในปี พ.ศ. 2564 จีนได้มกี ารน�ำเข้าน�ำ้ ตาลจ�ำนวน 4.36 ล้านตันแล้ว ใน ระหว่างเดือนมกราคมถึงพฤศจิกายนปี พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็น
12
จ�ำนวนที่เพิ่มขึ้นคิดเป็น 37 เปอร์เซ็นต์เมื่อเทียบกับในช่วง เวลาเดียวกันของปีที่แล้ว โดยสัดส่วนดังกล่าวคาดว่าจะไป เพิ่มในส่วนคลังสินค้าของสารให้ความหวาน แม้จะมีการให้เหตุผลว่าปริมาณการส่งออกน�้ำตาลที่ ลดลง เป็นผลเนื่องมาจากการเปลี่ยนน�้ำตาลไปผลิตเป็นเอ ทานอลจ�ำนวน 1.5 ล้านตันหรือมากกว่านั้น อินเดียก็มีแนว โน้มที่จะผลิตน�้ำตาลได้ 30.5 ล้านตัน ซึ่งมาจากการส่งออก เพิ่มขึ้นในรัฐมหาราษฏระและรัฐกรณาฏกะ ตามรายงาน ข้อมูลส�ำคัญโดยสมาคมโรงงานน�้ำตาลของอินเดีย (ISMA) แต่ด้วยปริมาณสินค้าค้างสต๊อกที่มีปริมาณ 10.64 ล้าน ตันในช่วงต้นฤดูกาลผลิตในปัจจุบัน และปริมาณอุปสงค์ใน ประเทศที่ยังอยู่ที่ 26 ล้านตัน ส่งผลให้อินเดียจะมีปริมาณ น�้ำตาลเกินอยู่จ�ำนวน 15 ล้านตัน อินเดียมีแนวโน้มที่จะสามารถลดปริมาณน�้ำตาลส่วน เกินได้มากถึง 6 ล้านตันในการส่งออกไปขายในตลาดต่าง ประเทศ โดยเฉพาะอินโดนีเซีย ซึ่งมีความเป็นไปได้อย่าง มากทีเดียว แต่ก็ยังไม่เพียงพอที่จะจัดการสินค้าคงคลังที่ เหลือให้หมดได้ ส่วนราคาน�ำ้ มันดิบทีม่ กี ารปรับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งและ ปริมาณการส่งออกทัว่ โลกทีล่ ดลง จะเป็นตัวช่วยหนุนอย่างมาก ให้ราคาน�ำ้ ตาลสูงขึน้ แต่อย่างไรก็ตาม สินค้าน�ำ้ ตาลจ�ำนวน มากมายมหาศาล ปริมาณการส่งออกที่แข็งแกร่งต่อเนื่อง ตลอดฤดูกาล ประกอบกับอุปสงค์ในประเทศทีใ่ กล้จะซบเซา ก็จะเป็นปัจจัยส�ำคัญในการก�ำหนดทิศทางราคาน�ำ้ ตาล
T
hough India, top sugar manufacturers, may produce sugar more, stock overhang may limit price gains. Sugar prices were expected to surge due to substantially reduced output from India, the EU and Thailand. However, prices fell more than 30 per cent between February and April 2020 due to Covid-led disruptions and lockdowns With unfavourable weather in Brazil and Thailand, and a decline in Europe’s output, the focus is now on India which is likely to deliver a bumper output in the sugar season 2020/21. In a global deficit output scenario, sugar prices in India are expected to remain steady to strong, but massive carry-over stocks may cap the gains in prices. The International Sugar Organization (ISO)
estimates the global sugar output at 171.1 mt against the consumption of 174.6 mt for the current year. The projected increase in sugar deficits is due to lower production estimates (compared to forecasts) in the EU, Brazil and Thailand. Brazil is contributing closer to one-fifth of the world’s total sugar output — might see a dip in production in 2020/21 due to a drier weather condition and relatively firmer outlook for crude oil. Thailand is accounting for roughly 9 per cent of the world’s sugar output — may also plant less crops this year due to dry weather. European Union is set to witness a fall in its sugar production for the third consecutive year due to reduced acreage and high incidence of viral disease. With easing of lockdown restrictions, the sugar demand from major Asian countries, especially Indonesia and China, the top two importing countries, are likely to be higher. Indonesia will be importing 10 per cent more sugar to a record 3.3 mt in 2021. China has already imported 4.36 mt of sugar in January-November 2020, up 37 per cent from last year’s same period and is further expected to add to its sweetener stockpiles. Even after accounting for reduction in its sugar output due to ethanol diversion of 1.5 mt or so, India is likely to produce 30.5 mt of sugar mainly due to increased output in Maharashtra and Karnataka, according to sugar body ISMA. With a carryover stock of 10.64 mt at the beginning of the current season and domestic demand stuck at 26 mt, India will have 15 mt extra sugar. India should be able to offload as much as 6 mt of its excess sugar in overseas markets especially to Indonesia. This is a big positive but won’t be sufficient to clear unsold inventories. Steadily rising crude oil prices and lower global output will provide the much-needed support to sugar prices. However, huge inventories and robust output in the ongoing season and near stagnant domestic demand, will cap the price gains.
www.sugar-asia.com
International News
บราซิลครองแชมป์ต�ำแหน่งผู้จัดหาน�้ำตาล รายใหญ่ระดับโลก Brazil to Remain the Major Global Sugar Supplier
ถุงน�้ำตาลก�ำลังถูกล�ำเลียงลงในเรือบรรทุกสินค้า ที่ท่าเรือซานโตส ประเทศบราซิล
บราซิลซึง่ เป็นผูส้ ง่ ออกน�ำ้ ตาลอันดับต้นๆ ของโลก พิสจู น์แล้วว่าเป็นซัพพลายเออร์นำ�้ ตาลทีส่ ม�ำ่ เสมอในปี 2563 สามารถเพิ่มการผลิตได้มากกว่า 44.2% ใน ปีเพาะปลูก ดังนั้นประเทศจึงเปลี่ยนภาพอุปสงค์และ อุปทานทัว่ โลกจากการขาดดุลทีเ่ ป็นไปได้ในปีการเพาะ ปลูกทั่วโลก 2019-20 (ตุลาคม - กันยายน) เป็นการ เกินดุลเล็กน้อยที่ 121,000 เมตริกตันมูลค่าดิบ (mtrv) ในปี 2564 ราคาน�ำ้ ตาลทีส่ งู ในระดับเทียบเท่าจริงของ บราซิลและความไม่แน่นอนของความต้องการเอทานอล เชือ้ เพลิงคาดว่าจะกระตุน้ ให้ผผู้ ลิตเพิม่ การผลิตน�ำ้ ตาล ให้ได้สงู สุดเพือ่ จัดหาตลาดโลกทีข่ าดดุลตามรายงานของ S&P Global Platts Analytics
ช่วงปีเพาะปลูก พ.ศ. 2563-2564 (เมษายน-มีนาคม) ในพืน้ ทีท่ วั่ ทัง้ ภูมภิ าคกลางและใต้ ผูผ้ ลิตบราซิลได้เปลีย่ นไป ใช้ระดับซูโครสที่สูงขึ้นในการผลิตน�้ำตาล เนื่องจากข้อได้ เปรียบในการท�ำก�ำไรที่สูงกว่าน�้ำตาลในตลาดส่งออกและ มากกว่าเอทานอลในตลาดภายในประเทศ สถานการณ์เช่น นี้ คาดว่าจะเกิดขึน้ ซ�ำ้ อีกในฤดูเพาะปลูก พ.ศ. 2564-2565 ถัดไป ซึ่งผู้เกี่ยวข้องในตลาดคาดการณ์ว่าร้อยละ 70 ของ ก�ำลังการผลิตน�ำ้ ตาลทัง้ หมดของบราซิล จะได้รบั การประกัน ความเสี่ยงส�ำหรับการเพาะปลูกครั้งต่อไปโดยเหลือปริมาน น�ำ้ ตาลเพียงเล็กน้อยในตลาดเท่านัน้ ท�ำให้โอกาสทีจ่ ะเปลีย่ น ไปสู่การผลิตเอทานอลเป็นไปได้น้อย ซึ่งต้องขึ้นอยู่กับการ ก�ำหนดราคาอีกที องค์กร S&P Global Platts Analytics ได้คาดการณ์วา่ ช่วงฤดูกาลเพาะปลูกปี พ.ศ. 2563-2564 (ตุลาคม-กันยายน) ทัว่ โลกอาจจะขาดแคลนน�ำ้ ตาลประมาน 579,000 ตันน�ำ้ ตาล ทรายดิบ แต่กถ็ อื ว่าเป็นสถานการณ์ทดี่ ตี อ่ ผูผ้ ลิตในบราซิลใน การเริม่ เพาะปลูกในเดือนเมษายน และมีปริมาณผลผลิตสูงสุด ในเดือนสิงหาคม แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ผลิตในบราซิลคาดว่า จะอยูใ่ นสถานะทีม่ ศี กั ยภาพในการจัดหาน�ำ้ ตาลในช่วงทีต่ ลาด โลกขาดแคลนน�ำ้ ตาลในช่วงครึง่ แรก (เมษายน-มีนาคม) ของ ปีการเพาะปลูก พ.ศ. 2564-2565 ในภูมิภาคกลางและใต้ ซึง่ ช่วงปีดงั กล่าว ประเมินว่าจะท�ำให้นำ�้ ตาลล้นตลาดปริมาน 1.4 ล้านตันน�้ำตาลทรายดิบ ตั้งแต่เดือนตุลาคมปีนี้ เมื่อทั่ว โลกเริ่มมีผลผลิตอ้อยออกมาในปี พ.ศ. 2564-2565 ส�ำหรับปีถัดไปของการเพาะปลูกในภูมิภาคกลางและ www.sugar-asia.com
ใต้ของบราซิล (พ.ศ. 2564-2565) ผลผลิตทางการเกษตร อาจลดลงมากกว่าระดับที่คาดไว้เนื่องจากความแห้งแล้ง อย่างต่อเนื่องในปีเพาะปลูกปัจจุบัน (พ.ศ. 2563-2564) ซึ่งข้อมูลล่าสุดที่เผยแพร่จากสมาคม UNICA แสดงให้เห็น ว่าในการเพาะปลูกในภูมิภาคกลางและใต้ในปี พ.ศ. 25642565 ตั้งแต่เดือนเมษายนถึงตุลาคม ปริมาณน�้ำฝนได้ต�่ำ กว่าระดับเฉลี่ยในอดีตถึงร้อยละ 43.1 ดังนั้น ปริมาณน�้ำ ฝนในเดือนมกราคมถึงมีนาคมจึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อ การเจริญเติบโตของอ้อย ผู้เกี่ยวข้องในตลาดส่วนใหญ่ ประเมินไว้ว่า ปริมาณ อ้อยเข้าหีบอาจจะลดลงเกือบ 10 ล้านตันในการเพาะปลูก ภูมิภาคกลางและใต้รอบถัดไปในปี พ.ศ. 2564-2565 ซึ่ง เริม่ ต้นในเดือนเมษายน ซึง่ ภาพรวมทีอ่ อ้ ยมีปริมาณลดลง ค่า เอทีอาร์ (ATR) ที่ลดลง ปริมานน�้ำฝนที่อ้อยจะได้รับ ท�ำให้ การผลิตน�้ำตาลของบราซิล คาดว่าจะลดลงไปเกือบ 4 ล้าน ตัน หรือ 34.3 ล้านตัน ทั้งนี้ องค์กร S&P Global Platts Analytics ประเมินว่า หากมีฝนตกในช่วงไตรมาสแรกของปี นี้ รวมถึงฤดูกาลเพาะปลูกปี พ.ศ. 2564-2565 จะท�ำให้มี ปริมานน�้ำฝนมากกว่าสีร่ อบเพาะปลูกที่ผา่ นมา รวมถึงค่าเอ ทีอาร์ (ATR) อาจลดลงในไตรมาสที่สองและไตรมาสที่สาม และเมือ่ สิน้ สุดฤดูกาลเพาะปลูกจะมีคา่ ต�ำ่ กว่าค่าเฉลีย่ ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมาโดยมีค่าเท่ากับ 136 กิโลกรัมต่อตัน
B
razil, top global sugar exports proved to be a consistent sugar supplier in 2020, able to increase its production by more than 44.2% in a crop year. The country, thus, changed the global supply and demand picture from a possible deficit in the global 2019-20 crop year (October-September) into a small surplus of 121,000 metric tons raw value (mtrv). In 2021, a high sugar price in Brazilian real equivalent and the fuel ethanol demand uncertainties, are expected to encourage producers to keep
maximizing sugar production to supply a deficit global market, according to S&P Global Platts Analytics. Brazilian producers shifted to higher sucrose levels in sugar production due to the higher profitability that sugar in the export market paid over ethanol in the domestic market throughout the Center-South during the 2020-21 crop year (April-March). The scenario is expected to be repeated in the next Center-South crop in 202122. Market participants estimated that 70% of the total Brazilian sugar production capacity was hedged for the next crop, leaving a small portion in the floating market. This has left less chance for the capacity to be converted to ethanol production, depending on the pricing. S&P Global Platts Analytics estimates for the 2020-21 season (October-September) pointed to a global sugar deficit of 579,000 mtrv. This was a constructive fundamental scenario for Brazilian producers, who start processing the crop in April and reach the peak of production in August. Although Brazilian producers are expected to be in a comfortable position to supply a deficit global market in the first half of the Center-South crop 2021-22 (April-March), that scenario is estimated to get converted into a surplus of 1.4 million mtrv starting October 2021, when the global crop 2021-22 starts becoming available. For the next Center-South crop of 2021-22, agricultural yields could drop more than the estimated levels due to continuous dryness in the current 2020-21 season. The latest data published by the industry association, UNICA, showed that in the Center-South crop of 2020-21 from April to October, the precipitation was 43.1% lower than the average historical levels. Hence, rains in January-March will be crucial for the recovery of the sugarcane crop.
Platts Analytics estimates that if rains pick up in the first quarter of 2021 and the 2021-22 season turns much wetter than the last four cycles, the ATR could drop in the second quarter as well as the third quarter and finish below the 10-year average of 136 kg/mt. Market participants were mostly estimating a drop of nearly 10 million mt in the volume of cane crushed in the next Center-South crop cycle in 2021-22, which starts in April. In a scenario of less cane and lower ATR -- considering a wetter crop -- the Brazilian sugar production is estimated to drop by nearly 4 million mt to 34.3 million mt.
13
International News
อินเดียคว้าโอกาสดี ส่งออกน�้ำตาลตลาดต่างประเทศ India Sees Great Opportunity in Sugar Export to International Markets
คนงานก�ำลังเรียงก้อนน�้ำตาล ที่โรงงาน Simbhaoli เมืองฆาซีอาบาด รัฐอุตตรประเทศ
อินเดีย ผูผ้ ลิตน�ำ้ ตาลรายใหญ่อนั ดับสองของโลก ไขว่คว้าโอกาสดีโดยเร่งตั้งเป้าการส่งออกน�้ำตาล 6 ล้านตัน ในปี พ.ศ. 2563-2564 และโรงงานน�้ำตาล ในประเทศได้เซ็นสัญญาส่งออกน�้ำตาลไปแล้ว 1-1.5 ล้านตัน หลังจากทีร่ ฐั บาลได้ประกาศให้เงินอุดหนุนการ ส่งออกน�้ำตาลจ�ำนวน 35,000 ล้านรูปี ไปยังตลาด ต่างประเทศ นอกจากนี้ การส่งออกยังจะช่วยให้ผผู้ ลิต น�ำ้ ตาลรายใหญ่อนั ดับสองของโลกสามารถลดปริมาณ การสต๊อกน�้ำตาลลง และช่วยพยุงราคาอันเนื่องจาก อุปทานส่วนเกินภายในประเทศ ซึ่งสวนทางกับตลาด โลกที่มีปริมาณลดลง
เจ้าหน้าทีร่ ะบุวา่ โรงงานน�ำ้ ตาลได้ตกลงทีจ่ ะท�ำสัญญา ส่งออกน�้ำตาลในปริมาณ 1.5 ล้านตันในปีการตลาด พ.ศ. 2563-2564 โดยเริ่มตั้งแต่ ตุลาคม ซึ่งส่วนใหญ่ส่งออกไป ยังอินโดนีเซีย ศรีลังกา อัฟกานิสถาน และประเทศในแถบ แอฟริกา โดยท�ำการส่งออกในเดือนมกราคมถึงมีนาคม ผูค้ า้ สามรายที่เกี่ยวข้องโดยตรงในข้อตกลงซึ่งไม่ประสงค์เปิด เผยตัวตนตามนโยบายขององค์กร กล่าวว่ามีการเซ็นสัญญา มูลค่า 375 ถึง 395 ดอลลาร์สหรัฐต่อตันแบบฟรีออนบอร์ด (free-on-board: FOB) นายราฮิล เชคส์ กรรมการผู้จัดการของเอ็มอีไออาร์ คอมโมดิตสี้ ์ อินเดีย (MEIR Commodities India) กล่าวว่า “สัญญาส่วนใหญ่เป็นสัญญาซือ้ ขายน�ำ้ ตาลทรายดิบซึง่ ก�ำลัง มุง่ เป้าการส่งออกไปทีอ่ นิ โดนีเซีย” ซึง่ โดยปกติจะน�ำเข้าน�ำ้ ตาล จ�ำนวนมากจากประเทศไทย แต่เริม่ มีการสัง่ ซือ้ น�ำ้ ตาลอินเดีย ในปี พ.ศ. 2563 ภายหลังจากทีม่ กี ารเปลีย่ นกฎระเบียบด้าน ความบริสุทธิ์ของน�้ำตาลในการน�ำเข้าน�้ำตาล ผูค้ า้ กล่าวว่า จากสัญญาการส่งออกน�ำ้ ตาลจ�ำนวน 1.5 ล้านตันที่ได้ลงนามไปนั้น เกือบ 1 ล้านตันเป็นการส่งออก น�ำ้ ตาลทรายดิบส่วนทีเ่ หลือเป็นน�ำ้ ตาลทรายขาว ส่วนศรีลงั กา อัฟกานิสถานแ ละประเทศในแถบแอฟริกามีการสัง่ ซือ้ น�ำ้ ตาล ทรายขาวในปริมาณเล็กน้อย และจ�ำกัดอยูเ่ ฉพาะในกลุม่ คน ผิวขาวเท่านั้น เนื่องจากขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ สมาคมโรงงานน�้ำตาลอินเดีย (Indian Sugar Mills Association) ในฐานะสมาคมอุตสาหกรรมส�ำหรับผู้ผลิต แห่งชาติ คาดว่า ในช่วงสิน้ เดือนกันยายน ปีการตลาด พ.ศ.
14
2563 - 2564 จะมีผลผลิตอยู่ที่ 31 ล้านตัน เมื่อเทียบกับ ความต้องการในแต่ละปีซงึ่ มีประมาณ 26 ล้านตัน ปริมาณ น�้ำฝนในฤดูมรสุมในช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน ปี พ.ศ. 2563 สูงกว่าค่าเฉลีย่ เป็นปีทสี่ องติดต่อกัน นับเป็นครัง้ แรก ในรอบหลายสิบปีที่อ่างเก็บน�้ำและแหล่งน�้ำใต้ดินมีน�้ำอยู่ใน ปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการ ผลผลิตทีเ่ พิม่ สูงขึน้ จะท�ำให้อนิ เดียเกิดภาวะสินค้าล้น สต็อกและท�ำให้ภาครัฐในเมืองหลวงนิวเดลี ต้องใช้มาตรการ อุดหนุนการส่งออกอีกครัง้ เพือ่ รับมือกับภาวะสินค้าล้นสต็อก นี้ การส่งออกภายใต้มาตรการอุดหนุนการส่งออกของผูผ้ ลิต รายใหญ่อนั ดับสองของโลกอาจส่งผลกระทบต่อราคา SBc1 LSUc1 ทั่วโลก นายปราคาช นาวาร์ กรรมการผู้จัดการ สหพันธ์โรงงานน�้ำตา แห่งชาติของอินเดีย กล่าวว่า “ยาก ทีจ่ ะประเมินผลผลิตน�ำ้ ตาลในฤดูกาลหน้าในตอนนี้ แต่คาด ว่าน่าจะสูงกว่าปีนี้” ผู้ค้าน�้ำตาลในมุมไบที่ท�ำงานกับบริษัทการค้าระดับ โลก กล่าวว่า การส่งออกเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นในการหลีกเลี่ยง ราคาน�ำ้ ตาลภายในประเทศตกต�ำ่ และการส่งออกไม่สามารถ ท�ำได้หากไม่ได้รับเงินอุดหนุน ผลผลิตส่วนเกินในฤดูกาล หน้าจะท�ำให้อินเดียยังคงต้องให้เงินอุดหนุนการส่งออก น�้ำตาลต่อไป
I
ndia, the world’s second-biggest sugar producer, grab this opportunity and speed up the sugar export. So, India has set a target of exporting 6 million tonne sugar for the year 2020-21 and the sugar mills have so far signed contracts to export 1-1.5 million tonnes of sugar after the government declared export subsidies of Rs 35 billion to international market. Furthermore, the exports will help the world’s second-biggest sugar producer to bring down stockpiles and support local prices, which, at odds
with the global market, have been falling due to oversupply at home. Mills have so far agreed contracts to export 1.5 million tonnes of sugar in the 2020/21 marketing year that started on Oct. 1, mainly to Indonesia, Sri Lanka, Afghanistan and African countries for shipments in January to March, the officials said. Contracts were signed between $375 and $395 a tonne on a free-on-board (FOB) basis, three dealers directly involved in the deals said. They did not wish to be identified in line with their organisations’ policies. “Most of the contracts were done for raw sugar, which is heading to Indonesia,” said Rahil Shaikh, managing director of MEIR Commodities India. Indonesia, which traditionally imports the bulk of its requirement from Thailand, started buying Indian sugar in 2020 after changing purity regulations for sugar imports. Out of the 1.5 million tonnes of export contracts signed, nearly 1 million tonnes was for raw sugar, while the rest was for white sugar, dealers said. Sri Lanka, Afghanistan and African countries are buying small amounts of white sugar, but demand is limited for whites due to a shortage of containers. The Indian Sugar Mills Association, the national industry association for producers, estimates output at 31 million tonnes in the 2020-21 marketing year ending Sept, against annual demand of around 26 million tonnes. The June-September monsoon rainfall in 2020 was above average for the second year in a row - the first time that has happened in decades, replenishing reservoirs and ground water supplies.
Higher output would add to India’s swelling stockpiles and could force New Delhi to again subsidize exports to tackle the surplus. The subsidized exports from the world’s second largest producer could weigh on global prices SBc1 LSUc1. “It’s tough to give an estimate now for next season’s sugar output, but it would be higher than this year’s,” said Prakash Naiknavare, managing director of the National Federation of Cooperative Sugar Factories. Exports are a must to avoid a crash in local prices. And exports are not possible without a subsidy. The surplus production in the next season could force India to continue providing a subsidy for sugar exports, said a Mumbai-based dealer with a global trading firm.
www.sugar-asia.com
International News
ดูไบเปิดตัวการลงทุนอุตฯ น�ำ้ ตาลในภูมภ ิ าคอเมริกาใต้ Dubai Unveiled the Sugar Investment in South America Region
Irfaan Ali and senior Government officials, and held discussions on oil and gas; infrastructure and agriculture.
ประธานาธิบดี ดร. อิรฟาน อะลี (คนที่ 3 จากขวา) และคณะรัฐมนตรีที่ได้เข้าพบกับท่านเชค อาหเมด ดัลมุค อัล มัคตูม (คนที่ 4 จากซ้าย) และ คณะผู้แทนจากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ที่ส�ำนักประธานาธิบดี
ดู
ไบได้สง่ สัญญาณความสนใจทีจ่ ะลงทุนในอุตสาหกรรม น�้ำตาลกับสาธารณรัฐกายานา ซึ่งเป็นประเทศใน แผ่นดินใหญ่ทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ การ แสดงออกถึงความตั้งใจที่จะลงทุนในอุตสาหกรรม น�้ำตาลนี้ เริ่มต้นจากสมาชิกของคณะผู้แทนแปดคน จากสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (UAE) ที่ได้ไปเยือนกายา นาในเดือนพฤศจิกายน น�ำทีมโดยท่านเชค อาหเมด ดัลมุค อัล มัคตูม สมาชิกราชวงศ์แห่งรัฐดูไบได้เข้าพบ กับประธานาธิบดีของกายานา ดร. อิรฟาน อะลี และเจ้า หน้าทีร่ ะดับสูงของรัฐบาล และได้มกี ารร่วมหารือเกีย่ ว กับน�้ำมันและก๊าซ โครงสร้างพื้นฐานและการเกษตร
นายซุลฟิกา มุสตาฟา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตร ของกายานา ได้เข้าร่วมการประชุมและกล่าวกับส�ำนักข่าว เดอะ กายานา โครนิเคิลว่า เขาได้เน้นย�้ำถึงโอกาสด้าน การเกษตรให้แก่นักลงทุนโดยเฉพาะเรื่องน�้ำตาล “พวกเขา แสดงถึงความตั้งใจจริงที่จะลงทุน จึงมีการกลับมาเยือน อีกครั้งของกลุ่มคณะในการเยี่ยมชมที่ดินและพื้นที่ต่างๆ โดยมีทีมจาก GuySuCo หรือ บริษัท กายานา ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ เป็นผูน้ ำ� ชมสถานที่ ซึง่ คณะผูม้ าเยือนได้ไปเยีย่ ม ชมและตรวจสอบพืน้ ทีอ่ สังหาริมทรัพย์ทงั้ หมดเรียบร้อยแล้ว” รัฐมนตรีมสุ ตาฟากล่าวระหว่างการสัมภาษณ์พเิ ศษกับเดอะ กายานา โครนิเคิล กลุ่มผู้มาเยือนส่วนใหญ่ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญผู้ ซึ่งมีภารกิจเฉพาะในด้านการวิเคราะห์การด�ำเนินงาน และ ความเป็นไปได้ของพื้นที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมน�้ำตาลของ กายานา “ผมได้พูดคุยกับพวกเขาหลังจากที่พวกเขาได้ไป เยีย่ มชมพืน้ ที่ ซึง่ พวกเขาก็ดมู คี วามสนใจมาก แต่มสี งิ่ หนึง่ ที่ ต้องไม่ลมื ว่าพวกเขาเป็นบุคลากรด้านเทคนิค ไม่ใช่ผกู้ ำ� หนด นโยบาย ดังนัน้ ไม่วา่ ผูเ้ ยีย่ มชมกลุม่ นีจ้ ะสังเกตเห็นหรือได้รบั ข้อมูลอะไรก็ตาม พวกเขาก็ตอ้ งเอากลับไปรายงานต่อผูก้ ำ� หนด นโยบายอีกที แต่พวกเขาก็มคี วามประทับใจในอุตสาหกรรม น�ำ้ ตาลของกายานาทัง้ ในด้านการลงทุน และด้านอืน่ ๆ” รมว. เกษตรฯ กล่าว อุตสาหกรรมน�้ำตาลไม่ใช่เรื่องแปลกเลย ส�ำหรับดูไบ เพราะดูไบเป็นทีต่ ง้ั ของโรงกลัน่ น�ำ้ ตาลทีม่ ที า่ เรือ ส่งออกขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ในโลกซึง่ ก็คอื บริษทั อัล คาลีจ ชูการ์ ดูไบยังเป็นทีร่ จู้ กั เกีย่ วกับการประชุมน�ำ้ ตาลทีด่ ไู บ ซึง่ เริ่มมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 จากนั้นก็ได้กลายมาเป็นงานที่ ผู้คนรอคอยมากที่สุดในโลกของอุตสาหกรรมน�้ำตาล งาน ประชุมนีเ้ ป็นเวทีสำ� หรับผูผ้ ลิตน�ำ้ ตาลชัน้ น�ำ้ โรงกลัน่ น�ำ้ ตาล ผูป้ ระกอบการธุรกิจน�ำเข้า ผูค้ า้ ผูใ้ ช้นำ�้ ตาลในอุตสาหกรรม ต่างๆ สถาบันการเงินและนักวิเคราะห์ บริษทั ขนส่งสินค้าและ ผูใ้ ห้บริการจากทัว่ ทุกมุมโลก โดยมาเพือ่ ร่วมกันพิจารณาและ ก�ำหนดแนวทางการด�ำเนินการในอนาคต องค์ความรูท้ ดี่ ไู บได้ ท�ำการรวบรวมสัง่ สมมาตลอดระยะเวลาหลายปีทผี่ า่ นมา จะ www.sugar-asia.com
ท�ำให้สามารถเข้าถึงอุตฯ กายานาได้ในไม่ชา้ ขณะทีก่ ายานา ก็มีความสนใจเป็นพิเศษอยู่แล้วที่จะพัฒนาอุตสาหกรรม น�ำ้ ตาลของประเทศทีซ่ บเซา ให้กลับมาดีขนึ้ โดยอาศัยความ ร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารของ GuySuCO และ Sasenarine Singh ได้รบั รายงานว่ารัฐบาลได้รบั เอกสารแจ้งความจ�ำนงว่า มีความสนใจเข้าร่วมหรือ Expressions of Interest (Eols) จ�ำนวน 10 ฉบับจากบริษัทต่างชาติและข้อเสนอโครงการ จ�ำนวนหนึ่งฉบับจากนักลงทุนท้องถิ่นที่มีความสนใจใน ส่วนของโรงกลั่นน�้ำตาล การผลิตเอทานอล พลังงานจาก การเกษตร โรงกลั่นและโรงงานบรรจุหีบห่อน�้ำตาล ตามที่ระบุในแผนบริหารจัดการของบริษัท วิสัยทัศน์ ของ GuySuCo คือการมุง่ เน้นไปทีก่ ารขยายการขายน�ำ้ ตาล บรรจุหีบห่อไปในประชาคมและตลาดร่วมแคริบเบียน (CARICOM) แถบอเมริกาเหนือ รวมถึงตลาดท้องถิน่ ต่างๆ แผนการจัดการของ GuySuCo ส�ำหรับปี พ.ศ. 2564 คือ การผลิตน�ำ้ ตาลจ�ำนวน 97,000 ตัน ซึง่ เป็นเปอร์เซ็นต์ทสี่ งู ที่คาดการณ์ส�ำหรับน�้ำตาลบรรจุหีบห่อ เป้าหมายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรของกายานา คือ การน�ำอุตสาหกรรมไปสู่จุดคุ้มทุนและก้าวไปสู่ระดับ ความสามารถในการท�ำก�ำไรด้วยการลงทุนและการบริหาร จัดการอย่างระมัดระวังรอบคอบ “หากทุกสิ่งทุกอย่างเป็น ไปตามเป้า ในอีก 5 ปีข้างหน้า ผมหวังว่าเราจะสามารถ ถึงจุดคุ้มทุนได้ด้วยระบบการบริหารจัดการในแบบที่ผม อยากให้เป็น ผมได้ออกการแจ้งเตือนแก่ผู้จัดการแต่ละ ฝ่ายว่าพวกเขาจะต้องมีการลงพื้นที่ พวกคุณจะต้องลงไป ปรับปรุงถึงวิธีการเพาะปลูกเพื่อให้มั่นใจตั้งแต่กระบวนเริ่ม เพาะปลูกจนถึงตอนเก็บเกี่ยวว่าจะได้อ้อยที่มีคุณภาพ โดย มีค่าอัตราส่วนปริมาณอ้อยต่อปริมาณน�้ำตาล (tc/ts) สูง” นายซุลฟิกา มุสตาฟา กล่าว
D
ubai, which has signalled a strong interest to invest sugar industry with Republic of Guyana which is a country on the northern mainland of South America. This willingness to invest in sugar was initially expressed by members of the eight-member delegation from the United Arab Emirates (UAE), which visited Guyana in November. The team led by his Highness, Sheikh Ahmed Dalmook Al Maktoum of Dubai, met with Guyanese president, Dr.
Minister of Agriculture, Zulfikar Mustapha, who was present at the meeting, told the Guyana Chronicle that he highlighted the opportunities in agriculture to the investors, placing specific emphasis on sugar. “They indicated their willingness to invest, so another team came back recently to look at sugar, a team from GuySuCo (The Guyana Sugar Corporation) accompanied the visiting team on a tour of all the estates. So they went and examined all the estates already,” said Minister Mustapha during an exclusive interview with the Guyana Chronicle. “I had a chat with them after their visit to the estates and they seemed very interested, remember they are technical people and not policy makers, so whatever they observe they have to take back to the policy makers, but they were impressed with the sugar industry in Guyana, in terms of investing and so on,” said the agriculture minister. Dubai is no stranger to sugar, as this State is home to the world’s largest port-based sugar refinery, Al Khaleej Sugar Co. Chief Executive Officer (CEO) of GuySuCo, Sasenarine Singh, was reported as saying that the Government has received 10 Expressions of Interest (EoIs) from foreign companies, and one proposal from a local investor expressed in sugar refinery, ethanol production, agro-energy, a distillery and packaged sugar, among other things. The vision of GuySuCo, as outlined by the company’s management, is to focus on expanding the sale of packaged sugar in CARICOM, North America and the local markets. GuySuCo’s overarching plan for 2021 is to produce 97,000 tonnes of sugar, a high percentage of which is expected to be packaged.
GuySuCo’s Skeldon Sugar Factory His aim is to bring the industry to a breakeven point, and, further, to a level of profitability through prudent investments and management. “If all things go equal, in the next five years I am hoping we can break-even with the kind of management system I want to see. I put out a warning to managers that they must go into the field. You have to improve on crop husbandry to ensure that from the beginning of planting to the time of reaping there is proper cane so that tonnes cane to tonnes sugar ratio (tc/ts) would be high,” said Minister Mustapha.
15
International News
อุตฯ อ้อยปากีสถาน คาดว่าจะมีการผลิตน�้ำตาลที่สูง ขึ้นในปี 64 Pakistan Sugarcane Industry Estimates Higher Sugar Production in 2021
คนงานก�ำลังขนถ่ายกระสอบน�้ำตาลออกจากรถบรรทุก ไปยังตลาดในเมืองการาจี ประเทศปากีสถาน
ค
ณะกรรมการสหพันธ์การเกษตรของปากีสถาน เปิดเผยว่า ในปี พ.ศ. 2563-2564 ประเทศมี แนวโน้มจะมีผลผลิตน�้ำตาลส่วนเกิน เนื่องจากมีการ ผลิตอ้อยที่สูงขึ้น และการฟื้นตัวของน�้ำตาลซูโครสใน อ้อยโดยมีปริมาณผลผลิต 75.9 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่า ผลผลิตของปีที่แล้วที่มีเพียง 66.8 ล้านตัน นอกจาก นี้ รัฐบาลได้ตัดสินใจที่จะอนุญาตให้น�ำเข้าน�้ำตาล ได้เกือบ 850,000 ตันทันทีโดยไม่ต้องเสียภาษีและ อากรใดๆ เพือ่ ป้องกันการขึน้ ราคาน�ำ้ ตาลในประเทศ
ปากีสถานคาดว่า จะเก็บเกี่ยวผลผลิตอ้อยสูงสุดเป็น อันดับสองที่ 75.9 ล้านตันโดยรัฐปัญจาบจะเก็บเกี่ยวได้ถึง 52.4 ล้านตัน เทียบกับสถิติก่อนหน้านี้ที่จดไว้ในปี พ.ศ. 2560-2561 ที่ 55.2 ล้านตัน ส่วนแคว้นสินธ์ มีแนวโน้ม ผลิตได้ 18.3 ล้านตัน ซึง่ สูงกว่าผลผลิตของปีกอ่ นหน้านี้ และ ผลผลิตของแคว้นไคเบอร์ปคั ตูนควา จะอยูท่ ี่ 5.2 ล้านตัน ซึง่ ต�ำ่ กว่าผลผลิตของปีทแี่ ล้วเล็กน้อยทีอ่ ยูท่ ี่ 5.3 ล้านตัน ในปีน้ีคาดว่าจะมีผลผลิตอ้อยทั่วประเทศอยู่ที่ 75.9 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าผลผลิตของปีที่แล้วที่อยู่ที่ 66.8 ล้านตัน เมื่อปากีสถานน�ำเข้าน�้ำตาล 0.3 ล้านตันในช่วงสิ้นฤดูกาล เพื่อควบคุมราคาน�้ำตาล ในท�ำนองเดียวกันการเก็บเกี่ยว อ้อยของรัฐปัญจาบอยู่ที่ 52.4 ล้านตันเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว ที่อยู่ที่ 43.3 ล้านตัน ไม่เพียงแต่ผลผลิตอ้อยในปีนเี้ ท่านัน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างมาก ผู้บริโภคควรได้น�้ำตาลในราคาที่ถูกลงพอสมควรเมื่อเทียบ ปริมาณสารให้ความหวานทีค่ าดว่าจะได้รบั กับการบริโภคใน ประเทศ จากการประมาณการณ์การบริโภคน�้ำตาลภายใน ประเทศแบบรายเดือนอยูท่ ี่ 0.45 ล้านตัน ดังนัน้ ปากีสถาน จึงต้องการน�ำ้ ตาล 5.4 ล้านตันเพือ่ ตอบสนองความต้องการ ภายในประเทศในแต่ละปี ปัจจัยสุดท้ายที่ส�ำคัญที่สุดประการหนึ่งในการวัดผล ผลิตน�ำ้ ตาลคือปริมาณซูโครสจากอ้อย จากข้อมูลในระบบของ กรมอาหารปัญจาบ การฟื้นตัวของอ้อยในปีนี้ในรัฐปัญจาบ ตอนกลางอยูท่ ป่ี ระมาณร้อยละ 10 และมีรายงานว่าในปัญจาบ ตอนใต้ฟื้นตัวกว่าร้อยละ 11 การฟื้นตัวของน�้ำตาลเคยสูง กว่าในแคว้นสินธ์ เมื่อเทียบกับรัฐปัญจาบ แหล่งข่าวอย่างเป็นทางการกล่าวว่า นอกจากนี้การ
16
ฟื้นตัวของน�้ำตาลจากอ้อยที่ดีต่อสุขภาพนั้นยังเป็นการหัก ล้างค�ำกล่าวอ้างของผู้ผลิตที่ว่าผลผลิตน�้ำตาลซูโครสลดลง เนื่องจากเริ่มต้นฤดูกาลหีบอ้อยเร็วขึ้น จากการประเมินผลผลิตและข้อมูลการตลาดทั้งหมด สามารถประเมินได้ว่าการผลิตน�้ำตาลของประเทศจะอยู่ที่ ประมาณ 6.5 ล้านตันเทียบกับอุปสงค์ที่อยู่ที่ 5.4 ล้านตัน แม้ว่าร้อยละ 15 ของอ้อยจะถูกน�ำไปใช้ในการท�ำน�้ำอ้อย หรือน�้ำตาลโตนด ยิง่ ไปกว่านัน้ ตัวเลขอีกหนึง่ ตัวทีส่ ามารถช่วยผูก้ ำ� หนด นโยบายในการท�ำความเข้าใจตลาดน�้ำตาลคือปริมาณการ ผลิตล่าสุดและการเปรียบเทียบกับข้อมูลของปีที่แล้ว จาก ข้อมูลของกรมอาหารของจังหวัด ชี้ว่า นับตั้งแต่เริ่มฤดูกาล หีบอ้อยของปีนี้จนถึงขณะนี้มีการผลิตน�้ำตาลจ�ำนวน 1.9 ล้านตัน ในรัฐปัญจาบเมื่อเทียบกับปริมาณน�้ำตาลที่ผลิตใน ช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้วที่อยู่ที่ 0.98 ล้านตัน ดังนั้น ในปีนี้จึงมีน�้ำตาลส่วนเกินประมาณหนึ่งล้านตันในจังหวัด และส่วนทีย่ งั คงอยูร่ ะหว่างการหีบประมาณร้อยละ 50
which is higher than its previous year’s output. Khyber Pakhtunkhwa’s yield will be 5.2 million tons -- slightly lower than last year’s crop of 5.3 million tons. This year’s anticipated national sugarcane production of 75.9 million tons has also been much higher than last year’s produce of 66.8 million tons when Pakistan imported 0.3 million tons sugar at the end of season to curb prices. Similarly, Punjab’s sugarcane harvest is stated to be 52.4 million tons against last year’s 43.3 million tons. Not only with a bumper crop of sugarcane this year, consumers should also get reasonably cheap sugar if expected volume of sweetener is compared with domestic consumption. According to an estimate, monthly national consumption stands at 0.45 million tons sugar. Hence, Pakistan needs 5.4 million tons of sugar to meet local yearly demand. The last but one of the most important parameters to gauge sugar production has been sucrose contents out of sugarcane. As per official data of Punjab Food Department, this year’s sugarcane recovery has been hovering around 10 percent in central Punjab and reported to be over 11 percent in Southern Punjab. Sugar recovery used to be higher in Sindh if compared with Punjab. Such a healthy sugar recovery from sugarcane also negates claims of manufacturers’ body about dent in sucrose yield due to early start of sugarcane crushing season, said official sources. Based on evaluation of all production assessments and market data, it can be fairly assessed that national sugar production will be approximately 6.5 million tons against the demand of 5.4 million tons even if 15 percent of sugarcane are used for gur or jaggery making.
T
he Pakistan Federal Committee on Agriculture revealed that surplus sugar output is likely in 2020-21 on the back of higher sugarcane production and healthy sucrose recovery with 75.9 million tons higher than last year’s produce of 66.8 million tons. Also, the government has decided to immediately allow import of almost 850,000 tonnes of sugar without any taxes and duties to prevent domestic price hike.
Pakistan is estimated to reap second highest sugarcane production of 75.9 million tons with Punjab harvesting 52.4 million tons against its previous record of 55. 2 million tons registered in 2017-18. Sindh too will produce 18.3 million tons
Moreover, another figure which can help policy makers in understanding sugar market has been latest manufacturing volumes and its comparison with last year’s data. According to provincial Food Department, since launch of crushing season this year, 1.9 million tons of sugar has so far been produced in Punjab against 0.98 million tons manufactured during corresponding period of last year. So around one million tons of excess sugar is available in the province this year and about 50 percent crushing is still remaining.
www.sugar-asia.com
เอ็น ซี เอช
ผูน ้ �ำ ด้�นผลิตภัณฑ์และบริก�รบำ�รุงรักษ� ครบวงจรตัง ้ แต่ปี ค.ศ. 1919
NCH GLOBAL LEADER IN INDUSTRIAL AND COMMERCIAL MAINTENANCE PRODUCTS AND SERVICES SINCE 1919 เอ็น ซี เอช ผู้นำ�ด้�นผลิตภัณฑ์และบริก�รด้�นก�รบำ�รุงรักษ�ครบวงจร ก่อตั้งที่เมืองดัลลัส รัฐเท็กซัส ประเทศสหรัฐอเมริก� มีสำ�นักง�นใหญ่ ที่เมืองเออร์วิง โดยมียอดข�ย 1 พันล้�นเหรียญดอลล่�ร์สหรัฐ มีพนักง�นกว่� 8,000 คน มีส�ข�และโรงง�นผลิต ตั้งอยู่ม�กกว่� 50 ประเทศทั่วโลก เอ็น ซี เอช Chem-Aqua เป็นผูเ้ ชีย ่ วช�ญในก�รจัดโปรแกรมก�รบำ�บัดน้�ำ ที่สอดคล้องกับคว�มต้องก�รของลูกค้�เพื่อลดก�รใช้พลังง�น ลดก�ร ใช้น้ำ�และค่�ใช้จ่�ยในก�รบำ�รุงรักษ� โดยคำ�นึงถึงคว�มปลอดภัย และ เสถียรภ�พของก�รทำ�ง�นของระบบที่มีคว�มสำ�คัญยิ่งของลูกค้� ก�รบำ�บัดน้ำ�ในระบบหอผึ่งเย็น หม้อไอน้ำ� ส�ม�รถช่วยผลิตไอน้ำ�ที่ ปลอดภัยและเชื่อถือได้ในก�รผลิตน้ำ�ต�ล /ไบโอเอท�นอล ผลิตภัณฑ์ ของเร�ได้รับก�รรับรองจ�ก NSF และด้วยก�รจัดเตรียมโปรแกรม บำ�บัดน้ำ�สำ�หรับหม้อไอน้ำ�/ระบบหอผึ่งเย็น แบบเป็นโปรแกรมที่เหม�ะสม กับคว�มต้องก�รของลูกค้� ช่วยเพิ่มคว�มส�ม�รถในก�รผลิตน้ำ�ต�ล ให้ได้ประสิทธิภ�พสูงสุด กลุ่มผลิตภัณฑ์หล่อลื่นของ เอ็น ซี เอช ช่วยลดค่�ใช้จ่�ยด้�นชิ้นส่วน อะไหล่ แรงง�น และลดค่�ใช้จ่�ยที่เกิดขึ้นจ�กก�รหยุดง�นเนื่องจ�ก เครื่องจักรเสีย พร้อมช่วยปกป้องเครื่องจักร ได้อย่�งดีเยี่ยม ด้วยผลิตภัณฑ์หล่อลื่นชนิดพิเศษและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผลิตภัณฑ์บำ�รุงรักษ�กลุ่มอุตส�หกรรมของ เอ็น ซี เอช มีผลิตภัณฑ์ ทำ�คว�มสะอ�ด ป้องกันก�รกัดกร่อน และก�รซ่อมแซมต่�งๆ โซลูชั่นของเร�ส�ม�รถตอบโจทย์ ทุกปัญห�ด้�นก�รบำ�รุงรักษ� เร�มีบริก�รด้�นก�รทำ�คว�มสะอ�ดและก�รซ่อมบำ�รุง ที่ถูกออกแบบ ม�เพื่อช่วยลดภ�ระของผู้จัดก�รฝ่�ยซ่อมบำ�รุง รวมถึงผลิตภัณฑ์ กำ�จัดตะกรัน ผลิตภัณฑ์ขจัดคร�บไขมัน เครื่องล้�งอะไหล่สูตรน้ำ� และ ผลิตภัณฑ์กำ�จัดและป้องกันสนิม สอบถ�มเพิ่มเติม: 02-770-9686-8
www.nchasia.com
Cover Story
จับตาอุตสาหกรรมอ้อยและน�้ำตาลไทย-อินโด Thai-Indonesian Cane & Sugar Industries under Close Speculation
ทิ
ศทางของน�้ำตาลในตลาด โลกไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนัก
แม้ว่าการการระบาดของโควิด-19 ยังคงเกิดขึ้นในหลายประเทศทั่ว โลกแต่การรับมือในประเทศต่างๆ จะไม่เหมือนกับปีที่ผ่านมา เพราะใน ปีน้ไี ด้มีวัคซีนป้องกันโควิด-19
ทีไ่ ด้รบั การรับรองจากองค์การอนามัยโลกให้สามารถน�ำ มาใช้ได้ในหลายประเทศทัว่ โลก คาดว่าจะเกิดกิจกรรม ทางเศรษฐกิจต่างๆ และกระตุน้ การบริโภคน�ำ้ ตาลเพิม่ ขึ้น หากพูดถึงผู้ผลิตรายใหญ่อันดับหนึ่งของโลกยังคง เป็นบราซิลที่ครองอันดับหนึ่ง และบราซิลจะไม่ได้มุ่ง ผลิตน�้ำตาลอย่างเดียว แต่ส่งเสริมการผลิตเอทานอล อีกด้วย และบราซิลเองก็หนั มาผลิตน�ำ้ ตาลเพือ่ ส่งออก มากขึ้น ซึ่งประเทศไทยยังคงเป็นผู้ผลิตน�้ำตาลอันดับ 4 ส่งออกสินค้าน�้ำตาลส�ำคัญอันดับ 2 ของโลกรอง จากบราซิล ซึ่งโดยรวมแล้ว ในฤดูกาลปี 2563/64 ผลผลิตน�้ำตาลในตลาดโลก คาดว่าจะสูงขึ้นประมาน 10-40% โดยเฉพาะในประเทศสหรัฐอเมริกา อินเดีย และบราซิล
อุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ในช่วงฤดูเก็บเกี่ยวอ้อย เกษตรกรก�ำลังขนอ้อยสดไปยังรถบรรทุก ที่หมู่บ้าน Purwosekar เมืองมาลัง จังหวัดชวาตะวันออกของอินโดนีเซีย
18
ดร.พิพัฒน์ วีระถาวร กรรมการสมาคมนักวิชาการอ้อยและน�้ำตาลแห่งประเทศไทย กล่าวภายในงานสัมมนาออนไลน์ AGRITECHNICA ASIA & HORTI ASIA digital talks ว่าภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นภูมิภาคที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจมากที่สุด โดยเฉลีย่ 4% โดยเฉพาะประเทศอินโดนีเซีย ทีเ่ ป็นประเทศทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ จ�ำนวนประชากรคิดเป็น 40% ในกลุ่มปะเทศอาเซียน ซึ่งปัจจุบันอินโดนีเซียมี โรงงานน�้ำตาลทั้งหมด 60 แห่ง และใน 41 แห่ง รัฐบาลจะเป็นเจ้าของกิจการ ในขณะที่ 19 แห่งทีเ่ หลือจะเป็นของเอกชน อินโดนีเซียมีความต้องการบริโภคน�ำ้ ตาลมากกว่า 5 ล้าน ตันทุกปี ในการน�ำเข้าจากต่างประเทศ เนือ่ งจากการบริโภคเป็นจ�ำนวนมาก จึงท�ำให้รฐั บาล ต้องมีแผนในการเพิ่มการผลิตน�้ำตาลในประเทศ เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการ ซึง่ รัฐตัง้ เป้าหมายเพือ่ ให้อนิ โดนีเซียมีผลผลิตน�ำ้ ตาลเพิม่ ขึน้ ต้องมีการพิจารณาปัจจัย ความท้าทายต่างๆ ที่จ�ำเป็นต้องได้รับการแก้ไข เพื่อให้การบรรลุเป้าหมายเป็นได้ อาทิเช่น www.sugar-asia.com
Cover Story ปัญหาพืน้ ทีป่ ลูกอ้อยลดลง ผลผลิตอ้อยลด การแข่งขันของพืชชนิดอืน่ ๆ การขาดแคลนการวิจยั อ้อย ปัญหาเงินทุน ปัญหาด้านโลจิสติกส์ในการขนส่งอ้อยไปยังโรงงานน�ำ้ ตาล เป็นต้น ซึ่งจากรายงานล่าสุด ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งหมด ได้น�ำเข้าน�้ำตาล ในปริมานรวมกันแล้วเกือบ 10 ล้านตัน น�ำเข้าอันดับหนึ่งคือ อินโดนีเซีย ที่มียอดน�ำเข้า น�้ำตาลสูงสุดประมาน 5.6 ล้านตัน รองลงมาคือ มาเลเซีย ในปริมานราวๆ 2.0 ล้าน ตัน ในขณะที่พม่า พบว่ามีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ท�ำให้ต้องน�ำเข้าน�้ำตาล เพิ่ม แต่ก็มีรายงานด้วยเช่นกันว่า นอกจากการน�ำเข้าแล้ว พม่ายังสามารถผลิตน�้ำตาลได้ เพียงพอในประเทศได้ เช่นเดียวกันกับเวียดนาม และฟิลิปปินส์ ส่วนบรูไนและสิงคโปร์มี รายงานว่า ยังไม่มีการผลิตน�้ำตาลในท้องถิ่น ท�ำให้ต้องน�ำเข้า ส่วนประเทศไทยแน่นอน ว่ามีการผลิตอ้อยและน�้ำตาลอันดับ 1 ในอาเซียน แต่เมื่อสองปีที่แล้วก็ได้ลดลงไปบ้าง แต่ ผลผลิตของประเทศไทยก็ยังมากกว่าของประเทศอื่นๆ ประมาน 56.4% ต่อจากฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย 15.8% ซึง่ หากจะมีการพัฒนาเกีย่ วกับธุรกิจน�ำ้ ตาลในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คงจะต้อง พิจารณาจากปัจจัยความท้าทายส�ำคัญๆ เช่น การลงทุนทีส่ งู อัตรายิลด์ในอ้อยทีต่ ำ�่ เงินต้นทุน การผลิตสูง ปัญหาแรงงานเพาะปลูกอ้อย เป็นต้น เพือ่ ทีจ่ ะน�ำมาประเมินและพัฒนาต่อไปได้ แต่หลักๆ ก็คอื ควรต้องมีการสนับสนุนเงินทุนและค่าใช้จา่ ยของเทคโนโลยีกระบวนการผลิต อ้อยและโลจิสติกส์ มุ่งเน้นธุรกิจน�้ำตาลสู่เศรษฐกิจชีวภาพ และเศรษฐกิจหมุนเวียน
ผลผลิตน�ำ้ ตาลในประเทศไทย ปัจจุบันโรงงานน�้ำตาลในประเทศไทยมี 58 แห่ง รวมก�ำลังการผลิต 1.2 ล้านตันต่อ วัน มีพื้นที่ปลูกอ้อยทั้งหมด 1.7 ล้านเฮกตาร์ ฤดูหีบปี 2562/63 ไทยเผชิญภาวะภัยแล้ง หนักท�ำให้ผลผลิตอ้อยร่วงลงมาอยู่ที่ระดับ 74.98 ล้านตัน น�้ำตาลทรายเหลือเพียง 8.27 ล้านตัน ส่วนปัญหาทีก่ ระทบผลผลิตอ้อยในปัจจุบนั นี้ ก็ยงั คงเป็นสภาพอากาศทีแ่ ห้งแล้งถึง แม้จะมีปริมานน�ำ้ ฝนทีด่ ใี นไม่กเี่ ดือนทีผ่ า่ นมา รวมไปถึงปัญหาราคาอ้อยทีต่ ำ�่ การลดลงของ พื้นที่ปลูกอ้อย และอาจจะยังต้องเผชิญปัญหาเรื่องการขาดแคลนแรงงาน ซึ่งก็เป็นสาเหตุ หนึง่ ทีท่ ำ� ให้การหีบอ้อยนัน้ ล่าช้า และเมือ่ ดูเปอร์เซ็นต์การเพาะปลูกพืชโดยรวม อ้อยมีสว่ น แบ่งการแข่งขันในการปลูกเมือ่ เทียบกับพืชชนิดอืน่ ๆ เป็นอันดับ 4 หรือ 8% ในขณะทีพ่ ชื คู่แข่งส�ำคัญอย่างมันส�ำปะหลังมีเปอร์เซ็นต์การปลูก 6% นายรังสิต เฮียงราช ผู้อ�ำนวยการบริษัท ไทยชูการ์ มิลเลอร์ จ�ำกัด เปิดเผยว่า ผลผลิตน�้ำตาลประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2563-2564 มีการประเมินว่า จะมีผลผลิตน�้ำตาล ประมาน 65-67 ล้านตัน ซึ่งต�่ำกว่าปีที่แล้วประมาน 75 ล้านตัน กล่าวได้ว่า นี่คือการลด ลงของผลผลิตน�้ำตาลที่ต�่ำที่สุดในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา นอกจากนี้ การระบาดโควิด-19 ที่ส่ง ผลต่อการบริโภคน�้ำตาลในประเทศ มีการประเมินว่า การบริโภคน�้ำตาลในปี 2021 จะฟื้น ตัวดีขึ้นกว่าปี 2020 จากตัวเลขคาดการณ์การบริโภค 2.40 ล้านตัน ซึ่งสูงกว่าปีที่แล้วที่มี ตัวเลขการบริโภคน�ำ้ ตาลไป 2.32 ล้านตัน เป็นผลมาจากการรับมือสถานการณ์โควิด-19 ที่ ดีขนึ้ กว่าช่วงแรก ท�ำให้การด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ยังไปต่อได้ ส่วนการส่งออก คาดว่าลดลงเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว
T
he present trend of the world market’s sugar does not seem to change much. Despite the on-going spread of Covid-19 in several countries, coping with the infection is different from the previous year thanks to vaccines officiated by the World Health Organization (WHO) which can now be used in many countries. Consequently, economic affairs are expected to be reborn, thus promoting more sugar consumption. If one refers to the world’s biggest and leading sugar producer, Brazil is still ranked the first. The country does not focus on sugar manufacturing only, but it also campaigns on ethanol production. In addition, Brazil has produced more sugar for export. Thailand, however, is still ranked the fourth on sugar production and the second for sugar export following Brazil. Overall, during 2020/2021, sugar in the world market is expected to reach up to around 10%-40%, particularly in the US, India and Brazil. Cane and Sugar Industries in South East Asia
The member of the committee of Thailand Society of Sugarcane Technologists (TSSCT), Pipat Weerathaworn, Ph. D., said in the AGRITECHNICA ASIA & HORTI ASIA digital talks that South East Asia
www.sugar-asia.com
is a region where economic growth was as high as 4%, especially in Indonesia which is one of the biggest countries of the region as 40% of its population come from there. Currently, Indonesia has a total of 60 sugar mills, 41 of which are state owns while 19 are private companies. The country needs more than 5 million tons of sugar for consumption per year. Most of the sugar is imported from overseas. Due to huge consumption, Indonesian government requires increasing local sugar production to serve the national needs. Since the government aims for increasing sugar production, it is now considering some challenges that need to be dealt with to achieve the goal, namely few areas of cane plantation, decreasing cane products, other competitive crops, shortage of cane research, problems on funding and logistics in terms of sending cane to sugar mills. According to the latest report, all South East Asian countries imported a total of almost 10 million tons of sugar. Indonesia is the country where around 5.6 million tons of sugar - the highest amount - was imported. Malaysia imported around 2 million tons. In Myanmar, where economic growth is found increasing, more sugar was imported, and the country reportedly produced sufficient sugar for national consumption as well as Vietnam and the Philippines. Brunei and Singapore, by contrast, are reported to obligatorily import sugar for consumption owing to no local production at all. Thailand is certainly the first of ASEAN on sugar and cane production even though the number decreased a couple of years ago. However, Thailand’s products are more than other countries’ as it had 56.4% while the Philippines and Indonesia had 15.8%.
Indonesia will import additional raw sugar for household usage to meet demand In case of possible development on sugar business in South East Asia, some major challenges, such as high costs of investment, low sugar’s yield rates, high capital costs of production and labor problems, need to be taken into account for evaluation and improvement. Nevertheless, financial support and technology of sugar production and logistics as well as bio-economic based sugar business and circular economy are required.
Sugar Products in Thailand At present, Thailand has 58 sugar mills throughout the country, with a total production capacity of 1.2 million tons per day. There is a total plantation area of 1.7 million hectares for cane. During the extraction season of 2019/2020, Thailand faced severe drought, making cane products drop to 74.98 million tons and sugar to 8.27 million tons. In terms of problems affecting cane now, the major concerns include dry season despite increasing rainwater as well as low prices of cane, fewer areas of cane plantation and probably labor shortage. All caused sluggish transfer of cane for extraction. However, when considered percentage of overall crops, cane shares 8% of all other crops, or it was ranked the fourth, while other crops like cassava shares only 6%. Mr. Rangsit Hiangrat, the Director General of Thai Sugar Miller Co. Ltd. (TSMC), revealed that sugar products in Thailand from 2020 to 2021 were expected to reach around 65-67 million tons, the number of which is 75 million tons lower than last year’s. In other words, the number is regarded as the lowest in the past 10 years. Besides, the spread of Covid-19 really affects local sugar consumption, but it is speculated that 2021 will be better in terms of the amount of sugar to be consumed because 2.40 million tons of sugar are projected for local consumption this year. Last year, only 2.32 million tons of sugar were consumed. Results of better management of the viral infection enable economic activities to continue effectively although export is expected to be lower than last year.
19
กรมวิชาการเกษตร เปนหนวยงานที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับออย โดยมีสถาบันวิจัยพืชไรและพืชทดแทนพลังงาน รับผิดชอบในการ พัฒนาพันธุออยและเทคโนโลยีการผลิตออย มีศูนยฯ วิจัยเครือขายในภูมิภาคดำเนินการปรับปรุงพันธุ ไดแก ศูนยวิจัยพืชไรสุพรรณบุรี ศูนยวจิ ยั พืชไรขอนแกน และศูนยวจิ ยั พืชไรนครสวรรค พันธุอ อ ยโรงงานทีไ่ ดรบั ความนิยมมากไดแก พันธุข อนแกน 3 ครอบคลุมพืน้ ทีป่ ลูก ออยมากกวา 80 เปอรเซ็นต สวนพันธุออยคั้นน้ำที่นิยม ไดแก พันธุสุพรรณบุรี 50 ในป 2562 กรมวิชาการเกษตรรับรองพันธุออยคั้นน้ำ พันธุใหมไดแก พันธุศรีสำโรง 1 และในป 2564 กรมวิชาการเกษตร อยูระหวางการรวบรวมขอมูลเพื่อเสนอรับรองพันธุ ไดแก NSUT10-266 UT10-623 TPJ04-768 และ KK07-250
4 ออยสายพันธุใ หม ป 64
ออยโคลนดีเดน
NSUT10-266 ใหผลผลิตและผลผลิตน้ำตาลสูง เหมาะ สำหรับปลูกในพื้นที่ดินรวน รวนเหนียว และดินเหนียว เขตน้ำฝน
ออยโคลนดีเดน
UT10-623 ใหผลผลิตและผลผลิตน้ำตาลสูง เหมาะ สำหรับปลูกในพื้นที่ปลูกออย จังหวัด สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และนครปฐม
ออยเอนกประสงค
TPJ04-768
ใหผลผลิตและผลผลิตชานออยสูง เหมาะสำหรับพื้นที่ปลูกออยเขตน้ำฝน ดินทราย ทรายรวน และรวนทราย
ขอมูลเพิม่ เติม สถาบันวิจยั พืชไรและพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน ลาดยาว จตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900
ออยโคลนดีเดน
KK07-250 ใหผลผลิตและความหวานสูง เหมาะ สำหรับพื้นที่ปลูกออยเขตน้ำฝนดินทราย ทรายรวน และรวนทราย
การเผาใบและเศษซากออยเปนปญหาที่สำคัญในอุตสาหกรรมออยและน้ำตาลไทย นอกจากจะทำใหผลผลิตและความหวาน ออยลดลงแลวยังสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ทำใหเกิดกาซคารบอนมอนนอกไซด รวมทั้งฝุนละอองขนาดเล็กที่เรียกวา ฝุน PM 2.5 และเปนปจจัยสำคัญที่ทำใหเพิ่มกาซคารบอนไดออกไซด และออกไซดของไนโตรเจนที่ทำใหเกิดสภาวะการเปลี่ยนแปลงของอากาศ (climate change) ซึง่ จะทำใหเกิดปญหาภาวะโลกรอน (global warming) ตามมาในทีส่ ดุ นอกจากนีผ้ ลกระทบจากปญหาการเผา ใบออยที่เห็นไดชัดเจน คือ เกิดเขมาควันปลิวทำใหบานเรือนสกปรก สถาบันวิจยั พืชไรและพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร ไดตระหนักและใหความสำคัญกับปญหาการเผาใบและเศษซาก ออย จึงมีการศึกษาวิจยั และพัฒนาองคความรูแ ละนวัตกรรมเพือ่ แกปญ หาการเผาใบและเศษซากออยมาอยางตอเนือ่ ง โดยไดประดิษฐ คิดคนพัฒนาเครือ่ งจักรกลทีใ่ ชแกปญ หาการเผาใบและเศษซากออยกอนและหลังเก็บเกีย่ ว ไดแก เครือ่ งสางใบออย เพือ่ แกปญ หาการ เผาออยกอนการเก็บเกีย่ วเนือ่ งจากขาดแคลนแรงงานตัดออยสด เครือ่ งสับใบระหวางแถวออยตอ เพือ่ กำจัดใบและเศษซากออยในออย ตอ โดยไถสับคลุกเคลาลงไปในดินทำใหเกิดการยอยสลายงาย สามารถลดเชือ้ เพลิงลงได และชวยรักษาความชืน้ ในดิน ทำใหออ ยตอมี การเจริญเติบโตดี ใหผลผลิตสูง และไวตอไดหลายป ชวยลดการเผาใบออยหลังการเก็บเกีย่ ว และเครือ่ งสับใบและเศษซากออย ในการ เตรียมดินปลูกใหม เพือ่ ลดอุปสรรคในการเตรียมดินในขณะทีม่ ใี บและเศษซากออยเหลืออยูใ นแปลง ทำใหชาวไรไมตอ งเผาใบกอนการ เตรียมดิน ซึง่ ผลงานวิจยั ดังกลาวสามารถชวยใหชาวไรลดการเผาใบทัง้ กอนและหลังการเก็บเกีย่ ว ทำใหมกี ารตัดออยสดสงเขาโรงงาน เพิ่มมากขึ้นในอนาคต
เครือ่ งสางใบออย
เครื่องสางใบออย เพื่อแกปญหาการเผาใบกอนเก็บเกี่ยว
เครือ่ งสับใบระหวางแถวออยตอ
เครื่องสับใบระหวางแถวออยตอเพื่อลดปญหาการเผาใบหลังเก็บเกี่ยว
เครือ่ งสับใบและเศษซากออย
เครื่องสับใบและกลบเศษซากออยเพื่อลดปญหาการเผาใบออยกอนการเตรียมดิน
ขอมูลโดย นางสาวสุมาลี โพธิท์ อง นักวิชาการเกษตรชำนาญการ ศูนยวจิ ยั พืชไรสพุ รรณบุรี สถาบันวิจยั พืชไรและพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร
‘ศรีส�ำโรง 1’ พันธุ์อ้อยตัวเลือกใหม่ที่ คุ้มค่าของเกษตรกร ในตลาดเครื่อง ดื่มเพื่อสุขภาพ ‘Si Samrong 1’: New & Worthy Alternative Cane for Thai Farmers and Health Drink Market
อ้
อยเป็นพืชเศรษฐกิจหลักทีส่ ำ� คัญของประเทศไทย และมีมลู ค่าทางเศรษฐกิจนับแสน ล้านบาท ที่สามารถน�ำอ้อยไปต่อยอดสร้างผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ได้หลากหลาย ด้าน แต่เนื่องจากสภาพภูมิอากาศในปัจจุบันที่แปรปรวน การปลูกอ้อยในที่เดิมๆ มาเป็น เวลานาน การเกิดโรคต่างๆ ในอ้อย ปัจจัยเหล่านี้จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้เกษตรกรขาดราย ได้ ‘อ้อยคัน้ น�ำ้ พันธุศ์ รีสำ� โรง 1’ จึงเป็นทางเลือกใหม่ทนี่ า่ สนใจมากส�ำหรับเกษตรกรไทยใน ขณะนีน้ อกเหนือจากการปลูกอ้อยส่งเข้าโรงงาน จากกระแสของการขายท่อนพันธุอ์ อ้ ยตาม สื่อออนไลน์ เพื่อน�ำมาปลูกคั้นน�้ำขาย ซึ่งเกษตรกรที่จ�ำหน่ายน�้ำอ้อย จะได้รับค่าตอบแทน สูงกว่าการส่งโรงงานน�ำ้ ตาล ซึง่ จะขายได้ 55,410-92,350 บาท หรือผลผลิตน�ำ้ คัน้ 5,647 ลิตร/ไร่ ต่อลิตรละ 40-50 บาท เลยทีเดียว อุตสาหกรรมอ้อยคั้นน�้ำในปัจจุบันก�ำลังเป็นที่น่าจับตามอง และมีการขยายตัวอย่าง รวดเร็ว เนื่องจากการนิยมบริโภคน�้ำอ้อยสดของคนไทยเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทุกวันนี้ ปฎิเสธไม่ได้ว่าการขายน�้ำอ้อยมีทั่วทุกพื้นที่เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค อีกทั้งเกษตรกรก็สามารถมีรายได้ทุกวัน อีกประการหนึ่งก็คือ การขายน�้ำอ้อย มีรายได้ดี กว่าส่งอ้อยเข้าโรงงาน เพราะราคาดีกว่า 3-4 เท่า ท�ำให้ธุรกิจตัวนี้ ก�ำลังเดินหน้ามาก ทั้ง คนปลูก และผูบ้ ริโภค ท�ำให้ออ้ ยคัน้ น�ำ้ ‘ศรีสำ� โรง 1’ ซึง่ วิจยั โดย คุณรวีวรรณ เชือ้ กิตติศกั ดิ์ นักวิชาการเกษตรช�ำนาญการพิเศษ ศูนย์วจิ ยั พืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจยั พืชไร่และพืชทดแทน พลังงาน จึงเป็นตัวเลือกใหม่ที่ส�ำคัญของการเดินหน้าเศรษฐกิจอ้อยคั้นน�้ำในขณะนี้
ทรงกอตั้งตรง ทรงใบชัน ปลายโค้ง คอใบรูปสามเหลี่ยมชายธงสีเหลืองเหลือบเขียว ปล้อง ตรงกลางโค้ง สีปล้องเมือ่ ต้องแสงมีสเี หลืองเหลือบเขียว และเมือ่ ไม่ตอ้ งแสงมีสเี ขียวเหลือบ เหลือง ปล้องมีการเรียงตัวค่อนข้างตรง ปล้องมีรอยแตกตื้น ตานูนรูปไข่ป้าน อยู่ต�่ำกว่าวง เจริญ ไม่มีร่องเหนือตา จุดก�ำเนิดรากเรียบตัวไม่เป็นระเบียบ หูใบด้านนอกรูปใบหอกสั้น หูใบด้านในยอดงอเข้า
จุดเริ่มต้นพันธุ์อ้อยคั้นน�้ำศรีส�ำโรง 1 การวิจยั พันธุอ์ อ้ ยคัน้ น�ำ้ พันธุศ์ รีสำ� โรง 1 คุณรวีวรรณเผย ว่าเริม่ ต้นมาจากการพัฒนา พันธุอ์ อ้ ยโรงงานตัง้ แต่ปี 2543 โดยผสมพันธุท์ ศี่ นู ย์วจิ ยั พืชไร่สพุ รรณบุรี และน�ำกล้าอ้อยมา คัดเลือกพันธุ์ประเมินผลผลิตขั้นตอนการเปรียบเทียบเบื้องต้น การเปรียบเทียบมาตรฐาน ที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรสุโขทัย หรือเดิมคือสถานีทดลองพืชไร่ศรีส�ำโรง ท�ำให้มี การรับรองพันธุ์เป็นอ้อยคั้นน�้ำพันธุ์รับรอง โดยใช้ชื่อพันธุ์ “ศรีส�ำโรง 1” ซึ่งเป็นชื่ออ�ำเภอ ในจังหวัดสุโขทัยที่เป็นที่ตั้งของหน่วยงานที่พัฒนาพันธุ์นี้ขึ้นมา จากนัน้ มีการทดสอบในไร่เกษตรกรในเขตพืน้ ทีภ่ าคเหนือตอนล่าง ภาคกลางตอนบน และภาคตะวันออก และประเมินการยอมรับของเกษตรกร ระหว่างปี พ.ศ. 2545-2562 ซึ่งระหว่างการประเมินผลผลิต ผู้วิจัยพบว่าอ้อยพันธุ์ศรีส�ำโรง 1 มีคุณสมบัติที่สามารถน�ำ มาคั้นน�้ำได้ โดยสังเกตจากสีล�ำที่มีสีเหลืองอมเขียว คล้ายกับพันธุ์สุพรรณบุรี 50 แต่ให้ ผลผลิตน�ำ้ คัน้ และเปอร์เซ็นต์หบี จะสูงกว่าพันธุส์ พุ รรณบุรี 50 นอกจากนี้ ยังมีรสชาติหอม หวาน แต่ความหวานจะต�่ำกว่าพันธุ์สุพรรณบุรี 50 เล็กน้อย และสีน�้ำคั้นจะมีสีเหลืองอม เขียว ส่วนพันธุส์ พุ รรณบุรี 50 จะมีสเี ขียวอมเหลือง และน�ำ้ คัน้ เมือ่ น�ำมาตัง้ ทิง้ ไว้ทอี่ ณ ุ หภูมิ ห้อง 3-4 ชั่วโมง สีจะไม่เปลี่ยนและไม่ตกตะกอน อ้อยคัน้ น�ำ้ พันธุน์ ี้ มาจากการผสมเปิดของอ้อยพันธุ์ RT96-018 หรือพันธุ์ KWT07 มี
22
คุณรวีวรรณ เชื้อกิตติศักดิ์
นักวิชาการเกษตรช�ำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน
Raweewan Chuakittisak,
an Agricultural Research Officer Senior Professional Level of Khon Kaen Field Crops Research Center and Field and Renewable Energy Crops Research Institute (FCRI)
อุตสาหกรรมอ้อยคั้นน�้ำไทยเฟื่องฟู เกษตรกรได้ ผลตอบแทนสูง ปัจจุบันมีผู้บริโภคน�ำ้ อ้อยเพิ่มขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก อีกทั้งการซื้อขายน�้ำอ้อยก็มีทั่วทุก พืน้ ทีใ่ นประเทศไทย โดยเฉพาะแหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญๆ อ้อยคัน้ น�ำ้ เป็นพืชทีใ่ ห้ผลตอบแทน www.sugar-asia.com
Planters Corner
*คุณรวีวรรณ เตรียมพร้อมงานประชุมนักวิชาการอ้อยและน�้ำตาลนานาชาติ ครั้งที่ 29 ร่วมกับ อดีตอธิบดีกรม วิชาการเกษตร คุณสุวิทย์ ชัยเกียรติยศ และ ผอ.นิรันดร์ สุขจันทร์ อดีตผู้อ�ำนวยการส�ำนักวิจัยและพัฒนาการ เกษตรเขตที่ 3 จังหวัดขอนแก่น
สูง เกษตรกรหรือผู้ขายสามารถมีรายได้ทุกวัน นอกจากนี้ อ้อยคั้นน�้ำยังเป็นเครื่องดื่มที่มี คุณค่าทางโภชนาการสูง น�้ำอ้อยต่อหน่วย (28.35 กรัม) มีพลังงาน 26.56 กิโลแคลอรี คาร์โบไฮเดรต 27.51 กรัม น�้ำตาล 26.98 กรัม โปรตีน 0.27 กรัม แคลเซียม 11.23 มิลลิกรัม (1%) เหล็ก 0.37 มิลลิกรัม (3%) โพแทสเซียม 41.96 มิลลิกรัม (1%) โซเดียม 17.01 มิลลิกรัม (1%) “เกษตรกรจะนิยมน�ำอ้อยคั้นน�้ำศรีส�ำโรง 1 ไปคั้นน�้ำขาย เพราะได้รับค่าตอบแทน สูงกว่าการส่งโรงงานน�้ำตาล และจ�ำหน่ายให้พ่อค้าหีบน�้ำอ้อยในราคากิโลกรัมละ 3-5 บาท ต่อผลผลิต 18.47 ตัน/ไร่ ซึ่งจะขายได้ 55,410-92,350 บาท หรือผลผลิตน�้ำคั้น 5,647 ลิตร/ไร่ ลิตรละ 40-50 บาท และในส่วนของท่อนพันธุ์อ้อยที่ขายตามสื่อออนไลน์ ตอนนี้ ก�ำลังเป็นทีต่ ้องการของเกษตรกร โดยราคาจะมีตั้งแต่กโิ ลกรัมละ 5-7 บาท ข้อตาละ 2-20 บาท หรือต้นกล้าละ 15-140 บาท” คุณรวีวรรณ กล่าว
จากอ้อยคั้นน�้ำ สู่น�้ำอ้อย และผลิตภัณฑ์ อ้อยแปรรูป จากลักษณะเด่นที่อ้อยพันธุ์ศรีส�ำโรง 1 มีในเรื่องผลผลิตน�้ำคั้น เปอร์เซ็นต์หีบสูง น�้ำ อ้อยมีรสชาติหอมหวาน และเมื่อบริโภคเป็นอ้อยเคี้ยว ก็พบว่า สามารถน�ำมาเคี้ยวได้ไม่ แข็ง และซังอ้อยไม่ยุ่ย ยิ่งไปกว่านั้น ในเขตภาคเหนือตอนล่าง เช่น จังหวัดสุโขทัย ตาก เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ อุทยั ธานี มีการแปรรูปอ้อยหลากหลายผลิตภัณฑ์ เช่น อ้อยงบ อ้อย หลอด อ้อยแว่นหรืออ้อยวง อ้อยกะทิ อ้อยกระแทก และขนมอีเหนียว ราคาขายกิโลกรัมละ 27-30 บาท ยกเว้นอ้อยกะทิ ราคากิโลกรัมละ 100 บาท ผลผลิตอ้อย 18.47 ตัน ความ หวาน 13.69 ซีซีเอส จะผลิตน�้ำตาลได้ประมาณ 2.52 ตัน คิดเป็น 68,040-75,600 บาท แต่การแปรรูปจะมีต้นทุนสูงมาก
การเพาะปลูกและดูแลอ้อยคั้นน�้ำ ‘ศรีส�ำโรง 1’
S
ugarcane, or cane in short, is a major economic crop of Thailand. Thanks to its economic worth of over 100,000 million Baht, cane is useful is various aspects. However, due to current unstable climate in the country, long-time cane plantation in the same area and a lot of diseases result in local Thai farmers’ income shortage. Consequently, ‘Si Samrong 1’ cane is an interesting alternative for local farmers right now. Besides, planting cane for sugar mills, on-line media encourages farmers to sell the crop for juice extraction because income for the latter is as high as 55,410-92,350 Baht, an equivalent to 5,647 liters per a Rai land of cane or 40-50 Baht of cane juice per liter. Cane juice extraction is an interesting and quickly expanding industry since Thai people are increasingly favoring fresh cane juice. Undeniably, fresh cane juice is sold almost everywhere to serve the needs of consumers, thus enabling Thai farmers to earn income daily. Also, selling cane juice makes more money than sending cane to factories because the former’s income is 3-4 times more than the latter’s. Such business is moving forward in terms of farmers and consumers. ‘Si Samrong 1’, under the research of Raweewan Chuakittisak, an Agricultural Research Officer Senior Professional Level of Khon Kaen Field Crops Research Center and Field and Renewable Energy Crops Research Institute (FCRI), is now becoming an important alternative for cane juice extraction.
ส่วนการปลูกและการดูแลรักษาอ้อยคั้นน�้ำพันธุ์ศรีส�ำโรง 1 คุณรวีวรรณ ให้ข้อมูลว่า มีวธิ ปี ฏิบตั ทิ ไี่ ม่แตกต่างกันกับพันธุส์ พุ รรณบุรี 50 แต่อาจจะต้องลงทุนในเรือ่ งของท่อนพันธุ์ สูงกว่า เพราะยังมีทอ่ นพันธุไ์ ม่มากนัก ท�ำให้มรี าคาแพง วิธกี ารปลูกนัน้ แนะน�ำให้ปลูกเป็น หลุมจะง่ายต่อการจัดการแปลง และจะมีการแตกกอดีกว่าการปลูกเป็นแถวยาวและเป็นการ ประหยัดท่อนพันธุ์ ใส่ปุ๋ยรองพื้นพร้อมปลูก เกรด 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ใน ดินทราย หรือ 25 กิโลกรัมต่อไร่ในดินร่วนหรือดินเหนียว ควรมีการให้น�้ำเพื่อให้อ้อยงอก และให้น�้ำสม�่ำเสมอ ใส่ปุ๋ยแต่งหน้าเมื่ออ้อยอายุ 2-3 เดือน อัตราเดียวกันกับปุ๋ยรองพื้น ในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูง และมีระบบน�้ำไม่ควรใส่ปุ๋ยอัตราสูง จะท�ำให้ล�ำต้นแตก เนือ่ งจากอ้อยคัน้ น�ำ้ สามารถขายได้ตลอดทัง้ ปี ควรมีการจัดการบริหารแปลงให้สามารถตัด ขายได้ทงั้ ปี โดยการตัดควรตัดเป็นแถบ ห้ามเลือกล�ำตัด จะท�ำให้การดูแลแปลงยุง่ ยาก
จับตาดูอ้อยคั้นน�้ำสายพันธุ์ใหม่ปี 64 คุณรวีวรรณ กล่าวเพิ่มเติมว่า “กรมวิชาการเกษตรมีการพัฒนาพันธุ์อ้อยอย่างต่อ เนื่อง ทั้งอ้อยโรงงาน อ้อยคั้นน�้ำ และอ้อยพลังงาน ส�ำหรับอ้อยคั้นน�้ำกรมวิชาการเกษตร มีหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบและพัฒนาพันธุ์อ้อยคั้นน�้ำได้แก่ ศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี ศูนย์วิจัยพืชไร่ขอนแก่น และศูนย์วิจัยพืชไร่สงขลา ซึ่งแต่ละหน่วยงานจะพัฒนาพันธุ์ที่ เหมาะสมในแต่ละแหล่งปลูก ท�ำให้คาดว่าในปี 2564 จะรับรองพันธุ์อ้อยคั้นน�้ำอย่างน้อย 1 พันธุ์ โดยศูนย์วิจัยพืชไร่สุพรรณบุรี อยู่ระหว่างการรวบรวมเอกสารจัดท�ำข้อเสนอเพื่อ พิจารณารับรองพันธุ์” อ้อยคั้นน�้ำพันธุ์ใหม่ศรีส�ำโรง 1 จึงเหมาะเป็นตัวเลือกใหม่ที่ดีแก่เกษตรกรในการใช้ ประโยชน์อย่างแพร่หลาย นอกเหนือจากอ้อยคั้นน�้ำพันธุ์สุพรรณบุรี 50 ที่มีมาก่อนหน้านี้ เพราะผูเ้ พาะปลูกสามารถเพิม่ มูลค่าได้หลากหลายทัง้ จากการคัน้ เป็นน�ำ้ อ้อย การแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ หรือแม้กระทัง่ ส่งเป็นอ้อยเข้าโรงงาน หรือผลิตเป็นเอทานอล ซึง่ จะเป็นการ เพิ่มมูลค่าเพิ่มให้กับอ้อยด้วย ถึงแม้ว่าอ้อยคั้นน�้ำศรีส�ำโรง 1 จะพึ่งได้รับการรับรองพันธุ์ มาไม่นาน แต่ในอนาคต ‘ศรีส�ำโรง’ ก็จะเป็นอ้อยคั้นน�้ำที่มีบทบาทส�ำคัญในการขับเคลื่อน อุตสาหกรรมอ้อยคั้นน�้ำในประเทศไทยได้อย่างแน่นอน www.sugar-asia.com
The Dawn of Si Samrong 1 According to Raweewan, research on Si Samrong 1 started on 2000 where pollination at Suphan buri Field Crops Research Center. Seedlings selection and evaluation on preliminary trail and standard trail at Sukhothai Agricultural and Development Center, the former name of which was Si Samrong Field Crops Experimental Station. A new breed of sugar cane which passed the selection was entitled Si Samrong 1 following a district in Sukhothai, where the center is located. Si Samrong 1 was then farm trail in Lower-Northern, Central and East region and evaluate farmers accepted from 2002 to 2019. During the period, the researcher found that the crop could be extracted to
23
Planters Corner make some juice. She noticed that the yellow green color of the stalk of Si Samrong 1 resembled the Suphan Buri 50’s, but the former provided more juice and higher percentage of extraction than the latter. Moreover, Si Samrong 1 juice is sweet, although lower than Suphanburi 50’s. The Suphanburi 50’s juice does not change its color and does not precipitate even when we leave it in room temperature for up to 4 hours. Land should be a good management, which can produced whole a year. Sugarcane juice of this type is derived from open breeding of RT96-018 or KWT07 canes. It has erect stool growth habit, erect leaf shape, curved tip, very sloping narrow triangular-ligulae dewlap, yellow green dewlap, tumescent internode shape, internode is yellow green where exposed to sun and green yellow where not exposed to sun, internode expression of absent and depth of growth crack is shallow, oval shape of bud, bud tip clearly below growth ring, absent bud groove, root primordia is not organized, short lanceolate overlapping auricle and short unciform underlapping auricle.
Thai Cane Juice Industry Expands, Enabling Farmers to Earn More At present, a lot of people drink cane juice and purchasing it is ubiquitous in the country, especially at major tourist attractions. Juice cane is a crop that yields a lot of income, enabling local farmers to earn daily. Besides, cane juice is high in nutrients as 28.35 grams of juice consists of 26.56 kilocalories of energy, 27.51 grams of carbo hydrate, 26.98 grams of sugar, 0.27 gram of protein, 11.23 milligrams of calcium, 0.37 milligram of iron, 41.96 milligrams of potassium and 17.01 milligrams of sodium. “Local farmers like to make some juice from Si Samrong 1 and sell it because income from selling juice is higher than sending cane to sugar mills or middlemen. A kilogram of cane juice is 3-5 Baht. 18.47 tons of cane per a Rai land worth 55,410-92,350 Baht, an equivalent to 5,647 liters per a Rai land of cane or 40-50 Baht of cane juice per liter. The price varies as a kilogram of cane costs 5-7 Baht, a cane eye 2-20 Baht or a seedling 15-140 Baht,” explained Raweewan.
Planting and Caring for Si Samrong 1 Raweewan said that ways to care for Si Samrong 1 was not different from Suphanburi 50, but the cost of seedlings might be higher because the seedlings of Si Samrong 1 are still rare and expensive. It is easy to plant Si Samrong 1 in a shallow hole becausetillering is better than growing in a long row and will save seedlings. Fertilizer used should be 15-15-15 grades of 50 kilograms per rai for sandy soil or 25 kilograms per rai for loam or clay soil. The crop needs regular watering. When it is around 2-3 months old with regular watering systems, the rate of fertilizer should not be high because the stalk will break. Since cane for juice extraction can be sold throughout the year.
Speculating New Juice Extraction Cane for 2021
From Cane for Extraction to Cane Juice and Processed Cane Product Thanks to its high amount of juice, high percentage of extraction and sweetness, Si Samrong 1 can also be chewed easily and its fiber is not pervous. Moreoevr, in the lower part of northern Thailand, namely in Sukhothai, Tak, Phetchabun, Nakhon Sawan and U-Thai Thani, the cane can be processed into a lot of products like tube sugar cane, cane with coconut milk and sticky chewey cane, for 27-30 Baht per kilo. The sticky chewey cane can cost up to 100 Baht per kilo. 18.47 tons of cane with sweetness of 13.69 CCS can produce around 2.52 tons of sugar, worth 68,040-75,600 Baht. However, the process costs a lot.
24
Farmers interested in selling and buying Si Samrong 1 cane are presently doing business from various on-line channels because they need additional income apart from sending the crop to sugar mills. Raweewan added that Department of Agriculture had been developing cane continually, particularly cane for factory, juice extraction and alternative energy. In terms of cane for juice extraction, the Department has an office responsible for developing it, namely Suphan Buri Field Crops Research Center, Khon Kaen Field Crops Research Center and Songkhla Field Crops Research Center. Each of them will improve the crop to suit a specific area. It is therefore expected that in 2021 at least 1 cane for juice extraction from Suphan Buri will be released. Now, a proposal is being made to certify it. Si Samrong 1 is an ideal for farmers who need various usefulness of the crop apart from the existing Suphanburi 50 as it can be extracted for juice and made for other products. It can be sent to sugar mills or produce ethanol, thus adding more values to it. Although Si Samrong 1 has lately been approved, it will play a key role to mobilize industries of cane for juice extraction in Thailand for sure.
www.sugar-asia.com
Special Insight
เครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสียมีความเหมาะสม มากกว่าเครื่องอุ่นอากาศหรือไม่ ส�ำหรับการกู้ความร้อนในหม้อไอน�้ำ Is Flue Gas Dryer A Better Choice for Heat Recovery in Bagasse-Fired Boiler Than Air Heater?
ห
Source: opetroleo.com
ม้อไอน�้ำที่ใช้กากอ้อยเป็นเชื้อเพลิงเป็นส่วนประกอบส�ำคัญ ของระบบโคเจนเนอเรชัน่ ในโรงงานน�ำ้ ตาล ส่วนประกอบอืน่ ๆ ของระบบนี้ ได้แก่ กังหันไอน�ำ้ เครือ่ งควบแน่น กระบวนการ ระเหย และส่วนประกอบย่อยต่างๆ ส่วนประกอบที่ส�ำคัญของหม้อไอ น�้ำคือ เตาเผา เครื่องระเหย กลุ่มท่อผลิตไอน�้ำ เครื่องท�ำไอน�้ำยวดยิ่ง และเครื่องประหยัดเชื้อเพลิง การเผาไหม้เชื้อเพลิงในเตาเผาท�ำให้เกิด พลังงานความร้อนที่ใช้ผลิตไอน�้ำในเครื่องระเหย การถ่ายเทความร้อน โดยก๊าซเสียส่งผลให้มีการผลิตไอน�้ำเพิ่มเติมในกลุ่มท่อผลิตไอน�้ำ การ เพิม่ อุณหภูมไิ อน�ำ้ ในเครือ่ งท�ำไอน�ำ้ ยวดยิง่ และการเพิม่ อุณหภูมนิ ำ�้ ป้อน ในเครือ่ งประหยัดเชือ้ เพลิง ประสิทธิภาพหม้อไอน�ำ้ หมายถึง อัตราส่วน ระหว่างพลังงานความร้อนทีเ่ พิม่ ขึน้ เมือ่ น�ำ้ ป้อนกลายเป็นไอน�ำ้ ยวดยิง่ หาร ด้วยพลังงานความร้อนทีไ่ ด้จากเชือ้ เพลิงทีเ่ ผาไหม้ใน เตาเผา ประสิทธิภาพ หม้อไอน�้ำเท่ากับ 100% ลบด้วยเปอร์เซ็นต์การสูญเสียพลังงานในหม้อ ไอน�ำ้ ด้วยสาเหตุตา่ งๆ เทียบกับพลังงานความร้อนทีไ่ ด้จากเชือ้ เพลิง สาเหตุหลักของการสูญเสียพลังงานในหม้อไอน�้ำคือ การที่ก๊าซเสียที่ไหลออกจาก หม้อไอน�้ำมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิของอากาศแวดล้อมมาก ถ้าอุณหภูมิก๊าซเสียลดลง ประสิทธิภาพหม้อไอน�ำ้ จะเพิม่ ขึน้ และประสิทธิภาพเชิงพลังงานของระบบโคเจนเนอเรชัน่ ก็ จะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย มีทางเลือกสองทางส�ำหรับการลดอุณหภูมิก๊าซเสีย ทางเลือกแรกคือ ติดตั้งเครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสียถัดจากเครื่องประหยัดเชื้อเพลิง ทางเลือกที่สองคือ ติดตั้ง เครื่องอุ่นอากาศถัดจากเครื่องประหยัดเชื้อเพลิง ทั้งสองทางเลือกนี้ควรได้รับการประเมิน อย่างรอบด้านเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
1. เครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสีย กากอ้อยหรือชานอ้อยเป็นสิ่งที่เหลือของกระบวนการหีบอ้อย การหีบอ้อยต้องใช้ น�้ำปริมาณมาก ดังนั้นกากอ้อยจึงมีความชื้นสูง โรงงานน�้ำตาลโดยทั่วไปป้อนกากอ้อยที่มี ความชืน้ สูงเข้าเตาเผาโดยปราศจากการลดความชืน้ ความชืน้ ในกากอ้อยจะกลายเป็นไอน�ำ้ หลังจากการเผาไหม้ ไอน�้ำมีค่าความจุความร้อนสูงกว่าก๊าซอื่น ๆ ในเตาเผา ดังนั้นไอน�้ำจึง มีพลังงานความร้อนสูงกว่าก๊าซอื่น ๆ ที่มีอุณหภูมิเท่ากันและท�ำให้เกิดการสูญเสียพลังงาน www.sugar-asia.com
ในหม้อไอน�้ำมากกว่าก๊าซอื่นๆ ถ้ากากอ้อยมีความชื้นลดลง ปริมาณไอน�้ำในก๊าซเสียก็จะ ลดลง ประสิทธิภาพหม้อไอน�้ำก็จะเพิ่มขึ้น การลดความชื้นในกากอ้อยต้องใช้พลังงานความร้อนซึ่งอาจได้มาจากก๊าซเสียถ้าก๊าซ เสียมีอุณหภูมิสูงพอ การผสมกันระหว่างก๊าซเสียกับกากอ้อยในเครื่องอบแห้งส่งผลให้มี การถ่ายเทความร้อนจากก๊าซเสียไปกากอ้อยซึ่งท�ำให้กากอ้อยมีอุณหภูมิสูงขึ้น ความชื้นใน กากอ้อยลดลง และก๊าซเสียมีอุณหภูมิลดลง กากอ้อยจะแยกออกจากก๊าซเสียตรงทางออก ของเครื่องอบแห้งก่อนที่กากอ้อยจะป้อนเข้าเตาเผาของหม้อไอน�้ำ เครื่องอบแห้งสองแบบที่ ใช้อบแห้งกากอ้อยในโรงงานน�้ำตาล ได้แก่ เครื่องอบแห้งแบบโรตารีและเครื่องอบแห้งแบบ นิวแมติก เครื่องอบแห้งแบบโรตารีประกอบด้วยถังอบรูปทรงกระบอกวางแนวนอนหรืออาจ วางเอียงเล็กน้อย ถังอบมีกลไกให้หมุนรอบตัวเองอย่างช้า ๆ ภายในถังติดตั้งครีบที่ช่วยให้ ก๊าซเสียผสมกับกากอ้อยอย่างทั่วถึง ก๊าซเสียกับกากอ้อยจะไหลเข้าทางเดียวกันและออก ทางเดียวกัน ทางเข้าและทางออกติดตัง้ กลไกทีป่ อ้ งกันไม่ให้อากาศไหลเข้าถังอบเพือ่ ป้องกัน การเผาไหม้ของกากอ้อย เครื่องอบแห้งแบบนิวแมติกประกอบด้วยท่อยาวหลายท่อวาง แนวตัง้ ก๊าซเสียและกากอ้อยไหลเข้าทางด้านล่างและออกทางด้านบน ก๊าซเสียต้องมีความเร็ว เพียงพอทีจ่ ะล�ำเลียงกากอ้อยไปด้วยกัน การถ่ายความร้อนเกิดขึน้ ระหว่างการไหล เครือ่ งอบ แห้งชนิดนี้มีอัตราการอบแห้งสูง ใช้เวลาอบแห้งน้อย และอบแห้งกากอ้อยอย่างทั่วถึง
25
Special Insight 2. เครื่องอุ่นอากาศ การเผาไหม้กากอ้อยโดยสมบูรณ์ต้องใช้อากาศในปริมาณที่มากพอ การเผาไหม้โดย สมบูรณ์ในทางทฤษฎีใช้ปริมาณอากาศต�ำ่ สุดซึง่ ขึน้ กับส่วนประกอบของกากอ้อย แต่การเผา ไหม้ทเี่ กิดขึน้ จริงต้องใช้อากาศส่วนเกินซึง่ หมายถึงปริมาณอากาศเพิม่ เติมเมือ่ เทียบกับปริมาณ อากาศต�ำ่ สุด ถ้ามีอากาศส่วนเกินน้อยเกินไปการเผาไหม้อาจจะยังไม่สมบูรณ์เพราะจะมีกา๊ ซ คาร์บอนมอนอกไซด์ในก๊าซเสียและเศษกากอ้อยทีไ่ ม่เผาไหม้ตกค้างในขีเ้ ถ้า การเผาไหม้โดย สมบูรณ์มคี วามเป็นไปได้มากขึน้ ถ้ามีอากาศส่วนเกินมากขึน้ อย่างไรก็ตาม อากาศส่วนเกินที่ มากเกินไปท�ำให้เกิดการสูญเสียพลังงานของหม้อไอน�ำ้ โดยไม่จำ� เป็น ปริมาณอากาศส่วนเกิน ทีเ่ หมาะสมขึน้ กับอุณหภูมอิ ากาศและปัจจัยอืน่ ๆ ถ้าอากาศมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ ปริมาณอากาศ ส่วนเกินส�ำหรับการเผาไหม้โดยสมบูรณ์จะลดลง ดังนั้นจึงควรเพิ่มอุณหภูมิอากาศก่อนการ เผาไหม้ อุปกรณ์ที่ใช้เพิ่มอุณหภูมิอากาศเรียกว่า เครื่องอุ่นอากาศ เครือ่ งอุ่นอากาศมีสองแบบคือ รีเจนเนอเรเตอร์และรีคปู เพอเรเตอร์ เครื่องอุน่ อากาศ แบบรีเจนเนอเรเตอร์มลี กั ษณะเป็นวงล้อทีห่ มุนช้า ๆ ภายในวงล้อบรรจุวสั ดุพรุนทีม่ คี า่ ความจุ ความร้อนสูงซึง่ เรียกว่าเมทริกซ์ ก๊าซเสียและอากาศไหลผ่านสองด้านของเมทริกซ์ในทิศทาง ตรงข้ามกัน ด้านเย็นของวงล้อดูดกลืนความร้อนของก๊าซเสียซึง่ ท�ำให้ดา้ นเย็นกลายเป็นด้าน ร้อนและก๊าซเสียมีอณ ุ หภูมลิ ดลง ด้านร้อนของวงล้อถ่ายเทความร้อนให้อากาศซึง่ ท�ำให้ดา้ น ร้อนกลายเป็นด้านเย็นและอากาศมีอุณหภูมิสูงขึ้น เครื่องอุ่นอากาศแบบรีคูปเพอเรเตอร์ ประกอบด้วยท่อจ�ำนวนมากบรรจุอยูใ่ นโครงหุม้ โลหะขนาดใหญ่ ก๊าซเสียไหลภายในท่อและ อากาศไหลภายนอก ความร้อนที่ถ่ายเทจากก๊าซเสียผ่านผนังท่อไปยังอากาศท�ำให้อากาศมี อุณหภูมสิ งู ขึน้ และก๊าซเสียมีอณ ุ หภูมลิ ดลง เครือ่ งอุน่ อากาศแบบรีเจนเนอเรเตอร์มขี นาดเล็ก กว่าและราคาถูกกว่าเครือ่ งอุน่ อากาศแบบรีคปู เพอเรเตอร์ทมี่ คี วามสามารถถ่ายเทความร้อน
Photo credit by isgec.com
เท่ากัน อย่างไรก็ตามเครือ่ งอุน่ อากาศแบบรีเจนเนอเรเตอร์มขี อ้ เสียเปรียบคือ อาจมีการอุด ตันในเมทริกซ์ถ้ามีฝุ่นละอองจ�ำนวนมากในก๊าซเสีย หม้อไอน�้ำที่เผาไหม้กากอ้อยท�ำให้เกิด ก๊าซเสียที่มีฝุ่นละอองจ�ำนวนมาก ดังนั้น เครื่องอุ่นอากาศที่นิยมใช้ในโรงงานน�้ำตาลคือ เครื่องอุ่นอากาศแบบรีคูปเพอเรเตอร์
3. การเปรียบเทียบ การใช้เครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสียเทียบเท่าการเพิ่มพื้นที่ผิวของอุปกรณ์แลกเปลี่ยน ความร้อนในหม้อไอน�้ำในมุมมองของการเพิ่มประสิทธิภาพหม้อไอน�้ำ เนื่องจากเครื่องอบ แห้งด้วยก๊าซเสียและเครื่องอุ่นอากาศเพิ่มประสิทธิภาพหม้อไอน�้ำเท่ากันถ้าก๊าซเสียที่ไหล ออกจากอุปกรณ์ทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน ดังนั้นการเปรียบเทียบเครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสีย กับเครื่องอุ่นอากาศจึงต้องพิจารณาราคาและปัจจัยอื่นๆ 3.1 การใช้งานและการซ่อมบ�ำรุง วิศวกรในโรงงานน�้ำตาลคุ้นเคยกับเครื่องอุ่นอากาศเพราะการท�ำงานของอุปกรณ์นี้ คล้ายกับอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนอื่นๆ ในโรงงาน เครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสียมีกลไกที่ ซับซ้อนกว่า ความปลอดภัยในการใช้งานเครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสียควรได้รับการเอาใจใส่ ค่อนข้างมากเนื่องจากมีความเสี่ยงที่กากอ้อยจะติดไฟภายในเครื่องอบแห้ง การบ�ำรุงรักษา เครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสียก็ยุ่งยากกว่าเครื่องอุ่นอากาศเนื่องจากการสึกกร่อนของผิวโลหะ ในเครื่องอบแห้งซึ่งเกิดจากการปะทะกันระหว่างกากอ้อยที่มีความเร็วสูงกับผิวโลหะ 3.2 การใช้พลังงาน เครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสียและเครื่องอุ่นอากาศต้องใช้พัดลมเพื่อท�ำให้ก๊าซเสียและ อากาศไหลผ่านอุปกรณ์ เครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสียต้องใช้พัดลมที่มีขนาดใหญ่กว่าเพราะมี ความดันสูญเสียมากกว่า นอกจากนี้อาจต้องมีการติดตั้งไซโคลนตรงทางออกของเครื่องอบ แห้งเพื่อแยกกากอ้อยออกจากก๊าซเสีย ไซโคลนก็ต้องใช้พลังงานมากเช่นกัน 3.3 อุณหภูมิก๊าซเสีย อุณหภูมิก๊าซเสียตรงทางออกของหม้อไอน�้ำไม่ควรต�่ำกว่าอุณหภูมิจุดน�้ำค้าง ไม่เช่น นั้นจะเกิดกรดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนสูง แต่ถึงแม้ว่าอุณหภูมิก๊าซเสียตรงทางออกของหม้อไอน�้ำ
26
จะสูงกว่าอุณหภูมิจุดน�้ำค้าง การกัดกร่อนก็อาจจะเกิดขึ้นได้ในกรณีของเครื่องอุ่นอากาศ สาเหตุคอื อุณหภูมโิ ดยประมาณของท่อเครือ่ งอุน่ อากาศเท่ากับค่าเฉลีย่ ของอุณหภูมอิ ากาศ ภายนอกท่อและอุณหภูมิก๊าซเสียภายในท่อ ถ้าอากาศมีอุณหภูมิต�่ำเกินไปก็มีความเป็นไป ได้ทอี่ ณ ุ หภูมทิ อ่ จะต�ำ่ กว่าอุณหภูมจิ ดุ น�ำ้ ค้างและเกิดการควบแน่นของไอน�ำ้ ในก๊าซเสียทีผ่ วิ ท่อ ดังนั้น อุณหภูมิก๊าซเสียตรงทางออกของเครื่องอุ่นอากาศจะต้องมากเพียงพอที่จะไม่ให้เกิด เหตุการณ์นี้ เครือ่ งอบแห้งด้วยก๊าซเสียจึงอาจมีอณ ุ หภูมกิ า๊ ซเสียต�ำ่ กว่าเครือ่ งอุน่ อากาศ และ เครือ่ งอบแห้งจะมีศกั ยภาพในการเพิม่ ประสิทธิภาพหม้อไอน�ำ้ มากกว่าเครือ่ งอุน่ อากาศ 3.4 ค่าใช้จ่าย ราคาของเครื่องอุ่นอากาศขึ้นกับพื้นที่ผิวของเครื่อง วัสดุที่ใช้สร้างเครื่องอุ่นอากาศมี ราคาไม่แพงเนื่องจากเครื่องอุ่นอากาศท�ำงานที่ความดันต�่ำและมีความเสี่ยงต�่ำที่จะเกิดการ กัดกร่อน อย่างไรก็ตาม เครื่องอุ่นอากาศจะต้องมีพื้นที่ผิวมากเพราะอากาศและก๊าซเสียมี ค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนต�่ำ ดังนั้นเครื่องอุ่นอากาศจึงอาจมีขนาดใหญ่ ราคาของ เครื่องอบแห้งด้วยก๊าซเสียเพิ่มขึ้นตามอัตราการอบแห้งและลดลงเมื่ออุณหภูมิก๊าซเสียเพิ่ม ขึ้น มีความเป็นไปได้ที่จะท�ำการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์เพื่อเปรียบค่าใช้จ่ายของการติด ตัง้ เครือ่ งอุน่ อากาศและเครือ่ งอบแห้งด้วยก๊าซเสียทีเ่ พิม่ ประสิทธิภาพหม้อไอน�ำ้ เท่ากัน การ วิเคราะห์ดงั กล่าวจะบอกได้วา่ ค่าใช้จา่ ยของเครือ่ งอบแห้งด้วยก๊าซเสียควรเป็นเท่าไรเมือ่ เทียบ กับเครื่องอุ่นอากาศเพื่อให้การติดตั้งเครื่องอบแห้งมีความคุ้มค่า
B
agasse-fired boiler is an essential component of cogeneration system in the cane sugar factory, which also consists steam turbine, condenser, evaporation process, and other minor components. Main components of bagasse boiler are furnace, evaporator, boiler bank, superheater, and economizer. Combustion of fuel in furnace results in thermal energy that is used for water evaporation in evaporator. Heat transfer from flue gas results in additional water evaporation in boiler bank, increases steam temperature in superheater, and increases feed water temperature in economizer. Boiler efficiency is defined as the ratio of the difference between enthalpies of superheated steam and feed water to the heating value of fuel. Boiler efficiency equals 100% minus various losses in percentages of fuel heating value.
The major efficiency loss is due to the fact that the temperature of flue gas exhausted from boiler is much higher than the ambient temperature. If this temperature is reduced, boiler efficiency will increase, and so will the energy efficiency of the cogeneration system. There are two choices of doing so. The first choice is adding flue gas dryer after economizer. The second choice is adding air heater after economizer. Both choices should be critically examined in order to reach the best results.
www.sugar-asia.com
Special Insight 1. Flue Gas Dryer Bagasse is the remainder of sugar cane after sugar juice is extracted. Because juice extraction process requires a lot of water addition, bagasse contains a high moisture content. Most sugar factories feed moist bagasse to furnace directly. Bagasse moisture becomes water vapor during combustion process in boiler. Since water vapor has a higher specific heat capacity than other gases in furnace, it contributes to more flue gas loss than other gases. If bagasse moisture content is reduced before combustion, flue gas will contain less water vapor, and boiler efficiency will increase. The removal of moisture in bagasse requires an energy source, which may be obtained from flue gas if flue gas temperature is sufficiently high. Contact between flue gas and bagasse in flue gas dryer results in heat transfer from flue gas to bagasse, which increases bagasse temperature, decreases bagasse moisture content, and decrease flue gas temperature. Dried bagasse and flue gas are then separated at the outlet of flue gas dryer before bagasse is fed to boiler. Two types of flue gas dryer that have been installed in sugar factories are rotary drum dryer or pneumatic flash dryer. Rotary drum dryer consists of a slowly rotating horizontal cylindrical drum, provided with internal deflectors to promote mixing of flue gas and bagasse. Flue gas and bagasse flow in the same direction. Airlock systems must be provided at inlet and outlet to avoid air ingress, which may cause a fire. Pneumatic flash dryer consists of long vertical tubes. Flue gas and bagasse flow in at the bottom, and flow out at the top. The velocity of flue gas must be sufficient to carry along bagasse. Heat transfer occurs between flue gas and bagasse as they flow along the tubes. This type of dryer is characterized by high heat transfer rates, short residence times, and uniform drying.
rotary drum dryer
3. Comparison Using flue gas dryer is equivalent to adding more heat exchanger surface in boiler from the viewpoint of boiler efficiency. In other words, flue gas dryer and air heater can equally increase boiler efficiency if exhaust flue gas temperatures from both devices are the same. Therefore, comparison of both devices must be based on their characteristics and costs. 3.1 Operation and Maintenance Sugar engineers are more familiar with air heater because its operation is similar to other heat exchangers in sugar factories. The operation of flue gas dryer is mechanically more complicated. Safety concerns are greater with flue gas dryer because there are risks of fires due to contact between flue gas and bagasse. Maintenance of flue gas dryer also requires more effort because the operation of flue gas dryer causes wear on equipment due to impact of fast-moving solid particles on equipment surface. 3.2 Power Requirement Fans are required for the operation of either flue gas dryer or air heater. Flue gas dryer requires more powerful fans because of higher pressure losses. Furthermore, cyclone separators may have to be installed at the outlet of flue gas dryer to separate bagasse from flue gas. Power consumption of cyclone separators may be quite significant.
Bagasse boiler retrofitted by installing (a) flue-gas dryer, (b) air heater
2. Air Heater Complete combustion of bagasse requires a sufficient amount of air. In theory, the minimum amount of air can be determined if the composition of bagasse is known. However, excess air, which is the difference between the actual amount and the minimum amount, is needed in practice. Too little excess air leads to incomplete combustion, which results in carbon monoxide in flue gas and unburned bagasse in bottom ash. Combustion is more likely to be complete if there is more excess air. However, too much excess air leads to an unnecessary decrease in boiler efficiency. The appropriate amount of excess air depends on air temperature among other factors. Required excess air is lower if air temperature is higher. Therefore, air temperature should be increased before combustion. The device used for this purpose is known as air heater. Two types of air heater are regenerative air heater and recuperative air heater. Regenerative air heater consists of a slowly rotating wheel filled with porous material known as matrix. Flue gas and air flow through the opposite halves of the matrix in the opposite directions. The cooler half of the matrix absorbs heat from flue gas, becomes hotter, and decreases flue gas temperature. The hotter half of the matrix transfers heat to air, becomes cooler, and increases air temperature. Recuperative air heater consists of many tubes contained in a large rectangular metal box. Flue gas flows inside these tubes, whereas air flows outside across these tubes. Heat transfer from flue gas to air through metal tube walls results in an increase in air temperature and a decrease in flue gas temperature. Regenerative air heater is smaller and cheaper than recuperative air heater of the same heat transfer capacity. However, the major disadvantage of regenerative air heater is the possibility of flow blockage if there is a lot of particulate matter in flue gas. Since bagasse boiler produces flue gas that contains a lot of particulate matter, the type of air heater commonly found in sugar factories is recuperative air heater.
www.sugar-asia.com
3.3 Exhaust Flue Gas Temperature The temperature of flue gas at boiler exit should not be lower than the dew-point temperature to avoid the formation of acids that cause corrosion. Even though flue gas temperature is higher than the dew-point temperature, corrosion may still occur in air heater because the temperature of air heater tube walls is approximately equal to the average of air temperature outside tubes and flue gas temperature inside tubes. If air temperature is too low, it is possible that the temperature of air heater tube walls may be lower than the dew-point temperature, and the condensation of water vapor in flue gas may occur on tube walls. Therefore, the flue gas temperature at air heater outlet must be sufficiently high to prevent this occurrence. This means that the exhaust flue gas temperature of flue gas dryer can be lower than that of air heater, and flue gas dryer has more potential to increase boiler efficiency than air heater. 3.4 Cost Air heater cost depends primarily on its surface area. Materials for its construction are relatively inexpensive due to the low operation pressure and the low risk of corrosion. However, the surface area of air heater is quite large as a result of low heat transfer coefficients of air and flue gas. Therefore, air heater size may be large. Flue gas dryer cost increases with moisture removal rate, and decreases with increasing inlet flue gas temperature. It is possible to perform a detailed economic analysis in comparing the costs of air heater and flue gas dryer of which installations result in the identical increase in boiler efficiency. Such an analysis will provide the cost of flue gas dyer relative to that of air heater that justifies the installation of flue gas dryer.
บทความโดย
ศ.ดร.สมชาติ ฉันทศิริวรรณ
Authored by Prof. Somchart Chantasiriwan, Ph.D.
27
Special Insight
เคสไอเอสร่วมเชิดชูเกษตรกร ไร่อ้อยหญิงชาวไทย Thai Sugar Industry Benefits from Harvesting Mechanisation as More Women Take on Farm Leadership Roles
เ
คสไอเอชร่วมพูดคุยกับเกษตรกรไร่ออ้ ยหญิงรุน่ บุกเบิกชาวไทยเกีย่ วกับการเฉลิมฉลองวันสตรีชนบท สากล คุณอาภรณ์ เจียกวัฒนา เป็นรุน่ ทีส่ องในฐานะผูจ้ ดั การไร่ออ้ ยในจังหวัดสุพรรณบุรี ประเทศไทย
ซึง่ เป็นหนึง่ ในกลุม่ เกษตรกรไร่ออ้ ยหญิงทีเ่ ติบโตในสายอาชีพ นี้ เริ่มจากเธอเติบโตท่ามกลางธุรกิจไร่อ้อยเล็กๆ ของครอบครัว ทุกวันนี้เธอขยายขนาดธุรกิจเป็น 400 ไร่ ซึ่งเป็นหนึ่งในชาวไร่ ส�ำคัญที่มีปริมาณผลผลิตจ�ำนวนมากป้อนโรงงานน�้ำตาลใน ท้องถิน่ เธอร่วมงานกับชาวไร่ออ้ ยในท้องถิน่ 20 ราย ซึง่ ได้ผลผลิต อ้อยรวมมากกว่า 6,000 ตัน ส่งโรงงานน�้ำตาล ในแต่ละฤดูกาล เก็บเกี่ยว มากกว่า 30 ปีที่ผ่านมา กลุ่มธุรกิจของเธอพึ่งพิงกลุ่ม ชาวไร่อ้อยกลุ่มเดิมจ�ำนวน 20 รายดังกล่าวเพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิต อย่างไรก็ตาม เมื่อเวลาผ่านพ้นไป การคัดเลือกและว่าจ้างคนงาน ก็ลำ� บากขึน้ ในขณะทีค่ นงานกลุม่ เดิมทยอยเกษียณจากการรับจ้าง ตัดอ้อย ดังนัน้ คุณอาภรณ์จงึ ใคร่ครวญหาวิธเี ก็บเกีย่ วผลผลิตของ เธอ และค�ำตอบของเธอคือรถตัดอ้อยเคสไอเอช คุณอาภรณ์ไม่ได้เป็นเพียงชาวไร่อ้อยเท่านั้น เธอยังเป็นผู้บุกเบิกในฐานะลูกค้าหญิง รายแรกในประเทศไทยของเคสไอเอช รุ่น Austoft A4000 และเครื่องยนต์ยี่ห้อ Fiat ทว่า การตัดสินใจเพือ่ การเก็บเกีย่ วเชิงพาณิชย์ไม่ได้เกิดขึน้ เพียงชัว่ ข้ามคืน การตัดสินใจดังกล่าว เกิดจากการปรึกษาร่วมกันกับโรงงานน�้ำตาลและผู้แทนจ�ำหน่ายของเคสไอเอชในท้องถิ่น ที่เธออาศัยอยู่ พวกเขาโน้มน้าวเธอว่ารถตัดอ้อยเคสไอเอช รุ่น A4000 เป็นทางเลือกที่ เหมาะสม เธอจึงได้ข้อสรุปว่ารถตัดอ้อยระบบกลไกอย่างเช่นรุ่น A4000 สามารถเก็บเกี่ยว ผลผลิตได้มากกว่าการเก็บเกีย่ วด้วยแรงงานคน นอกจากนี้ เธอยังตระหนักว่าประโยชน์ของ รถตัดอ้อยรุ่นนี้ที่โดดเด่นกว่าคู่แข่งคือความประหยัดต้นทุนการด�ำเนินงานและให้ผลิตภาพ การเก็บเกี่ยวที่สูงกว่า การทดสอบผลิตภาพการเก็บเกี่ยว ณ เมืองยูนาน ประเทศจีน ในปี 2562 รถตัดอ้อยเคสไอเอช รุ่น A4000 เก็บเกี่ยวอ้อยได้ 412 ตันในเวลา 10 ชั่วโมง และ มีอัตราการใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงเฉลี่ย 0.64 ลิตรต่อ 1 ตันของปริมาณอ้อยที่เก็บเกี่ยว ยิ่งไป
28
กว่านัน้ รายได้จากการขายผลผลิต 6,000 ตันให้กบั โรงงานน�ำ้ ตาลท�ำให้มนั่ ใจว่ารถตัดอ้อย เคสไอเอช รุน่ A4000 เป็นรถตัดอ้อยทีร่ าคาจับต้องได้และเหมาะกับการใช้งานในระยะยาว คุณอาภรณ์กล่าวว่า “รถตัดอ้อยรุ่นนี้เป็นเครื่องจักรที่คุ้มค่าที่สุดเท่าที่ฉันเคยซื้อ และ ฉันรูว้ า่ รถคันนีจ้ ะช่วยขยายธุรกิจของฉันโดยปราศจากความขัดแย้งกับธนาคาร รถคันนีเ้ หมาะ สมกับชาวไร่อ้อยขนาดกลางอย่างฉันเอง” เมื่อเราถามว่าอะไรน�ำพาเธอให้รู้จักกับรถตัดอ้อยเคสไอเอช ค�ำตอบสบายๆ ของเธอ คือ “ฉันเคยเห็นการท�ำงานของรถตัดอ้อยเคสไอเอช รุน่ A8010 ครัง้ แรกในประเทศไทย และ ฉันประทับใจกับคุณภาพและสมรรถนะของมัน ฉันจึงรูว้ า่ ผลิตภัณฑ์ของเคสไอเอชจะไม่ทำ� ให้ ฉันผิดหวัง นอกจากนี้ การรับประกันและการบริการหลังการขายทีผ่ แู้ ทนจ�ำหน่ายในท้องถิน่ ของฉันให้คำ� มัน่ สัญญาช่วยเพิม่ ความมัน่ ใจให้เลือกรถตัดอ้อยเคสไอเอชมากกว่าคูแ่ ข่ง ในท�ำนองเดียวกันกับการบริการหลังการขาย คุณอาภรณ์ยังได้รับการสนับสนุนทั้ง หลักสูตรอบรมด้านเทคนิคและหลักสูตรผู้ใช้รถตัดอ้อยโดยบริษัท ซีเอ็นเอช อินดัสเทรียล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึง่ เป็นผูน้ ำ� เข้าและจัดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์เคสไอเอชในประเทศไทย ในฐานะทีเ่ ป็นหนึง่ ในกลุม่ ผูห้ ญิงจ�ำนวนไม่มากในประเทศไทยทีเ่ ป็นเจ้าของรถตัดอ้อย คุณอาภรณ์กล่าวว่า “ในอดีต การเป็นเกษตรกร สภาพร่างกายของคุณต้องแข็งแกร่งเพื่อ เหมาะกับการท�ำไร่ซึ่งอยู่ในไร่เป็นส่วนใหญ่ ในปัจจุบัน การเป็นเกษตรกรยุคใหม่เกี่ยวข้อง กับความรู้ทางธุรกิจและการบริหารจัดการที่ดี และฉันเชื่อว่า สิ่งเหล่านี้จะดึงดูดสตรีชนบท ให้เข้าสู่ภาคเกษตรกรรมมากยิ่งขึ้น” จังหวัดกาญจนบุรีเป็นบ้านเกิดของคุณดวงดาว บุญค�ำ ซึ่งเป็นชาวไร่อ้อยมานานกว่า 30 ปี บนพื้นที่ไร่อ้อยกว่า 700 ไร่ ในแต่ละปี เธอส่งผลิตผลทั้งหมดราว 20,000 ตันให้ กับโรงงานน�้ำตาลในท้องถิ่น 2 แห่ง นับจากวันที่เริ่มท�ำไร่อ้อย คุณดวงดาวลงทุนมหาศาล ในธุรกิจนี้และเพิ่งจะติดตั้งระบบชลประทานบนไร่อ้อย 200 ไร่ ในท�ำนองเดียวกัน ล่าสุด เธอเพิ่งซื้อรถตัดอ้อยเคสไอเอช รุ่น A8010 การจ้างพนักงานประจ�ำ 18 คน สะท้อนให้เห็นว่า คุณดวงดาวคุ้นเคยอย่างมาก กับการบริหารจัดการรายวันส�ำหรับองค์กรเกษตรกรรมขนาดใหญ่ แต่การบริหารนี้ก็ยังมี ความท้าทายใหม่ ๆ เสมอ “หนึ่งในความท้าทายที่ยากที่สุดส�ำหรับการบริหารธุรกิจนี้คือ แรงงาน” คุณดวงดาวกล่าวว่า “ที่นี่ เมื่อเราตัดอ้อยด้วยแรงงานคน ฉันใช้แรงงานที่จ้าง พิเศษอีกมากกว่า 30 คน ซึง่ ต้องบริหารจัดการเพือ่ ให้ให้ผลผลิตรายวันบรรลุตามเป้าหมาย ที่ก�ำหนดไว้ ในปัจจุบัน ด้วยรถตัดอ้อยเคสไอเอช รุ่น A8010 ของฉัน ฉันจ้างคนงานเพียง www.sugar-asia.com
Special Insight 10 คนเพื่อตัดอ้อย รถตัดอ้อยรุ่น A8010 ของฉันบริหารจัดการง่ายกว่าคนงานและรถรุ่น นี้ให้ผลิตผลที่ดีกว่าด้วย” การตัดสินใจเพื่อเปลี่ยนมาใช้การเก็บเกี่ยวด้วยเครื่องจักรกลเกิดขึ้นภายหลังจากการ ปรึกษากับเพื่อนที่ปลูกอ้อยซึ่งศึกษาและค้นคว้าข้อมุลเชิงลึกก่อนตัดสินใจเลือกและซื้อรถ ตัดอ้อยเคสไอเอช Austoft “จากการพูดคุยกับผู้คนหลากหลาย ฉันเชื่อมันในการตัดสินใจ ในธุรกิจของพวกเขา และช่วยเพิ่มความมั่นใจว่าฉันตัดสินใจถูกต้องแล้ว” คุณดวงดาวกล่าว “คล้ายกับเพื่อนของฉัน การตัดสินใจซื้อรถตัดอ้อยรุ่น Austoft A8010 ไม่ท�ำให้ฉันผิดหวัง” หลังจากซือ้ รถตัดอ้อยคันนี้ เคสไอเอชจัดการอบรมแนะน�ำรวมถึงการใช้งาน A8010 ครัง้ แรก ในไร่ให้กับคุณดวงดาวและทีมของเธอ ค�ำมั่นนี้ที่ส่งถึงลูกค้าคือดีเอ็นเอของเคสไอเอชที่เป็น ผู้ส่งมอบโซลูชั่นส�ำหรับการเก็บเกี่ยวแก่เกษตรกรมานานกว่า 175 ปี ในไร่ออ้ ย รถตัดอ้อยเคสไอเอช รุน่ A8010 ไม่ทำ� ให้คณ ุ ดวงดาวผิดหวังเลยแม้แต่นอ้ ย เธอได้รบั การสนับสนุนจากรัฐบาลส�ำหรับการเก็บเกีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ทดแทนการเผาอ้อย “เรา สังเกตเห็นการปรับปรุงอย่างเห็นได้ชัดในด้านผลิตภาพเปรียบเทียบกับการเก็บเกี่ยวอ้อย ด้วยแรงงานคน” คุณดวงดาวอธิบาย “เราไม่เพียงแต่ได้รบั อ้อยสะอาดซึง่ ใบของมันเป็นแบบ ออร์กานิคมากกว่า รถตัดอ้อยยังเก็บอ้อยที่ร่วงหล่นได้เป็นอย่างดี และการสูญเสียในไร่ น้อยกว่าการเก็บเกีย่ วด้วยแรงงานคน” ชาวไร่สงั เกตเห็นผลได้ชดั เจนบนพืน้ ที่ 32 เฮ็คเตอร์ ทีป่ ลูกเป็นกรณีพเิ ศษเพือ่ การเก็บเกีย่ ว “ไร่ออ้ ยแปลงใหม่ลา่ สุดของเราอยูบ่ นพืน้ ทีท่ ใี่ หญ่พอที่ จะกลับรถรุน่ A8010 ทีห่ วั ไร่ได้ และเราพบว่าผลิตภาพก็เพิม่ ขึน้ อย่างมากเช่นกัน และระยะ เวลาที่เราใช้ในการเตรียมแปลงก็คุ้มค่ามากเมื่อถึงช่วงเก็บเกี่ยว” คุณดวงดาวกล่าว เมือ่ เรามองย้อนกลับไป 30 ปีกอ่ นของการจัดการไร่ออ้ ย คุณดวงดาวเชีย่ วชาญในการ ชีป้ ระเด็นให้เห็นว่าเธอเป็นคนกลุม่ แรก ๆ ทีน่ ำ� เทคโนโลยีใหม่ ๆ มาปรับใช้อย่างไร “เมือ่ ฉัน เริ่มธุรกิจ เราเก็บเกี่ยวอ้อยและโหลดอ้อยขึ้นรถบรรทุกด้วยแรงงานคน ต่อมาเราซื้อเครื่อง ส�ำหรับโหลดอ้อยซึ่งช่วยให้การเก็บเกี่ยวรวดเร็วขึ้น และตอนนี้เราซื้อรถตัดอ้อยซึ่งช่วยเพิ่ม ผลผลิตและลดต้นทุน ฉันภูมิใจที่จะพูดว่า ฉันไม่เคยต้องการตามกระแสของคนส่วนใหญ่ และฉันมีความสุขที่โดดเด่นและแสดงให้เห็นว่าฉันท�ำอะไรได้บ้าง” ในขณะทีป่ ระเทศไทยเข้าสูฤ่ ดูกาล 2563/2564 คุณดวงดาวยังคงมีแผนส�ำคัญส�ำหรับ ไร่ของเธอ “ฉันต้องการลงทุนในถังเก็บและรถแทรกเตอร์ เพื่อให้ฉันสามารถลดการใช้รถ บรรทุกในไร่ ลดการอัดตัวของดิน และเพิม่ รอบการท�ำงาน อีกแผนหนึง่ ของฉันคือการค่อยๆ ปรับไร่ให้เหมาะสมกับรถตัดอ้อยเพื่อเพิ่มผลิตภาพให้สูงสุดจากเครื่องมือสุดคุ้มค่า”
cane to the sugar mill, it makes the Austoft 4000 an affordable harvester to own and operate in the long term. According to Arpon, “This is the most valuable piece of machinery that I have ever purchased but I know that it will allow me to expand my business without breaking the bank. It’s a great fit for a medium-sized sugarcane farmer like me.” When asked what attracted her to Case IH, Arpon’s answer was simple; “I first saw the Austoft 8010 operating in Thailand and I was impressed by its quality and performance so I knew that Case IH products wouldn’t let me down. Furthermore, the comprehensive warranty and aftersales support from my local dealer gave me confidence to choose Case IH over any other brand.” Arpon has also benefitted from the technical and operator training courses provided by CNH Industrial (Thailand) Ltd, the distributor of Case IH in Thailand. Arpon isn’t fazed about being one of the few female sugarcane harvester owners in Thailand. “In the past to be a farmer you needed to be strong as most of the work was physical and in the field,” she said. “Now being a smart farmer is about good management and business knowledge and I believe this will help attract more rural women to agriculture.”
A
s mechanisation replaces the need for tough physical labour, more and more women are taking up important on-farm roles in the Thai sugarcane industry | Case IH Austoft sugarcane harvesters improve productivity and provide good return on investment for large and medium sized farming operations.
In celebration of the recent global event ‘Day of Rural Women’, Case IH spoke with some pioneering female sugarcane farmers in Thailand. Austoft 4000 solves labor issues in Suphanburi Khun Arpon Jiakwattana is a second-generation sugarcane farm manager in Suphanburi, Thailand, one of a growing number of women taking on such a role. From the small family farm she grew up on, Arpon now farms 400 rai (64Ha) and is one of the local sugar mill’s largest suppliers. Working in cooperation with 20 local farmers, she sends over 6000 tonnes of sugarcane to mill every season. For over 30 years, the farm has relied on the same group of labourers to harvest the crop, however as more people retire from the profession, in recent years it has become increasingly difficult to recruit the 20 labourers required for harvest. Arpon found the answer with Case IH. The decision to move to mechanised harvesting was not made overnight. After many consultations with the sugar mill and her local Case IH dealer, Arpon believed that a Case IH Austoft 4000 sugarcane harvester with FPT engine was the right choice for her operation. Arpon already understood that mechanical harvesters such as the Austoft 4000 cut significantly more cane per hour than manual harvesting, however she acknowledges that the low running costs and high productivity of the Austoft 4000 are attractive benefits that set this machine apart from other brands. In a productivity test in Yunan, China in 2019, the Austoft 4000 harvested 412 tonnes of sugarcane in 10 hours using an average of 0.64 litres of fuel per tonne of harvested cane. When this productivity is considered alongside the revenue generated by supplying 6000 tonnes of
www.sugar-asia.com
Khun Arpon Jiakwattana, a sugarcane farm manager in Suphanburi, Thailand, takes delivery of her Case IH Austoft 4000 sugarcane harvester.
29
Special Insight Impressive productivity for Austoft 8010 in Kanchanaburi Kanchanaburi province is home to Mrs Duangdao Boonkam, a sugarcane farmer for over thirty years. With 700 Rai (112Ha) of cane plantation, she annually delivers a total of 20,000 tonnes to two local sugar mills. Since starting the plantation, Duangdao has invested heavily in the business and has recently finished installing an irrigation system on a 200 Rai (32Ha) block of land which has been planted in such a way to accommodate her latest purchase, an Austoft 8010 sugarcane harvester.
been providing harvesting solutions to farmers around the world for over 175 years. In the field, the Case IH Ausotft 8010 didn’t disappoint Duangdao who now can take advantage of local government incentives for harvesting green, instead of burned, cane. “We have noticed significant improvements on productivity compared to manual harvesting,” Duangdao said. “Not only can we cut green cane, which leaves more organic matter in the field, but the harvester picks up fallen cane very well and the in-field losses are lower than with manual labourers.” Duangdao says the farm has had its most impressive results in a new
Mrs Duangdao Boonkam of Kanchanaburi province, Thailand, purchased a Case IH Austoft 8010 sugarcane harvester for her plantation. Having a permanent staff of 18 employees means that Duangdao is already very familiar with the day-to-day management of a large farming enterprise, but that doesn’t mean that every day isn’t without its challenges. “One of the hardest things to manage on a sugar estate is labour,” said Duangdao. “When we were manually cutting, I had over 30 extra labourers working here who all needed managing in order to reach daily production targets. Now with my Austoft 8010 sugarcane harvester, I only employ 10 manual labourers. My Austoft 8010 is much easier to manage than the workers and it delivers better results, too!” Duangdao’s decision to move into mechanical harvesting came about after a discussion with a cane-growing friend who conducted in-depth research before making his choice and purchasing a Case IH Austoft harvester. “Having the ability to talk to people I trust about the choices that they have made for their businesses has allowed me to be confident that I am making the right choices,” said Duangdao. “Like my friends, the decision to purchase an Austoft 8010 has not failed me yet.” After purchasing the harvester, Case IH offered Duangdao and her team a comprehensive introduction to the machine, and company staff were on hand as the Austoft 8010 went into the field for the first time. This commitment to all customers is in the DNA of Case IH, who has
32Ha field that was planted specifically for the sugarcane harvester. “Our newest sugarcane field has been planted with enough space to move the Austoft 8010 at the headlands and we have found that productivity is very high and the time we spent to prepare the field has been well worth it during harvest time.” Looking back at 30 years of managing a sugarcane farm, Duangdao is keen to point out how she has always been an early adopter of new technology. “When I started the business, we were hand-harvesting and hand-loading trucks, then I purchased a sugarcane loader which made harvesting faster. Now I’ve moved onto a sugarcane harvester which opens up far more opportunities to increase production and decrease costs,” she said. “I’m proud to say that I’ve never wanted to follow the crowd and I’m happy to stand out and show what I can do.” As Thailand looks toward the 2020/2021 season, Duangdao still has big plans for her farm. “I’d like to invest in side-tipping bins and tractors so that I can remove the trucks from the field, reducing compaction and increasing turn-around times. My plan is also to gradually adapt all of the fields to be suitable for the sugarcane harvester to maximise the productivity of my most valuable tool.”
For more information contact your local authorized Case IH dealer or visit www.caseih.com
30
www.sugar-asia.com
Ethanol News
รัฐบาลอินเดียประกาศแผนความช่วยเหลือ ผลิตเอทานอล Indian Government Modified Notified Scheme on Ethanol Production
รัฐมนตรี ดาร์เมนดรา พราธัน (Dharmendra Pradhan) กล่าวว่าอินเดียต้องการเอทานอลประมาณ 1,000 ล้านลิตรส�ำหรับผลิตน�ำ้ มันภายในปี พ.ศ. 2573
รั
ฐบาลอินเดียได้แจ้งแก้ไขโครงการเพื่อให้ความช่วย เหลือทางการเงินแก่โรงกลั่นที่ผลิตเอทานอลจาก อ้อยและพืชอืน่ ๆ ซึง่ ความช่วยเหลือดังกล่าวมีไว้สำ� หรับ ขยายก�ำลังการผลิต ส่งเสริมให้ผปู้ ระกอบการจัดตัง้ โรง กลัน่ เอทานอลแห่งใหม่ โดยเฉพาะโรงกลัน่ แห่งแรกใน รัฐฉัตตีสครห์ ภายใต้รปู แบบความร่วมมือระหว่างภาค รัฐและเอกชน (Public-private partnership: PPP) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการลดการพึ่งพาการน�ำเข้า น�้ำมัน ซึ่งอินเดียจะต้องใช้เอทานอลประมาณ 1,000 ล้านลิตรในการผลิตน�้ำมันภายในปี พ.ศ. 2573 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงฯ ดาร์เมนดรา พราธัน จาก กลุม่ คณะรัฐมนตรีสหภาพแรงงาน กล่าวว่า ภายใต้โครงการ นีร้ ฐั บาลจะให้การช่วยเหลือด้วยการแบกรับภาระดอกเบีย้ เป็น เวลาห้าปี รวมถึงการพักช�ำระหนีเ้ ป็นเวลาหนึง่ ปีสำ� หรับเงิน กูท้ ผี่ เู้ สนอโครงการได้รบั จากธนาคารทีอ่ ตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 6 ต่อปี หรือร้อยละ 50 ของอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารเรียก เก็บโดยแล้วแต่ว่าจ�ำนวนใดจะต�่ำกว่า การตั้งโรงกลั่นแห่ง ใหม่หรือการขยายโรงกลั่นที่มีอยู่หรือการเปลี่ยนโรงกลั่นที่ ใช้กากน�้ำตาลเป็นโรงกลั่นที่ใช้วัตถุดิบสองชนิด โครงการ ใหม่นี้คาดว่าน่าจะใช้เงินลงทุนประมาณ 400,000 ล้านรูปี (5.47 พันล้านดอลลาร์) รัฐบาลตัง้ เป้าทีจ่ ะท�ำการผสมเอทานอลเกรดเชือ้ เพลิง เข้ากับน�ำ้ มันในอัตราร้อยละ 10 ภายในปี พ.ศ. 2565 และ ผสมในอัตราร้อยละ 20 ภายในปี พ.ศ. 2573 เพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจการเกษตร ลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลน�ำเข้า ลดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศจากการน�ำเข้า น�้ำมันดิบ และลดมลพิษทางอากาศ โดยคาดว่าในปีอปุ ทาน ปัจจุบนั (พ.ศ. 2563-2564) เอทานอลประมาณ 3.25 พัน ล้านลิตรจะถูกส่งไปยัง บริษทั น�ำ้ มันเพื่อให้มรี ะดับการผสม อยู่ที่ร้อยละ 8.5 เพื่อให้บรรลุผลส�ำเร็จภายในกรอบเวลาที่ก�ำหนด รัฐบาลท้องถิน่ ได้กำ� หนดแนวทางในการท�ำสัญญาเพือ่ จัดตัง้ โรงงานเอทานอลแห่งแรกในรัฐภายใต้รูปแบบความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) ในนามของรัฐบาลท้องถิน่ โดยมีการลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ โดยโรงงาน น�ำ้ ตาลสหกรณ์ Bhoramdev เมืองกาวาร์ดฮา (Bhoramdev Cooperative Sugar Factory Kawardha) และบริษัท ฉัตตี สครห์ดิสทิลเลอรี่จ�ำกัด (Chhattisgarh Distillery Limited) www.sugar-asia.com
เป็นระยะเวลา 30 ปี โรงงานเอทานอลจะสร้างโอกาสในการ จ้างงานทัง้ ทางตรงและทางอ้อมในภูมภิ าคและจะเป็นพืน้ ฐาน ส�ำหรับความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจในภูมิภาคและอุปสงค์อ้อย ก็จะเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน ส�ำหรับโรงงานผลิตเอทานอลที่บริษัท ฉัตตีสครห์ ดิสทิลเลอรี่ จ�ำกัด จะจัดตั้งขึ้นนั้นมีก�ำลังการผลิตอยู่ที่ 40 กิโลลิตรต่อวัน มีการตอบรับการเสนอซือ้ ทีร่ าคา 5.27 ล้าน รูปีต่อปี ภายใต้รูปแบบ PPP เฉพาะโรงงานที่มีใบอนุญาต เท่านัน้ ทีส่ ามารถจัดหาทีด่ นิ ได้ โดยนักลงทุนลดการลงทุนใน การตั้งโรงงานเอทานอลลงกว่า 100 ล้านรูปี โรงงานแห่งนี้ มีแผนว่าจะแล้วเสร็จภายในหนึ่งปีครึ่งถึงสองปีเพื่อเริ่มผลิต เอทานอล” เจ้าหน้าที่รัฐรายหนึ่งกล่าว มีการกล่าวทิง้ ท้ายว่า ปัจจุบนั ประเทศมีกำ� ลังการผลิต 684 ล้านลิตรเพื่อให้ได้เอทานอล 1,000 ล้านลิตรส�ำหรับ การผสมในน�้ำมันเชื้อเพลิง ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 กระทรวงการขนส่งทางถนนและทางหลวง (Ministry of Road Transport and Highways) ได้ขอความเห็นจาก ประชาชนเกี่ยวกับการน�ำอี 20 (E20: เอทานอล 20) มา ใช้เป็นเชื้อเพลิงยานยนต์ โครงการนี้ คาดว่าจะช่วยเปลี่ยน น�้ำตาลส่วนเกินไปเป็นเอทานอล และส่งเสริมให้เกษตรกร กระจายการปลูกพืชจากอ้อยและข้าว ไปเป็นข้าวโพด ซึ่ง ต้องการน�้ำน้อยกว่าแทน
T
he Indian government notified a modified scheme to provide financial assistance to distilleries producing first-generation ethanol from sugarcane and other crops. The assistance will be given for capacity expansion, encourage entrepreneurs to setting up of new ethanol distilleries, particularly, the first one in Chhattisgarh state under the Public-private partnership (PPP) model to meet the target cutting dependency on oil imports. In doing so, India will need about 1,000 crore litres of ethanol for doping in petrol by 2030.
Under the scheme, the government will bear interest subvention for five years, including one-year moratorium against the loan availed by project proponents from banks at 6 per cent per annum or 50 per cent of the rate of interest charged by banks whichever is lower, for setting up of new distilleries or expansion of existing distilleries or converting molasses-based distilleries to dual feedstock. The new program is expected to bring about $5.47 billion in investments. The government has a target of 10% blending of fuel-grade ethanol with petrol by 2022 & 20% blending by 2030 to boost the agricultural economy, reduce dependence on imported fossil fuel, save foreign exchange on crude oil imports, and to reduce air pollution. It is expected that in the current supply year (2020-21), about 3.25 billion liters of ethanol would be supplied to oil companies to achieve 8.5 % blending levels. To achieve well within the timeline. The state governments have also signed the contract to set up the first ethanol plant in the state under the Public-private partnership (PPP) model. On behalf of the state government, the MoU was signed by Bhoramdev Cooperative Sugar Factory Kawardha and Chhattisgarh Distillery Limited for a period of 30 years. The ethanol plant will generate direct and indirect employment opportunities in the region and will form the basis for economic prosperity in the region, and the demand for sugarcane will increase as well. “For the Ethanol plant to be set up by Chhattisgarh Distilleries Ltd with a capacity of 40 kilo liter per day (KLPD), a tender of Rs 5.27 crore per annum has been accepted. Under the PPP model, only land will be made available by the factory on licence. More than Rs 100 crore will be disinvested by the investor on setting up the ethanol plant. The plant is planned to be completed within one and a half to two years to start ethanol production,” a government official said.
The new financial assistance program is expected to bring in investments worth $5.47 billion Adding that the nation currently has a capacity of 684 crore litres to achieving 1,000 crore litre of ethanol for doping in petrol by 2030. In December 2020, the Ministry of Road Transport and Highways had sought comments from the public on adopting E20 (Ethanol 20) as an automotive fuel. The program would facilitate the diversion of excess sugar to ethanol and encourage farmers to diversify their crops from sugarcane and rice to maize and corn, which need less water.
31
Ethanol News
จีนหวนคืนสู่ตลาดเอทานอลของสหรัฐฯ ในช่วง ครึ่งแรกของปี 64 China Returned to U.S. Ethanol Market in The First Half of 2021
จ
ากข้อมูลการค้าของส�ำนักงาน ส�ำมะโนแห่ง สหรัฐอเมริกา (U.S. Census Bureau) ระบุวา่ จีน ซึง่ เป็นประเทศทีม่ กี ารใช้เชือ้ เพลิงเอทานอลเป็นอันดับ สามของโลก ได้สั่งซื้อเอทานอลของสหรัฐประมาณ 200 ล้านแกลลอนในช่วงครึ่งแรกของปี พ.ศ. 2564 การน�ำเข้าที่เพิ่มสูงขึ้นบ่งชี้ถึงสัญญาณเชิงบวกหลาย ประการส�ำหรับภาคเอทานอลซึง่ ได้รบั ผลกระทบอย่าง หนักจากการที่อุปทานล้นตลาดเป็นเวลาหลายปี และ อุปสงค์ที่ลดลงอย่างรวดเร็วเมื่อไม่นานมานี้ อันเนื่อง มาจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาท�ำให้การใช้เชือ้ เพลิงลดลง การน�ำเข้าเอทานอล 200 ล้านแกลลอน ได้ ทุบสถิติการน�ำเข้าของจีนก่อนหน้านี้อยู่ที่ 198.1 ล้าน แกลลอน (750 ล้านลิตร) เมื่อปี พ.ศ. 2559 ซึ่งคิด เป็นสัดส่วนที่สูงกว่าปกติถึงร้อยละ 17 ของการขนส่ง ทั้งหมด ซึ่งในปีที่แล้วคิดเป็นร้อยละ 8 นักวิเคราะห์กล่าวว่า “จีนได้สงั่ ซือ้ เอทานอลจากสหรัฐฯ จริง ซึง่ เป็นสิง่ ทีไ่ ม่เคยเกิดขึน้ ในช่วงสองสามปีทผี่ า่ นมา โดย มองว่าอุตสาหกรรมเอทานอล ก�ำลังมีสญ ั ญานการฟืน้ ตัวทีด่ ี ขึน้ ใน ปี พ.ศ. 2564 นี”้ เขากล่าวหลังจากรายงานผลก�ำไร ไตรมาสที่สี่ที่สูงเกินคาด นอกจากนี้ อุปสงค์เอทานอลก็เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน เนื่องจากสามารถใช้เป็นแอลกอฮอล์ในสารฆ่าเชื้อโรค ซึ่ง ปริมาณการใช้เอทานอลได้พงุ่ ทะยานสูงขึน้ ท่ามกลางการแพร่ ระบาดของไวรัสโคโรนา ช่องว่างระหว่างอุปสงค์กบั อุปทานนัน้ ค่อนข้างกว้าง เพราะการแพร่ระบาดของโรค ซึง่ สามารถลด ช่องว่างลงได้ดว้ ยการน�ำเข้าเท่านัน้ ซึง่ ส่วนใหญ่ประเทศจีนจะ ผลิตเอทานอลจากข้าวโพด และใช้ท�ำเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์ฆ่าเชื้อ และเชื้อเพลิงเอทานอล ราคาข้าวโพด ของจีนจึงพุ่งขึ้นกว่าร้อยละ 30 ในปี พ.ศ. 2563 และพุ่ง สูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ในปีนี้ โดยที่บริษัท ADM ไม่ได้เปิด เผยว่าเป็นซัพพลายเออร์ของจีนหรือไม่ ช่วงครึ่งแรกของปีในการตลาดการค้าข้าวโพด พ.ศ. 2562-2563 การส่งออกเอทานอลของสหรัฐอยู่ในระดับ สูงเป็นประวัติการณ์ แต่การแพร่ระบาดของโรคในช่วงครึ่ง
32
ปีหลังนับตั้งแต่สิ้นเดือนสิงหาคม การส่งออกรวมลดลงสู่ ระดับต�่ำสุดในรอบ 4 ปี อยู่ที่ 5.1 พันล้านลิตร (1.3 พัน ล้านแกลลอน) การส่งออกกลับสูร่ ะดับเฉลีย่ ในช่วงไม่กเี่ ดือน ของปี พ.ศ. 2563 เนื่องจากมีแคนาดาเป็นประเทศปลาย ทางอันดับต้นๆ ในการส่งออกเอทานอลของสหรัฐฯ ซึ่งคิด เป็นเกือบหนึ่งในสี่ของการส่งออกทั้งหมด ส่วนบราซิลนั้น ครองต�ำแหน่งสูงสุดในการส่งออกเอทานอลอยู่แล้ว แต่ใน อนาคตของการค้ากับประเทศในแถบอเมริกาใต้ ก็ยังคงมี ความไม่แน่นอนเนื่องจากระยะเวลาของโควต้าการน�ำเข้า แบบปลอดภาษีก�ำลังจะสิ้นสุดลง จีนไม่ได้น�ำเข้าเอทานอลเชื้อเพลิงใดๆ ในปี พ.ศ. 2562 แม้ว่าจะมีการน�ำเข้าสูงสุดในปี พ.ศ. 2559 แต่ก็ มีสัดส่วนการใช้เอทานอลเชื้อเพลิงเพียงประมาณหนึ่งใน สี่ต่อปีเท่านั้น ซึ่งถือเป็นส่วนแบ่งรายปีที่สูงที่สุดเป็น ประวัตกิ ารณ์และการน�ำเข้าในปี พ.ศ. 2559 เกือบทัง้ หมด น�ำเข้ามาจากสหรัฐอเมริกา อัตราภาษีเอทานอลของสหรัฐฯ ของจีนยังคงอยู่ในระดับสูงแม้ว่าเมื่อต้นปีที่แล้วจะลดลง จากอัตราร้อยละ 70 เหลือร้อยละ 45 ส�ำหรับผู้น�ำเข้า ที่ยื่นขอยกเว้นภาษีก็ตาม ไม่แน่ว่าข้อตกลงล่าสุดจะเกิด ขึ้นเมื่อใด แต่ภาษีน�ำเข้าที่สูงประกอบกับราคาเอทานอล ของสหรัฐที่พุ่งสูงขึ้นท�ำให้เชื้อเพลิงชีวภาพมีราคาแพงมาก ส�ำหรับผู้ซื้อชาวจีน
C
hina, the world’s third fuel ethanol consumption has bought roughly 200 million gallons of U.S. ethanol for the first half of 2021. The accelerated imports are among several positive signs for the ethanol sector which has been hard hit by years of oversupply and, more recently, a sharp drop in demand as the coronavirus
pandemic slashed fuel use. Imports of 200 million gallons would eclipse China’s previous annual record of 198.1 million gallons (750 million liters) in 2016, accounting for an anomalously high 17% of total shipments. It had been 8% in the prior year, according to U.S. Census Bureau trade data. “China actually has been buying U.S. ethanol. That’s something that they have not been doing over the past couple of years,” said analysts. “We do see, particularly in the area of ethanol, green shoots of recovery in 2021 for this business here,” he said after reported a stronger-than-expected fourth-quarter profit. The demand for ethanol has also increased since it can be used as an alcohol in disinfectants, whose consumption has surged amid the coronavirus pandemic. “The supply gap is quite big also due to the epidemic, and can only be supplemented with imports,” the source said. The country mainly produces ethanol from corn and it is used to make alcoholic spirits, disinfectant alcohol, and fuel ethanol. China’s corn prices rallied over 30% in 2020 and have climbed further to a record this year. ADM did not disclose if it was among China’s suppliers. In the first half of the 2019-20 corn marketing year, U.S. ethanol exports were on record pace. But the pandemic crushed exports in the second half ended August, and total shipments fell to a four-year low of 5.1 billion liters (1.3 billion gallons). Exports returned to average levels in the few months of 2020. In the fact that Canada is the top destination for U.S. ethanol, accounting for nearly a quarter of exports. Brazil had taken over the top spot late last decade, but the future of trade with the South American country is uncertain as its tariff-free import quota period expired.
China did not import any fuel ethanol in 2019, though when imports peaked in 2016, they accounted for about a quarter of annual fuel ethanol consumption. That remains the highest yearly share on record, and virtually all those 2016 imports were from the United States. China’s official tariffs on U.S. ethanol remain high, though early last year they were reduced from an effective 70% rate to 45% for importers that applied for tariff exclusions. It is not certain when the recent deals occurred, but the hefty duties combined with elevated U.S. ethanol prices make the biofuel awfully expensive for Chinese buyers.
www.sugar-asia.com
Ethanol News
เปิดตัวโรงงานเชื้อเพลิงแอลกอฮอล์อากาศยาน แห่งแรกของยุโรป Launching of Europe’s First of its Kind Alcohol-to-Jet Production Plant
ยุโรปก�ำลังมีโรงงานผลิตเเอลกออล์ส�ำหรับเครื่องบิน (Alcohol to Jet) เเห่งเเรกในยุโรป (ที่มา: SkyNRG)
ส
กายเอ็นจีอาร์ (SkyNRG) บริษทั สัญชาติประเทศ เนเธอร์แลนด์ ร่วมกับแลนซาเทค (LanzaTech) ผู้ ให้บริการทางเทคโนโลยี ร่วมมือประกาศเป็นผูน้ ำ� ในการ สร้างโรงงานผลิตเแอลกอฮอล์ส�ำหรับอากาศยาน (Alcohol to Jet: ATJ) ที่มีชื่อว่า LanzaJet เป็นแห่ง แรกในยุโรป ซึ่งเป็นโรงงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น โดยจะ เปลีย่ นเอทานอลจากขยะจ�ำนวน 30,000 ตันต่อปี ให้ เป็นเชือ้ เพลิงการบินทีย่ งั่ ยืน (sustainable aviation fuel: SAF) ทัง้ นี้ บริษทั แลนซาเทค จะจัดหาเทคโนโลยีเอทีเจ (ATJ) ให้กับโรงงาน และรับผิดชอบในการออกแบบ การก่อสร้าง และการด�ำเนินงานของโรงงาน ส่วนสกาย เอ็นจีอาร์ จะท�ำหน้าทีเ่ ป็นผูป้ ระสานงานโครงการ และ บริหารจัดการการพัฒนาห่วงโซ่อปุ ทานในการจัดส่งสินค้า เชือ้ เพลิงการบินแบบยัง่ ยืน (SAF) มีความส�ำคัญอย่าง ยิ่งต่อการลดการปล่อยมลพิษจากภาคการบินในทศวรรษ หน้า โดยเป็นเป้าหมายที่ถูกน�ำเสนอให้เป็นส่วนหนึ่งของ นโยบาย “การเดินทางและการขนส่งอัจฉริยะแบบยั่งยืน” ของ European Green Deal และการริเริ่มกฎหมายใหม่ๆ อย่าง ‘EU ReFuelEU Aviation’ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เหล่านี้ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า ซึ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้าง วัตถุดิบและเทคโนโลยีทางเลือกให้หลากหลายส�ำหรับการ ผลิตเชือ้ เพลิงดังกล่าว ซึง่ โรงงานแห่งนีจ้ ะปูทางไปสูก่ ารผลิต เชื้อเพลิง SAF ทั่วยุโรปและทั่วโลก โดยผลิต ในปริมาณที่ ต้องการในเชิงพาณิชย์ เพื่อรองรับเป้าหมายทางด้านสภาพ ภูมิอากาศของการบินในอนาคต ด้วยความต้องการเชือ้ เพลิง SAF ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในอนาคต จึงจ�ำเป็นต้องกระจายเทคโนโลยีและวัตถุดบิ ดังกล่าวในการ ผลิตแอลกอฮอล์สำ� หรับเชือ้ เพลิงอากาศยานครัง้ แรกในยุโรป นี้ จะเป็นก้าวส�ำคัญในการก�ำหนดทิศทางของเชื้อเพลิงการ บินแบบยั่งยืน สามารถเข้าถึงได้และปรับขนาดได้มากขึ้น ซึง่ สนับสนุนความต้องการในการปล่อยมลพิษให้เป็นศูนย์ใน อุตสาหกรรมการบิน บริษทั สกายเอ็นอาร์จี รูส้ กึ ตืน่ เต้นทีไ่ ด้ เป็นส่วนหนึง่ ของโครงการ FLITE นายมาร์เติน ฟาน ไดจ์ค กรรมการผู้จัดการของบริษัทสกายเอ็นจีอาร์ กล่าว โดย FLITE ซึ่งเป็นองค์กรที่เชื้อเพลิงใช้เทคโนโลยี บูรณาการคาร์บอนต�่ำจากเอทานอล ก�ำลังพัฒนาโครงการ นี้ ซึ่งเริ่มด�ำเนินการในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 และได้ รับเงินสนับสนุนจ�ำนวน 20 ล้านยูโรจากโครงการ Horizon 2020 ของคณะกรรมาธิการยุโรป ซึ่งยังไม่มีการเปิดเผย สถานที่ตั้งเฉพาะของโรงงาน แต่อย่างไรก็ตามหุ้นส่วนของ กิจการค้าร่วมระบุวา่ โรงงาน FLITE ATJ มีกำ� หนดการทีจ่ ะ เปิดด�ำเนินการเต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2567 Fraunhofer องค์กรประยุกต์การวิจัยที่ใหญ่ที่สุดใน ยุโรป จะก�ำกับดูแลและเผยแพร่การสือ่ สารเกีย่ วกับโครงการ www.sugar-asia.com
ส่วนที่ปรึกษาด้านกลยุทธ์พลังงานและความยั่งยืน E4tech จะด�ำเนินการประเมินวัฏจักรชีวิต และองค์กรว่าด้วยวัสดุ ชีวภาพทีย่ งั่ ยืน (Roundtable on Sustainable Biomaterials: RSB) ที่มีมาตรฐานที่น่าเชื่อถือ มีมูลค่า และได้รับการ ตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญมากที่สุดในโลกส�ำหรับเศรษฐกิจ ชีวภาพ จะสนับสนุนโครงการโดยการให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับ การรับรองโรงงาน เมือ่ พิจารณาทีก่ ารเร่งพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศ ในด้านนวัตกรรม ความมัน่ คงด้านพลังงาน และการสร้างงาน โครงการ FLITE ให้อะไรที่มากกว่าแค่เชื้อเพลิง ซึ่งโรงงาน FLITE ATJ จะเปิดด�ำเนินการเต็มรูปแบบในปี พ.ศ. 2567 ผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพ SAF โดยใช้เอทานอลจากขยะทีม่ าจาก ผู้ผลิตหลายรายในยุโรป โครงการนี้ กล่าวถึงความท้าทายส�ำคัญสองประการ ที่ภาคการบินต้องเผชิญในปัจจุบัน นั่นคือ การลดปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ลงอย่างรวดเร็วและการด�ำเนินการ ดังกล่าวอย่างยั่งยืน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อขยายการผลิต เชื้อเพลิง SAF ในยุโรปและตรวจสอบให้แน่ใจว่าเป็นไป ตามมาตรฐานด้านความยั่งยืนอย่างเข้มงวดมากที่สุด โดย รอล์ฟ โฮแกน กรรมการบริหารขององค์กร RSB กล่าวว่า องค์กรมีภูมิใจที่ได้สนับสนุนพันธมิตรในการแสดงออกถึง ประสิทธิภาพด้านความยั่งยืน และเป็นไปตามข้อก�ำหนด ด้านกฎระเบียบในระดับภูมิภาคและระดับโลกขององค์กร EU RED และ CORSIA
N
etherlands-based SkyNRG with LanzaTech as the technology provider, has announced it is leading a consortium that will build the first-of-its-kind “LanzaJet” Alcohol to Jet (AtJ) facility in Europe. The 30 000 tonnes-per-annum pre-commercial scale facility will convert waste-based ethanol to sustainable aviation fuel (SAF). LanzaTech will supply its ATJ technology to the facility and be responsible for plant design, construction and operations. SkyNRG will act as project coordinator and manage downstream supply chain development.
Sustainable aviation fuel (SAF) is critical to reducing emissions from the aviation sector in the coming decades. Ambitious targets are proposed as part of the European Green Deal ‘Sustainable and smart mobility’ policy and
the new legislative initiative ‘EU ReFuelEU Aviation’. To meet these targets in the years to come, it is essential that we diversify feedstock and technology options for SAF production. This pre-commercial AtJ production plant will pave the way to implementing SAF production across Europe and around the globe, producing commercially relevant quantities of SAF to support future aviation’s climate targets. With the increasing demand for SAF in the future, there is a need to diversify SAF technologies and feedstock. This first of its kind of Alcohol-to Jet production in Europe will be an important step in the direction of making sustainable aviation fuel more accessible and scalable, supporting net-zero emission ambitions for the aviation industry. SkyNRG is excited to be a part of the FLITE project, said Maarten van Dijk, Managing Director SkyNRG. The project is being developed by the FLITE (fuel via low carbon integrated technology from ethanol) consortium, which kicked off in December 2020 and has been awarded a €20 million grant from the European Commission’s Horizon 2020 program. A specific location for the plant has not been released. Consortium partners, however, have indicated that the FLITE ATJ facility is scheduled to be fully operational in 2024. Fraunhofer, Europe’s largest applied research organization, will oversee and distribute communications about the project; energy and sustainability strategy consultancy E4tech, will conduct the life cycle assessment; and the world’s most trusted, valued, and peer-reviewed standard for the bio-based economy, the Roundtable on Sustainable Biomaterials (RSB), will support the project through guidance on RSB certification of the facility.
Source: Getty Images Looking to accelerate local economic development in innovation, energy security, and job creation, the FLITE project, will produce more than just fuel. The FLITE AtJ facility will be fully operational in 2024, producing SAF using waste-based ethanol sourced from multiple European producers. This project addresses two key challenges faced by the aviation sector today – rapid decarbonisation and doing so in a sustainable manner. It aims to scale the production of SAF in Europe and ensure it meets the most stringent sustainability standards. The RSB is proud to support partners to demonstrate sustainability performance and meet regional and global egulatory requirements of EU RED and CORSIA, said Rolf Hogan, Executive Director, RSB.
33
Bioenergy News
ไทยเดินหน้าครองต�ำแหน่งผู้ผลิตพลาสติกชีวภาพ อันดับ 3 ของโลก Thailand Ranked 3rd Bioplastic Manufacturer of the World
Polylactic Acid (PLA) เป็นพลาสติกที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพชนิดพอลิเอสเตอร์ (Polyester)
ส
อน. หรือ สํานักงานคณะกรรมการอ้อยและ น้ําตาลทราย กระทรวงอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ไทยพร้อมเดินหน้าอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทราย สู่ผู้น�ำอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพอันดับ 3-4 ของ โลก เพราะขณะนี้ มีผู้ผลิตพลาสติกชีวภาพรายใหญ่ 2 ราย ได้เดินหน้าลงทุนตั้งโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก ชีวภาพในไทย อาทิ บริษทั Corbion (Thailand) ผูผ้ ลิต Lactic acid รายใหญ่ของโลก ทีไ่ ด้ขยายก�ำลังการผลิตและ ก่อสร้างโรงงาน ด้วยเงินลงทุน 6,000 ล้านบาท พร้อม เปิดด�ำเนินการปี พ.ศ. 2566 และโครงการ “นครสวรรค์ ไบโอคอมเพล็กซ์” จ.นครสวรรค์ ในปี 2564 ที่ผลิต พลาสติก PLA จากวัตถุดิบน�้ำอ้อย ด้วยเงินลงทุน 30,000-40,000 ล้านบาท วิฤทธิ์ วิเศษสินธุ์ รองเลขาธิการ คณะกรรมการอ้อย และน�้ำตาลทราย (สอน.) กระทรวงอุตสาหกรรม กล่าว ว่า แม้จะเกิด วิกฤติโควิด-19 และเศรษฐกิจซบเซาทั่วโลก แต่ อุตสาหกรรมชีวภาพยังขยายตัว โดยเฉพาะการ ลงทุน อุตสาหกรรมชีวภาพในไทยที่มีนักลงทุน จากไทยและต่าง ประเทศหลายรายตัง้ ฐานการผลิตเคมีชวี ภาพและพลาสติก ชีวภาพ โดยเฉพาะ บริษัท Corbion (Thailand) ผู้ผลิต Lactic acid รายใหญ่ของโลก ซึง่ หลังจาก ลงทุนโรงงานผลิต เม็ดพลาสติกชีวภาพ ในนิคมอุตสาหกรรมเอเชีย อ.บ้านฉาง จ.ระยอง ในปี 2561 มีกำ� ลังการผลิตปีละ 140,000 ตัน น�ำ ไปผลิตเม็ดพลาสติกชีวภาพ PLA ปีละ 75,000 ตัน โดย ใช้น�้ำตาลทรายดิบเป็นวัตถุดิบ “ล่าสุดปี 2563 ได้ขยายก�ำลังการผลิตและก่อสร้าง โรงงานในที่ตั้งเดิม ซึ่งเพิ่มก�ำลังการผลิต กรดแลคติกและ อนุพนั ธ์กรดแลคติกอีกปีละ 125,000 ตัน ผลิตเม็ดพลาสติก ชีวภาพ PLA ปีละ 70,000 ตัน ใช้เงินลงทุน 6,000 ล้าน บาท ซึ่งคาดว่าจะจ้างแรงงานเพิ่มอีก 150 อัตรา และ จะ ใช้นำ�้ ตาลทรายดิบเป็นวัตถุดบิ ผลิตเพิม่ เป็น ปีละ 300,000 ตัน คาดว่าการก่อสร้าง เริ่มปี 2564 และเปิดด�ำเนินการ ปี พ.ศ. 2566” ส�ำหรับเม็ดพลาสติกชีวภาพ PLA เกือบทั้งหมดจะ ขายยุโรป เพือ่ น�ำไปผลิตเป็น บรรจุภณ ั ฑ์อาหารและสินค้าที่ ใช้ครั้งเดียวทิ้งโดยมีเหลือจ�ำหน่ายในไทยเพียง 500 ตันต่อ ปี เพราะยุโรปตื่นตัวเรื่องสิ่งแวดล้อมสูง ซึ่งแม้ว่า พลาสติก ชีวภาพจะแพงกว่าพลาสติกทัว่ ไป 3 เท่า แต่มคี วามต้องการ เพิม่ ขึน้ ตลอดเนือ่ งจาก ผูบ้ ริโภคในยุโรปมีกำ� ลังซือ้ สูง ดังนัน้ Corbion จึงเร่งลงทุนตัง้ โรงงานใหม่ เพือ่ ผลิต เม็ดพลาสติก
34
ชีวภาพให้เพียงพอกับความต้องการ นอกจากนี้ มีความ ชัดเจนของโครงการร่วมลงทุนระหว่าง บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) กับ บริษทั เนเจอร์เวิรค์ จากสหรัฐ ซึ่งคาดว่าจะเริ่มลงทุน โรงงานผลิตเม็ดพลาสติกชีวภาพใน โครงการ “นครสวรรค์ไบโอคอมเพล็กซ์” จ.นครสวรรค์ ในปี 2564 เงินลงทุน 30,000-40,000 ล้านบาท โดยใช้วตั ถุดบิ จากน�้ำอ้อยในการผลิต เม็ดพลาสติก PLA ขณะนีโ้ รงงานผลิตพลาสติกชีวภาพ ท�ำให้ไทยก้าวขึน้ เป็นผูน้ ำ� ในการผลิต พลาสติกชีวภาพ 1 ใน 5 ของโลก รอง จากสหรัฐ ที่ใช้ข้าวโพดเป็นวัตถุดิบ รวมทั้งรองจากบราซิล ที่ใช้น�้ำตาลอ้อยเป็นวัตถุดิบ ในขณะที่จีน ใช้น�้ำตาลทราย เป็นวัตถุดบิ และยุโรป ใช้นำ�้ ตาลจากหัวบีทเป็นวัตถุดบิ ทัง้ นี้ หากโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกชีวภาพทั้ง 2 แห่งเสร็จ ไทย จะขึ้นไปอยู่อันดับ 3-4 ของโลก แต่ทั้งนี้หากไทยส่งเสริม การใช้พลาสติกชีวภาพจริงจังจะช่วยเพิม่ ความต้องการเม็ด พลาสติกชีวภาพอีกมาก ซึ่งจะท�ำให้ไทยก้าวขึ้นมาเป็นผู้น�ำ ในอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพของโลก รวมทัง้ ไทยมีแผน เพิม่ ปริมาณการใช้พลาสติกชีวภาพเต็มที่ โดยปี 2562 คณะ รัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบมาตรการภาษีเพือ่ สิง่ แวดล้อม ที่ ให้ลดหย่อนภาษี 125% ตั้งแต่เดือน ม.ค.2562 ถึง ธ.ค. 2564 แก่บริษทั ผูซ้ อื้ และใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ โดย จะช่วยกระตุน้ ให้โรงงานพลาสติกกว่า 10% ปรับสูก่ ารผลิต ผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ
O
ffice of the Cane and Sugar Board (OCSB), Ministry of Industry, Thailand reported that Thailand was ready to push forwards sugar and cane industries and become the 3rd or 4th leader on bioplastic industry of the world. At present, two big bioplastic producers are investing on building a bioplastic factory here. The first is Corbion (Thailand) Co. Ltd., the big lactic acid manufacturer of the world, which is expanding production and factory construction under the 6,000 million Baht investment. The factory will be ready to start in 2023. The second is the “Nakhon
Sawan Biocomplex” project in Nakhon Sawan which is now producing PLA from cane extraction under the investment worth 30,000 – 40,000 million Baht. Mr. Wirit Wisetsin, Deputy Director General of the OCSB, said that, despite the ongoing COVID-19 pandemic and economic recession throughout the world, the bioindustry is still expanding, especially an investment on bioindustry in Thailand which sees local and international investors establish production bases of biochemistry and bioplastic. The Corbion (Thailand), for instance, is one of the biggest lactic acid producers of the world. After investing on bioplastic production in Asia Industrial Estate in Ban Chang district, Rayong, in 2018, it had production power of 140,000 tons annually, 75,000 tons of which are used for PLA production. Raw sugar is a major ingredient. “Lately, in 2020, production power is expanded and a new factory is built in the present site where more 125,000 tons of lactic acid and its derivatives are produced per year. Also, 70,000 tons of PLA are manufactured under the investment of 6,000 million Baht. It is expected that more 150 positions of workforce will be recruited and additional 300,000 tons per year of raw sugar will be used. Construction is expected to begin in 2021 and the factory will be available in 2023,” explained Mr. Wirit. Most of the PLA will be exported to Europe for production of food and materials for one time usage. The rest of 500 tons per year will be sold in Thailand because Europe is highly concerned with the environment. Even though bioplastic is 3 times more expensive than normal one, needs are increasing because European consumers have buying power. As a result, Corbion is constructing a new factory to produce sufficient bioplastic to serve the needs. Besides, it is obvious that a joint venture between PTT Global Chemical (Public) Company Limited and Nature Work Co. Ltd. from the US will have a bioplastic factory under the project, “Nakhon Sawan Biocomplex”, in Nakhon Sawan, in 2021 under the investment of 30,000-40,000 million Baht. The project will depend mainly on cane extraction to produce the PLA. Currently, Thai bioplastic factories are becoming one of the five world leaders following the US where corn is used as a raw material, Brazil where cane sugar as a raw material, China where sugar as a raw material and Europe where beet sugar as a raw material. If construction of the 2 bioplastic factories are completed, Thailand will be ranked 3rd or 4th of the world. However, in case the country promotes use of bioplastic, needs of the product will increase, resulting in Thailand becoming a leader of bioplastic industries of the world. Moreover, Thailand is planning to increase use of bioplastic as, in 2019, the cabinet approved a tax measure on environment in which 125% of tax can be deducted from January, 2019, to December, 2021, for company buying and using bioplastic products. This will encourage 10% of plastic factories to become bioplastic producers.
www.sugar-asia.com
Bioenergy News
อินเดีย จับมือพั นธมิตรเนเธอร์แลนด์ ขยาย 14 โครงการก๊าซชีวภาพอัด India, Netherlands Partner on 14 Compressed Biogas Projects
ก๊าซชีวภาพอัด หรือซีบีจี (CBG) ได้มาจากกระบวนการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน จากขยะทางการเกษตร กากหม้อกรองอ้อย และขยะในชุมชน
บ็
อกซ์แอลเอ็นจี (BoxLNG) บริษัทสัญชาติอินเดีย ได้ลงนามในข้อตกลงความร่วมมือและการลงทุนทาง เทคโนโลยีกับบริษัทโฮสต์ (Host) ผู้ให้บริการระบบ พลังงานชีวภาพในเนเธอร์แลนด์ ในการเปิดตัวโครงการ ก๊าซชีวภาพอัด (Bio-CBG) จ�ำนวน 14 โครงการ ซึ่ง สามารถน�ำไปใช้เป็นเชือ้ เพลิงรถยนต์หมุนเวียนประมาณ 150 ตันต่อวัน ภายใต้โครงการของรัฐบาลอินเดียที่มี แผนการจัดตั้งโรงงานก๊าซชีวภาพอัด (CBG) จ�ำนวน 5,000 แห่งทั่วประเทศ บริษัท บ็อกซ์แอลเอ็นจี ผู้พัฒนาโครงการพลังงาน ชีวภาพสะอาด ก�ำลังเดินหน้าโครงการก๊าซธรรมชาติทดเเทน (RNG) และก๊าซชีวภาพอัด (CBG) ซึง่ บริหารผ่านบริษทั ย่อย ที่มีชื่อว่า ซิพแก๊ส (ZiPGAS) อีกที โดยจะมีการใช้แหล่ง ชีวมวลหรือของเสียจากแหล่งต่างๆ รวมทั้งเศษวัสดุเหลือ ทิ้งทางการเกษตร ขยะมูลฝอยชุมชน กากหม้อกรองอ้อย น�้ำกากส่า (distillery spent wash) มูลวัว ของเสียจาก ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย และเศษอาหารเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพอัด ส่วนบริษทั โฮสต์ จะสนับสนุนบริษทั ซิพแก๊ส ร่วมกับบริษทั ย่อยในเครือ ไบรท์ไบโอมีเทน (Bright Biomethane) โดย มุ่งเพิ่มความบริสุทธิ์ให้กับก๊าซชีวภาพ เฮอร์แมน ไคลน์ ทีเซลลิงค์ ประธานกรรมการบริหาร ของบริษทั โฮสต์ กล่าวว่า “เรารูส้ กึ ตืน่ เต้นในการร่วมมือกับ ทางบริษทั บ็อกซ์แอลเอ็นจี ซึง่ โครงการนี้ ถือเป็นแพลตฟอร์ม พลังงานชีวภาพที่ยิ่งใหญ่ส�ำหรับเรา ในการแสดงออกถึง ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีในแวดวงพลังงานสะอาดที่ ก�ำลังเติบโตเร็วที่สุด และเป็นเป้าหมายเพื่อให้เรามีโอกาส สร้างรากฐานที่มั่นคงในเอเชียใต้” ภายใต้โครงการทางเลือกทีย่ งั่ ยืนสูก่ ารขนส่งในราคาที่ เหมาะสม (Sustainable Alternative Towards Affordable Transportation: SATAT) รัฐบาลอินเดียมีแผนทีจ่ ะสนับสนุน จัดตั้งโรงงานก๊าซชีวภาพอัด (CBG) จ�ำนวน 5,000 แห่ง ทั่วประเทศภายในปี พ.ศ. 2566-2567 โดยมีผลผลิตก๊าซ ชีวภาพอัด ประมาณ 15 ล้านตันต่อปี เพือ่ ลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกและการน�ำเข้าก๊าซธรรมชาติ ตลอดจนปรับปรุง ระบบการจัดการเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร และเพิ่ม รายได้ของเกษตรกร แผนดังกล่าว แสดงให้เห็นถึง บริษทั น�ำ้ มันและก๊าซแห่ง ชาติทมี่ กี ารรับประกันการซือ้ ผลผลิตจากโรงงานก๊าซชีวภาพ อัด ส�ำหรับการขายปลีกที่สถานีบริการน�้ำมันสาธารณะ ซึ่ง จากข้อมูลของรัฐบาล การจัดหาผลผลิตเริ่มจากโรงงาน 7 แห่ง ในช่วงกลางเดือนธันวาคมปีทแี่ ล้ว แม้วา่ ก�ำลังการผลิต ทัง้ หมดจะยังไม่เป็นทีช่ ดั เจน แต่รฐั บาลก็ได้อนุมตั โิ ครงการ www.sugar-asia.com
จากผู้ประกอบการอีก 621 โครงการในขณะที่ บริษัทก๊าซ อะดานี แก๊ส (Adani Gas) ทอร์เรนท์ แก๊ส (Torrent Gas) และ เพโทรเน็ต แอลเอ็นจี (Petronet LNG) มุ่งมั่นที่จะ ท�ำงานร่วมกับผูใ้ ห้บริการเทคโนโลยีในการจัดตัง้ โรงงานเพิม่ เติมอีก 900 แห่ง “เราขอขอบคุณทางบริษัท โฮสต์ ส�ำหรับความตั้งใจ ที่จะท�ำงานร่วมกับบริษัทบ็อกซ์แอลเอ็นจี เพื่อให้โครงการ แรกในอินเดียเกิดขึ้นจริง เราก�ำลังท�ำงานอย่างหนักเพื่อ บรรลุเป้าหมายแรกในการตัง้ โรงงานก๊าซชีวภาพอัด จ�ำนวน 200 แห่ง ในอีก 10 ปีขา้ งหน้า และเพือ่ ให้สงิ่ นีบ้ รรลุผล เรา จึงจ�ำเป็นต้องมีพันธมิตรที่แข็งแกร่ง อย่างบริษัทโฮสต์ ที่ได้ มอบเทคโนโลยีที่ได้รับการยอมรับในระดับโลก การลงทุน และการสนับสนุนที่ช่วยให้เราสามารถขยายกิจการให้ใหญ่ ขึ้นได้ในช่วงเวลาสั้นๆ” ซาชิน แน็กดิฟ ประธานกรรมการ บริหาร ของบริษัท บ็อกซ์แอลเอ็นจี กล่าว บริษทั บ็อกซ์แอลเอ็นจี จะเริม่ เปิดด�ำเนินการโรงงาน สามแห่งแรกที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐอุตตรประเทศ และรัฐมหา ราษฏรของอินเดีย โดยเริ่มเปิดด�ำเนินการตั้งแต่เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 และอีก 11 โครงการตลอดปีนี้ ซึ่งบริษัท โฮสต์ จะมอบเงินลงทุนและความช่วยเหลือด้าน เทคนิคในส่วนของการเพิ่มความบริสุทธิ์ให้กับก๊าซชีวภาพ หรือการก�ำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หรือสิ่งเจือปนอื่นๆ ออกจากก๊าซมีเทนทีผ่ ลิตได้จากกระบวนการย่อยสลายแบบ ไม่ใช้ออกซิเจน เพือ่ ให้เหมาะส�ำหรับการใช้เป็นเชือ้ เพลิง ซึง่ อาจกล่าวได้วา่ ระบบการเปลีย่ นขยะให้เป็นพลังงานชีวภาพ อาจมีกว่า 200 ระบบทั่วโลก
I
ndian firm BoxLNG has signed a technology collaboration and investment agreement with Netherlands-based bioenergy systems supplier Host to roll out 14 bio-compressed biogas (bio-CBG) projects that will supply roughly 150 t/d of the renewable vehicle fuel under the scheme by the Indian Government plans to set up 5,000 CBG plants throughout the country.
BoxLNG, a distributed clean bioenergy project developer, is focused on executing scalable RNG and CBG projects, and through its subsidiary ZiPGAS. The indian firm will use the various biomass/waste sources, including
agricultural residue, municipal solid waste, sugarcane press mud, distillery spent wash, cattle dung, sewage treatment plant, and food waste, to generate the CBG. And, Host will support ZiPGAS along with its subsidiary Bright Biomethane with a focus on biogas purification. Herman Klein Teeselink, CEO of Host, said “We are excited about the partnership with BoxLNG. This is a great bioenergy platform for us to showcase our technology expertise in one of the fastest-growing clean energy fields, and for us to establish a strong foothold in (South) Asia.” Under the Sustainable Alternative Towards Affordable Transportation (SATAT) scheme by the Government of India, plans to set up 5,000 CBG plants across the country by 2023-2024 with an estimated production of 15 million tonnes of CBG annually to curtail greenhouse gas emissions and natural gas imports, as well as improve agricultural waste management and farmer incomes. Satat sees national oil and gas companies guaranteeing offtake from bio-CBG plants for retail at public fuel stations. Supplies started from seven plants by mid-December last year, according to the ministry, though their total capacity was unclear. The ministry had approved another 621 projects from entrepreneurs, while gas firms Adani Gas, Torrent Gas and Petronet LNG have committed to work with technology providers to set up a further 900 plants. Sachin Nagdive, CEO of BoxLNG, said “We thank Host for their intention to work together with BoxLNG towards the realisation of the first projects in India. We are working tirelessly towards our first target of achieving 200 CBG plants over the next 10 years, and for this to happen we need strong partners. Host brings to the table world-class proven technology, investment, and support allowing us to scale-up in a short span of time.
The Government of India aims to establish 15mn t of output across 5,000 plants by 2023-2024 BoxLNG will start its first three plants between India’s Uttar Pradesh and Maharashtra states starting February 2021, with another 11 projects throughout 2021. And, HoSt will deliver investment capital and technical assistance, particularly in biogas purification or removing carbon dioxide and other impurities from the methane produced through anaerobic digestion to make it suitable for use as a fuel. It said it has supplied more than 200 waste-to-bioenergy systems globally.
35
Bioenergy News
IEA เริ่มแผนโครงการชีวอนาคต พร้อมเร่งขับดัน เศรษฐกิจชีวภาพหลังโควิด 19 EIA initiates ‘Biofuture’ Principles for Post-COVID Bioeconomy Recovery and Acceleration
2)พิจารณาการช่วยผูผ้ ลิตในระยะสัน้ (Consider shortterm COVID support for producers) หากมีความเหมาะ สม ให้จดั การกับความท้าทายระยะสัน้ ส�ำหรับอุตสาหกรรม พลังงานชีวภาพและวัสดุชวี ภาพในรูปแบบชุดบรรเทาทุกข์ที่ เกี่ยวข้องกับการสูญเสียทางเศรษฐกิจจากเชื้อไวรัสนี้ 3)ประเมินการสนับสนุนด้านเชือ้ เพลิงฟอสซิลอีกครัง้ (Reassess fossil fuel subsidies) โดยใช้ประโยชน์จาก สภาพราคาน�้ำมันที่ต�่ำเพื่อประเมินการสนับสนุนด้านเชื้อ เพลิงฟอสซิลใหม่อกี ครัง้ ส�ำหรับการแข่งขันทีเ่ ป็นธรรม 4)พัฒนาให้ดขี นึ้ ด้วยชีวภาพ (Build Back Better with Bio) ด้วยการรวมภาคเศรษฐกิจชีวภาพให้เข้ากันตามความ เหมาะสมและเป็นส่วนหนึง่ ของโครงการฟืน้ ฟูทกี่ ว้างขึน้ เช่น โดยก�ำหนดให้การลงทุนหรือเป้าหมายด้านเศรษฐกิจชีวภาพ เป็นส่วนหนึง่ ของความช่วยเหลือและการฟืน้ ฟูภาคส่วนเฉพาะ เช่น การขนส่งและสารเคมี เป็นต้น 5)ให้รางวัลกับความยั่งยืน (Reward sustainability) ด้วยการรวมกลไกดังกล่าวเข้ากับกรอบนโยบายส่งเสริมการ สร้างและใช้เชือ้ เพลิงสารเคมีและวัสดุจากฐานชีวภาพ
ผลักดันการบริโภคเชือ้ เพลิงชีวภาพของสหภาพ ยุโรปด้วยบทบาทโครงการชีวอนาคต
อ
งค์กรพลังงานระหว่างประเทศหรือ IEA เป็น หน่วยงานของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่ายที่น�ำ โดยรัฐบาลได้ริเริ่ม “โครงการชีวอนาคต” เพื่อจัดการ กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยส่งเสริมการ ประสานงานระหว่างประเทศด้านชีวนิเวศน์คาร์บอน ต�ำ่ ทีม่ คี วามยัง่ ยืนส�ำหรับการฟืน้ ตัวหลังเชือ้ ไวรัสโควิด ปัจจุบัน โครงการดังกล่าวประกอบด้วยสมาชิกยี่สิบ ประเทศเพื่อแบ่งปันวิสัยทัศน์ด้านเศรษฐกิจชีวภาพ คาร์บอนต�ำ่ แบบยัง่ ยืน และในขณะนีย้ งั มีการตระหนัก ถึงความจ�ำเป็นเร่งด่วนในการสนับสนุนทุกภาคส่วนใน ระยะสัน้ รวมถึงการปลูกฝังความรูเ้ รือ่ งเศรษฐศาสตร์ ชีวภาพคาร์บอนต�ำ่ เพือ่ การฟืน้ ตัวทางเศรษฐกิจในวงกว้าง ส�ำหรับการเติบโตและความส�ำเร็จในระยะยาว
ฝ่ายตลาดพลังงานหมุนเวียนของ IEA ได้วิเคราะห์ พลังงานหมุนเวียนในปี 2563 พบว่า การผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพ ลดลงเกือบร้อยละ 12 ในปีดังกล่าว การด�ำเนินนโยบายเร่ง ด่วนจึงมีความจ�ำเป็นเพือ่ สนับสนุนภาคพลังงานชีวภาพและ เชือ้ เพลิงชีวภาพซึง่ ได้รบั ผลกระทบอย่างหนักจากวิกฤตไวรัส โคโรนา ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมจึงมีความเสีย่ งเป็น พิเศษ ดังนั้น องค์การ IEA ได้เรียกร้องให้ประเทศต่างๆ รวมพลังงานชีวภาพไว้ในแผนการฟืน้ ฟูเศรษฐกิจและน�ำหลัก การของโครงการชีวอนาคตมาใช้ ก่อนหน้านี้ การวิเคราะห์ ขององค์กรฯ ประเมินว่าส�ำหรับการลงทุนทุกๆ ล้านดอลลาร์ ในภาคพลังงานชีวภาพสามารถสร้างงานได้ถงึ 30 ต�ำแหน่ง โดยเฉพาะในพืน้ ทีช่ นบทในประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่
‘โครงการชีวอนาคต’ คือกุญแจส�ำคัญของการ ฟื้นตัวหลังโควิด-19 หัวหน้าฝ่ายพลังงานหมุนเวียน นายเปาโล มาร์เคิล กล่าวว่า โครงการชีวอนาคตเปิดตัวครั้งแรกในมาร์ราเกช ในการเจรจาด้านสภาพภูมิอากาศของการประชุมภาคี ครั้ง ที่ 22 ขององค์การสหประชาชาติเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2559 เพื่อช่วยขยายและปรับปรุงการใช้พลังงานชีวภาพ ให้ทันสมัย โครงการดังกล่าว ได้รวบรวมกลุ่มประเทศที่มี แนวคิดเดียวกันที่ค่อนข้างจ�ำกัดแต่แข็งแกร่ง ซึ่งเป็นผู้น�ำ ด้านเศรษฐศาสตร์ชวี ภาพขัน้ สูงแนวใหม่อยูแ่ ล้วหรือมีความ สนใจในการพัฒนานี้ 20 ประเทศที่เป็นสมาชิกผู้ริเริ่มโครงการฯ ได้แก่ อาร์เจนตินา บราซิล แคนาดา จีน เดนมาร์กอียปิ ต์ ฟินแลนด์ ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี โมร็อกโก โมซัมบิก
36
เนเธอร์แลนด์ ปารากวัย ฟิลปิ ปินส์ สวีเดน สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกาและอุรุกวัย ส่วนโครงการและล�ำดับความ ส�ำคัญของงานได้รับการหารือและเสนอโดยกลุ่มประเทศ หลักซึ่ง ปัจจุบันคือบราซิล จีน อินเดีย เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2563 โครงการชีวอนาคตได้ เปิดตัวหลักการส�ำคัญอย่างเป็นทางการ โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อเสนอแนวทางแก่รัฐบาลและผู้ก�ำหนดนโยบายทั่วโลก เกี่ยวกับความจ�ำเป็นในการส่งเสริมเศรษฐกิจชีวภาพที่ ยัง่ ยืน ทัง้ ในเรือ่ งการบรรเทาทุกข์ระยะสัน้ และโครงการฟืน้ ฟู เศรษฐกิจหลังโควิดทีก่ ว้างขึน้ หลักการนีไ้ ด้รบั การสนับสนุน จากประเทศสมาชิกโครงการฯ และได้รบั การพัฒนาตามการ ปรึกษาหารือกับผูก้ ำ� หนดนโยบาย ผูเ้ ชีย่ วชาญในอุตสาหกรรม และองค์กรระหว่างประเทศ หลักการห้าประการส�ำหรับการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ชีวภาพหลังโควิด ได้กระตุ้นให้ผู้ก�ำหนดนโยบายรักษา นโยบายที่มีอยู่ และไม่ลดความทะเยอทะยานของนโยบาย ใหม่ๆ รวมทั้งการพิจารณาการสนับสนุนระยะสั้นส�ำหรับ ผู้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพและประเมินการอุดหนุนเชื้อเพลิง ฟอสซิลอีกครั้ง นอกจากนั้น ยังมีการแนะน�ำให้เสริมสร้าง ความมุง่ มัน่ ด้านเชือ้ เพลิงชีวภาพ เช่น การน�ำข้อบังคับส�ำหรับ เชือ้ เพลิงการบินทีย่ งั่ ยืนมาเป็นส่วนหนึง่ ของนโยบายเพือ่ การ ฟื้นตัวส�ำหรับสายการบิน และให้รางวัลกับความยั่งยืนโดย รวมข้อก�ำหนดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตลอดอายุ การท�ำการบิน และบูรณาการมาตรการความยั่งยืนเข้ากับ นโยบายเชื้อเพลิงชีวภาพ
หลักการทางชีวภาพ 5 ประการส�ำหรับการกู้ คืนชีวนิเวศหลังโควิด-19 วิกฤตทีเ่ กีย่ วข้องกับเชือ้ ไวรัสโควิด-19 ทัว่ โลกส่งผลก ระทบอย่างมากต่อพลังงานชีวภาพ แต่ปญ ั หาดังกล่าวยังชีใ้ ห้ เห็นถึงความจ�ำเป็นในโครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง ในหลายภาคส่วน หลายประเทศก�ำลังพิจารณาโอกาสที่จะ สร้างตัวให้ดีขึ้น เพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการพิจารณา นโยบายและแผนงาน จึงได้หยิบยกหลักการทางชีวอนาคต หลัก 5 ประการที่ไม่มีข้อผูกมัดนี้ส�ำหรับการกู้คืนและการ เร่งเศรษฐกิจชีวภาพหลังโควิด ดังต่อไปนี้ 1)อย่าย้อนกลับหลัง (Do not backtrack) ให้ตรวจ สอบความต่อเนื่องและความสามารถในการคาดการณ์ใน ระยะยาวของพลังงานชีวภาพ เชือ้ เพลิงชีวภาพและเป้าหมาย วัสดุชีวภาพ รวมทั้งกลไกนโยบายที่มีอยู่ซึ่งได้พิสูจน์แล้วว่า ประสบความส�ำเร็จ
สหภาพยุโรปเป็นตลาดที่ส�ำคัญมากส�ำหรับเชื้อเพลิง ชีวภาพ หกประเทศในสหภาพยุโรป รวมทัง้ สหราชอาณาจักร เป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งโครงการชีวอนาคตและโปรตุเกสก�ำลัง เข้าร่วมโครงการนี้อีกด้วย วิสัยทัศน์หลักประการหนึ่งและ เหตุผลของการอยู่ในกลุ่มดังกล่าว คือการส่งเสริมแนว ปฏิบัติที่ยั่งยืนส�ำหรับการผลิตชีวมวลตลอดชีวิต องค์กร อื่นๆ ที่สนับสนุนโครงการนี้ ได้แก่ องค์การอาหารและ การเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ส�ำนักงานพลังงาน ทดแทนระหว่างประเทศ (Irena) และ ภาคีพลังงานชีวภาพ โลก (GBEP) ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2562 มีการบังคับ ใช้เกณฑ์แห่งความยั่งยืนที่เน้นว่า ควรใช้กับชีวมวลทั้งหมด โดยไม่จ�ำกัดเพียงแค่ส่วนที่ใช้ในการขนส่งเชื้อเพลิงชีวภาพ หรือพลังงานชีวภาพเท่านั้น
ดร. ฟาติห์ บิโรล ผู้อ�ำนวยการบริหาร IEA (ซ้าย) และเอกอัครราชทูต จูเซ อันตอนิอุ มาร์คงดึช ดึ คาร์วัลญุ ซึ่งเป็นเลขาธิการส�ำนักงานสิ่ง แวดล้อม พลังงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการร่วมประสานงาน โครงการชีวอนาคต ที่งานประชุม COP24 ปี 2561
ในปีหน้านี้ ตลาดการขนส่งในยุโรปสามารถเปลี่ยน ส่วนแบ่งการตลาดส่วนใหญ่ของเชื้อเพลิงชีวภาพทั่วไปให้ เป็นเชือ้ เพลิงชีวภาพขัน้ สูงได้มากขึน้ ประเทศสมาชิกจะต้อง วางนโยบายเพื่อปรับใช้เทคโนโลยีเชื้อเพลิงชีวภาพขั้นสูงที่ พร้อมช่วยในเชิงพาณิชย์ที่มีแนวโน้ม และมีข้อก�ำหนดด้าน ความยัง่ ยืนอันชัดเจนในระยะยาว แต่เทคโนโลยีจำ� นวนมาก เหล่านีย้ งั คงอยูใ่ นขัน้ ตอนการสาธิตนโยบาย แต่การลงทุนใน ประเทศสามารถช่วยในเชิงพาณิชย์ให้เทคโนโลยีเหล่านีป้ รับ ใช้ในขนาดที่ใหญ่ขึ้นได้ ในปี พ.ศ. 2564 นี้ โครงการชีวอนาคตจะเปิดตัวการ วิเคราะห์นโยบายพิมพ์เขียวด้านการประเมินประสิทธิผลของ นโยบายการสนับสนุนพลังงานชีวภาพ โดยมีการทบทวน นโยบายอย่างมีวิจารณญาณ ให้ตัวอย่างแนวปฏิบัติที่ดี แต่ ยังเน้นถึงจุดอ่อนซึง่ ระบุขอบเขตส�ำหรับการด�ำเนินนโยบาย ในประเทศเพิ่มเติม โดยไม่มีการชี้ว่าใครดีหรือไม่ดี แต่ต้อง ร่วมมือปรับปรุงด้วยกันทั้งหมด www.sugar-asia.com
Bioenergy News
T
he International Energy Agency (IEA) is a government-led, multi-stakeholder has facilitated initiative ‘The Biofuture Platform’ by and designed to take action on climate change by promoting international coordination on the sustainable low-carbon bioeconomy for a post-Covid recovery. Currently, The Biofuture Platform has twenty member countries for sharing a vision for a low carbon sustainable bioeconomy, and at this time they recognize the urgent need to support the sector in the short term, but also to embed the low carbon bioeconomy in broad economic recovery programs for long-term growth and success.
Netherlands, Paraguay, the Philippines, Sweden, United Kingdom, the United States of America and Uruguay while the programme and priorities of work are discussed and proposed by a group of core countries — currently Brazil, China, India, the Netherlands, the UK and the US. In August 2020, the Biofuture Platform launched a set of voluntary principles, intended to offer guidance to governments and policymakers around the world on the need to promote the sustainable bioeconomy in both short-term relief packages and broader post-Covid economic recovery programmes. The principles have the support of the Biofuture Platform member countries, and were developed following consultations with policymakers, industry experts and international organisations.
challenges for bioenergy and bio-based materials industries in the context of relief packages related to COVID-driven economic losses; 3) Reassess fossil fuel subsidies: Take advantage of a low oil price environment to reassess fossil fuel subsidies for a fairer playing field. 4) Build Back Better with Bio: Where appropriate, integrate the bioeconomy sector as part of broader recovery programmes, e.g. by requiring bioeconomy investments/targets as part of aid and recovery packages for specific sectors such as transport and chemicals. 5) Reward sustainability: Integrate sustainability rewarding mechanisms into policy frameworks, promoting positive externalities in the production and use of bio-based fuels, chemicals and materials.
Driving The EU Biofuels Consumption by The Biofuture Platform’s Role
Major countries agree to scale up the low carbon bioeconomy and develop sustainable biofuels targets The IEA renewable energy market has analyzed Renewables 2020, biofuels production dropped by almost 12pc in 2020. The urgent policy action required to support the bioenergy and biofuels sector, which has been hard hit by the coronavirus crisis. Small and medium size enterprises are particularly at risk. The IEA urges countries to include bioenergy in economic recovery packages and adopt the Biofuture Platform principles. Earlier, IEA analysis estimates that for every million dollars of investment in the bioenergy sector up to 30 jobs can be created, in particular in rural areas in emerging economies.
Highlighting the Key of the Biofuture Platform for the Post-COVID Recovery IEA renewable energy division head, Paolo Frankl said, the Biofuture Platform was launched in Marrakesh at the UN-led 22nd Conference of Parties (COP) climate talks in November 2016. To help expand and modernise the use of bioenergy, the platform brings together a relatively limited but strong group of like-minded countries, which are either already leaders in the new advanced bioeconomy or interested in its development. Twenty countries are the founding members of the platform, namely Argentina, Brazil, Canada, China, Denmark, Egypt, Finland, France, India, Indonesia, Italy, Morocco, Mozambique, the
www.sugar-asia.com
The five principles for post-Covid bioeconomy recovery urge policy makers to keep existing policies in place and not lower policy ambition, to consider short-term Covid-support for biofuel producers and to reassess fossil fuel subsidies. They suggest to strengthen biofuel ambitions, for example by introducing blending mandates for sustainable aviation fuels as part of recovery packages for airlines, and to rewards sustainability by incorporating life cycle greenhouse gas emission reduction requirements and sustainability measures into biofuels policies.
The EU is a very important market for biofuels. Six EU countries, plus the UK, are founding members of the platform and Portugal is joining. One of the core visions and reasons for being in the group is to promote sustainable practices for the production of biomass and along the entire life cycle. Biofuture Platform supported with other organisations - including the Food and Agriculture Organisation of the United Nations (FAO), the International Renewable Energy Agency (Irena) and the Global Bioenergy Partnership (GBEP) in May 2019 was that sustainability criteria should apply to all biomass and not just to the portion of it used for transport biofuels or bioenergy. In coming year, European transport markets could possible transform a majority market share of conventional biofuels to a greater portion of advanced biofuels. Member countries will need to put in a package of policies to deploy advanced biofuel technologies that are ready, help commercialise those technologies that look promising and provide clear sustainability requirements all with long term periods. But many of these technologies remain at the demonstration phase. Domestic policies and investment could help commercialise these technologies and deploy them at a larger scale.
Five Core Biofuture Principles for Post-COVID Bioeconomy Recovery The crisis globally related to COVID-19 has heavily impacted bioenergy, but the one has also brought to light the need for strong economic recovery programmes across many sectors, and several countries are considering the opportunity to build back better. As a way to facilitate consideration of policies and programs, they put forward these five non-binding core Biofuture Principles for post-COVID bioeconomy recovery and acceleration. 1) Do not backtrack: Ensure continuity and long-term predictability of bioenergy, biofuels, and bio-based material targets and existing policy mechanisms that have proved successful. 2) Consider short-term COVID support for producers: Where appropriate, address short-term
In 2021, the Biofuture Platform is due to release its Policy Blueprint analysis. This assessment of the effectiveness of bioenergy support policies will provide a critical review of policies, providing good practice examples, but also highlighting some weaker parts which identify scope for further domestic policy action. The point is not to say who is good and who is bad, but to improve all together.
37
Research News
นักวิจัยโปรตุเกส สกัดสารไบโอซิลิกาจากอ้อย ได้เป็นผลส�ำเร็จ Portuguese Researchers Create Biosilica Extracted from Sugarcane
แหล่งที่มา : Amyris
ค
ณะเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งมหาวิทยาลัยคาทอลิกา โปรตุเกส ร่วมกับบริษทั Amyris ซึง่ เป็นผูน้ ำ� ด้าน เทคโนโลยีชีวภาพสังเคราะห์ของธุรกิจความงามและ สุขภาพแบบปลอดสารเคมี และให้บริการส่วนผสม จากธรรมชาติแบบยั่งยืน ได้น�ำเสนอผลงานการวิจัย ที่ส�ำคัญ นั่นคือ สารไบโอซิลิกา (Biosilica) สกัดจาก อ้อยซึง่ ใช้ได้ในอุตสาหกรรมเครือ่ งส�ำอาง โดยเฉพาะการ เป็นส่วนผสมใหม่ในรองพืน้ ครีม โลชัน่ และผลิตภัณฑ์ อืน่ ๆ ในการเป็นทางเลือกใหม่ทยี่ งั่ ยืนและให้ผลลัพธ์ที่ ดีขึ้นกว่าสารซิลิกาชนิดดั้งเดิม ที่จริงแล้ว ไบโอซิลิกานั้นได้มาจากเถ้าของอ้อยที่ถูก เผาในอุตสาหกรรมการผลิตน�้ำตาลส�ำหรับสร้างพลังงาน รวมทั้งใบอ้อยที่เกิดจากการเก็บเกี่ยวอ้อย และกากชาน อ้อย ซึ่งเป็นเส้นใยพืชที่ได้มาหลังจากกระบวนการผลิต น�้ำตาลของโรงงาน ส่วนผสมชนิดใหม่นี้ถือเป็นส่วนผสมที่ สร้างขึ้นเป็นครั้งแรกของโลกจากทรัพยากรแบบยั่งยืนและ สามารถใช้ในอุตสาหกรรมความงาม เป็นทางเลือกที่ดีกว่า ซิลิกาแบบทั่วไป ที่สกัดมาจากทราย ซึ่งเป็นทรัพยากรที่มี การใช้งานอยู่แล้วทั่วโลก นวัตกรรมส่วนผสมใหม่นี้ น�ำโดยบริษทั Amyris โดย มีการอ้างอิงวิจัยจากองค์กรแกรนด์ วิว ไว้ว่า ตลาดเครื่อง ส�ำอางส�ำหรับการแต่งหน้า (Color Cosmetics) นั้น จะท�ำ รายได้ประมาณ 87 พันล้านดอลลาร์ในการค้าปลีกภายในปี พ.ศ. 2568 ด้วยอัตราการเจริญเติบโตโดยรวมต่อปีประมาณ ร้อยละหก และจากการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์มวลรวม มากกว่า ร้อยละสิบของตลาดเครือ่ งส�ำอางแบบแต่งหน้ารุน่ ใหม่ทเี่ ปิด ตัวในช่วงห้าปีที่ผ่านมา มีซิลิกาเป็นส่วนผสม “การค้นพบครั้งแรกนี้ก่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็น นวัตกรรมใหม่ ซึ่งเป็นผลมาจากแลกเปลี่ยนความรู้ร่วม กันระหว่างสององค์กรที่ ด�ำเนินการไปในทิศทางกลยุทธ์ เดียวกัน แต่เหนือสิ่งอื่นใดคือความมุ่งมั่นของนักวิจัยระดับ แนวหน้ามากกว่า 100 คน ในช่วงเวลาสองปีที่มีการสร้าง ส่วนผสมใหม่ที่ตลาดรองรับ นั่นคือการให้ความส�ำคัญกับ หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียนและการพัฒนาที่ยั่งยืน” มานุ แอลลา ปินทาดุ นักวิจัยและผู้ประสานงานโครงการเกี่ยว กับเทคโนโลยีชีวภาพที่ใหญ่ที่สุดในโปรตุเกส หรือเรียกอีก ชื่อว่า Alchemy Project แถลง
38
นายมิเกล บาร์โบซาจากบริษทั Amyris Bio Products Portugal อธิบายว่า “ส่วนผสมดังกล่าวสร้างเครื่องส�ำอาง ที่ปลอดภัย นั่นคือ ความสวยแบบปลอดสารเคมี (Clean Beauty) ที่สะอาดกว่าเดิมและเป็น ‘โครงการแรก’ ของ การเปิดตัวศูนย์นวัตกรรมระดับนานาชาติด้านเทคโนโลยี ชีวภาพซึ่งมีความแข็งแกร่งของวิทยาศาสตร์ประยุกต์และ ความมุ่งมั่นของความเป็นผู้น�ำกิจการด้านการตลาด” โดย บริษัทดังกล่าวเป็นบริษัทในเครือของกลุ่ม Amyris ที่จด ทะเบียนในตลาดหุ้น NASDAQ ซึ่งตั้งอยู่ในเอเมอรีวิลล์ รัฐ แคลิฟอร์เนีย โดยมีจอห์น เมลุ ชาวอเมริกนั เชือ้ สายโปรตุเกส เป็นผู้บริหารระดับสูง “ไบโอซิลกิ า้ เป็นมากกว่าส่วนผสมทีย่ งั่ ยืน เพราะแสดง ให้เห็นว่าวิทยาศาสตร์สามารถช่วยเพิม่ คุณค่าจากของเสียใน อุตสาหกรรม ปกป้องความยัง่ ยืนของทรัพยากรโลก และใน ขณะเดียวกันก็ส่งเสริม ‘ความงามแบบปลอดสารเคมี’ โดย ให้มีการพัฒนาเครื่องส�ำอางที่สะอาดและปลอดภัย” ราเกล มาดุเอรา นักวิจยั โครงการดังกล่าวอธิบายเพิม่ เติม ผลิตภัณฑ์ ใหม่นจี้ ะออกสูท่ อ้ งตลาดโดยบริษทั Aprinnova ซึง่ เป็นผูน้ ำ� ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพของอเมริกา ทีม่ กี ารผลิตเครือ่ งส�ำอาง แบบยั่งยืนและเป็นหุ้นส่วนของบริษัท Amyris
T
he Faculty of Biotechnology of the Universidade Católica Portuguesa, in partnership with the company Amyris, a leading synthetic biotechnology company in the Clean Health and Beauty markets and a top supplier of sustainable and natural ingredients, presented an important result, the first biosilica extracted from sugarcane with application in the cosmetic industry. So, the new ingredient biosilica can be used in foundations, creams, lotions and other applications as a sustainable and better performing alternative to traditional silica.
In fact, Biosilica is obtained from sugarcane ash from the burning of by-products from sugar producing industries for energy generation, including leaves resulting from the process of harvesting the plant and bagasse, fibrous material obtained after extraction of sugar syrup. The new ingredient, the first in the world to be created with sustainable resources and to be used in the cosmetic industry, assuming itself as a sustainable and better performing alternative to traditional silica, extracted from sand, a resource with intense exploration on the planet This ingredient innovation has been led by Amyris. As of last year, Grand View Research, Inc. projected that the color cosmetics market is expected to be valued at about $87 billion in retail value by 2025, with a CAGR of approximately 6% and according to an analysis of Mintel GNPD, over 10% of new color cosmetic product launches over the last five years contained silica. “This first discovery that gives rise to an innovative product results from a mutual knowledge between the two entities involved from a strategic alignment, but above all from the commitment of more than 100 top-level researchers. In two years to create a new ingredient well accepted by the market and that respects the principles of circular economy and sustainable development “, says Manuela Pintado, CBQF researcher and coordinator of the Alchemy project in Portugal. “This ingredient makes clean cosmetics – clean beauty – even cleaner and is, so to speak, the ‘first stone’ of the implementation of an international innovation hub in the field of Biotechnology with a strong culture of applied science, and entrepreneurial spirit, strongly market-oriented,” says Miguel Barbosa, of Amyris Bio Products Portugal. Amyris Bio Products Portugal is a subsidiary of NASDAQ-listed Amyris Inc., based in Emeryville, California. It’s CEO is luso-American John Melo.
The new ingredient biosilica extracted from sugarcane can be used in the cosmetic industry and other applications. “More than a sustainable ingredient, biosilica shows how science can help to value the waste of any industry, safeguard the sustainability of global resources and, at the same time, promote a ‘clean beauty’, by allowing the development of clean and safe cosmetics,” explains Raquel Madureira, researcher of the project. This new product will be marketed by Aprinnova, a leading U.S. company in the field of biotechnology applied to sustainable cosmetics and partner of Amyris.
www.sugar-asia.com
Research News
นวัตกรรมยางแบบใหม่ผลิตจากอ้อย ช่วยลดปริมาณ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้ต่ำ� กว่า New Innovation Rubber Made from Sugarcane Lower CO2 Footprint
Keltan Eco เป็นยางเอทิลีนโพรพิลีนไดอีนโมโนเมอร์ ชนิดแรกของโลก ที่ใช้เอทิลีนผลิตจากอ้อย
วิ
ศวกรเคมีของบริษทั อาร์แลนซิโอ (Arlanxeo) หนึง่ ในผูผ้ ลิตยางสังเคราะห์รายใหญ่ทสี่ ดุ ของโลกในเมือง เกลีน ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้พสิ จู น์ให้เห็นแล้วว่าการ ผลิตยางจากอ้อยมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทตี่ ำ�่ กว่ายางทีใ่ ช้ปโิ ตรเลียมมาก โดยเปิดเผยว่าค่าฟุตปรินท์ มีคา่ เท่ากับร้อยละ 85 ซึง่ ต�ำ่ กว่ายางสังเคราะห์ทวั่ ไปที่ มีคณ ุ สมบัตเิ ทียบเคียงกันโดยทีค่ า่ ร้อยละของฟุตปรินท์ หาได้จากการตรวจสอบกระบวนการผลิตทัง้ หมดตัง้ แต่ การปลูกอ้อยลงในพื้นดินไปจนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ ส�ำเร็จรูปที่เรียกว่า Keltan Eco
เฮอร์แมน ดิคแลนด์ วิศวกรเคมีและหัวหน้าฝ่าย นวัตกรรมของบริษัทอาร์แลนซิโอ กล่าวว่า “ยางชนิดนี้ สามารถย่อยสลายได้ในทางชีวภาพ ลองจินตนาการดูว่า หากยางรถยนต์สามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ มันก็จะ สามารถย่อยสลายได้ภายใต้สถานการณ์บางอย่าง ในขณะที่ ยางทัว่ ไปต้องใช้เวลาในการย่อยสลายเป็นเวลานาน เมือ่ เรา พูดถึงยางทีย่ งั่ ยืนเท่ากับว่าเราก�ำลังพูดถึงยางสังเคราะห์ ยก ตัวอย่างเช่น EPDM (ยางเอทิลนี โพรพิลนี ไดอีนโมโนเมอร์) ซึ่งมีวัตถุดิบหลักคือเอทิลีนที่ไม่ได้สกัดมาจากแนฟทา (ผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากน�้ำมันดิบ) แต่สกัดมาจากไบโอ เอทานอลมากกว่า” เขากล่าวว่า ปัจจุบันยังไม่สามารถรีไซเคิลยางที่ใช้ แล้วในราคาที่สามารถแข่งขันกันได้ ไม่สามารถหลอมหรือ ละลายยางได้ ซึ่งนั่นหมายความว่าสามารถสร้างผลิตภัณฑ์ ทางเทคโนโลยีที่ยอดเยี่ยมที่สามารถทนต่ออุณหภูมิสูงได้ แต่คุณสมบัติเหล่านี้ก็ท�ำให้ยากต่อการน�ำกลับมารีไซเคิล เป็นวัตถุดิบตั้งต้นได้ ซึ่งสิ่งนี้ยังมีราคาที่สูงเกินไป แต่อาจ มีการเปลีย่ นแปลงได้ในอนาคต “คุณจะเห็นได้ตลอดห่วงโซ่ คุณค่าของอุตสาหกรรมว่าผู้แปรรูปยางต้องการให้เป็นเช่น นั้น หากแต่เมื่อถึงจุดๆ หนึ่งที่ลูกค้าเริ่มแสวงหาผลิตภัณฑ์ เหล่านี้ อุตสาหกรรมจะเริ่มคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ในการ ผลิตผลิตภัณฑ์เหล่านี้” ตรงกันข้ามกับโพลีเมอร์ ยังไม่มีการวิจัยในการท�ำให้ ยางสามารถน�ำกลับมารีไซเคิลได้มากนัก นีลส์แวนเดอร์อาร์ (Niels van der Aar) วิศวกรเคมีและผูจ้ ดั การโครงการด้าน ความยั่งยืนของบริษัทอาร์แลนซิโอ ระบุว่า องค์ประกอบ ของผลิตภัณฑ์โพลีเมอร์บริสุทธิ์กว่าผลิตภัณฑ์ยาง เมื่อ ผลิตพลาสติกมักใช้วัตถุดิบชนิดเดียวกันมากกว่าร้อยละ 99 ในขณะที่ยางมักมีน้อยกว่าครึ่งหนึ่ง ซึ่งนั่นท�ำให้การ รีไซเคิลท�ำได้ยากขึ้น www.sugar-asia.com
ดังนั้นจึงยังคงเป็นเรื่องยากที่จะท�ำการรีไซเคิลยาง และน�ำเสนอเป็นผลิตภัณฑ์ในราคาที่น่าสนใจ แต่ใช่ว่าจะ เป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ตามที่ เขา ระบุว่า “ในเนเธอร์แลนด์มี ยางรถยนต์เพียงไม่กลี่ า้ นเส้นเท่านัน้ ทีถ่ กู บดเพือ่ รีไซเคิลใน แต่ละปี ยกตัวอย่างเช่น ใช้ธัญพืชท�ำเป็นพื้นสนามเด็กเล่น นอกจากนี้ยังสามารถผสมกับยางมะตอยที่ใช้ท�ำถนนได้อีก ด้วย และยังใช้ในการสกัดสีย้อมของหมึกด�ำได้ด้วย” เขายังคาดว่า จะมียางพาราแบบยั่งยืนเพิ่มมากขึ้นใน ตลาดในช่วงสิบถึงสิบห้าปี เพราะหลังจากนั้นอาจมีความ ต้องการใช้มากขึ้น ซึ่งหมายความว่าจะมีการวิจัยเพิ่มเติม เกีย่ วกับการปรับเปลีย่ นวัตถุดบิ มากกว่าทีเ่ ป็นอยูใ่ นปัจจุบนั อย่างไรก็ตาม ณ จุดๆ หนึง่ เราสามารถรับรูถ้ งึ ประโยชน์ทมี่ ี ต่อสิง่ แวดล้อมอย่างมากมายมหาศาลได้อย่างรวดเร็ว กล่าว คือโดยการท�ำให้ยาง EPDM ทัง้ หมดนอกเหนือไปจากเอทิลี นที่ใช้ไบโอเอทานอล สิ่งนี้มีแนวโน้มที่จะเป็นไปได้จริงหาก มีการเรียกเก็บภาษีจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในการผลิต โดยสิ่งนี้สามารถท�ำได้เท่าที่ยังมีความ สามารถท�ำได้”
then it would crumble under certain circumstances. Whereas the tire has to last a long time. When we talk about sustainable rubber, we are talking, for example, about synthetic rubber such as EPDM (ethylene propylene diene monomer rubber), whose main raw material, ethylene, is not extracted from naphtha (a product processed from crude oil) but rather from bioethanol.” At the moment, it is not possible to recycle used rubber at a competitive price, Dikland notes. “You cannot melt or dissolve rubber. This means you can create fantastic technological products that can withstand high temperatures. But it is precisely these properties that make them difficult to recycle back into their original raw materials.” This is still too expensive. But that could change in the future. “You can see right throughout the industry’s value chain that rubber processors want to do just that. If at some point, customers start asking for these products, the industry will start innovating in order to supply them.” In contrast to polymers, not much research has yet been undertaken into making rubber recyclable, confirms Niels van der Aar, chemical engineer and project manager Sustainability at Arlanxeo. The composition of polymer products is purer than that of rubber products. When it comes to plastic, often more than 99 percent of the same raw material is used. Whereas with rubber, this is often less than half. That makes it more difficult to recycle. Consequently, it is still difficult to recycle rubber and offer it as a product at an attractive price. But that is not impossible, according to Dikland. “In the Netherlands, a few million car tires are crushed for recycling each year. The grains are used, for example, to make floors for playgrounds. They can also be integrated into the bitumen that is used to make freeways. And they are used to extract dye for black ink.”
T
he Chemical engineers at Arlanxeo, one of the world’s largest producer of synthetic rubber in the Dutch city of Geleen have proven that the plant-based rubber production based on sugar cane has a much lower CO2 footprint than that of petroleum-based rubber. They revealed that the footprint is 85 percent lower than that of comparable conventional synthetic rubbers that percentage has been determined by examining the entire production process, from sowing the sugar cane in the ground to the finished product called Keltan Eco.
Herman Dikland, a chemical engineer and head of innovation at Arlanxeo said “It’s not the case that this rubber is biodegradable. Try to imagine if a rubber car tire was biodegradable,
A researcher from ARLANXEO There will be more sustainable rubber on the market in ten to fifteen years’ time, Dikland expects, because then there will probably be far more demand for it. This means more research will have been done into adapting the raw materials than is currently the case. On one point, however, a lot of environmental gains can quickly be realized. Namely, by making all EPDM rubber out of ethylene based on bioethanol. This is more likely to happen if there is a tax on CO2 emissions for the manufacture of it. This can be done as far as capacity is concerned,” says Van der Aar.
39
Thailand
Call for Papers
UGAR S 2021
In Conjunction With :
3 rd Edition
Conference
THAILAND 2021
" A REAL CHALLENGE TO GLOBAL SUGAR INDUSTRY. "
9 - 10 SEPTEMBER 2021
KHON KAEN INTERNATIONAL CONVENTION AND EXHIBITION CENTER (KICE), KHON KAEN, THAILAND Which includes the following topics or areas of interest : 1) Agriculture ASEAN Environment Challenge, Productivity And Strategic Plan of Consumption 2) Trade and Investment Trade Policies in ASEAN and New Competitiveness 3) ASEAN Alliance ASEAN Community & Partnership — Implementing Strategic Alliances Sustainable Communities 4) Technology Focus To Optimize Field-Development, Innovations for Increasing Industry Efficiency and Training
Abstract Guidelines 1.Submit an Abstract
Annual Meeting Point For Sugar Industry PlayersIn Thailand And South-East Asia
If you would like to present as a speaker in Thailand Sugar Conference 2021, start by submitting an abstract. You will need the following: • An abstract must be in English and must include : Title of the paper, Surnames and first names, postal and email addresses of the authors including the company, association, educational or research institute that you represent. An abstract on one A4 page (maximum) – Minimum half A4 page : 300 - 500 words, Font:Times – Size: 11 – Line spacing: single • The abstract MUST be submitted as a PDF-file, saved under PDF. Scanned PDF-files are not allowed. The files must be created using a PDF-distiller, all fonts must be embedded. • The file may NEITHER contain any form of security, NOR bookmarks, 2 links or multiple files in a single PDF file. Submit your proposal to
2.Closing Dates for Abstract Submission
After we receive your abstract, all abstract will be reviewed between two to four weeks of submission. The proposal will
now be accepted until 31 July 2021
3.Confirmation
Once your proposal is accepted, you will receive our reply to inform the schedule of your presentation and further information.
Discover New Opportunities For Business Networking, Participants May Come From A Range of Industries And Functions, The Program Will Benefit Senior Professionals. Conference Sessions And Keynote Speaking Presentations From A Leading Expert. 2 Days For A Mixture Of Industry Strategic And Factory Visit.
DAYS
email: thai@juz-talk.com
+100
“WHY YOU SHOULD ATTEND”
100+ Attendees From Sugar And Bioethanol Industry Players.
www.sugar-conference.com (+66) 2 513 1418 Ext.110
OFFICIAL MEDIA :
Sugar Asia Magazine
CONFERENCE BY :
JuzTalk (Thailand)
thai@juz-talk.com ORGANIZED BY :
Fireworks Media (Thailand) Co.,Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group
ADVERTISING WITH FBI (FIREWORKS BUSINESS INFORMATION) PUBLICATIONS DRIVE TRAFFIC TO YOUR BOOTH AND BUILD BRAND AWARENESS ALL YEAR ROUND trusted integrated resources to help you make the most of your investment before, during and after the event. DRIVE TRAFFIC
EXTEND YOUR PRESENCE
THOUGHT LEADERSHIP
to your booth and website
at the event with the
Align your company
publications that are
with an e-mail blast sent to
Exhibitor Showcase-The
message next to cutting
digitally sent to the 5,000
all attendees and industry
video is perfect for your
edge content read by
event attendees and
professionals
website/social media and
thousands of engaged
will be sent to 35,000
industry professionals
BE SEEN
handed out at the event
Oil & Gas and Sugar professionals
To keep your booth busy with engaged and excited industry professionals looking to discover new products and solutions, get in contact today.
OFFICIAL PUBLICATIONS: Sales Advertising
Sales Advertising
T: +66 2513 1418
T: +66 2513 1418
E: sales.th@
E: sugar.asia@
Gas Roadshow and Oil & Gas Thailand
Would Sugar Expo & Conference
• Digitally sent to event attendees
• Digitally sent to event attendees
• Magazine handed out on site
• Magazine show card handed out on-site
Southeast - Asia
Southeast – Asia
www.thaioilgas.com
www.sugar-asia.com
Sales Advertising
Sales Advertising
T: +66 2513 1418
T: + 603 7621 5498
E: sales.th@
E: vanny@
Palmex Expo • Digitally sent to event attendees Southeast – Asia
www.mymarinenews.com
• Magazine handed out on site
www.asia-palmoil.com
AN INTERNATIONAL EXHIBITION OF AGRICULTURE COMPANIES, AGRICULTURE TECHNOLOGY & ITS SUPPORTING INDUSTRIES
COVERING THE MAJOR CROPS IN THAILAND RICE
9-10
CASSAVA
CORN
SEPTEMBER 2021
KHONKAEN INTERNATIONAL CONVENTION & EXHIBITION CENTER (KICE), KHONKAEN, THAILAND
Conference By :
Organized By :
JuzTalk (Thailand)
Fireworks Media (Thailand) Co.,Ltd. Part of The Fireworks Trade Media Group
COCONUT
TEA
www.agriculturethai.com More Information Tel : (+66) 2 513 1418 E-mail : thai@asiafireworks.com
Advertisers’ Index
Page 3 Case IH
www.caseih.com
Page BC
Page 20
CLAAS Regional Center South East Asia Ltd.
Department of Agriculture
www.doa.go.th
www.claas-group.com
Page 9
Page 1
Extreme Power Co., Ltd
John Deere (Thailand) Limited
www.extremepower.co.th
www.deere.co.th
Page 17
Page IFC
NCH (Thailand) Co., Ltd.
Postle Industries, Inc.
www.nchasia.com
www.postle.com
Page 40
Page IBC
Propak 2021
Sugarex Thailand 2021
www.propakasia.com
www.thaisugarexpo.com
Page 49
Page 43
Thailand Sugar Conference 2021
The Agri Expo Thailand 2021
www.sugar-conference.com
www.agriculturethai.com
"Asia's Only Sugar Industry Ethanol News Magazine !! "
www.sugar-asia.com
Quarterly Publications Available in Bilingual Thai & English Reach Out To Qualified Leader & Key Decision Makers! 12,000+ Copies to be Circulated in Digital and Print Yes, I would like to subscription print edition of: One year (4 issues) for THB 900 / USD 30 Two year (8 issues) for THB 1,800 / USD 60
3 in 1 !!
p e n u fre Sig or a ine f ay gaz tod e-Ma
Print edition, E-Magazine and App edition SUBSCRIPTION PRINT EDITION CONTACT US AT
FBI PUBLICATIONS (THAILAND) :
Call: +66 2 513 1418 ext. 108
:
Fax: +66 2 513 1419
:
thai@fireworksbi.com
:
www.sugar-asia.com
The best way for sugarcane leaves balingthe QUADRANT from CLAAS.
Three square balers an impressive line-up. NEW: Integrated bale weighing system. The exact bale weight is displayed on the terminal of the QUADRANT models during working, and is saved to the customer order. Thanks to the new bale weighing system, the bale weights can be called up anywhere via TELEMATICS and undergo further processing. All QUADRANT models offer many additional benefits: - High throughput - Automatic baling pressure control for very high bale density - High rotor speed for outstanding crop flow - Good tying reliability, thanks to six high-performance knotters with no twine waste - Knife drawer available for all QUADRANT models – now also available for the QUADRANT 4200 - Crop feed systems to suit a variety of needs: ROTO FEED, ROTO CUT, SPECIAL CUT - Innovative bale weighing system for all QUADRANT models
ครบเครื่องเรื่องอัดใบอ้อย ด้วยนวัตกรรมเครื่องอัดใบอ้อยคุณภาพสูง รุ่น QUADRANT (ควอดแรนท์) จาก CLAAS (คลาส) เครื่องอัดแบบก้อนเหลี่ยม มีให้เลือกสามรุน่ ด้วยกัน เริ่มต้นทีร่ นุ่ เล็กสุด คือ รุน่ QUADRANT 4200 และ รุ่นที่ใหญ่ขึ้น ได้แก่ 5200 และ 5300 โดยขนาดก้อน ที่อัด คือ 1.20 x 0.70 เมตร และ 1.20 x 0.90 เมตร ตามล�ำดับ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม / For more infomation: claas.com claas.co.th CLAAS.SouthEastAsia @claas_sea CLAAS South East Asia @claas.sea
CLAAS Regional Center South East Asia Ltd. 29 Bangkok Business Center Building 18th FL., Unit 1803, Sukhumvit 63 Road, Kwang Klongton - Nua, Khet Wattana Bangkok 10110, Thailand Phone : +66 272 69 667 ext.115 Fax : +66 272 69 669