Internship Advisor Handbook 2016

Page 1

คูมือ

การฝกปฏิบัติงาน สำหรับ

อาจารย

ประจำปการศึกษา 2559 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง


คำนำ ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษาได้ จัดทาคู่มือการฝึ กปฏิบัติงานสาหรั บอาจารย์ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ าหลวงขึ้ น เพื่ อเป็ นแนวทางการปฏิ บั ติ ง านให้ แก่ ค ณาจารย์ ผ้ ู ด าเนิ น งานด้ าน การฝึ กปฏิบัติงาน ซึ่งได้ รวบรวมข้ อมูลอันเป็ นประโยชน์ ประกอบด้ วย รายละเอียดการฝึ กปฏิบัติงาน บทบาทหน้ าที่ของอาจารย์ กระบวนการและขั้นตอนการฝึ กปฏิบัติงาน รวมถึงแบบฟอร์มต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง โดยมุ่ งเน้ น ให้ ผ้ ู ป ฏิบั ติงานได้ เข้ า ใจถึ งกระบวนการและแนวปฏิบัติเ กี่ยวกับ การฝึ กปฏิบั ติงานได้ อ ย่ า ง ถูกต้ อง อันจะส่งผลให้ การดาเนินงานด้ านการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษาสาเร็จลุล่วงด้ วยดี ส่วนจั ด หางานและฝึ กงานของนั กศึ ก ษาหวั งเป็ นอย่ า งยิ่ งว่ า คู่ มื อการฝึ กปฏิบั ติง านฯ ฉบั บ นี้ จะเป็ นประโยชน์ ต่ อ การปฏิ บั ติ ง านของท่ า นไม่ ม ากก็น้ อย อย่ า งไรก็ต ามหากท่ า นพบว่ า ยังมีข้อบกพร่องประการใด โปรดให้ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงต่อไป

ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พฤษภาคม 2559


สารบัญ หน้า บทที่ 1 การฝึ กปฏิบตั ิงาน 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 ความสาคัญและประโยชน์ของการฝึ กปฏิบัติงาน 1.4 รายวิชาการฝึ กปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1.5 หน่วยงานและบุคลากรผู้รับผิดชอบ

1 1 2 3 4

บทที่ 2 บทบาทหน้าทีข่ องอาจารย์ผดู ้ าเนินงานด้านการฝึ กปฏิบตั ิงาน 2.1 อาจารย์ท่ปี รึกษา 2.2 อาจารย์ผ้ ูประสานงาน 2.3 คณะกรรมการรายวิชา บทที่ 3 กระบวนการและขั้นตอนการฝึ กปฏิบตั ิงาน กระบวนการก่อนการฝึ กปฏิบตั ิงาน 3.1 แนวปฏิบัติสาหรับนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงาน 3.2 การเตรียมความพร้ อมนักศึกษาก่อนการฝึ กปฏิบัติงาน 3.3 การยื่นเรื่องการฝึ กปฏิบัติงาน 3.4 การปฐมนิเทศนักศึกษา 3.5 การรับหนังสือส่งตัวของนักศึกษา กระบวนการระหว่างการฝึ กปฏิบตั ิงาน 3.6 ข้ อปฏิบัติสาหรับนักศึกษาระหว่างการฝึ กปฏิบัติงานในสถานประกอบการ 3.7 กิจกรรมระหว่างการฝึ กปฏิบัติงาน 3.8 การนิเทศการฝึ กปฏิบัติงาน กระบวนการหลังการฝึ กปฏิบตั ิงาน 3.9 การรายงานตัวของนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงาน 3.10 กิจกรรมการนาเสนอผลการฝึ กปฏิบัติงาน 3.11 การประเมินผลรายวิชาการฝึ กปฏิบัติงาน 3.12 การแจ้ งผลการประเมินโดยสรุปและข้ อคิดเห็นของสถานประกอบการ ต่อนักศึกษาให้ สานักวิชา 3.13 จัดทาหนังสือขอบคุณสถานประกอบการ และการจัดเก็บข้ อมูล 3.14 จัดทาแบบรายงานการเข้ าร่วมกิจกรรม (Activity Report) และประกาศนียบัตร

8 9 9

10 10 12 13 13 14 15 15 19 19 21 22 22 22


สารบัญ (ต่อ) บทที่ 4 รายงานการฝึ กปฏิบตั ิงาน 4.1 โครงสร้ างและเนื้อหาของรายงาน 4.2 รูปเล่มรายงานการฝึ กปฏิบัติงาน 4.3 แนวปฏิบัติการส่งรายงานการฝึ กปฏิบัติงาน ภาคผนวก ก ประกาศมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงที่เกี่ยวข้ องกับการฝึ กปฏิบัติงาน ภาคผนวก ข เอกสาร/แบบฟอร์ม ที่เกี่ยวข้ องกับการฝึ กปฏิบัติงาน ภาคผนวก ค คู่มือการใช้ โปรแกรม MFU Internship Information System

หน้า

23 24 25 26 55 81


บทที่ 1 การฝึกปฏิบัติงาน การเข้ าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซีย (ASEAN Economic Community, AEC) เป็ นการเปิ ด โอกาสให้ เกิดการเคลื่อนย้ ายแรงงานได้ อย่างเสรี ซึ่งเท่ากับว่ า โอกาสที่คนทางานเก่ง ๆ จากประเทศอื่น ใน AEC จะเข้ ามาหางาน และสมัครงานในประเทศอื่นๆ ในอาเซียนก็มีมากขึ้นตามไปด้ วย และเป็ น ช่วงเวลาที่บริษัทต่าง ๆ จะได้ คัดสรรคนที่มีความสามารถในการทางานเข้ ามาร่วมงาน โดยไม่มีเขตกั้นของ พรมแดนเป็ นอุปสรรคอีกต่อไป ซึ่งส่งผลให้ ปัจจุ บันการแข่งขันในตลาดแรงงานค่อนข้ างสูง และลักษณะ ของบั ณ ฑิตที่ตลาดแรงงานต้ อ งการได้ เ ปลี่ ยนแปลงไป ทัก ษะที่สถานประกอบการต้ อ งการให้ มีในตั ว นักศึกษา ได้ แก่ การเป็ นผู้ท่ไี ว้ วางใจได้ ในการทางาน การพัฒนาตนเอง การจัดการการวางแผน การทางาน อย่างมีระบบ การจัดลาดับงานความสามารถในการรับรู้ การตัดสินใจและการแก้ ปัญหา มนุ ษยสัมพันธ์ ความคิดริ เริ่ ม ระเบี ยบวิ นัย จริ ยธรรม ศี ลธรรม การสื่อสารและการน าเสนอข้ อมู ล และการเป็ นผู้ น า เป็ นต้ น สิ่งที่ท้าท้ ายสาหรับบัณฑิตในปั จจุ บัน คือ การได้ มีโอกาสสร้ างความเข้ าใจและคุ้นเคยกับโลกแห่ง ความเป็ นจริงของการทางาน และการเรียนรู้เพื่ อได้ มาซึ่งทักษะของงานอาชีพและทักษะด้ านการพัฒนา ตนเองนอกเหนือไปจากความรู้ความสามารถด้ านวิชาการเชิงทฤษฎี ทักษะเหล่ านี้จะเรียนรู้และพั ฒนา ได้ โดยเร็วเมื่อนักศึกษาได้ มีโอกาสไปปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ 1.1 หลักการและเหตุผล การเตรียมบัณฑิตให้ มีคุณภาพสูงและเป็ นที่ต้องการของผู้ประกอบการก่อนเข้ าสู่ตลาดแรงงานเป็ น ปณิธานที่สาคัญอย่างยิ่งอีกอย่างหนึ่งของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง นอกเหนือไปจากความรู้ความสามารถ ในเชิ งวิ ช าการแล้ ว บั ณ ฑิต ต้ อ งมี ค วามพร้ อ มในด้ า นต่ า งๆ เพื่ อ ประกอบอาชี พ หลั งส าเร็จ การศึ ก ษา เช่ น ประกอบอาชีพอิสระ การทางานในสถานประกอบการของรั ฐและเอกชน เป็ นต้ น การที่จะดาเนิ น กิจกรรมเหล่านี้อย่างประสบความสาเร็จ เป็ นทรัพยากรที่มีคุณภาพและมีศักยภาพของชาติ นักศึกษาควร ได้ รับการฝึ กทักษะการปฏิบัติง านในสายงานเฉพาะทางที่ตนศึ กษามา ณ สถานประกอบการ ซึ่งจะเปิ ด โอกาสให้ นักศึกษาได้ ประยุกต์ใช้ ความรู้ท่เี รียนมากับการทางานในสาขาอาชีพของตน ได้ เรียนรู้การทางาน และมีทกั ษะในการใช้ อุปกรณ์และเครื่องจักรในสถานประกอบการ มีโอกาสพบเห็นและเรียนรู้กระบวนการ แก้ ปัญหาที่เกิดขึ้นจริ งในการทางานพร้ อมๆ ไปกับการฝึ กทักษะด้ านการบริ หารจัดการและการสื่อสาร การทางานร่วมกับผู้อ่นื ความมีระเบียบวินัยและความรับผิดชอบ เพื่อให้ นักศึกษาเกิดความคุ้นเคยกับการ ทางานในอนาคตอีกทั้งยังเป็ นช่วงเวลาที่นักศึกษาจะได้ พัฒนาวุฒิภาวะพร้ อมที่จะก้ าวออกจากมหาวิทยาลัย และเข้ าสู่สงั คมภายนอกอย่างมั่นคงต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์ การดาเนินงานด้ านการฝึ กปฏิบัติงานมุ่งเน้ นพั ฒนาบัณฑิตให้ มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาการ วิ ช าชี พ และตรงตามความต้ องการของตลาดแรงงาน วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการฝึ กปฏิ บั ติ ง านจริ ง ในสถานประกอบการ มีดังนี้

1


1.2.1 เพื่ อส่งเสริ มและเตรี ยมพร้ อมให้ นั กศึกษาเกิดการเรี ยนรู้แ ละเสริ มสร้ า งประสบการณ์ ด้ านวิชาการและวิชาชีพ พัฒนาตนเองทั้งทางด้ านทักษะวิชาชีพและการเข้ าสู่ระบบการทางาน 1.2.2 เพื่ อ เปิ ดโอกาสให้ ส ถานประกอบการมี ส่ วนร่ วมในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพบั ณ ฑิต ซึ่ งเป็ น ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าต่อชุมชน สังคม และกาลังสาคัญของชาติในอนาคต 1.2.3 เพื่ อ สร้ า งความร่ วมมือทางวิ ชาการ และสัมพั น ธภาพอัน ดีร ะหว่ า งสถานประกอบการ และมหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ าหลวง อั น จะน าไปสู่ค วามร่ ว มมื อ ในการพั ฒ นาทางวิ ช าการ อย่างยั่งยืน 1.2.4 เพื่ อ การพั ฒ นาหลั ก สู ต รและการจั ด การเรี ย นการสอนของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ ทัน สมั ย ได้ มาตรฐาน และผลิตบัณฑิตให้ ตรงกับความต้ องการของผู้ใช้ บัณฑิต 1.3 ความสาคัญและประโยชน์ของการฝึ กปฏิบตั ิงาน การก้ าวเข้ าสู่ประชาคมอาเซียน ทาให้ ทุกภาคส่วนให้ ความสาคัญกับคุณภาพของบุคลากรของชาติ เพิ่ มขึ้น การผลิ ตบัณฑิตที่มีคุณภาพเพื่ อตอบสนองต่ อความต้ องการของตลาดแรงงานจึ งเป็ นสิ่งสาคัญ การส่งเสริมสนับสนุ นให้ นักศึกษาได้ มีโอกาสปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการจึงเป็ นการเตรียมความ พร้ อมให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาด้ านการเสริ ม ทัก ษะและเพิ่ ม ประสบการณ์ เพื่ อ พั ฒ นาอาชี พ และเข้ า สู่ ร ะบบ การทางานจริง การฝึ กปฏิบัติงานจึงก่อให้ เกิดประโยชน์กบั ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้ อง ได้ แก่ 1.3.1 ประโยชน์ต่อนักศึกษา - ได้ ประสบการณ์วิชาชีพตรงตามสาขาวิชาที่เรียนมา - ได้ ค้นพบตนเองและเข้ าใจศักยภาพและความต้ องการในสายงานวิชาชีพ - เกิดการพัฒนาตนเอง และมีความเชื่อมั่นในตนเองมากขึ้น - ได้ เรียนรู้สงั คมการทางาน และการทางานร่วมกับผู้อ่นื - เกิดทักษะการสื่อสาร ประสานงาน และการรายงานข้ อมูล - เป็ นบัณฑิตที่มีศักยภาพ และความพร้ อมปฏิบัติงานได้ ทนั ทีเมื่อสาเร็จการศึกษา - มีโอกาสได้ รับการเสนองานก่อนสาเร็จการศึกษา - มีโอกาสได้ ทางานตรงตามความสามารถและความถนัดของตนเอง 1.3.2 ประโยชน์ต่อสถานประกอบการ - มีนักศึกษาช่วยปฏิบัติงาน ทาให้ พนักงานประจามีเวลาในการปฏิบัติงานในหน้ าที่อ่นื หรือ สร้ างสรรค์ผลงานที่มีคุณค่าต่อองค์กรได้ มากขึ้น - เป็ นช่องทางการสรรหาบุคคลเข้ าเป็ นพนักงานประจา - มีโอกาสสร้ างความร่วมมือด้ านวิชาการกับสถานศึกษา - เกิดภาพพจน์ท่ดี ี ด้ านการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาบัณฑิต 1.3.3 ประโยชน์ต่อสถานศึกษา - เกิดความร่วมมือทางวิชาการ และความสัมพันธ์ท่ดี ีกบั สถานประกอบการ - สถานศึกษาเป็ นที่ร้ ูจักและได้ รับการยอมรับจากผู้ใช้ บัณฑิต - ได้ รับข้ อมูลในการปรับปรุงหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน

2


1.4 รายวิชาการฝึ กปฏิบตั ิงานของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ าหลวงจั ด การศึ ก ษาในระบบทวิ ภ าค ใน 1 ปี การศึ ก ษาจะประกอบด้ ว ย 2 ภาคการศึ ก ษาปกติ และ 1 ภาคฤดู ร้ อน รายวิ ช าการฝึ กปฏิบั ติ ง านเป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของการเรี ย น การสอนแบบ Work – Integrated Learning (WIL) ซึ่ ง เป็ นการบู ร ณการการเรี ย นรู้ ค วบคู่ ไ ปกั บ การทางาน รายวิชาการฝึ กปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมี 2 ลักษณะ ดังนี้ 1.4.1 รายวิชาสหกิจศึกษา (Cooperative Education Course) รายวิชาสหกิจศึกษาจัดไว้ ในภาคการศึกษาที่ 2 ของชั้นปี ที่ 4 ตามแผนการศึกษา โดยมี ระยะเวลาการปฏิบัติงานในสถานประกอบการเป็ นเวลาติดต่อกัน 16 สัปดาห์ หรือ 4 เดือน โดยกาหนดให้ มีจ านวนหน่ วยกิตการศึ ก ษา 6 - 9 หน่ วยกิต เป็ นไปตามหลั กสูตรของการศึ กษาของแต่ละสาขาวิ ชา โดยสานักวิชาหรือสาขาวิชาที่มีหลักสูตรการฝึ กปฏิบัติงานในรายวิชาสหกิจศึกษา ได้ แก่  สานักวิชาการจัดการ - สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว - สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการ - สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน  สานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ - สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียและการสร้ างภาพเคลื่อนไหว - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ - สาขาวิชาวิศวกรรมการสื่อสารและสารสนเทศ  สานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร - สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร  สานักวิชาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ - สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดล้ อม - สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1.4.2 รายวิชาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ (Professional Experience Course) รายวิชาการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พจั ดไว้ ในภาคฤดู ร้อน ของชั้ นปี ที่ 3 ตามแผนการ ศึกษา โดยมีระยะเวลาการปฏิบัติงานในสถานประกอบการเป็ นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่ า 10 สัปดาห์ หรื อตามแผนการศึ กษาที่สาขาวิ ชากาหนดโดยกาหนดให้ มีจานวนหน่ วยกิตการศึ กษา 3 - 6 หน่ วยกิต เป็ นไปตามหลั ก สู ต รของการศึ ก ษาของแต่ ล ะสาขาวิ ช า ซึ่ ง ส านั ก วิ ช าหรื อ สาขาวิ ช าที่ มี ห ลั ก สู ต ร การฝึ กปฏิบัติงานในรายวิชาการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ ได้ แก่

3


 สานักวิชาศิลปศาสตร์

- สาขาวิชาภาษาอังกฤษ  สานักวิชาวิทยาศาสตร์ - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ - สาขาวิชาเคมีประยุกต์  สานักวิชาการจัดการ - สาขาวิชาบริหารธุรกิจ - สาขาวิชาการบัญชี - สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ - สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน  สานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร - สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร - สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตรและการบรรจุ  สานักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสาอาง - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสาอาง - สาขาวิชาเทคโนโลยีความงาม  สานักวิชานวัตกรรมสังคม - สาขาวิชาการพัฒนาระหว่างประเทศ  สานักวิชาจีนวิทยา - สาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ 1.5 หน่วยงานและบุคลากรผูร้ บั ผิดชอบ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ าหลวง ได้ จั ด ตั้ ง ส่ ว นจั ด หางานและฝึ กงานของนั ก ศึ ก ษา ตั้ ง แต่ ปี 2547 เป็ นหน่ วยงานกลางระดับสถาบัน บริ หารงานภายใต้ การกากับดูแลของรองอธิการบดี ทาหน้ าที่ส่งเสริ ม สนับสนุ นและพัฒนาการดาเนินงานด้ านการฝึ กปฏิบัติงานให้ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผ ล รับผิดชอบการประสานงานระหว่างนักศึกษา คณาจารย์ และสถานประกอบการ รวมทั้งการเตรียมความ พร้ อมแก่นักศึกษาสาหรับการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ เพื่อเป็ นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตให้ มี ความพร้ อม สามารถทางานได้ ทันทีหลังสาเร็จการศึกษา และมุ่งสร้ างโอกาสในการได้ งานทาและพัฒ นา ศั ก ยภาพอย่ า งต่อ เนื่ อ งให้ แ ก่ ศิ ษย์ เ ก่ า รวมทั้งประสานงานกับหน่ ว ยงานภายในและภายนอกเกี่ยวกับ ตาแหน่งงานและแหล่งงาน ทั้งงานประจา (Full Time) และงานพิเศษ (Part Time) เพื่อสร้ างงานและ สร้ างรายได้ ให้ แก่นักศึกษาในระหว่างศึกษารวมทั้งศิษย์เก่า

4


ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา จึงมีภารกิจหลักโดยภาพรวม ดังนี้ 1. ประชาสัมพั น ธ์ก ารดาเนิ น งานด้ า นการฝึ กปฏิบั ติ งานให้ หน่ วยงานทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยทราบ 2. จัดทาแผนงานและดาเนินงานด้ านการฝึ กปฏิบัติงาน 3. ประสานงานกับสานักวิชาที่เกี่ยวข้ องกับการดาเนินงานด้ านการฝึ กปฏิบัติงาน 4. จัดกิจกรรมเตรียมความพร้ อมก่อนการฝึ กปฏิบัติงานให้ แก่นักศึกษา 5. ติดต่อและประสานงานกับสถานประกอบการในการรับนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงานและตาแหน่งงาน ในการรับเข้ าทางาน 6. จัดทาฐานข้ อมูลสถานประกอบการ 7. ให้ คาปรึกษาแก่นักศึกษาผ่านช่องทางต่างๆ 8. จัดทาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการฝึ กปฏิบัติงาน เช่น หนังสือขอความอนุ เคราะห์ หนังสือ ส่งตัว เอกสารนิเทศ เป็ นต้ น 9. สร้ างเครือข่ายใหม่และรักษาความสัมพันธ์อนั ดีกบั สถานประกอบการ 10. สรุปและประเมินผลการดาเนินงานด้ านการฝึ กปฏิบัติงาน 11. ดูแลและรับผิดชอบงาน Website ของส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา 12. ประชาสัมพันธ์ตาแหน่งงานทั้งลักษณะงานประจา (Full Time) และงานพิเศษ (Part Time) ให้ แก่นักศึกษา/ศิษย์เก่า 13. ดาเนินการจัดอบรมและสัมมนาให้ นักศึกษาปัจจุบันและศิษย์เก่า 14. ให้ คาปรึกษาด้ านการอบรมและตาแหน่งงานแก่นักศึกษาปัจจุบันและศิษย์เก่า 15. รวบรวมองค์ความรู้ท่เี กี่ยวข้ องเพื่อเผยแพร่ให้ แก่นักศึกษาและผู้สนใจ

5


ส่ ว นจั ด หางานและฝึ กงานของนั ก ศึ ก ษา มี บุ ค ลากรในหน่ ว ยงาน ท าหน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบงาน ด้ านต่างๆ ดังนี้ ลาดับ ชื่อ – สกุล หน้าที่รบั ผิดชอบ รักษาการแทนหัวหน้าส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา 1 อาจารย์ ดร.สุวรรณา เดชาทัย ฝ่ ายจัดการทัว่ ไป 2 นางสาววราลักษณ์ ฟักแก้ ว

3

นางพรรณิภา มณีจันสุข

ฝ่ ายฝึ กปฏิบตั ิงาน 4 นางสาวกิตติมา อ่าสาอางค์

6

5

นางอรกุล สุนทรเมือง

6

นางนันทิดา ภัครนิธนิ ันต์

1. งานสารบรรณ 2. งานนักศึกษาช่วยงาน 3. งานนิเทศการฝึ กปฏิบตั งิ าน

การติดต่อ โทรศัพท์ : 053-916364 อีเมล์ : suwanna.dea@mfu.ac.th โทรศัพท์ : 053-916431 อีเมล์ : waralak.fak@mfu.ac.th

1. งานแผนและงบประมาณ โทรศัพท์ : 053-916431 2. งานประกันคุณภาพการศึกษาและ อีเมล์ : pannipa.khu@mfu.ac.th ควบคุมภายใน 3. งานนิเทศการฝึ กปฏิบตั งิ าน งานให้ ค าปรึ ก ษาและรั บ เรื่ องการ ฝึ กปฏิบตั งิ าน 1. สานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. สานักวิชาการจัดการ - สาขาวิชาการบัญชี - สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 3. สานักวิชาวิทยาศาสตร์ งานให้ ค าปรึ ก ษาและรั บ เรื่ องการ ฝึ กปฏิบตั งิ าน 1. สานักวิชาการจัดการ - สาขาวิชาบริหารธุรกิจ - สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยว - สาขาวิชาอุตสาหกรรมการบริการ 2. สานักวิชาศิลปศาสตร์

โทรศัพท์ : 053-916363 อีเมล์ : kittima.aum@mfu.ac.th

โทรศัพท์ : 053-916363 อีเมล์ : orakul.soo@mfu.ac.th

งานให้ ค าปรึ ก ษาและรั บ เรื่ องการ โทรศัพท์ : 053-916434 ฝึ กปฏิบตั งิ าน อีเมล์ : nanthida.pak@mfu.ac.th 1. สานักวิชาการจัดการ - สาขาวิ ช าการจั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ และโซ่อปุ ทาน 2. สานักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสาอาง 3. สานักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร 4. สานักวิชาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ


ลาดับ ชื่อ – สกุล ฝ่ ายฝึ กปฏิบตั ิงาน 7 นางสาวรภัสสา สมุดความ

8

9

หน้าที่รบั ผิดชอบ

การติดต่อ

งานให้ ค าปรึ ก ษาและรั บ เรื่ องการ โทรศัพท์ : 053-916434 ฝึ กปฏิบตั งิ าน อีเมล์ : raphatsa.sam@mfu.ac.th 1. สานักวิชาการจัดการ - สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน 2. สานักวิชานวัตกรรมสังคม 3. สานักวิชาจีนวิทยา

นางสาวกิตติยา ทาเกิด

1. งานฝึ กอบรม/จัดกิจกรรมต่างๆ 2. งานสารสนเทศ นางสาวศรัญญา ปานปวันรัตน์ 3. งานพัฒนาศักยภาพบัณฑิต 4. งานวิจัยและพัฒนา

โทรศัพท์ : 053-916366 อีเมล์ : kittiya.tak@mfu.ac.th โทรศัพท์ : 053-916366 อีเมล์ : saranya.pan@mfu.ac.th

สามารถศึกษาหรือสอบถามข้ อมูลด้ านการฝึ กปฏิบัติงานเพิ่มเติมได้ ท่ี ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา อาคารบริการวิชาการ ชั้น 1 ห้ อง 101-106 โทรศัพท์ : 053-916363, 053-916366, 053-916431 และ 053-916434 โทรสาร : 053-916365 และ 053-916439 อีเมล์ : internship@mfu.ac.th เว็บไซต์ : www.mfu.ac.th/division/placement Facebook : www.facebook.com/internship.mfu

7


บทที่ 2 บทบาทหน้าที่ของอาจารย์ผู้ดาเนินงานด้านการฝึกปฏิบัติงาน 2.1 อาจารย์ทีป่ รึกษา เป็ นอาจารย์ ป ระจ าสาขาวิ ชาต่ า งๆ ซึ่ ง ได้ รั บ การเสนอชื่ อ จากส านั กวิ ชาและได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง จากมหาวิทยาลัย มีหน้ าที่ดังนี้ 2.1.1 ให้ คาปรึ ก ษาด้ า นวิชาการตลอดจนให้ คาแนะนาก่อนการฝึ กปฏิบัติงาน ในระหว่ างการ ฝึ กปฏิบัติงาน และหลังการฝึ กปฏิบัติงานแก่นักศึกษา อาจารย์ ท่ีป รึ ก ษาจะต้ อ งติ ด ตามนั ก ศึ ก ษาฝึ กปฏิบั ติ ง านสม่ า เสมอและต่ อ เนื่ อ ง เพื่อให้ คาแนะนา ช่วยเหลือนักศึกษาในกรณีต่างๆ ป้ องกันและแก้ ไขปั ญหาที่อาจจะเกิดขึ้น โดยการติ ด ตามนั ก ศึ ก ษาฝึ กปฏิบั ติ ง านนั้ น จะต้ อ งครอบคลุ ม ทั้ง ในด้ า นชี วิ ต ส่ ว นตั ว (ตามความเหมาะสม) ความเป็ นอยู่ และงานที่นักศึกษาปฏิบัติงาน ทั้งนี้การให้ คาปรึกษา และติดตามอาจใช้ ส่อื ต่างๆ เช่น โทรศัพท์ อีเมล์ Social Network ต่างๆ เป็ นต้ น 2.1.2 นิเทศงานการฝึ กปฏิบัติงาน และสรุปผลการนิเทศงาน อาจ าร ย์ นิ เท ศ ที่ ไ ด้ รั บ กา ร แต่ งตั้ ง จา กมห า วิ ท ยา ลั ย จะต้ องนิ เทศ งา น ณ สถานประกอบการอย่ า งน้ อ ย 1 ครั้ ง ระหว่ า งที่นั ก ศึ ก ษาปฏิบั ติ งานไปแล้ ว 1 ใน 3 ของระยะเวลาทั้งหมด โดยมีวัตถุประสงค์ของการนิเทศงานดังนี้ 1. เพื่ อเป็ นการสร้ างขวั ญและกาลั งใจให้ กับนั กศึ กษาที่กาลั งปฏิบัติงานโดยลาพั ง ณ สถานประกอบการ ซึ่งนักศึกษาจะต้ องอยู่ห่างไกลครอบครัว เพื่อน และคณาจารย์ 2. เพื่อดูแลและติดตามผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ ของการฝึ กปฏิบัติงาน 3. เพื่ อช่ วยเหลื อนั กศึ กษาในการแก้ ไขปั ญหาต่ างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในระหว่ างการ ฝึ กปฏิบัติงานทั้งด้ านวิชาการ และด้ านการปรับตัวของนักศึกษา 4. เพื่ อ รั บ ทราบและแลกเปลี่ ย นข้ อคิ ด เห็ น กั บ ผู้ บริ ห าร/พนั ก งานที่ ป รึ ก ษา ในสถานประกอบการเกี่ ย วกั บ การฝึ กปฏิบั ติ ง านของนั ก ศึ ก ษาตลอดจนการ แลกเปลี่ยนความก้ าวหน้ าทางวิชาการซึ่งกันและกัน 5. เพื่ อประเมิ น ผลการด าเนิ น งาน และรวบรวมข้ อมู ล ที่ เ ป็ นประโยชน์ ต่ อ มหาวิทยาลัยและการดาเนินงานด้ านการฝึ กปฏิบัติงาน และให้ ข้อมูลย้ อนกลับแก่ สาขาวิชา/หลักสูตร/สานักวิชา เพื่อพัฒนาหลักสูตรให้ มีความทันสมัย

8


2.1.3 ตรวจสอบรายงานการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษาและประเมินผลโดยพิจารณาให้ สัญลักษณ์ ระดั บ คะแนน S หรื อ U แก่ นั ก ศึ ก ษา และเสนอต่ อ คณะกรรมการประจ าส านั ก วิ ช า และคณบดีป ระจาสานั ก วิ ชา เพื่ อขอความเห็ น ชอบก่อนรวบรวมผลการประเมิน ส่งให้ ส่วนทะเบียนและประเมินผลทราบภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด 2.1.4 ให้ ความร่ วมมือและเข้ าร่ วมกิจกรรมต่างๆ เพื่อสนับสนุ นการฝึ กปฏิบัติงานให้ บ รรลุตาม วัตถุประสงค์ 2.2 อาจารย์ผูป้ ระสานงาน เป็ นตัวแทนอาจารย์ท่ปี รึ กษาของแต่ละสาขาวิชาที่ได้ รับการแต่ งตั้งตามข้ อ 2.1 จานวน 1 ท่าน โดยมีหน้ าที่ประสานงานกับส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษาและสถานประกอบการ รวมทั้งนักศึกษา เพื่อให้ การดาเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์ 2.3 คณะกรรมการรายวิชา เป็ นตัวแทนอาจารย์ท่ปี รึ กษาหรื ออาจารย์ผ้ ูประสานงานที่ได้ รับการแต่งตั้งตามข้ อ 2.1 และ 2.2 ซึ่ งได้ รั บการเสนอชื่ อจากสานั กวิ ชา รายวิ ชาละ 1 ท่าน โดยมี หน้ าที่ป ระสานงานกับส่วนจั ดหางานและ ฝึ กงานของนั ก ศึ ก ษาเพื่ อให้ การด าเนิ น งานด้ านการฝึ กปฏิ บั ติ ง านเป็ นไปด้ วยความเรี ย บร้ อย โดยคณะกรรมการรายวิ ช ามี อ านาจในการตรวจสอบข้ อ เท็จ จริ ง ในกรณี เ กิด ปั ญ หาข้ อ ขั ด ข้ อ งในการ บริหารงานและการดาเนินงานด้ านการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษา ตลอดจนให้ มีอานาจในการวินิจฉัยชี้ขาด

9


บทที่ 3 กระบวนการและขัน้ ตอนการฝึกปฏิบัติงาน  กระบวนการก่อนการฝึ กปฏิบตั ิงาน 3.1 แนวปฏิบตั ิสาหรับนักศึกษาฝึ กปฏิบตั ิงาน 3.1.1 นักศึ กษาต้ องตรวจสอบรายวิชาการฝึ กปฏิบัติงานตามแผนการศึกษาในหลักสูตรของ ตนเอง 3.1.2 ติดตามข่าวสารการประชาสัมพั น ธ์ปฏิทินกาหนดการ และศึกษาระเบียบข้ อบังคับตาม ประกาศของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ดังนี้ - เรื่อง หลักเกณฑ์การฝึ กปฏิบัติงาน พ.ศ. 2556 - เรื่อง แนวปฏิบัติของนักศึกษาที่ไม่ผ่านกิจกรรมเตรียมความพร้ อม พ.ศ. 2556 และประกาศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการฝึ กปฏิบัติงาน 3.1.3 ติดต่อประสานงานกับอาจารย์ท่ปี รึ กษาการฝึ กปฏิบัติงาน และเจ้ าหน้ าที่ของส่วนจัดหางาน และฝึ กงานของนักศึกษาอย่างสม่าเสมอ 3.1.4 พั ฒนาตนเองให้ มีความพร้ อม โดยตรวจสอบผลการเรี ยนของตนเองอย่ างสม่ าเสมอ เพื่ อ ให้ เ ป็ นไปตามเกณฑ์ และหมั่ น ฝึ กฝนเพิ่ ม พู น ความรู้ ท างวิ ช าการอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ก่อนไปฝึ กปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ 3.1.5 เข้ าร่วมกิจกรรมและกระบวนการเตรียมความพร้ อมก่อนการฝึ กปฏิบัติงาน และกิจกรรม ที่เกี่ยวข้ องทุกกิจกรรม ตามปฏิทนิ กาหนดการของมหาวิทยาลัย 3.1.6 ศึกษาข้ อมูลสถานประกอบการที่จะต้ องไปฝึ กปฏิบัติงานล่ วงหน้ า เช่ น ประวัติความเป็ นมา ผู้บริ หาร สถานที่ต้ัง ลักษณะธุรกิจของสถานประกอบการ ลักษณะงาน การดาเนินงาน เส้ นทางการเดินทาง และที่พัก เป็ นต้ น 3.2 การเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนการฝึ กปฏิบตั ิงาน ก่อนนักศึกษาจะเข้ ารับการฝึ กปฏิบัติงาน นักศึกษาจะต้ องเข้ าร่วมกิจกรรมและกระบวนการ เตรียมความพร้ อมก่อนการฝึ กปฏิบัติงานซึ่งทางมหาวิทยาลัยจัดขึ้น และจะต้ องได้ คะแนนไม่น้อยกว่า ร้ อยละ 80 ของผลรวม (การประเมิ น ผลจากสาขาวิ ช า ร้ อยละ 30 และการประเมิ น ผลจาก ส่วนจัดหางานฯ ร้ อยละ 70) จึงจะถือว่า “ผ่าน” และมีสทิ ธิ์ย่ นื แบบคาร้ องขอเข้ ารับการฝึ กปฏิบัติงาน ตามระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด

10


ตัวอย่างหัวข้อกิจกรรมเตรียมความพร้อมสาหรับนักศึกษา  กิจกรรมแนะนารายวิชา โดยส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา เป็ นกิ จ กรรมเพื่ อให้ นั ก ศึ ก ษาได้ รั บทราบ หลั ก เกณฑ์ ก ารฝึ กปฏิ บั ติ ง าน และข้ อ มู ลรายละเอียดของรายวิ ช าการฝึ กปฏิบั ติง านแต่ ละประเภท ก าหนดการและ ขั้นตอนต่างๆ รวมทั้งเอกสารที่เกี่ยวข้ องกับการฝึ กปฏิบัติงาน  กิจกรรมแนะนารายวิชา โดยสานักวิชา (กิจกรรมสานักวิชาพบนักศึกษา) เป็ นกิ จ กรรมเพื่ อให้ นั ก ศึ ก ษาได้ รั บ ทราบข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ อาจารย์ ท่ี ป รึ ก ษา การฝึ กปฏิบัติงาน และได้ รับคาแนะนาในการเลือกสถานประกอบการ  กิจกรรมการปรับทัศนคติเข้ าสู่โลกการทางาน เป็ นกิ จ กรรมเพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ แ นวคิ ด ในการปรั บ ทัศ นคติ ท่ี ดี กั บ การท างาน รวมไปถึงการปรับตัวให้ เข้ ากับสภาพแวดล้ อมในการทางาน สามารถปฏิบัติงานได้ อย่าง มีความสุขและมีประสิทธิภาพ  กิจกรรมการสร้ างโปรไฟล์เพื่อการสมัครงานและศึกษาต่อ เป็ นกิจ กรรมเพื่ อ เตรี ย มความพร้ อมก่อนการสมัค รงาน หาแหล่ งงาน การเขีย น จดหมายสมัครงาน การเขียน Resume การสัมภาษณ์ งานอย่ า งถู กต้ อง และสามารถ นาไปใช้ ในการสมัครงานในอนาคต  กิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพและมารยาทสังคม เป็ นกิจกรรมเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพและมารยาทสังคมของนักศึกษา รู้ จักการวางตัว ในสังคมอย่างเหมาะสม รวมไปถึงการพัฒนาด้ านความคิด การตัดสินใจ สามารถนาไป ประยุกต์ใช้ กบั การทางานในอนาคต  กิจกรรมการสร้ างแรงบันดาลใจในการทางาน เป็ นกิจกรรมแนะนาเคล็ดลั บ ในการสร้ า งความสาเร็จ ของรุ่ น พี่ ท่ีสาเร็จ การศึ ก ษา และเคยผ่ า นการฝึ กปฏิ บั ติ ง านให้ กั บ รุ่ นน้ อ งเพื่ อ เตรี ย มตั ว ก่ อ นการฝึ กปฏิบั ติ ง าน เสริมสร้ างความรู้ความเข้ าใจ รวมถึงวิธกี ารสร้ างความสาเร็จในการประกอบอาชีพ  กิจกรรมความฉลาดทางอารมณ์ เป็ นกิจกรรมเพื่อให้ นักศึกษาได้ เรี ยนรู้และเข้ าใจอารมณ์ของตัวเองได้ อย่างชัดเจน มากยิ่งขึ้น และเตรี ยมวิธีบริ หารจัดการอารมณ์ของตัวเองให้ ดีข้ ึน เพื่อให้ นักศึกษากล้ า แสดงออกอย่ างเหมาะสมกับสถานการณ์ ต่างๆ มากกว่ าการใช้ อารมณ์ในการกาหนด พฤติกรรมของตัวเอง  กิจกรรมการใช้ Social Network กับการทางาน เป็ นกิ จ กรรมเพื่ อให้ นั ก ศึ ก ษารู้ จั ก การใช้ เทคโนโลยี ห รื อ Social Network อย่างเหมาะสม มีสติสัมปชัญญะ คือสามารถควบคุมความรู้สึกอยากเล่นให้ พอประมาณ และตระหนักถึงผลดี เสีย-ที่จะตามมาจากการใช้ เทคโนโลยีและโซเชียลเน็ตเวิร์กในโลก ออนไลน์อย่างรู้เท่าทัน

11


 กิจกรรมเตรียมความพร้ อมทักษะภาษาไทย (การเขียนและการพูด) เป็ นกิ จ กรรมเพื่ อให้ นั ก ศึ ก ษามี ค วามรู้ ความสามารถในการใช้ ภาษาไทย ได้ อย่ า งถู กต้ อ ง รู้ จั ก วิ ธีเขี ยนและการนาเสนอความคิดด้ วยภาษาที่เหมาะสม สามารถ สื่อสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสมตามกาลเทศะและบุคคล  กิจกรรมปฐมนิเทศการฝึ กปฏิบัติงาน เป็ นกิ จ กรรมสร้ างความเข้ าใจก่ อ นที่ นั ก ศึ ก ษาจะเข้ ารั บ การฝึ กปฏิ บั ติ ง าน โดยชี้ แจงขั้ น ตอนการฝึ กปฏิบั ติ ง าน และข้ อ ปฏิบั ติ ต่ า งๆ ระหว่ า งการฝึ กปฏิบั ติ ง าน การนิเทศ การจัดทารายงาน การนาเสนอผลการปฏิบัติงาน รวมถึงการให้ คาแนะนาความ ช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ 3.3 การยืน่ เรือ่ งการฝึ กปฏิบตั ิงาน นักศึกษาทุกคนต้ องได้ รับคะแนนการเข้ าร่ วมกิจกรรมและกระบวนการเตรี ยมความพร้ อม ในระดับ ผ่าน จึงจะสามารถยื่นแบบคาร้ องขอฝึ กปฏิบัติงานและลงทะเบียนเรียนรายวิชาสหกิจศึกษา หรือรายวิชาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพได้ โดยต้ องยื่นเรื่องขอฝึ กปฏิบัติงานตามระยะเวลาที่มหาวิทยาลัย กาหนด (ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง) หากพ้ นระยะเวลาการยื่นเรื่องดังกล่าว จะถือว่านักศึกษาสละสิทธิ์ การฝึ กปฏิบัติงานในภาคการศึกษานั้นและนักศึกษาต้ องมีคุณสมบัติเป็ นไปตามเกณฑ์ท่มี หาวิทยาลัย กาหนดไว้ ดังนี้ 1. รายวิชาสหกิจศึกษา - นักศึกษาต้ องลงทะเบียนเรียนมาแล้ วโดยมีหน่ วยกิตสะสมไม่น้อยกว่ า 90 หน่ วยกิต การนับหน่วยกิตจะไม่นับรายวิชาที่ได้ รับผลการศึกษา F - นักศึกษาต้ องมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00 ก่อนเริ่มฝึ กปฏิบัติงาน 2. รายวิชาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ - นักศึกษาต้ องลงทะเบียนเรี ยนมาแล้ ว โดยมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 75 หน่วยกิต การนับหน่วยกิตจะไม่นับรายวิชาที่ได้ รับผลการศึกษา F - นักศึกษาต้ องมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00 ณ วันที่ย่ ืนเรื่อง หากนักศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่ า 2.00 สานักวิ ชาต้ องพิ จารณารั บรองว่ านักศึกษามีความรู้ ความสามารถเพียงพอต่อการฝึ กปฏิบัติงานได้ 3. ต้ องได้ รับผลการประเมินการเข้ าร่ วมกิจกรรมและกระบวนการเตรียมความพร้ อมระดับ ผ่าน ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด ณ วันที่ย่ นื เรื่องขอฝึ กปฏิบัติงาน 4. ไม่อยู่ระหว่างถูกพักการศึกษาในภาคการศึกษาที่จะฝึ กปฏิบัติงาน 5. ไม่เป็ นโรคติดต่อร้ ายแรงหรือเป็ นอุปสรรคต่อการฝึ กปฏิบัติงานในสถานประกอบการ 6. เป็ นผู้มีความประพฤติเรียบร้ อย 7. ไม่ เคยต้ อ งโทษทางวิ นั ย นั กศึ กษาเนื่ องจากมี ค วามประพฤติเ สื่อมเสีย ตั้ง แต่ ร ะดั บ พั ก การศึกษาขึ้นไป

12


3.3.1 เอกสารทีใ่ ช้ประกอบการยืน่ เรือ่ งการฝึ กปฏิบตั ิงาน 1. แบบคาร้ องการฝึ กปฏิบัติงาน (FM Coop/Pro-ex 01) จานวน 1 ใบ พร้ อมติดรูปถ่าย ขนาด 1 นิ้ ว แบบคาร้ องการฝึ กปฏิบั ติงานจะแสดงรายละเอียดของนั กศึ กษาและ สถานประกอบการที่นั กศึ ก ษาต้ อ งการยื่น เรื่ อ งขอฝึ กปฏิบั ติงาน ซึ่ งต้ องผ่ า นความ เห็นชอบโดยการลงลายมือชื่อจากผู้ปกครอง อาจารย์ท่ปี รึกษา และอาจารย์ท่ปี รึกษา รายวิชาฝึ กปฏิบัติงานประจาสาขาวิชา 2. สาเนาใบแสดงผลการศึกษา (Official Transcript) ฉบับภาษาอังกฤษ จานวน 2 ชุด พร้ อมรับรองสาเนาถูกต้ อง 3. ส าเนาหนั ง สื อ รั บ รองความเป็ นนั ก ศึ ก ษา (Certification of Student Status) ฉบับภาษาอังกฤษ จานวน 2 ชุด พร้ อมรับรองสาเนาถูกต้ อง 4. ประวัตินักศึกษา (Resume) ภาษาอังกฤษ จานวน 2 ชุด 3.3.2 ขั้นตอนการยืน่ เรือ่ ง 1. นั ก ศึ ก ษาน าเอกสารประกอบการยื่น เรื่ องการฝึ กปฏิบั ติงานตามข้ อ 3.3.1 มายื่ น ในวันที่มหาวิทยาลัยกาหนด (กรณีเอกสารไม่ครบถ้ วนสมบูรณ์ จะไม่มีสิทธิ์ย่ ืนเรื่ อง การฝึ กปฏิบัติงาน) 2. ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษาจะดาเนินการดังนี้ 2.1 พิจารณาตรวจสอบเอกสารและคุณสมบัติของนักศึกษา 2.2 สัมภาษณ์นักศึกษา 2.3 บันทึกข้ อมูลนักศึกษาและสถานประกอบการลงในระบบ 2.4 จัดทาหนังสือขอความอนุเคราะห์เข้ ารับการฝึ กปฏิบัติงานไปยังสถานประกอบการ 2.5 ประกาศผลการตอบรับนักศึกษาจากสถานประกอบการ โดยนักศึกษาสามารถ ตรวจสอบสถานะการตอบรับผ่านระบบบริการการศึกษา (REG) ของนักศึกษา 3. การยื่นเรื่องการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษา จะสามารถยื่นเรื่องไปยังสถานประกอบการ ได้ ครั้ งละ 1 แห่ งเท่านั้ น กรณีนักศึ กษาถู กปฏิเสธจากที่แรก จึงจะสามารถยื่นเรื่ อง ไปยังสถานประกอบการใหม่ได้ 3.4 การปฐมนิเทศนักศึกษา กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาจัดขึ้นเพื่ อเตรี ยมความพร้ อมในลาดับสุดท้ ายก่อนที่นักศึกษา จะออกไปปฏิบัติงานจริ งในสถานประกอบการ ซึ่ งจะจั ดขึ้น ในช่ วงก่อนสอบปลายภาค 2 สัปดาห์ โดยคะแนนการเข้ าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศใช้ สาหรับการประเมินผล ดังนี้  รายวิชาสหกิจศึกษา คิดเป็ นร้ อยละ 5  รายวิชาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ คิดเป็ นร้ อยละ 10 3.5 การรับหนังสือส่งตัวของนักศึกษา ก าหนดให้ นั ก ศึ ก ษารั บ หนั งสือส่ง ตัวจากมหาวิ ทยาลั ย ณ ส่ว นจั ดหางานและฝึ กงานของ นั ก ศึ ก ษาในช่ ว งการสอบปลายภาคของภาคการศึ ก ษาก่ อ นเริ่ ม ภาคการศึ ก ษาที่ ต้ องเข้ ารั บ การฝึ กปฏิบัติงาน

13


 กระบวนการระหว่างการฝึ กปฏิบตั ิงาน 3.6 ข้อปฏิบตั ิสาหรับนักศึกษาระหว่างการฝึ กปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการ 3.6.1 การแต่งกาย ในระหว่ างการฝึ กปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ นักศึกษาจะต้ องแต่งกายด้ วย ชุดนักศึกษาหรือชุดอื่นๆ ตามที่สถานประกอบการกาหนด ทั้งนี้ต้องรายงานต่ออาจารย์ ที่ปรึกษาการฝึ กปฏิบัติงานทราบ 3.6.2 การรายงานตัวเข้าฝึ กปฏิบตั ิงาน ณ สถานประกอบการ นั ก ศึ ก ษ า จ ะ ต้ อ ง เ ดิ น ท า ง ไ ป ยั ง ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ พื่ อ ร า ย ง า น ตั ว เข้ าฝึ กปฏิบัติงานตามวันเวลาที่ได้ รับมอบหมายและกาหนดไว้ โดยต้ องติดต่อยื่นเอกสาร หนั ง สือ ส่ งตั ว และเอกสารที่เ กี่ ยวข้ อ งยั ง หน่ ว ยงานที่ร ะบุ พร้ อ มฟั ง รายละเอี ยดงาน ข้ อแนะนาในการปฏิบัติงาน กฎระเบียบต่างๆ ของสถานประกอบการ นักศึกษาจะต้ อง แต่งกายด้ วยชุดนักศึกษาเท่านั้น 3.6.3 การเข้าออกงาน วันหยุด และวันลา นักศึกษาจะต้ องปฏิบัติงานเต็มเวลา (Full Time) ตามช่วงเวลาที่สถานประกอบการ กาหนด โดยเวลาในการเข้ า -ออกงาน วันหยุดและวันลา จะต้ องเป็ นไปตามระเบียบการ บริหารงานบุคคลของสถานประกอบการอย่างเคร่งครัด และต้ องตระหนักในเรื่องตรงต่อ เวลาเป็ นสาคัญ 3.6.4 การายงานความก้าวหน้าการฝึ กปฏิบตั ิงาน นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งรายงานความก้ า วหน้ า ของการฝึ กปฏิบั ติง าน และจั ด ส่งเอกสาร ที่เกี่ยวข้ องตามเวลาที่กาหนดอย่างเคร่งครัด 3.6.5 การขอลาหยุดและการขอยุติการฝึ กปฏิบตั ิงาน นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บการขอหยุ ด งานของสถานประกอบการ โดยเคร่ ง ครั ด ทั้ง นี้ นั ก ศึ ก ษาที่ล าหยุ ด เกิ น กว่ า ระเบี ย บที่ ส ถานประกอบการก าหนด จะได้ รับการพิจารณาให้ ได้ รับสัญลักษณ์ระดับคะแนน U ทันที 3.6.6 จานวนชัว่ โมงบาเพ็ญประโยชน์ของนักศึกษาไม่ปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์การฝึ กปฏิบตั ิงาน พ.ศ. 2556 - รายวิชาสหกิจศึกษา 240 ชั่วโมง (คิดจาก 5 วัน * 3 ชั่วโมง * 16 สัปดาห์) - รายวิชาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ 150 ชั่วโมง (คิดจาก 5 วัน * 3 ชั่วโมง * 10 สัปดาห์)

14


3.7 กิจกรรมระหว่างการฝึ กปฏิบตั ิงาน เพื่อให้ การประสานงานระหว่างนักศึกษา อาจารย์ และส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา เป็ นไปด้ วยความเรียบร้ อย นักศึกษาจะต้ องส่งเอกสารให้ ส่วนจัดหางานฯ ภายในระยะเวลาที่กาหนด ดังนี้ 3.7.1 ภายในสัปดาห์ที่ 2 ของการฝึ กปฏิบตั ิงาน นักศึกษาต้ องจะต้ องจัดส่ง  แบบแจ้ งรายละเอียด ตาแหน่งงาน พนักงานที่ปรึกษา (FM : Coop/Pro-Ex 03-1)  แบบแจ้ งรายละเอียดที่อยู่สถานประกอบการและที่พักระหว่างการปฏิบัติงาน (FM : Coop/Pro-Ex 03-2)  แบบแจ้ งแผนการฝึ กปฏิบัติงาน (FM : Coop/Pro-Ex 03-3) 3.7.2 ในระหว่างการฝึ กปฏิบตั ิงาน นักศึกษาจะต้อง  ต้ องบันทึกการปฏิบัติงานลงใน Interns Handbook  ส่งรายงานการฝึ กปฏิบัติงานให้ อาจารย์ท่ปี รึ กษาการฝึ กปฏิบัติงานตรวจทุกเดือน ก่อนที่จะนาส่งส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษาเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ รูปแบบการเขียนรายงานให้เป็ นไปตามสาขาวิชากาหนด 3.8 การนิเทศการฝึ กปฏิบตั ิงาน การนิ เทศการฝึ กปฏิบัติงาน หมายถึง การที่อาจารย์ท่ีปรึ กษาการฝึ กปฏิบัติงานเดินทางไป ตรวจเยี่ ย มให้ ค าปรึ ก ษาแนะน าเกี่ ยวกับ การปฏิบั ติ ข องนั ก ศึ ก ษา ทั้ง ทางด้ า นวิ ช าการและทัก ษะ การปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ รวมทั้งติดตามความก้ าวหน้ าในการปฏิบัติงานและการเขียน รายงานการฝึ กปฏิบัติงาน ทั้งนี้ การนิเทศการฝึ กปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพควรใช้ เวลาไม่ต่ากว่า 1 ชั่วโมง และต้ องดาเนินการภายในเดือนที่ 3 ของการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา หรือภายในเดือนที่ 2 ของการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษา อาจารย์นิเทศควรส่งเสริมและกระตุ้นให้ นักศึกษาได้ มีโอกาสนาเสนอผลการฝึ กปฏิบัติงาน ต่อผู้บริ หาร พนักงานที่ปรึ กษา และบุคลากรในหน่ วยงานที่เกี่ยวข้ องของสถานประกอบการได้ ร่วม รับฟั งและให้ ข้อเสนอแนะหรื อข้ อคิดเห็นต่อการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษาในสัปดาห์สุดท้ ายของ การฝึ กปฏิบัติงาน

15


3.8.1 ขั้นตอนการนิเทศ ลาดับ

หัวข้อ

ผูร้ บั ผิดชอบ

1

จัดทาบันทึกข้ อความเพื่อแจ้ งข้ อมูล ดังนี้ - ข้ อมูลนักศึกษาและสถานประกอบการ - ช่วงเวลาการนิเทศ - งบประมาณจัดสรร - แบบฟอร์มกาหนดการนิเทศ - ตารางประมาณการค่ า ใช้ จ่า ยในการนิ เทศและ ตารางประมาณการค่าพาหนะ (Taxi) - คู่ มื อ การเบิ ก ค่ า ใช้ จ่ ายในการเดิ น ทางไป ปฏิ บั ติ ง านนอกมหาวิ ท ยาลั ย ตามระเบี ย บ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประสานนักศึกษาฝึ กปฏิบตั งิ าน และสถานประกอบการ เพื่อแจ้ งกาหนดการนิเทศ

ส่วนจัดหางานฯ

ส่วนจัดหางานฯ จัดส่ง ภายในสัปดาห์ท่ี 2 ของการฝึ กปฏิบตั งิ าน

อาจารย์นิเทศ

3

ส่งกาหนดการและตารางประมาณการค่าใช้ จ่าย มายังส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา

อาจารย์นิเทศ

4

จัดทาบันทึกอนุมตั คิ ่าใช้ จ่ายในการเดินทางนิเทศ

5

จัดทาหนังสือแจ้ งกาหนดการนิเทศ และจัดส่งไปยัง สถานประกอบการ จัดเตรียมเอกสารประกอบการนิเทศให้ กบั อาจารย์ นิเทศ

ประสานงานและส่ง กาหนดการนิเทศพร้ อม ตารางประมาณการ ค่าใช้ จ่ายในการนิเทศ ภายในสัปดาห์ท่ี 3 ของการฝึ กปฏิบตั งิ าน ดาเนินการจัดทาเสร็จสิ้น ภายในสัปดาห์ท่ี 5 ของการฝึ กปฏิบตั งิ าน

2

6

ส่วนจัดหางานฯ

7

ดาเนินการนิเทศนักศึกษาฝึ กปฏิบตั งิ าน ณ สถานประกอบการ ตามกาหนดการ

อาจารย์นิเทศ

8

จัดส่งเอกสารประเมินนักศึกษาฝึ กปฏิบตั งิ าน (FM: Coop/Pro-Ex 04) และเอกสารหลักฐาน ประกอบการคืนเงินหลังเสร็จสิ้นการนิเทศ ดาเนินการคืนเงินนิเทศให้ กบั ส่วนการเงินและบัญชี

อาจารย์นิเทศ

9

16

ส่วนจัดหางานฯ

ส่วนจัดหางานฯ

หมายเหตุ

อาจารย์ผ้ นู ิเทศจะได้ รับ ค่าใช้ จ่ายในการนิเทศก่อน การเดินทาง 3 วัน ดาเนินการนิเทศภายใน สัปดาห์ท่ี 6-10 ของการ ฝึ กปฏิบตั งิ าน ดาเนินการหลังเสร็จสิ้นการ นิเทศภายใน 7 วัน ดาเนินการทันทีหลังจาก ได้ รับเอกสารหลักฐาน ประกอบการคืนเงินจาก อาจารย์นิเทศครบถ้ วน


3.8.2 หลัก เกณฑ์ก ารเบิ ก ค่ า ใช้จ่ า ยในการเดิ น ทางไปปฏิ บ ตั ิ ง านนอกมหาวิ ท ยาลัย ตามระเบียบมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง การเดิ น ทางไปปฏิบั ติ ง านนอกมหาวิ ท ยาลั ย ให้ ผ้ ู เ ดิ น ทางออกเดิ น ทาง ล่วงหน้ าได้ ตามความจาเป็ นและเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจแล้ ว ให้ เดินทางกลับโดยไม่ชักช้ า ตามกาหนดเวลาดังต่อไปนี้ 1. กรณีเดินทางไปปฏิบัติงานในพื้นที่ต่างๆ ยกเว้ นภาคใต้ อาจออกเดินทาง ล่วงหน้ าก่อนถึงวันเริ่มปฏิบัติภารกิจไม่เกิน 24 ชั่วโมง และให้ เดินทาง กลับภายใน 24 ชั่วโมงนับแต่เวลาเสร็จสิ้นภารกิจ 2. กรณีเดินทางไปปฏิบัติงานในพื้นที่ภาคใต้ อาจออกเดินทางล่วงหน้ าก่อน ถึงวันเริ่มปฏิบัติภารกิจไม่เกิน 48 ชั่วโมง และให้ เดินทางกลับภายใน 48 ชั่วโมงนับตั้งแต่เสร็จสิ้นภารกิจ 3. กรณีผ้ ูเดินทางมีความจาเป็ นต้ องออกเดินทางล่วงหน้ า หรือเดินทางกลับ เกินระยะเวลาดังกล่าว ตามข้ อ 1 และข้ อ 2 ก็ให้ กระทาได้ แต่จะนับเวลา ที่เกินนั้นเป็ นเวลาเดินทางไปปฏิบัติงานเพื่ อคานวณค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง และที่พักไม่ได้  อัตราค่าเบี้ ยเลี้ ยง การนั บ เวลาการเดิ น ทางไปปฏิบั ติ ง าน เพื่ อ ค านวณค่ า เบี้ ยเลี้ ยงเดิ น ทาง ให้ เฉพาะช่ วงเวลาที่อ อกปฏิบัติงานนิ เทศนั ก ศึ ก ษาเท่านั้ น โดยอาจารย์สามารถ เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงได้ 350 บาทต่อวัน  อัตราค่าทีพ่ กั 1. กรณีพัก ณ บ้ านพักส่วนตัว ให้ เบิกได้ คืนละ 400 บาท 2. กรณีพัก ณ โรงแรม ให้ เบิกได้ ไม่เกินคืนละ 1,600 บาท หากมีการพักเกิน คืนละ 1,600 บาท ผู้พักจะต้ องรับผิดชอบค่าใช้ จ่ายส่วนที่เกินนั้นเอง ทั้งนี้ต้อง แนบหลักฐานประกอบการเบิกจ่าย ดังต่อไปนี้ 2.1 ใบเสร็จรับเงินของโรงแรมที่ลงลายมือชื่อรับรองอย่างสมบูรณ์ 2.2 ใบแจ้ งรายการของโรงแรม (Folio) ที่ลงลายมือชื่ อรั บรองอย่างสมบูรณ์ โดยต้ องมีรายละเอียดดังนี้ - ชื่อโรงแรมและสถานที่ต้งั - ชื่อสกุลผู้เช่าพักแรม - วันเดือนปี เวลาที่เข้ าและออกการเช่าพัก - จานวนผู้เช่าห้ องพัก - อัตราค่าเช่าห้ อง 3. กรณีจองที่พักผ่านระบบออนไลน์ เช่น AGODA โปรดระบุในเสร็จรับเงิน ดังนี้ ชื่อ : ชื่ออาจารย์ผ้ ูเข้ าพัก ที่อยู่ : ยที่อยู่ของมหาวิทยาลั

17


 อัตราค่ายานพานหะ 1. กรณีเดินทางโดยยานพาหนะส่วนตัว การใช้ ยานพาหนะส่วนตัวเดินทางไปปฏิบัติงาน ให้ เบิกชดเชยเป็ นค่าพาหนะ ในลั ก ษณะเหมาจ่ า ยให้ แก่ ผ้ ู เดิ น ทางไปปฏิ บั ติ ง าน ซึ่ ง เป็ นเจ้ าของหรื อ ผู้ครอบครองแล้ ว โดยให้ คานวณระยะทางเพื่อเบิกเงินชดเชยตามเส้ นทางของ กรมทางหลวง (http://gisweb.doh.go.th/doh/download/) ได้ ในอัตราต่อ 1 คัน คือ - รถยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 3.5 บาท - รถจักรยานยนต์ กิโลเมตรละ 2 บาท กรณี ใ ช้ สิท ธิ์เ บิ ก ค่ า น้า มั น เชื้ อเพลิ งเท่ า ที่จ่ า ยจริ ง ให้ แ นบใบเสร็จ รั บ เงิ น ค่านา้ มันเชื้อเพลิง เป็ นหลักฐานประกอบการเบิกจ่าย 2. กรณีเดินทางโดยเครือ่ งบินโดยสาร 2.1 การเดินทางโดยเครื่องบิน กาหนดให้ ใช้ สายการบิน Low Cost เป็ นหลัก 2.2 ในกรณีจาเป็ นต้ องเดินทางโดยสายการบินไทย ให้ เบิกจ่ายตามจริงไม่เกิน เที่ยวละ 3,250 บาท เฉพาะเส้ น ทาง เชี ยงราย - กรุ งเทพฯ – เชี ยราย สาหรั บ เส้ น ทางอื่น ยั ง คงเป็ นไปตามหลั ก การเดิ มคื อ ให้ ใ ช้ สายการบิ น Low Cost เป็ นหลัก 2.3 กรณีผ้ ูเดินทางจองตัว๋ เครื่องบินเอง ต้ องมีหลักฐานการเบิกจ่ายตามรายการ ต่อไปนี้ กรณีจา่ ยเงินสด -ใบเสร็จรับเงินค่าบัตรโดยสารเครื่องบิน (ฉบับจริง) -กากบัตรโดยสารเครื่องบิน กรณีซ้ ือบัตรโดยสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Ticket) -ใบรั บ เงิ น ที่แ สดงรายละเอีย ดการเดิ น ทาง (Itinerary Receipt) ซึ่งระบุช่ือสายการบิน วันที่ออก ชื่อ/สกุล ของผู้เดินทาง ต้ นทาง – ปลายทาง เลขที่เที่ยวบิน วันเวลาที่เดินทางจานวนเงินค่าโดยสาร ค่าธรรมเนียมอื่นๆ และจานวนเงินรวม 3. กรณีเดินทางโดยรถโดยสารประจาทาง สามารถเบิกค่ ารถโดยสารประจาทางทุกประเภทได้ เท่าที่จ่ายจริ ง โดยต้ อง แนบหลั ก ฐานประกอบการเบิ ก จ่ า ย คื อ ใบเสร็ จ รั บ เงิ น ค่ า บั ต รรถโดยสาร (ฉบับจริง) และกากบัตรโดยสาร 4. การเบิกพาหนะรับจ้าง - ให้ เบิกค่าพาหนะในการเดินทางไปกลับระหว่างสถานที่อยู่ ที่พัก หรื อสถานที่ ปฏิบัติงานกับสถานียานพาหนะ (สนามบินหรือสถานีขนส่ง) โดยให้ เหมาจ่าย เป็ นรายบุคคลรวมเที่ยวไป-กลัย ไม่เกิน 700 บาท

18


- ให้ เบิกค่าพาหนะในการเดินทางระหว่ างการปฏิบัติงาน โดยให้ ประมาณการ ค่ายานพาหนะ (Taxi) ระหว่างจุ ดต้ นทางและจุ ดปลายทาง และให้ แนบแผนที่ การเดินทางเพื่อประกอบการทาอนุมัติมาด้ วย ตัวอย่างเช่น จากที่พัก ไปยัง บริษัท A = 300 บาท จากบริษัท A ไปยัง บริษัท B = 200 บาท 5. การขอใช้บริการรถตูม้ หาวิทยาลัย กรณีการนิเทศในพื้ นที่จังหวัดเชียงราย อาจารย์ผ้ ูนิเทศ จะไม่ได้รับสิทธิ์ ในการ เบิ ก ค่ า ใช้จ่ า ย ในการนิ เ ทศ เช่ น ค่ า เบี้ ยเลี้ ยง ค่ า น้า มั น เชื้ อเพลิ ง ค่ าพาหนะ ในเการเดิ น ทางนิ เทศ โดยอาจารย์ ผ้ ู นิ เทศสามารถเดิ นทางไปนิ เทศนั กศึ กษา ฝึ กปฏิบั ติ งานด้ ว ยรถตู้ มหาวิ ทยาลั ยได้ โดยระบุ วั น เวลา และสถานที่รั บ -ส่ ง เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลในการขอจองรถตู้มหาวิทยาลัย  กระบวนการหลังการฝึ กปฏิบตั ิงาน 3.9 การรายงานตัวของนักศึกษาฝึ กปฏิบตั ิงาน หลังเสร็จสิ้นการฝึ กปฏิบัติงาน นั กศึกษาฝึ กปฏิบัติงานต้ องเข้ ารายงานตัวกับอาจารย์ท่ปี รึ กษา การฝึ กปฏิบัติงานประจาสาขาวิชาที่นักศึกษาสังกัด โดยอาจารย์จะสัมภาษณ์นักศึกษา ถึงปั ญหา อุปสรรค ข้ อคิดเห็นเกี่ยวกับสถานประกอบการ การดาเนินงาน และการให้ คาแนะนาในการเตรี ยม ความพร้ อ มในการน าเสนอผลการฝึ กปฏิบั ติงาน ตามวั น เวลา ที่สาขาวิ ชาหรื อสานั กวิ ช ากาหนด และจั ด ส่ ง แบบประเมิ น นั ก ศึ ก ษาโดยสถานประกอบการ/ผู้ ควบคุ ม การฝึ กปฏิ บั ติ ง าน (FM : Coop/Pro-Ex 03-5) ให้ ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษาก่อนวันนาเสนอผลการปฏิบัติงาน 3.10 กิจกรรมการนาเสนอผลการฝึ กปฏิบตั ิงาน กิ จ กรรมการน าเสนอผลการฝึ กปฏิ บั ติ ง าน จะจั ด ขึ้ นในสั ป ดาห์ ถั ด ไปหลั ง เสร็ จ สิ้ นการ ฝึ กปฏิบัติงาน โดยมี อาจารย์ท่ีปรึ กษา อาจารย์นิเทศ อาจารย์ประจาสาขาวิ ชา นั กศึกษาที่ผ่านการ ฝึ กปฏิบัติงาน และนักศึกษารุ่นน้ อง เข้ าร่ วมรับฟั งและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยคณะกรรมการ ของสาขาวิชา/สานักวิชา ประเมินผลการฝึ กปฏิบัติงานและการนาเสนอ ซึ่งมีข้ันตอนการดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ 3.10.1 ส่วนจัดหางานฯ ดาเนินการสารวจวันเวลาของแต่ละสาขาวิชาที่สะดวกในการจัดกิจกรรม นาเสนอผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งรายชื่ออาจารย์ผ้ ูประเมินผลนักศึกษา 3.10.2 สาขาวิชา จัดส่งกาหนดการนาเสนอผลการปฏิบัติการและจานวนห้ องที่ต้องการมายัง ส่วนจัดหางานฯ เพื่อดาเนินการและแจ้ งข้ อมูลกลับไปยังสานักวิชาอีกครั้ ง พร้ อมทั้ง จัดส่งแบบฟอร์มการกรอกคะแนนให้ กบั สานักวิชา 3.10.3 ส่ วนจั ด หางานฯ ประชาสัม พั น ธ์ใ ห้ กั บ นั ก ศึ ก ษาทราบก าหนดการและสถานที่จั ด กิจกรรมนาเสนอผลการปฏิบัติงานผ่านทาง Facebook และเว็บไซต์ของส่วนจัดหางานฯ

19


3.10.4 นั กศึ กษาน าเสนอผลการปฏิบัติงานพร้ อมทั้งจั ดส่ งรายงานให้ กับ อาจารย์ท่ีปรึ กษา ในแต่ละสาขาวิชา 3.10.5 หลังจากเสร็จสิ้นการนาเสนอผลการปฏิบัติงาน นักศึกษาต้ องส่งเอกสารดังต่ อไปนี้ มายังส่วนจัดหางานฯ  ข้ อมูลการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษา ณ สถานประกอบการ (FM : Coop/Pro-Ex 03-4)  Interns Handbook  นิทรรศการการฝึ กปฏิบัติงาน  เรื่องเล่าประสบการณ์ฝึกปฏิบัติงานจากรุ่นพี่ส่รู ุ่นน้ อง  แบบแจ้ งรายละเอียดงานที่ได้ รับมอบหมาย  ซีดี 1 แผ่น ประกอบด้ วย - ไฟล์รายงานฉบับสมบูรณ์ .doc และ .pdf - ไฟล์สไลด์นาเสนอผลการฝึ กปฏิบัติงาน .ppt - ไฟล์รูปภาพนักศึกษาขณะปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ จานวน 5 ภาพ และรูปภาพที่ถ่ายกับป้ ายสถานประกอบการ หรือพนักงานที่ปรึกษา จานวน 2 ภาพ - ไฟล์นิทรรศการ - ไฟล์เรื่องเล่าประสบการณ์ฝึกปฏิบัติงานจากรุ่นพี่ส่รู ุ่นน้ อง - ไฟล์แบบแจ้ งรายละเอียดงานที่ได้ รับมอบหมาย บรรจุ CD ลงซอง CD พร้ อมระบุ ช่ื อ รายวิ ช า, ภาคการศึ ก ษาที่ ฝึ กปฏิ บั ติ ง าน, ระยะเวลาการปฏิบัติงาน, ตราสัญลักษณ์พร้ อมชื่อสถานประกอบการ, ชื่อ -สกุล นักศึกษา, รหัสประจาตัวนักศึกษา, สาขาวิชา, สานักวิชา, มหาวิทยาลัย 3.10.6 ส่ ว นจั ด หางานฯ ด าเนิ น การจั ด ส่ งคะแนนให้ กั บ อาจารย์ ท่ีเ ป็ นผู้ ร วบรวมคะแนน การฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษาในแต่ละสาขาวิชา ได้ แก่ - คะแนนการเข้ าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ - คะแนนการส่งเอกสารและ CD - คะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาโดยสถานประกอบการ - คะแนนการประเมินผลนักศึกษาจากการนิเทศโดยอาจารย์นิเทศ 3.10.7 อาจารย์รวบรวมคะแนนเพื่อประเมินผลการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษา และจัดส่ง ให้ กบั ส่วนทะเบียนและประมวลผล เพื่อดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้ องต่อไป

20


3.11 การประเมินผลรายวิชาการฝึ กปฏิบตั ิงาน 3.11.1 นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งมี เ วลาการฝึ กปฏิบั ติ ง านตามรายวิ ช าสหกิ จ ศึ ก ษา หรื อ รายวิ ช า ฝึ กประสบการณ์ วิ ชาชี พ ณ สถานประกอบการครบตามระยะเวลาที่มหาวิ ทยาลั ย กาหนดจึงจะมีสิทธิ์ได้ รับการประเมินผลในรายวิชาสหกิจศึกษา หรือรายวิชาฝึ กประสบการณ์ วิชาชีพ ในกรณีท่นี ักศึกษามีเวลาฝึ กปฏิบัติงานน้ อยกว่าที่กาหนดไว้ อาจารย์ท่ปี รึกษา อาจพิจารณาร่วมกับพนักงานที่ปรึกษาของสถานประกอบการให้ นักศึกษามีสทิ ธิ์ได้ รับ การประเมินผลรายวิชาได้ ทั้งนี้ จะต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการรายวิชา 3.11.2 การประเมินผลการศึกษารายวิชาสหกิจศึกษา และรายวิชาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ จะใช้ ผล การประเมินเป็ นสัญลักษณ์แทนระดับคะแนน ซึ่งมีความหมาย ดังต่อไปนี้ สัญลักษณ์แทนระดับคะแนน I )Incomplete) หมายความว่า กระบวนการวัดผลยังไม่สมบูรณ์ S (Satisfactory) หมายความว่า ผลการประเมินเป็ นที่พอใจ U (Unsatisfactory) หมายความว่า ผลการประเมินยังไม่เป็ นที่พอใจ ในการประเมิ น ผลนั ก ศึ กษาจะต้ องได้ คะแนนไม่ น้ อยกว่ า ร้อ ยละ 70 ของผลรวม ของแต่ ละองค์ป ระกอบต่อไปนี้ จึงจะถือว่ า ผ่า นเกณฑ์ ซึ่งหมายถึงสัญ ลั กษณ์ ระดับ คะแนน S รายวิชา สหกิจศึกษา

รายวิชา ฝึ กประสบการณ์ วิชาชีพ

ลาดับ

หัวข้อการประเมิน

1

การประเมินผลจากสาขาวิชา โดยสาขาวิ ช าอาจพิ จ ารณาให้ คะแนน จากรายงานการฝึ กปฏิบั ติ ง านประจ าเดื อ น การนิเทศ การนาเสนอผลการฝึ กปฏิบัติงาน และรายงานการฝึ กปฏิบัติงาน ทั้งนี้ สัดส่วน การให้ คะแนนให้ เป็ นไปตาม ดุลยพินิจของ สาขาวิชา

ร้ อยละ 40

ร้ อยละ 50

2

การประเมินผลจากสถานประกอบการ

ร้ อยละ 50

ร้ อยละ 30

3

การประเมินผลจากส่วนจั ดหางานและฝึ กงานของ นักศึกษา - การเข้ าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ - การส่งเอกสารและ CD

ร้ อยละ 5 ร้ อยละ 5

ร้ อยละ 10 ร้ อยละ 10

21


3.12 การแจ้งผลการประเมินโดยสรุปและข้อคิดเห็นของสถานประกอบการต่อนักศึกษาให้สานักวิชา ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึ กษา จะรวบรวมและสรุ ป ผลการประเมิน นั กศึ กษา โดยสถานประกอบการและอาจารย์นิเทศ แจ้ งให้ สานักวิชาทราบ เพื่อเป็ นข้ อมูลสาหรับการพั ฒนา ปรั บปรุงหลักสูตรและการจัดการเรี ยนการสอน และเตรี ยมความพร้ อมให้ นักศึกษาก้ าวสู่สายงาน อาชีพต่อไป 3.13 การจัดทาหนังสือขอบคุณสถานประกอบการและการจัดเก็บข้อมูล ส่ ว นจั ด หางานและฝึ กงานของนั ก ศึ ก ษาด าเนิ น การ จั ด ท าหนั ง สื อ ขอบคุ ณ ไปยั ง สถานประกอบการและดาเนิน การจั ดเก็บ ข้ อมูลต่ า งๆ ที่เกี่ยวข้ อ ง เช่ น ข้ อ มู ลสถานประกอบการ ผลงานของนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงาน ปัญหา/อุปสรรค และข้ อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องไว้ เป็ นหลักฐานข้ อมูล สาหรับการดาเนินงานด้ านการฝึ กปฏิบัติงานต่อไป 3.14 การจัดทาแบบรายงานการเข้าร่วมกิจกรรม (Activity Report) และประกาศนียบัตร ส่ ว นจั ด หางานและฝึ กงานของนั ก ศึ ก ษาด าเนิ น การจั ด ท า A c t i v i t y R e p o r t และประกาศนียบัตรให้ กับนักศึกษาที่ย่ ืนความประสงค์ในการขอรั บเอกสารเพื่ อนาไปใช้ ประโยชน์ ในการสมัครงานต่อไป

22


บทที่ 4 รายงานการฝึกปฏิบัติงาน การเขี ย นรายงานการฝึ กปฏิ บั ติ ง าน (Internship Report) เป็ นกิ จ กรรมบั ง คั บ ของการ ฝึ กปฏิ บั ติ ง าน นั ก ศึ ก ษาจะต้ องจั ด ท าและส่ ง รายงานการฝึ กปฏิ บั ติ ง านเมื่ อ สิ้ นสุ ด ระยะเวลาการ ฝึ กปฏิบัติงาน โดยอยู่ภายใต้ การแนะนาของอาจารย์ท่ปี รึ กษาและพนักงานที่ปรึ กษา (Job Supervisor) ซึ่งมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อฝึ กฝนทักษะด้ านการสื่อสาร (Communication Skill) ของนักศึกษา และเพื่ อ จัดทาข้ อมูลที่เป็ นประโยชน์สาหรั บสถานประกอบการ รายงานการฝึ กปฏิบัติงานเป็ นรายงานทางวิชาการ ที่เกี่ยวข้ องกับผลงานวิจัยหรือโครงงานหรือรายงานการปฏิบัติงานที่นักศึกษาปฏิบัติตามที่ได้ รับมอบหมาย ซึ่งนักศึกษาจะต้ องเขียนระหว่างการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการภายใต้ การกากับดูแลของพนักงาน ที่ป รึ ก ษา (Job Supervisor) รายงานการฝึ กปฏิบั ติงานอาจจัดทาเป็ นกลุ่ มก็ได้ ข้ ึน อยู่ กับ ลั ก ษณะงาน ปริ ม าณงาน และคุ ณ ภาพงาน และต้ องระวั ง เนื้ อหาของรายงานที่ มี ข้ อมู ล ที่ ส ถานประกอบการ ไม่ต้องการเปิ ดเผย ดังนั้นต้ องนารายละเอียดเนื้อหาในรายงาน เสนอต่อพนักงานที่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบ ข้ อมู ลก่อนนามาจัดทารายงานและเผยแพร่ เนื้ อหาที่จะนาเสนอ และจะต้ องจัดทาเป็ นภาษาอังกฤษหรื อ ภาษาจีนเท่านั้น และรายงานควรต้ องประกอบด้ วยหัวข้ อต่อไปนี้ 4.1 โครงสร้างและเนื้ อหาของรายงาน รายงานควรประกอบไปด้ ว ย 3 ส่ ว น คื อ บทน า (Introduction) เนื้ อเรื่ อ ง (Main Body) และส่วนประกอบตอนท้าย (Supplementary) ส่วนที่ 1 บทนา (Introduction) เป็ นส่วนประกอบตอนต้ นของเล่มรายงานก่อนเข้ าถึงเนื้อหา ของรายงาน ทั้งนี้ เพื่ อ ให้ ง่า ยต่ อ การศึ ก ษาและเข้ า ถึ งรายละเอีย ดเนื้ อหาในหั ว ข้ อ ต่ า งๆ ของรายงาน บทนาจะประกอบด้ วย - ปกรายงาน (Front Cover) - จดหมายนาส่งรายงาน (Letter of Transmittal) - กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) - บทคัดย่อภาษาอังกฤษและภาษาไทย (Abstract, in Thai and English) - ตารางสารบัญ (Table of Content) ส่ ว นที่ 2 เนื้ อเรื่อ ง (Main Body) เป็ นส่ ว นส าคั ญ ที่สุด ของรายงาน เป็ นการรายงานข้ อ มู ล รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ การฝึ กปฏิ บั ติ ง าน ณ สถานประกอบการ รายละเอี ย ดในส่ ว นเนื้ อเรื่ อ งควร ประกอบด้ วย 2.1 ข้ อมู ล รายละเอี ย ดทั่ ว ไปของสถานประกอบการที่ นั ก ศึ ก ษาฝึ กปฏิ บั ติ ง าน (Organisation Profile) และรายละเอียดเกี่ยวกับงานที่ได้ รับมอบหมายให้ ปฏิบัติ เช่น 2.1.1 ชื่อและที่ต้งั ของสถานประกอบการ ผลิตภัณฑ์ของสถานประกอบการ 2.1.2 ลักษณะของการประกอบการและโครงสร้ างการบริหารงาน

23


2.1.3 ตาแหน่งและลักษณะงานที่นักศึกษาได้ รับมอบหมาย 2.1.4 พนักงานที่ปรึกษา และตาแหน่งงานของพนักงานที่ปรึกษา 2.4.5 ระยะเวลาและแผนการฝึ กปฏิบัติงาน 2.2 รายละเอียดการฝึ กปฏิบัติงาน (Work Assignment) เป็ นเนื้ อหารายละเอียดของลั กษณะงานและขั้ น ตอนการฝึ กปฏิบั ติ งานที่ไ ด้ รั บ มอบหมาย นักศึกษาต้ องเขียนอธิบายการฝึ กปฏิบัติงานอย่างละเอียด ชัดเจน พร้ อมแสดงภาพ แผนภูมิ ตารางที่จาเป็ นและเกี่ยวข้ องกับการฝึ กปฏิบัติงาน กรณีงานที่ปฏิบัติมีการคานวณ จะต้ องแสดงหลักการ คานวณที่ชั ดเจน ถู ก ต้ อ ง หากเป็ นโครงการหรื อ งานประจ าที่ต้องทาในห้ อ งปฏิบัติการทดลอง จะต้ อ ง อธิบายเครื่องมือปฏิบัติการที่ใช้ ด้วย 2.3 สรุปผลการฝึ กปฏิบัติงานและสิ่งที่นักศึกษาได้ รับ (Personal Achievement) เป็ นการสรุปข้ อมูลที่จาเป็ นต่อการวิเคราะห์ ทาการวิเคราะห์โดยอ้ างอิงหลักวิชาการ ที่เ กี่ยวข้ อ งประกอบ มี ข้อ เสนอแนะและแนวทางในการแก้ ปั ญ หาหรื อ ข้ อ ผิ ดพลาดที่เ กิ ดขึ้ น เน้ น การ นาไปใช้ ประโยชน์ในอนาคต รวมทั้งสรุปผลที่นักศึกษาได้ รับจากการฝึ กปฏิบัติงาน และประโยชน์ท่ไี ด้ รับ จากการฝึ กปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ อาจจาแนกเป็ นด้ าน เช่น ด้ านทฤษฎี ด้ านปฏิบัติ ด้ านสังคม เป็ นต้ น ส่วนที่ 3 ส่วนประกอบตอนท้าย (Supplementary Content) เป็ นส่วนเพิ่มเติมเพื่อให้ รายงาน มีความสมบูรณ์ ซึ่งต้ องเขียนตามรูปแบบของเอกสารอ้ างอิงที่ถูกต้ องและไม่เกิน 10 หน้ า อาจประกอบด้ วย - เอกสารอ้ างอิงหรือบรรณานุกรม (References) - ภาคผนวก (ถ้ ามี) (Appendix) (if any) 4.2 รูปเล่มรายงานการฝึ กปฏิบตั ิงาน (Internship Report Style) 1. จัดพิมพ์ภาษาอังกฤษด้ วยรูปแบบตัวอักษร Times New Roman ขนาดตัวอักษร 12 point 2. จัดพิมพ์ภาษาไทยด้ วยรูปแบบตัวอักษร Angsana New ขนาดตัวอักษร 16 point 3. จัดพิมพ์ด้วยรูปแบบอักษรและตัวเลขที่เหมือนกันทั้งเล่ม 4. จัดพิมพ์แนวตั้งเป็ นหลัก ขนาดมาตรฐาน A4 อาจมีรูปภาพหรือตารางแสดงในแนวนอนได้ ตาม ความเหมาะสมของข้ อมูลที่ต้องนาเสนอ 5. การระบุ เลขหน้ าในส่วนที่ 1 บทนา จะต้ อ งใช้ เป็ นเลข Roman (i, ii, iii, …) โดยเริ่ มต้ นนั บ จากหน้ ากิตติกรรมประกาศ 6. การะบุเลขหน้ าในส่วนที่ 2 เนื้อเรื่อง จะต้ องใช้ เป็ นตัวเลข 1,2,3,... ตามลาดับ โดยหน้ าแรกของ แต่ละส่วนไม่ต้องใส่ตัวเลขหน้ า เช่นเดียวกับส่วนที่ 3 ส่วนประกอบตอนท้ าย 7. การจัดวางเลขหน้ า (ทั้งตัวเลขและอักษร Roman) จะต้ องอยู่ด้านบนตรงกลางหน้ ากระดาษ 8. การเว้ นขอบกระดาษ กาหนดรูปแบบ ดังนี้ ขอบบน 1.5 นิ้ว ขอบซ้ าย 1.5 นิ้ว ขอบล่าง 1.0 นิ้ว ขอบขวา 1.0 นิ้ว

24


4.3 แนวปฏิบตั ิการส่งรายงานการฝึ กปฏิบตั ิงาน เมื่อ จั ดทารายงานเสร็จ เรี ยบร้ อ ย ให้ นาส่งอาจารย์ ท่ีป รึ ก ษาการฝึ กปฏิบั ติงานตรวจสอบความ ถู ก ต้ อ งครบถ้ ว น และลงนามก่ อ นการบั น ทึก ลงใน CD พร้ อ มทั้ง ไฟล์ ข้ อ มู ล อื่ น ๆ ตามรายละเอีย ด ข้ อ 3.10.5 และนาส่งให้ กับส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษาหลังการนาเสนอผลการฝึ กปฏิบัติงาน เสร็จสิ้น

25



ภาคผนวก

ประกาศมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงที่เกีย่ วข้องกับการฝึกปฏิบัติงาน

 ประกาศมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เรื่อง หลักเกณฑ์การฝึ กปฏิบัติงาน พ.ศ. 2556  Mae Fah Luang University’s Announcement on Internship Requirements 2013

 ประกาศมหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ าหลวง เรื่ อ ง แนวปฏิ บั ติ ข องนั ก ศึ ก ษาที่ ไ ม่ ผ่ า นกิ จ กรรมเตรี ย ม ความพร้ อม พ.ศ. 2556  Announcement of Mae Fah Luang University Subject: Regulations for students who did not complete the Pre - internship Activities 2013


27


28


29


30


31


32


33


34


35


36


37


38


39


40


41


42


43


44


45


46


47


48


49


ภาคผนวก

เอกสาร/แบบฟอร์ม ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกปฏิบัติงาน               

แบบคำร้ องฝึ กปฏิบัติงำน (FM : Coop/Pro-Ex 01) แบบตอบรับนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำน (FM : Coop/Pro-Ex 02) แบบแจ้ งรำยละเอียด ตำแหน่งงำน พนักงำนที่ปรึกษำ (FM : Coop/Pro-Ex 03-1) แบบแจ้ งรำยละเอียดที่อยู่สถำนประกอบกำร (FM : Coop/Pro-Ex 03-2) และที่พักระหว่ำงกำรปฏิบัติงำน แบบแจ้ งแผนกำรฝึ กปฏิบัติงำน (FM : Coop/Pro-Ex 03-3) แบบแจ้ งข้ อมูลกำรฝึ กปฏิบัติงำนของนักศึกษำ (FM : Coop/Pro-Ex 03-4) ณ สถำนประกอบกำร แบบประเมินนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำน (FM : Coop/Pro-Ex 03-5) โดยสถำนประกอบกำร/ผู้ควบคุมกำรปฏิบัติงำน แบบบันทึกกำรนิเทศ (FM : Coop/Pro-Ex 04) แบบฟอร์มกำหนดกำรนิเทศกำรฝึ กปฏิบัติงำน แบบฟอร์มตำรำงประมำณกำรค่ำใช้ จ่ำยในกำรเดินทำงนิเทศกำรฝึ กปฏิบัติงำน ตัวอย่ำงตำรำงประมำณกำรค่ำเดินทำงในกำรนิเทศ (TAXI) แบบบันทึกคะแนนกำรฝึ กปฏิบัติงำน (FM : Coop/Pro-Ex 05) แบบคำร้ องทั่วไป แบบคำร้ องขอเอกสำร แบบฟอร์มหนังสือรับรองกำรใช้ ประโยชน์ผลงำนหรือกำรปฏิบัติงำน


51


52


53


54


55


56


57


58


59


60


61


62


63


64


65


66


67


68


69


70


71


72


73


74


75


76


77


78


79


80


ภาคผนวก

คู่มือการใช้โปรแกรม MFU Internship Information System


82


83


84


85


86


87


88


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.