รายงานผลการดาเนินงานการฝึ กปฏิบตั ิงานของนักศึกษา ภาคการศึกษาต้น ปี การศึกษา 2558
ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มกราคม 2559
ก คำนำ มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ าหลวง ได้ จั ด หลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนให้ มี ก ารฝึ ก ปฏิ บั ติ ง าน ในรายวิ ชาสหกิจศึ กษาและฝึ กประสบการณ์ วิ ชาชี พ ณ สถานประกอบการที่ ต นสนใจ เพื่ อ เสริ ม สร้ า ง ประสบการณ์ ในการท างานระหว่ างศึ ก ษา ทั้งนี้ การจั ด การเรี ยนการสอนในรายวิ ชาสหกิจศึ ก ษาและ ฝึ กประสบการณ์ วิ ชาชี พ มี แ นวคิด ในการให้ นั กศึ กษาเรี ยนรู้ผ่ านประสบการณ์ จริ ง (Work-Integrated Learning) มีวัต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ เพิ่ ม พู น ประสบการณ์ ทางด้ า นอาชี พ และการพั ฒ นาตนเองของนั ก ศึ ก ษา เพื่ อเตรี ยมนั กศึ กษาให้ เป็ นทรั พ ยากรบุ คคลที่มีศักยภาพของประเทศ ให้ สถานประกอบการมีส่วนร่ วม ในการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ซึ่งเป็ นกาลังสาคัญของชาติในอนาคต ตลอดจนเป็ นการสร้ างสัมพันธภาพอันดี และยั่งยืนระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ ส่ ว นจั ด หางานและฝึ กงานของนั ก ศึ ก ษา เป็ นหน่ ว ยงานสนั บ สนุ น การด าเนิ น งาน ด้ า นการฝึ กปฏิ บั ติ ง านของนั ก ศึ ก ษา ตั้ ง แต่ ก่ อ น ระหว่ า ง และหลั ง การฝึ กปฏิ บั ติ ง าน โดยมี ห น้ าที่ ในการประสานงานระหว่างสานักวิชา นักศึกษา และสถานประกอบการ ในการสนับสนุนให้ นักศึกษาเข้ ารับ การฝึ กปฏิบั ติ งาน จั ด กิจ กรรมเตรี ยมความพร้ อมก่อ นการฝึ กปฏิบั ติ งาน ประสานงานด้ านการนิ เทศ ของอาจารย์ ท่ี ป รึ ก ษา ระหว่ า งการฝึ กปฏิ บั ติ งาน ณ สถานประกอบการ ตลอดจนการจั ด กิ จ กรรม การนาเสนอผลการฝึ กปฏิบัติงาน รายงานผลการดาเนินงานการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษา ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 ฉบับนี้ ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษาได้ จัดทาขึ้นเพื่อรวบรวมข้ อมูลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ความคิดเห็น และการประเมิ นผลจากผู้ มีส่วนเกี่ยวข้ อง ทั้งนักศึกษา คณาจารย์ และสถานประกอบการ เพื่ อ จะได้ น าผลการประเมิ น และข้ อ คิ ด เห็น ที่ได้ รั บ มาพั ฒ นาการด าเนิ น งานตลอดจนส่ งข้ อ มู ล ให้ แก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง เพื่อให้ เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตของมหาวิทยาลัยในภาพรวม ทั้งนี้ หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขออภัยมา ณ โอกาสนี้
ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา มกราคม 2559
ข สารบัญ คำนำ สำรบัญ สำรบัญตำรำง สำรบัญแผนภูมิ บทสรุปสำหรับผู้บริหำร ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของนักศึกษาและสถานประกอบการ 1.1 จำนวนนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำน 1.2 จำนวนนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำนแยกตำมประเภทสถำนประกอบกำร 1.3 จำนวนนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำนแยกตำมลักษณะธุรกิจของสถำนประกอบกำร ส่วนที่ 2 การนิเทศนักศึกษาฝึ กปฏิบตั ิงาน ส่วนที่ 3 การประเมินผลการฝึ กปฏิบตั ิงานโดยสถานประกอบการ 3.1 กำรประเมินผลกำรฝึ กปฏิบัติงำน 3.2 กำรรับนักศึกษำเข้ ำทำงำนภำยหลังเสร็จสิ้นกำรฝึ กปฏิบัติงำน 3.3 ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะต่อนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำน 3.4 ข้ อคิดเห็นเพิ่มเติมของสถำนประกอบกำร ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการฝึ กปฏิบตั ิงานและการดาเนินงาน ด้านการฝึ กปฏิบตั ิงาน 4.1 ควำมคิดเห็นของนักศึกษำต่อกำรฝึ กปฏิบัติงำน 4.2 ปัจจัยกำรพิจำรณำเลือกสถำนประกอบกำรในกำรฝึ กปฏิบัติงำน 4.3 ควำมพึงพอใจต่อกำรดำเนินงำนกำรฝึ กปฏิบัติงำน 4.4 กำรรับรู้ข่ำวสำรกำรประชำสัมพันธ์ของส่วนจัดหำงำนและฝึ กงำนของนักศึกษำ 4.5 ควำมพึงพอใจที่มีต่อกำรประชำสัมพันธ์ของส่วนจัดหำงำนและฝึ กงำน ของนักศึกษำ ส่วนที่ 5 ความคิดเห็นของคณาจารย์ผนู ้ เิ ทศต่อสถานประกอบการ 5.1 ควำมเข้ ำใจในปรัชญำของสหกิจศึกษำ/ฝึ กประสบกำรณ์วิชำชีพ 5.2 กำรจัดกำรและกำรสนับสนุนกำรฝึ กปฏิบัติงำน 5.3 ปริมำณงำนที่นักศึกษำได้ รับมอบหมำย 5.4 คุณภำพงำน 5.5 กำรมอบหมำยงำนและนิเทศงำนของ Supervisor 5.6 คุณภำพโดยรวมของสถำนประกอบกำรสำหรับสหกิจศึกษำ/ฝึ กประสบกำรณ์ วิชำชีพ ภาคผนวก แบบประเมินนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำน มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง แบบประเมินผลหลังกำรฝึ กปฏิบัติงำน ภำคกำรศึกษำต้ น ปี กำรศึกษำ 2558
หน้า ก ข ค ง ฉ 1 1 1 2 3 4 4 5 5 7 8 8 9 10 10 11 12 12 12 13 13 14 15
ค สารบัญตาราง ตารางที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
จำนวนนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำน ภำคกำรศึกษำต้ น ปี กำรศึกษำ 2558 จำนวนนักศึกษำเข้ ำรับกำรฝึ กปฏิบัติงำนแยกตำมประเภทสถำนประกอบกำร จำนวนนักศึกษำเข้ ำรับกำรฝึ กปฏิบัติงำนตำมลักษณะธุรกิจของสถำนประกอบกำร จำนวนนักศึกษำเข้ ำรับกำรฝึ กปฏิบัติงำนแยกตำมพื้นที่กำรฝึ กปฏิบัติงำน รำยละเอียดกำรนิเทศนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำน ภำคกำรศึกษำต้ น ปี กำรศึกษำ 2558 ผลกำรประเมินกำรฝึ กปฏิบัติงำนของนักศึกษำ ภำคกำรศึกษำต้ น ปี กำรศึกษำ 2558 กำรรับนักศึกษำเข้ ำทำงำนภำยหลังเสร็จสิ้นกำรฝึ กปฏิบัติงำน ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของสถำนประกอบกำรต่อนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำน ข้ อคิดเห็นเพิ่มเติมต่อกำรฝึ กปฏิบัติงำนของนักศึกษำ ข้ อคิดเห็นเพิ่มเติมต่อส่วนจัดหำงำนและฝึ กงำนของนักศึกษำ ควำมคิดเห็นของนักศึกษำต่อกำรฝึ กปฏิบัติงำน ปัจจัยที่ใช้ พิจำรณำเลือกสถำนประกอบกำรในกำรฝึ กปฏิบัติงำน ควำมพึงพอใจต่อกำรดำเนินงำนกำรฝึ กปฏิบัติงำน กำรรับรู้ข่ำวสำรกำรประชำสัมพันธ์ของส่วนจัดหำงำนและฝึ กงำนของนักศึกษำ ควำมพึงพอใจที่มีต่อกำรประชำสัมพันธ์ของส่วนจัดหำงำนและฝึ กงำนของนักศึกษำ ควำมเข้ ำใจในปรัชญำของสหกิจศึกษำ/ฝึ กประสบกำรณ์วิชำชีพ กำรจัดกำรและกำรสนับสนุนกำรฝึ กปฏิบัติงำน ปริมำณงำนที่นักศึกษำได้ รับมอบหมำย คุณภำพงำน กำรมอบหมำยงำนและนิเทศงำนของ Supervisor คุณภำพโดยรวมของสถำนประกอบกำรสำหรับสหกิจศึกษำ/ฝึ กประสบกำรณ์วิชำชีพ
หน้า 1 2 2 3 3 4 5 5 7 7 8 9 10 10 11 12 13 13 14 14 15
ง สารบัญแผนภูมิ แผนภูมิที่ 1 ร้ อยละของจำนวนนักศึกษำฝึ กปฏิบัติงำนแยกตำมประเภทสถำนประกอบกำร 2 กำรรับนักศึกษำเข้ ำทำงำนภำยหลังเสร็จสิ้นกำรฝึ กปฏิบัติงำน
หน้า 2 5
ฉ รายงานผลการดาเนินงานการฝึ กปฏิบตั ิงานของนักศึกษา ภาคการศึกษาต้น ปี การศึกษา 2558 ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร ในภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 มีนักศึกษาเข้ ารับการฝึ กปฏิบัติงานภายใต้ การประสาน การด าเนิ นงานของส่ วนจั ดหางานและฝึ กงานของนั กศึ กษา จ านวนทั้งสิ้น 20 คน จาก 3 ส านั กวิ ชา ได้ แ ก่ สานั กวิ ชาการจั ดการ ส านั กวิ ชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสานั กวิ ชาอุ ตสาหกรรมเกษตร โดยนั กศึ กษา ร้ อยละ 60.00 เข้ ารับการฝึ กปฏิบัติงานในสถานประกอบการเอกชน รองลงมาคือรัฐวิสาหกิจ (ร้ อยละ 25.00) และรัฐบาล (ร้ อยละ 15.00) นอกจากนี้พบว่ านักศึกษาเข้ ารับ การฝึ กปฏิบัติงานในสถานประกอบการ ธุรกิจด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศมากที่สุด (ร้ อยละ 25.00) รองลงมาคือ ธุรกิจด้ านเหมือ งแร่ /ไฟฟ้ า/ ก๊าซ/ประปา/ปิ โตรเคมี (ร้ อยละ 15.00) และธุรกิจด้ านโรงแรม/รี สอร์ ท/ที่พักและอาหาร/เครื่ องดื่ม (ร้ อยละ 10.00) และพื้ นที่ท่นี ักศึกษาเลือกฝึ กปฏิบัติงานมากที่สุดคือ ภาคเหนือ คิดเป็ นร้ อยละ 50.00 รองลงมาคื อ กรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล (ร้ อยละ 35.00) ภาคใต้ (ร้ อยละ 10.00) และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ร้ อยละ 5.00) ตามลาดับ การประเมินผลการฝึ กปฏิบตั ิงานโดยสถานประกอบการ สถานประกอบการได้ ประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 ในภาพรวมเฉลี่ยร้ อยละ 86.02 โดยมีรายละเอียดการประเมินในแต่ละด้ าน ดังนี้ 1. 2. 3. 4.
ด้ านผลสาเร็จของงาน เฉลี่ยร้ อยละ 84.00 ด้ านความรู้ความสามารถ เฉลี่ยร้ อยละ 80.25 ด้ านความรับผิดชอบต่อหน้ าที่ เฉลี่ยร้ อยละ 86.50 ด้ านลักษณะบุคคล เฉลี่ยร้ อยละ 93.33
การประเมินความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการฝึ กปฏิบตั ิงาน เกณฑ์คะแนนเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น มีดังนี้ - คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 4.51 - 5.00 หมายความว่า มีระดับความคิดเห็นมากที่สดุ - คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 3.51 - 4.50 หมายความว่า มีระดับความคิดเห็นมาก - คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2.51 - 3.50 หมายความว่า มีระดับความคิดเห็นปานกลาง - คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 1.51 - 2.50 หมายความว่า มีระดับความคิดเห็นน้ อย - คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 - 1.50 หมายความว่า มีระดับความคิดเห็นน้ อยที่สดุ
ช นักศึกษาได้ ประเมินความคิดเห็นต่อการฝึ กปฏิบัติงานในด้ านต่างๆ ดังนี้ 1. ความคิดเห็นต่อการฝึ กปฏิบัติงาน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4.26) 2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับปั จจัยที่ใช้ พิจารณาเลือกสถานประกอบการ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3.72) โดยมีความเห็นว่างานที่ปฏิบัติตรงกับสาขาวิชาที่เรียนมีความสาคัญมากที่สดุ 3. ความพึงพอใจที่มีต่อการดาเนินงานฝึ กปฏิบัติงาน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4.17) 4. นักศึกษารั บรู้ข้อมูลข่าวสารจากการประชาสัมพั นธ์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3.88) โดยรั บรู้ ข้ อมูลข่าวสารจาก เพื่อน/รุ่ นพี่ มากที่สดุ 5. นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการประชาสัมพันธ์ข่าวสารของส่วนจัดหางานฯ ภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก (4.10) การวิเคราะห์ขอ้ มูลและแนวทางการพัฒนาการดาเนินงาน 1. การประเมินผลการฝึ กปฏิบตั ิงานของนักศึกษาโดยสถานประกอบการ จากการประเมิ น ผลการฝึ กปฏิ บั ติ ง านของนั ก ศึ ก ษาโดยสถานประกอบการ พบว่ า ผลการฝึ กปฏิบั ติงานทุ ก ด้ านในภาพรวมมี คะแนนเฉลี่ ยร้ อยละ 86.02 โดยคะแนนเฉลี่ ยด้ านลักษณะ ส่วนบุ คคลมากที่สุดร้ อยละ 93.33 ประกอบด้ วยมีมนุ ษยสัมพั นธ์ดี บุคลิกภาพและการวางตัว ดี สุภาพ เรี ยบร้ อ ย อ่ อ นน้ อ มถ่ อ มตน ขยัน อดทน และมี น้าใจช่ วยเหลื อ ผู้ อ่ืน รองลงมาคื อ คะแนนเฉลี่ ย ด้ า น ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน้ า ที่ ร้ อ ยละ 86.50 ประกอบด้ ว ยมี ค วามตั้ ง ใจท างาน มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้ รับมอบหมาย สามารถปฏิบัติงานตามคาสั่งได้ อย่างถูกต้ อง มีความซื่อสัตย์ ไว้ วางใจได้ และปฏิบั ติ ตั วตามกฎระเบี ย บขององค์ ก ร แสดงให้ เห็น ว่ า กระบวนการพั ฒ นานั ก ศึ ก ษา ผ่านกิจกรรมนักศึกษา กิจกรรมเตรียมความพร้ อมก่อนฝึ กปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยที่ผ่านมาส่งผลให้ นักศึกษามีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามทัศนะของผู้ประกอบการ ทั้งนี้ พบว่ าผลประเมิน ด้ านความรู้ความสามารถมี คะแนนเฉลี่ ยน้ อยที่สุด ร้ อยละ 80.25 เมื่อเปรียบเทียบกับทุกด้ าน ประกอบด้ วย การเรียนรู้งานได้ รวดเร็ว มีทกั ษะในการสื่อสาร การใช้ ภาษาอังกฤษ การประยุกต์ใช้ ความรู้เข้ ากับการทางาน และมีไหวพริบในการแก้ ไขปัญหาเฉพาะหน้ า เป็ นต้ น ดั ง นั้ น หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งควรหาแนวทางร่ ว มกั น ในการพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาให้ มี ทั ก ษะ ในด้ านต่างๆ ดังกล่าว ซึ่งอาจเป็ นกิจกรรมทางตรงโดยการจัดหลักสูตร/รายวิชา กิจกรรมเสริมหลักสูตร/ กิจกรรมนอกหลักสูตร (extra-curricular activity) หรือเป็ นการจัดกิจกรรมสอดแทรกการเรียนการสอน ในรายวิชา เช่ น การมอบหมายให้ นักศึกษาค้ นคว้ าด้ วยตัวเอง การทาวิจัย เพื่ อเพิ่ มทักษะในการแก้ ไขปั ญหา การมอบหมายให้ นักศึกษานาเสนอในห้ องเรียนเพื่อเพิ่มทักษะด้ านการนาเสนอ (presentation) กิจกรรมที่ ส่งเสริมให้ นักศึกษาได้ แลกเปลี่ยน/อภิปราย ภายในห้ องเรียน เพื่อให้ นักศึกษามีโอกาสบูรณาการความรู้ และพัฒนาตนเองมากยิ่งขึ้น
ซ 2. สถานประกอบการรองรับการฝึ กปฏิบตั ิงาน จากข้ อ มู ลพบว่ า นั ก ศึ ก ษาส่ วนใหญ่ เลื อกฝึ กปฏิ บั ติ งานในสถานประกอบการที่ ต้ั ง อยู่ ใ น ภาคเหนื อ มากที่ สุ ด ร้ อ ยละ 50.00 (ส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ในจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ แ ละเชี ย งราย) รองลงมาคื อ กรุงเทพฯและปริมณฑล ร้ อยละ 35.00 โดยพิจารณาจากงานที่ปฏิบัติตรงกับสาขาวิชาที่เรียน ชื่อเสียงของ สถานประกอบการ และความสะดวกปลอดภั ย ในการเดิ น ทางจากที่ พั ก ไปปฏิ บั ติ ง านเป็ นส าคั ญ ดั งนั้ น แนวทางการพั ฒ นาการด าเนิ น งานที่ ต้ อ งด าเนิ น การอย่ า งต่ อ เนื่ อ งคื อ การสร้ า งเครื อ ข่ า ยและ ความสัมพันธ์อันดีอย่างต่อเนื่องกับสถานประกอบการที่ต้ังอยู่ในภาคเหนือ (เชียงใหม่และเชียงราย) และ กรุงเทพฯและปริมณฑล เพื่อรองรับความต้ องการของนักศึกษาต่อไป 3. การนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษาและฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ ในภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 ได้ มีการนิเทศนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงานทางโทรศัพท์ ร้ อยละ 100.00 ของนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงานทั้งหมด จานวนอาจารย์ท่นี ิเทศกับจานวนนักศึกษามีสดั ส่วนที่ แตกต่ างกันในแต่ ละสานักวิชา เนื่องจากข้ อจากัดด้ านงบประมาณและสถานที่ต้ังของสถานประกอบการ ที่ อ ยู่ ไ กลจากมหาวิ ท ยาลั ย จึ ง ไม่ ส ามารถนิ เ ทศนั ก ศึ ก ษาฝึ กปฏิ บั ติ ง าน ณ สถานประกอบการได้ ซึ่งการนิเทศทางโทรศัพท์อาจไม่ได้ รับข้ อมูลตามสภาพที่เป็ นจริงในการปฏิบัติงานของนักศึกษา 4. ความพึงพอใจต่อการดาเนินงานการฝึ กปฏิบตั ิงาน ข้ อมูลจากการสารวจความพึงพอใจต่อการดาเนินงานการฝึ กปฏิบัติงาน ในภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 พบว่ า นักศึกษามีความพึ งพอใจต่อการดาเนินงาน ภาพรวมอยู่ในระดับ มาก 4.17 โดยมีความพึงพอใจมากต่อการให้ คาปรึกษาของอาจารย์ท่ปี รึกษาการฝึ กปฏิบัติงาน (4.38) ต่อการให้ บริการ ของส่ วนจั ด หางานและฝึ กงานของนั ก ศึ ก ษา (4.25) และต่ อระยะเวลาการปฏิบั ติ งาน (4.13) ทั้งนี้ ส่วนจัดหางานฯ ต้ องดาเนินการตามกฎระเบียบการฝึ กปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ นักศึกษาได้ พัฒนา ตนเองก่อนจบการศึกษาและพร้ อมทางาน 5. การประชาสัมพันธ์ข่าวสารของส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา ข้ อมูลจากการสารวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการประชาสัมพันธ์ของส่วนจัดหางานและ ฝึ กงานของนักศึกษา พบว่ามีความพึงพอใจค่าเฉลี่ยระดับมาก 3.88 โดยนักศึกษารับรู้ข่าวสารจาก เพื่อน/รุ่นพี่ อยู่ ในระดับ มาก (4.13) รองลงมาคือ เว็บ ไซต์ส่วนจั ดหางานและฝึ กงานของนั กศึ กษา (4.00) และ Facebook (3.94) และจาก E-mail จากส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษาน้ อยที่สด ุ (3.63)
ฌ 6. การรับนักศึกษาเข้าทางานภายหลังเสร็จสิ้ นการฝึ กปฏิบตั ิงาน จากการสารวจการรับนักศึกษาเข้ าทางานหลังเสร็จสิ้นการฝึ กปฏิบัติงาน พบว่าสถานประกอบการ ยินดีรับนักศึกษาเข้ าทางาน (กรณีมีตาแหน่งงานว่าง) ร้ อยละ 55.00 และไม่แน่ใจ ร้ อยละ 45.00 แสดง ให้ เห็นว่าการฝึ กปฏิบัติงานเป็ นโอกาสที่นักศึกษาจะได้ รับการเสนองานเมื่อสาเร็จการศึกษา และเพื่อเป็ น การสะท้ อนภาพของผลสาเร็จ การฝึ กปฏิบั ติงานต่อการทางาน ส่ วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึ กษา จะทาการสารวจข้ อมูล จากนักศึกษาเพิ่ มเติมว่า นักศึกษาได้ ทางานในสถานประกอบการที่มีการเสนองาน หลังจากเสร็จสิ้น การฝึ กปฏิบัติงานหรือไม่ รวมทั้งสาเหตุของการเลือกและไม่เลือกทางานต่อ เนื่องมาจาก สาเหตุใด โดยการปรับปรุงแบบประเมินที่จะใช้ ในภาคการศึกษาปลาย ปี การศึกษา 2558 ต่อไป 7. มาตรฐานสหกิจศึกษาของสถานประกอบการ จากการส ารวจข้ อ มู ล ความคิ ด เห็ น ของคณาจารย์ ผ้ ู นิ เทศต่ อ มาตรฐานสหกิ จ ศึ ก ษาของ สถานประกอบการ พบว่ า ภาพรวมอยู่ ในระดั บ มากที่สุ ด 4.52 โดยคณาจารย์ผ้ ู นิ เทศเห็น ว่ า คุ ณ ภาพ โดยรวมของสถานประกอบการสาหรับสหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์วิ ชาชีพ อยู่ในระดับมากที่สุด (4.62) รองลงมาคือ ความเข้ าใจในปรัชญาของสหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์ ในสถานประกอบการ อยู๋ในระดับ มากที่สดุ (4.56) และการมอบหมายงานและการนิเทศงานของ อยู่ในระดับมากที่สดุ (4.57)
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของนักศึกษาและสถานประกอบการ 1.1 จานวนนักศึกษาฝึ กปฏิบตั ิงาน ในภาคการศึ ก ษาต้ น ปี การศึ ก ษา 2558 มี นั ก ศึ ก ษาจาก 3 ส านั ก วิ ช า 10 สาขาวิ ช า เข้ ารั บ การฝึ กปฏิ บั ติ งาน จ านวน 20 คน เป็ นนั กศึ ก ษาฝึ กประสบการณ์ วิ ชาชี พ จ านวน 1 คน (ร้ อยละ 5) ฝึ กปฏิบัติงานระหว่ างวันที่ 24 สิงหาคม – 30 ตุลาคม 2558 รวมระยะเวลา 10 สัปดาห์ และสหกิจศึกษา จานวน 19 คน (ร้ อยละ 95) ปฏิบัติงานระหว่างวันที่ 24 สิงหาคม - 11 ธันวาคม 2558 รวมระยะเวลา 16 สัปดาห์ รายละเอียดดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 จานวนนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงาน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 จานวนนักศึกษา (คน) ลาดับ 1
2
3
สานักวิชา
สาขาวิชา
การจัดการ
เศรษฐศาสตร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ
รวม
สหกิจศึกษา
1 (5%)
-
การจัดการการท่องเที่ยว
-
การจัดการอุตสาหกรรม การบริการ
-
การจัดการธุรกิจการบิน
-
เทคโนโลยีสารสนเทศ
-
วิศวกรรมซอฟต์แวร์
-
เทคโนโลยีมัลติมีเดียและ การสร้ างภาพเคลื่อนไหว
-
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
-
วิศวกรรมการสื่อสารและ สารสนเทศ เทคโนโลยีการจัดการ ผลิตผลเกษตรและการบรรจุ
อุตสาหกรรมเกษตร
ฝึ กประสบการณ์ วิชาชีพ
1 (5%)
2 (10%) 1 (5%) 1 (5%) 5 (25%) 1 (5%) 2 (10%) 4 (20%) 1 (5%) 2 (10%) 19 (95%)
รวม 1 (5%) 2 (10%) 1 (5%) 1 (5%) 5 (25%) 1 (5%) 2 (10%) 4 (20%) 1 (5%) 2 (10%) 20 (100%)
1.2 จานวนนักศึกษาฝึ กปฏิบตั ิงานแยกตามประเภทสถานประกอบการ นักศึกษาฝึ กปฏิบั ติงานในสถานประกอบการเอกชน จานวน 10 แห่ ง จานวนนักศึกษา 12 คน คิดเป็ นร้ อยละ 60.00 รองลงมาคือ สถานประกอบการรั ฐวิสาหกิจ จานวน 4 แห่ ง จานวนนักศึกษา 5 คน คิดเป็ นร้ อยละ 25.00 และสถานประกอบการรั ฐบาล จานวน 3 แห่ ง จานวนนักศึกษา 3 คน คิดเป็ นร้ อยละ 15.00 ตามลาดับ ดังแสดงในตารางที่ 2
1
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
ตารางที่ 2 จานวนนักศึกษาเข้ ารับการฝึ กปฏิบัติงานแยกตามประเภทสถานประกอบการ ลาดับ ประเภทสถานประกอบการ 1 เอกชน 2 รัฐวิสาหกิจ 3 รัฐบาล รวม
จานวนสถานประกอบการ (ร้อยละ) 10 (58.82) 4 (23.53) 3 (17.65) 17
จานวนนักศึกษา(ร้อยละ) 12 (60.00) 5 (25.00) 3 (15.00) 20
แผนภูมิที่ 1 ร้ อยละของจานวนนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงานแยกตามประเภทสถานประกอบการ 1.3 จานวนนักศึกษาฝึ กปฏิบตั ิงานแยกตามลักษณะธุรกิจของสถานประกอบการ นักศึกษาฝึ กปฏิบัติงานในสถานประกอบการธุรกิจด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ จานวน 5 คน คิดเป็ น ร้ อยละ 25.00 รองลงมาคือ ธุรกิจด้ านเหมืองแร่ /ไฟฟ้ า/ก๊าซ/ประปา/ปิ โตรเคมี จานวน 3 คน คิดเป็ น ร้ อยละ 15.00 และธุรกิจด้ านโรงแรม/รีสอร์ท/ที่พัก และธุรกิจอาหาร/เครื่องดื่ม จานวน 2 คน คิดเป็ นร้ อยละ 10.00 ตามลาดับ ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 จานวนนักศึกษาเข้ ารับการฝึ กปฏิบัติงานตามลักษณะธุรกิจของสถานประกอบการ ลาดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
ลักษณะธุรกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศ เหมืองแร่/ไฟฟ้ า/ก๊าซ/ประปา/ปิ โตรเคมี โรงแรม/รีสอร์ท/ที่พัก อาหาร/เครื่องดื่ม การวิจัยและพัฒนา โทรคมนาคม สุขภาพและความงาม สื่อสารมวลชนและการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ อุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ การโดยสารทางอากาศ/ทางบก/ทางนา้ การท่องเที่ยว สถาบันการเงิน/การประกันภัย/เงินทุนหลักทรัพย์ รวม
จานวนนักศึกษา(ร้อยละ) 5 (25.00 %) 3 (15.00 %) 2 (10.00 %) 2 (10.00 %) 1 (5.00 %) 1 (5.00 %) 1 (5.00 %) 1 (5.00 %) 1 (5.00 %) 1 (5.00 %) 1 (5.00 %) 1 (5.00 %) 20
2
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
จากข้ อมูลพบว่านักศึกษาฝึ กปฏิบัติงานภายในประเทศ พื้ นที่ภาคเหนือมากที่สุด ร้ อยละ 50.00 (สถานประกอบการ 8 แห่ง นักศึกษา 10 คน) รองลงมาคือ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ร้ อยละ 35.00 (สถานประกอบการ 7 แห่ ง นั กศึ ก ษา 7 คน) และภาคใต้ ร้ อยละ 10.00 (สถานประกอบการ 2 แห่ ง นักศึกษา 2 คน) ดังแสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 จานวนนักศึกษาเข้ ารับการฝึ กปฏิบัติงานแยกตามพื้นที่การฝึ กปฏิบัติงาน จานวนสถานประกอบการ แห่ง ร้อยละ 8 47.06
ภาค/จังหวัด เหนือ
คน 10
จานวนนักศึกษา ร้อยละ 50.00
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
6
35.29
7
35.00
ใต้
2
11.76
2
10.00
ตะวันออกเฉียงเหนือ
1
5.88
1
5.00
รวมทั้งสิ้ น
17
100.00
20
100.00
ส่วนที่ 2 การนิเทศนักศึกษาฝึ กปฏิบตั ิงาน ตามมาตรฐานการปฏิบั ติ งานรายวิช าสหกิจ ศึ กษาและฝึ กประสบการณ์ วิ ชาชี พ ได้ ก าหนดให้ คณาจารย์ในแต่ละสาขาวิชานิเทศนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงาน และในภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 ได้ มกี ารนิเทศนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงานทางโทรศัพท์ ผลการนิเทศโดยสรุปแสดงในตารางที่ 5 ตารางที่ 5 รายละเอียดการนิเทศนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงาน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 นิเทศทางโทรศัพท์ สานักวิชา
จานวนนักศึกษา
การจัดการ
5 15 2 20
เทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรมเกษตร
รวม
จานวนนักศึกษา
ร้อยละ/ จานวนนักศึกษา
5 15 2 20
100.00 100.00 100.00 100.00
จากตารางที่ 5 พบว่า มีนักศึกษาได้ รับการนิเทศในภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 จานวน 20 คน คิดเป็ นร้ อยละ 100.00 ของนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงานทั้งหมด
3
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
ส่วนที่ 3 การประเมินผลการฝึ กปฏิบตั ิงานโดยสถานประกอบการ 3.1 การประเมินผลการฝึ กปฏิบตั ิงาน สถานประกอบการประเมินการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษา ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 โดยสถานประกอบการหลังจากการปฏิบัติงานสิ้นสุด สามารถสรุปผลการประเมิน ได้ ดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 ผลการประเมินการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษา ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 หัวข้อประเมิน 1. 2. 3. 4. 5. 6.
ปริมาณงาน (Quantity of work) คุณภาพงาน (Quality of work) รวมด้านผลสาเร็จของงาน ความรู้ความสามารถทางวิชาการ (Academic Ability) ความสามารถในการเรียนรู้และประยุกต์วิชาการ
80.00
95.00
92.00
95.38
80.00
93.00
96.00
98.46
80.00
96.00
84.00
80.00
70.00
80.00
80.00
83.08
80.00
82.00
80.00
81.54
70.00
80.00
80.00
80.00
60.00
78.00
82.50
81.15
68.75
80.25
84.00
80.00
60.00
79.00
80.00
80.00
80.00
80.00
84.00
75.38
60.00
76.00
88.00
89.23
70.00
87.00
83.00 84.00 88.00 80.00 80.00
89.62 93.85 90.77 84.62 89.23
75.00 80.00 80.00 60.00 80.00
86.50 90.00 89.00 81.00 86.00
76.00
87.69
80.00
84.00
76.00
87.69
80.00
84.00
รวมผลด้านลักษณะส่วนบุคคล
93.33
95.13
81.67
93.33
รวมทั้งหมด
83.71
88.40
76.35
86.02
ความสามารถในการตัดสินใจแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า การจัดการและวางแผน ความสามารถในการติดต่อสื่อสาร (Communication Skills)
9. 10.
ความสามารถในการพัฒนาตนเองต่องานที่ได้ รับ มอบหมาย (Self-Development) ความเหมาะสมต่อตาแหน่งที่ได้ รับมอบหมาย (Suitability for Job Position)
11.
รวมด้านความรูค้ วามสามารถ ความรับผิดชอบและเป็ นผู้ท่ไี ว้ วางใจได้ (Responsibility and Dependability)
12.
ความสนใจ อุตสาหะในการทางาน (Interest in work)
13.
ความสามารถเริ่มต้ นทางานได้ ด้วยตัวเอง (Initiative or Self Starter)
14.
การตอบสนองต่อการสั่งการ (Response to supervision)
15. 16. 17. 18. 19.
รวมผลด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ บุคลิกภาพ และการวางตัว(Personality) แต่งกายสุภาพเหมาะสม (Appropriate Dressing) มนุษยสัมพันธ์ (Interpersonal Skills) จิตอาสา (Offer to do more work) ความมีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กร (Discipline and adaptability to formal organization)
20.
97.00 87.00 84.00 92.00
98.46
(Organization and Planning)
8.
96.00 92.00 76.00 92.00
รวม
92.00
(Ability to learn and apply knowledge) ความชานาญในการปฏิบัติงาน (Practical Ability) (Judgment and Decision Making)
7.
การจัดการ
คะแนนเฉลีย่ (ร้อยละ) เทคโนโลยี อุตสาหกรรม สารสนเทศ เกษตร 96.92 100.00 86.15 80.00 87.69 80.00 95.38 70.00
คุณธรรมและจริยธรรม (Ethics and Organization)
4
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
3.2 การรับนักศึกษาเข้าทางานภายหลังเสร็จสิ้ นการฝึ กปฏิบตั ิงาน จากข้ อมู ลในตารางที่ 7 พบว่ า สถานประกอบการยินดีรับเข้ าทางาน (กรณีมี ตาแหน่ งงานว่าง) ร้ อยละ 55.00 และไม่ แ น่ ใ จ ร้ อยละ 45.00 โดยมี เ หตุ ผ ลเกี่ ย วกั บ นโยบายการรั บ พนั ก งานของ สถานประกอบการที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง ตารางที่ 7 การรับนักศึกษาเข้ าทางานภายหลังเสร็จสิ้นการฝึ กปฏิบัติงาน การรับเข้าทางาน ภายหลังเสร็จสิ้ นการปฏิบตั ิงาน
การจัดการ (ร้อยละ)
สถานประกอบการยินดีรับเข้ าทางาน (กรณีมีตาแหน่งงานว่าง) สถานประกอบการไม่รับเข้ าทางาน
2 (10.00) 0 3 (15.00) 5
ไม่แน่ใจ รวม
จานวนนักศึกษาแยกตามสานักวิชา เทคโนโลยี อุตสาหกรรม สารสนเทศ เกษตร (ร้อยละ) (ร้อยละ) 9 0 (45.00) 0 0 4 2 (20.00) (10.00) 13 2
รวม 11 (55.00) 0 9 (45.00) 20
แผนภูมิที่ 2 การรับนักศึกษาเข้ าทางานภายหลังเสร็จสิ้นการฝึ กปฏิบัติงาน 3.3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อนักศึกษาฝึ กปฏิบตั ิงาน ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษาได้ รับผลตอบลัพธ์ ข้ อสังเกต และข้ อวิพากษ์วิจารณ์ของ สถานประกอบการต่อพฤติกรรมของนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงาน ดังแสดงในตารางที่ 8 ตารางที่ 8 ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของสถานประกอบการต่อนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงาน การประเมินผล ด้ านความรู้ความสามารถ
จุดแข็ง -สามารถเรียนรู้งานได้ เร็ว -ทักษะในการสื่อสาร -ภาษาอังกฤษ -การประยุกต์ใช้ ความรู้ -มีไหวพริบในการแก้ ปัญหา
สิ่งที่ควรปรับปรุง -ความชานาญในภาคปฏิบตั ิ -ประสบการณ์การทางาน -การแก้ ไขปัญหาเฉพาะหน้ า -การคิดวิเคราะห์และวางแผน -ความรู้เฉพาะทาง
5
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
ตารางที่ 8 (ต่อ) การประเมินผล จุดแข็ง ด้ านความรับผิดชอบต่อหน้ าที่ -ตั้งใจทางาน -มีความกระตือรือร้ นในการทางาน -มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้ รบั มอบหมาย -ปฏิบตั งิ านตามคาสั่งได้ ถูกต้ อง -ซื่อสัตย์สจุ ริต ไว้ วางใจได้ -ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบองค์กร ด้ านลักษณะส่วนบุคคล -มนุษยสัมพันธ์ดี -ขยัน อดทน ไม่เกี่ยงงาน -สุภาพ เรียบร้ อย อ่อนน้ อมถ่อมตน -มีนา้ ใจช่วยเหลือผู้อ่นื
สิ่งที่ควรปรับปรุง -ความละเอียดรอบคอบ -การทางานเป็ นทีม -การจัดลาดับความสาคัญ
-ความมั่นใจในตนเอง -ความคิดสร้ างสรรค์ -บุคลิกภาพ -การปรับตัวเข้ ากับสถานการณ์ต่างๆ
จากตารางแสดงจุ ด เด่ น และสิ่ ง ที่ นั ก ศึ ก ษาควรปรั บ ปรุ ง ในด้ า นความรู้ ค วามสามารถ ด้ า น ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน้ าที่ และด้ านลั ก ษณะส่ ว นบุ ค คลของนั ก ศึ ก ษาปฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษาและ ฝึ กประสบการณ์ วิ ชาชี พ ภาคการศึ ก ษาต้ น ปี การศึ ก ษา 2558 พบว่ า สถานประกอบการได้ ป ระเมิ น พฤติกรรมของนักศึ กษาฝึ กปฏิบั ติงานในแต่ ละด้ าน ดังนี้ ด้ านความรู้ความสามารถ นักศึ กษามีจุดเด่ น ในด้ านความสามารถ ในการเรียนรู้งานได้ รวดเร็ว มีทกั ษะในการสื่อสาร การใช้ ภาษาอังกฤษ การประยุกต์ใช้ ความรู้ เข้ ากับการท างาน และมี ไหวพริ บ ในการแก้ ปั ญ หาเฉพาะหน้ า ด้ า นความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน้ า ที่ สถานประกอบการประเมิ น ว่ า นั ก ศึ ก ษาฝึ กปฏิ บั ติ ง าน มี ค วามตั้ ง ใจท างาน มี ค วามกระตื อ รื อ ร้ น มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้ รับมอบหมาย สามารถปฏิบัติงานตามคาสั่งได้ อย่างถูกต้ อง มีความซื่อสัตย์ สุจ ริ ต ไว้ วางใจได้ และปฏิบั ติ ต ามกฎระเบี ย บขององค์ ก ร ด้ า นลั กษณะส่ วนบุ ค คล พบว่ า นั ก ศึ ก ษามี ความประพฤติในทางที่น่าชื่นชมคือ มีมนุ ษยสัมพันธ์ท่ดี ีต่อเพื่อนร่ วมงาน มีความขยัน อดทน ไม่เกี่ยงงาน สุภาพ เรียบร้ อย อ่อนน้ อมถ่อมตน และมีนา้ ใจช่วยเหลือผู้อ่นื นอกจากนี้ สถานประกอบการยั งได้ ใ ห้ ข้ อ สั ง เกตในสิ่ ง ที่ นั ก ศึ ก ษาควรปรั บ ปรุ ง ต่ อ ไป ดั ง นี้ ด้ า นความรู้ ค วามสามารถ สถานประกอบส่ วนใหญ่ เห็น ว่ า นั ก ศึ ก ษายั ง ขาดทัก ษะในภาคปฏิบั ติ แ ละ ประสบการณ์ ในการทางาน การแก้ ไขปั ญ หาเฉพาะหน้ า การคิด วิเคราะห์ และวางแผน รวมถึงความรู้ เฉพาะทาง ด้ านความรับผิดชอบต่อหน้ าที่ พบว่านักศึกษายังขาดความละเอียดรอบคอบ การทางานเป็ นทีม และการจัดลาดับความสาคัญของงาน ด้ านลักษณะส่วนบุคคล สถานประกอบการให้ ความเห็น ส่วนใหญ่ว่า นักศึกษาขาดความมั่นใจในตนเอง ความคิดสร้ างสรรค์ บุคลิกภาพ และการปรับตัวเข้ ากับสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็ นประโยชน์แก่สานักวิชาและส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา ในการนาไปปรับปรุง หลักสูตรการเรียนการสอน และกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ นักศึกษาฝึ กปฏิบัติงานรุ่นต่อไปมีคุณลักษณะที่ตรงตาม ความต้ องการของผู้ใช้ บัณฑิตต่อไป
6
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
3.4 ข้อคิดเห็นเพิม่ เติมของสถานประกอบการ 3.4.1 ข้อคิดเห็นเพิม่ เติมต่อการฝึ กปฏิบตั ิงานของนักศึกษา จากการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษา ภาคการศึกษาต้ น ประจาปี การศึกษา 2558 สถานประกอบการ มีความพึงพอใจในข้ อคิดเห็นเพิ่มเติมต่อการปฏิบัติงานของนัก ศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4.30) ดังแสดงในตารางที่ 9 โดยเรียงลาดับ 3 อันดับแรก ดังนี้ 1. การมีโอกาสสร้ างความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยในอนาคต อยู่ในระดับมาก (4.47) 2. ประโยชน์จากผลงานของนักศึกษาที่ได้ ปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก (4.33) 3. การแบ่งเบาภาระงานของพนักงานประจา อยู่ในระดับมาก (4.27) ตารางที่ 9 ข้ อคิดเห็นเพิ่มเติมต่อการฝึ กปฏิบัติงานของนักศึกษา ข้อคิดเห็นเพิม่ เติมต่อ การปฏิบตั ิงานของนักศึกษา
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด จานวน จานวน จานวน (3) (2) (1)
มากที่สุด จานวน (5)
มาก จานวน (4)
6
14
0
0
0
20
5
14
1
0
0
20
3. การมีโอกาสสร้ างความร่วมมือ ทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยในอนาคต
11
8
1
0
0
20
4.33 มาก 4.13 มาก 4.47 มาก
4. การแบ่งเบาภาระงานของพนักงาน ประจา
8
12
0
0
0
20
4.27 มาก
1. ประโยชน์จากผลงานของนักศึกษา ที่ได้ ปฏิบัติงาน 2. การมีโอกาสคัดเลือกพนักงานจริง
รวม
ค่าเฉลีย่
4.30 มาก
รวมค่าเฉลีย่
3.4.2 ข้อคิดเห็นเพิม่ เติมต่อส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา สถานประกอบการมีความพึ งพอใจต่ อ การให้ บ ริ การ/ประสานงานของส่วนจัดหางาน และฝึ กงานของนักศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4.20) ดังแสดงในตารางที่ 10 ตารางที่ 10 ข้ อคิดเห็นเพิ่มเติมต่อส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา ข้อคิดเห็นเพิม่ เติมต่อ ส่วนจัดหางานและฝึ กงาน ของนักศึกษา ความพึงพอใจต่อการให้ บริการ/ ประสานงานของส่วนจัดหางานฯ
มากที่สุด จานวน (5)
มาก จานวน (4)
6
13 รวมค่าเฉลีย่
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด จานวน จานวน จานวน (3) (2) (1) 1
0
0
รวม 20
ค่าเฉลีย่ 4.20 มาก 4.20 มาก
7
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
ส่วนที่ 4 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการฝึ กปฏิบตั ิงานและการดาเนินงานด้านการฝึ กปฏิบตั ิงาน ส่ วนจั ด หางานและฝึ กงานของนั ก ศึ ก ษา ได้ ส ารวจความคิ ด เห็น ของนั ก ศึ ก ษาฝึ กปฏิบั ติ งาน เพื่ อนาผลการสารวจมาพั ฒนาการดาเนินงาน โดยใช้ แบบประเมินความพึ งพอใจซึ่งได้ รับความร่ วมมือ ตอบแบบสอบถามจานวน 16 ฉบับ คิดเป็ น ร้ อยละ 80.00 ของนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงาน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 โดยสารวจในประเด็นต่างๆ ดังนี้ 4.1 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 4.2 ปัจจัยในการพิจารณาเลือกสถานประกอบการในการฝึ กปฏิบัติงาน 4.3 ความพึงพอใจต่อการดาเนินงานการฝึ กปฏิบัติงาน 4.4 การรับรู้ข่าวสารของนักศึกษา 4.5 ความพึงพอใจที่มีต่อการประชาสัมพันธ์ของส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา 4.1 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการฝึ กปฏิบตั ิงาน จากการสารวจพบว่านักศึกษาได้ รับประโยชน์จากการฝึ กปฏิบัติงาน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4.26) ดังตารางที่ 11 โดยเรียงลาดับความพึงพอใจต่างๆ 3 อันดับแรก ดังนี้ 1. เกิดทักษะการทางานเป็ นทีม อยู่ในระดับมาก (4.50) 2. ได้ ประสบการณ์วิชาชีพตรงตามสาขาวิชา อยู่ในระดับมาก (4.44) 3. เกิดการพัฒนาตนเองและประสบการณ์จากการปฏิบัติงานทาให้ สามารถตัดสินใจเลือก สายอาชีพเมื่อสาเร็จการศึกษา อยู่ในระดับมาก (4.38) เกณฑ์การให้ คะแนนเฉลี่ยของระดับความคิดเห็น มีดังนี้ -
คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 4.51 - 5.00 หมายความว่า มีระดับความคิดเห็นมากที่สดุ คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 3.51 - 4.50 หมายความว่า มีระดับความคิดเห็นมาก คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 2.51 - 3.50 หมายความว่า มีระดับความคิดเห็นปานกลาง คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 1.51 - 2.50 หมายความว่า มีระดับความคิดเห็นน้ อย คะแนนเฉลี่ยระหว่าง 0.00 - 1.50 หมายความว่า มีระดับความคิดเห็นน้ อยที่สดุ
ตารางที่ 11 ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการฝึ กปฏิบัติงาน ประโยชน์จากการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา 1. ได้ ประสบการณ์วิชาชีพตรงตามสาขาวิชา 2. เกิดการพัฒนาตนเอง 3. มีความมั่นใจในตัวเองในการออกไปทางานเมื่อสาเร็จ การศึกษา 4. ได้ พัฒนาทักษะการติดต่อสื่อสาร 5. เกิดทักษะการทางานเป็ นทีม
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
มากที่สุด (5)
มาก (4)
น้อยที่สุด (1)
9
5
2
0
0
7
8
1
0
0
6
9
1
0
0
5
8
2
1
0
8
8
0
0
0
คะแนน เฉลีย่ 4.44 มาก 4.38 มาก 4.31 มาก 4.06 มาก 4.50 มาก
8
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
ตารางที่ 11 (ต่อ) ประโยชน์จากการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
มากที่สุด (5)
มาก (4)
4
8
3
0
1
8
6
2
0
0
5
11
0
0
0
6
7
2
0
1
6. ได้ พัฒนาทักษะการนาเสนอ 7. ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานทาให้ สามารถ ตัดสินใจเลือกสายอาชีพเมื่อสาเร็จการศึกษา 8. ทาให้ ทราบจุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนาของตนเอง 9. มีโอกาสได้ รับการเสนองานก่อนสาเร็จการศึกษา
น้อยที่สุด
(1)
คะแนนเฉลีย่ รวม
คะแนน เฉลีย่ 3.88 มาก 4.38 มาก 4.31 มาก 4.06 มาก 4.26 มาก
4.2 ปั จจัยการพิจารณาเลือกสถานประกอบการในการฝึ กปฏิบตั ิงาน นักศึกษาเห็นว่าปั จจัยที่ใช้ พิจารณาในการเลือกสถานประกอบการ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3.72) (ตารางที่ 12) มากที่สดุ 3 อันดับแรก ดังนี้ 1. งานที่ปฏิบัติตรงกับสาขาวิชาที่เรียน อยู่ในระดับมาก (4.19) 2. เป็ นสถานประกอบการที่มีช่ ือเสียง อยู่ในระดับมาก (4.06) 3. มีความปลอดภัยในการเดินทางจากที่พักไปปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก (3.94) ตารางที่ 12 ปัจจัยที่ใช้ พิจารณาเลือกสถานประกอบการในการฝึ กปฏิบัติงาน ปั จจัยที่ใช้เลือกสถานประกอบการ 1. งานที่ปฏิบัติตรงกับสาขาวิชาที่เรียน 2. เป็ นสถานประกอบการที่มชี ่ ือเสียง 3. มีท่ตี ้งั อยู่ในภูมลิ าเนาของนักศึกษา 4. มีสวัสดิการให้ ระหว่างปฏิบัติงาน 5. มีความปลอดภัยในการเดินทางจากที่พักไป ปฏิบัติงาน 6. มีโอกาสได้ รับข้ อเสนอให้ เข้ าทางานเมื่อเสร็จสิ้นการ ฝึ กงาน 7. เป็ นสถานประกอบการที่ได้ รับคาแนะจากอาจารย์ รุ่นพี่ และเจ้ าหน้ าที่
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
(5)
มาก (4)
5
9
2
0
0
3
11
2
0
0
4
2
5
2
3
2
4
6
3
1
4
9
1
2
0
4
7
4
1
0
2
9
4
0
1
มากที่สุด
คะแนนเฉลี่ยรวม
น้อยที่สุด
(1)
ค่าเฉลีย่ 4.19 มาก 4.06 มาก 3.13 ปานกลาง 3.19 ปานกลาง 3.94 มาก 3.88 มาก 3.69 มาก 3.72 มาก
9
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
10
4.3 ความพึงพอใจต่อการดาเนินงานการฝึ กปฏิบตั ิงาน จากการส ารวจพบว่ านั กศึ กษาฝึ กปฏิ บั ติ งานมี ความพึ งพอใจต่ อการด าเนิ นงาน ภาพรวมอยู่ ใน ระดับมาก (4.17) ดังแสดงในตารางที่ 11 โดยเรียงลาดับ 3 อันดับแรก ดังนี้ 1. ความพึงพอใจต่อการให้ คาปรึกษาของอาจารย์ท่ปี รึกษาการฝึ กปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก (4.38) 2. ความพึงพอใจต่อการให้ บริการของส่วนจัดหางานฯ อยู่ในระดับมาก (4.25) 3. ความพึงพอใจต่อระยะเวลาการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก (4.13) ตารางที่ 13 ความพึงพอใจต่อการดาเนินงานการฝึ กปฏิบัติงาน ความพึงพอใจต่อการดาเนินงาน
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
(5)
มาก (4)
4
9
2
0
1
5
10
1
0
0
6
10
0
0
0
2
14
0
0
0
มากที่สุด
1. ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการอบรมเตรียมความ พร้ อมก่อนเข้ ารับการปฏิบตั ิงาน 2. ความพึงพอใจต่อการให้ บริการของส่วนจัดหางานฯ 3. ความพึงพอใจต่อการให้ คาปรึกษาของอาจารย์ท่ ี ปรึกษาการฝึ กปฏิบัติงาน 4. ความพึงพอใจต่อระยะเวลาการปฏิบัติงาน
น้อยที่สุด
(1)
คะแนนเฉลีย่ รวม
คะแนน เฉลีย่ 3.94 มาก 4.25 มาก 4.38 มาก 4.13 มาก 4.17 มาก
4.4 การรับรูข้ ่าวสารการประชาสัมพันธ์ของส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา นักศึ กษารั บ รู้ ข่าวสารจากการประชาสัมพั น ธ์ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนั กศึ กษา ภาพรวม อยู่ในระดับมาก (3.88) ดังแสดงในตารางที่ 14 โดยเรียงลาดับการประชาสัมพั นธ์ท่นี ักศึกษาเข้ าถึงมากที่สุด 3 อันดับแรก ดังนี้ 1. เพื่อน/รุ่นพี่ อยู่ในระดับมาก (4.13) 2. เว็บไซต์ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา อยู่ในระดับมาก (4.00) 3. Facebook อยู่ในระดับมาก (3.94) ตารางที่ 14 การรับรู้ข่าวสารการประชาสัมพันธ์ของส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา ช่องทางการประชาสัมพันธ์ 1. เว็บไซต์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2. เว็บไซต์ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา 3. E-mail จากส่วนจัดหางานและฝึ กงาน ของนักศึกษา 4. ป้ ายประชาสัมพันธ์ภายในมหาวิทยาลัย
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
มากที่สุด (5)
มาก (4)
น้อยที่สุด (1)
1
13
1
1
0
2
13
0
1
0
1
10
3
2
0
0
13
2
1
0
คะแนนเฉลีย่ 3.88 มาก 4.00 มาก 3.63 มาก 3.75 มาก
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
11
ตารางที่ 14 (ต่อ) ช่องทางการประชาสัมพันธ์ 5. ประกาศใน REG 6. เพื่อน/รุ่นพี่ 7. Facebook
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
มากที่สุด (5)
มาก (4)
น้อยที่สุด (1)
1
12
2
1
0
6
7
2
1
0
3
10
2
1
0
คะแนนเฉลีย่ 3.81 มาก 4.13 มาก 3.94 มาก 3.88 มาก
คะแนนเฉลี่ยรวม
4.5 ความพึงพอใจทีม่ ีต่อการประชาสัมพันธ์ของส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา จากการสารวจพบว่านักศึกษาฝึ กปฏิบัติงานมีความพึงพอใจต่อเนื้อหาสาระของข้ อมูลประชาสัมพันธ์ ของส่วนจัดหางานฯ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4.10) แสดงในตารางที่ 15 ดังนี้ 1. ข้ อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์เผยแพร่ตรงเวลาและข้ อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์มีความถูกต้ องชัดเจน อยู่ในระดับมาก (4.13) 2. ข้ อมูลข่าวสารมีรายละเอียดเนื้อหาครบถ้ วน อยู่ในระดับมาก (4.06) ตารางที่ 15 ความพึงพอใจที่มีต่อการประชาสัมพันธ์ของส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา การประชาสัมพันธ์ของส่วนจัดหางานฯ 1.ข้ อมูลข่าวสารมีรายละเอียดเนื้อหาครบถ้ วน 2.ข้ อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์เผยแพร่ตรงเวลา 3.ข้ อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์มีความถูกต้ องชัดเจน
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
มากที่สุด (5)
มาก (4)
3
11
2
0
0
4
10
2
0
0
4
10
2
0
0
คะแนนเฉลีย่ รวม
น้อยที่สุด (1)
คะแนน เฉลีย่ 4.06 มาก 4.13 มาก 4.13 มาก 4.10 มาก
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
ส่วนที่ 5 ความคิดเห็นของคณาจารย์ผูน้ เิ ทศต่อสถานประกอบการ ส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา ได้ สารวจความคิดเห็นของคณาจารย์ผ้ ูนิเทศงานสหกิจศึกษา โดยใช้ แบบประเมินความพึงพอใจ ซึ่งได้ รับความร่วมมือตอบแบบประเมินจานวน 17 ฉบับ คิดเป็ นร้ อยละ 100.00 ของจานวนสถานประกอบการ ในภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 พบว่าคณาจารย์ผ้ ูนิเทศ งานสหกิจศึกษามีความพึงพอใจต่อสถานประกอบการ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 4.52 หรือ ร้ อยละ 90.40 ซึ่งสามารถจาแนกเป็ นประเด็นต่างๆ ดังนี้ 5.1 ความเข้ าใจในปรัชญาของสหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ 5.2 การจัดการและการสนับสนุนการฝึ กปฏิบัติงาน 5.3 ปริมาณงานที่นักศึกษาได้ รับมอบหมาย 5.4 คุณภาพงาน 5.5 การมอบหมายงานและนิเทศงานของ Supervisor 5.6 คุณภาพโดยรวมของสถานประกอบการสาหรับสหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ 5.1 ความเข้าใจในปรัชญาของสหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ จากการส ารวจพบว่ าในภาคการศึ กษาต้ น ปี การศึ กษา 2558 สถานประกอบการมี ความเข้ าใจ ในปรั ชญาของสหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์ วิชาชีพ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (4.56) โดยพนักงาน ที่ปรึกษา (Job Supervisor) มีความเข้ าใจ อยู่ในระดับมากที่สุด (4.59) รองลงมาคือเจ้ าหน้ าที่ระดับบริหาร และฝ่ ายบุคคล อยู่ในระดับมากที่สดุ (4.53) ดังแสดงในตารางที่ 16 ตารางที่ 16 ความเข้ าใจในปรัชญาของสหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ ความเข้าใจในปรัชญาสหกิจศึกษา/ ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ 1.เจ้ าหน้ าที่ระดับบริหารและฝ่ ายบุคคล 2.พนักงานที่ปรึกษา (Job Supervisor)
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
มากที่สุด (5)
มาก (4)
9
8
0
0
0
11
5
1
0
0
คะแนนเฉลีย่ รวม
น้อยที่สุด (1)
คะแนน เฉลีย่ 4.53 มากที่สดุ 4.59 มากที่สดุ 4.56 มาก
5.2 การจัดการและการสนับสนุนการฝึ กปฏิบตั ิงาน คณาจารย์ผ้ ูนิเทศเห็นว่า ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 สถานประกอบการมีการจัดการและ การสนับสนุนการฝึ กปฏิบัติงาน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4.49) ดังแสดงในตารางที่ 17 ดังนี้ 1. บุ ค ลากรในสถานประกอบการให้ ค วามใส่ ใจเป็ นกัน เองกับ นั ก ศึ ก ษาตามความเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สดุ (4.65) 2. การประสานงานด้ านการจัดการดูแลนักศึกษาภายในสถานประกอบการ ระหว่างฝ่ ายบุคคล และ Job Supervisor อยู่ในระดับมาก (4.47) 3. การให้ คาแนะนาดูแลนักศึกษาของฝ่ ายบริหารบุคคล อยู่ในระดับมาก (4.35)
12
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
ตารางที่ 17 การจัดการและการสนับสนุนการฝึ กปฏิบัติงาน การจัดการและสนับสนุน
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
มากที่สุด (5)
มาก (4)
8
9
0
8
7
12
4
1.การประสานงานด้ านการจัดการดูแลนักศึกษาภายใน สถานประกอบการ ระหว่างฝ่ ายบุคคลและ
น้อยที่สุด (1)
คะแนน เฉลีย่
0
0
4.47 มาก
2
0
0
1
0
0
Job Supervisor
2.การให้ คาแนะนาดูแลนักศึกษาของฝ่ ายบริหารบุคคล (การปฐมนิเทศ การแนะนาระเบียบวินัย ฯลฯ) 3.บุคลากรในสถานประกอบการ ให้ ความใส่ใจ เป็ นกันเองกับนักศึกษาตามความเหมาะสม
คะแนนเฉลีย่ รวม
4.35 มาก 4.65 มากที่สดุ 4.49 มาก
5.3 ปริมาณงานที่นกั ศึกษาได้รบั มอบหมาย จากแบบประเมิน “ปริมาณงานที่นักศึกษาได้ รับมอบหมายมีความเหมาะสมกับระยะเวลาและความรู้ ความสามารถของนั กศึ กษา” พบว่ า ภาพรวมอยู่ ในระดั บมาก (4.47) แสดงให้ เห็นว่ าสถานประกอบการ ส่วนใหญ่ ได้ มอบมายงานตามปริ มาณที่เหมาะสมกับระยะเวลาและความสามารถของนั กศึกษา ดังแสดง ในตารางที่ 18 ตารางที่ 18 ปริมาณงานที่นักศึกษาได้ รับมอบหมาย ปริมาณงานที่นกั ศึกษาได้รบั มอบหมาย 1.ปริมาณงานที่นักศึกษาได้ รับมอบหมายมีความ เหมาะสมกับระยะเวลาและความรู้ความสามารถของ นักศึกษา
มากที่สุด (5)
มาก (4)
8
9
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2) 0
0
น้อยที่สุด (1)
คะแนน เฉลีย่
0
4.47 มาก
5.4 คุณภาพงาน คณาจารย์ผ้ ู นิเทศมี ความพึ งพอใจต่ อคุ ณภาพงานที่สถานประกอบการมอบหมายให้ กับนักศึ กษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (4.41) ดังแสดงในตารางที่ 19 โดยเรียงลาดับ 3 อันดับแรก ดังนี้ 1. งานที่ได้ รับมอบหมายตรงกับความสนใจของนักศึกษา อยู่ในระดับมากที่สดุ (4.53) 2. คุณลักษณะงาน (Job Description) และงานที่ได้ รับมอบหมายตรงกับที่สถานประกอบการ เสนอไว้ อยู่ในระดับมาก (4.41) 3. งานที่ได้ รับมอบหมายตรงกับสาขาวิชาเอกของนักศึกษา อยู่ในระดับมาก (4.29)
13
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
ตารางที่ 19 คุณภาพงาน คุณภาพงาน 1.คุณลักษณะงาน (Job Description) 2.งานที่ได้ รับมอบหมายตรงกับสาขาวิชาเอกของ นักศึกษา 3.งานที่ได้ รับมอบหมายตรงกับที่สถานประกอบการ เสนอไว้ 4.งานที่ได้ รับมอบหมายตรงกับกับความสนใจของ นักศึกษา
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
มากที่สุด (5)
มาก (4)
น้อยที่สุด (1)
10
4
3
0
0
9
4
4
0
0
10
4
3
0
0
11
4
2
0
0
คะแนนเฉลีย่ รวม
คะแนน เฉลีย่ 4.41 มาก 4.29 มาก 4.41 มาก 4.53 มากที่สดุ 4.41 มาก
5.5 การมอบหมายงานและนิเทศงานของ Supervisor จากการส ารวจพบว่ าคณาจารย์ นิ เทศมี ความพึ งพอใจต่ อ การมอบหมายงานและนิ เทศงานของ Supervisor ที่ดู แ ลนั ก ศึ ก ษาฝึ กปฏิบั ติ งาน ภาพรวมอยู่ ใ นระดั บ มากที่ สุด (4.57) โดยเรี ย งล าดั บ 3 อันดับแรก ดังนี้ 1. เวลาที่ Supervisor ให้ แก่นักศึกษาด้ านการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมากที่สดุ (4.71) 2. ความสนใจของ Supervisor ต่อการประเมินผลการปฏิบัติงานและเขียนรายงาน อยู่ในระดับ มากที่สดุ (4.68) 3. ความรู้และประสบการณ์วิชาชีพของ Supervisor อยู่ในระดับมากที่สดุ (4.65) ตารางที่ 20 การมอบหมายงานและนิเทศงานของ Supervisor การมอบหมายงานและนิเทศงานของ Supervisor 1.มี Supervisor ดูแลนักศึกษาตั้งแต่วันแรกที่เข้ างาน 2.ความรู้และประสบการณ์วิชาชีพของ Supervisor 3.เวลาที่ Supervisor ให้ แก่นักศึกษาด้ านการปฏิบัติงาน 4.เวลาที่ Supervisor ให้ แก่นักศึกษาด้ านการเขียนรายงาน 5.ความสนใจของ Supervisor ต่อการประเมินผล การปฏิบัติงานและเขียนรายงาน 6.การให้ ความสาคัญของ Supervisor ต่อการประเมินผล การปฏิบัติงานและเขียนรายงาน 7.ความพร้ อมของอุปกรณ์เครื่องมือสาหรับนักศึกษา 8.การจัดทาแผนปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาของ การปฏิบัติงาน
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2)
มากที่สุด (5)
มาก (4)
11
5
1
0
0
11
6
0
0
0
12
5
0
0
0
9
8
0
0
0
11
6
0
0
0
10
7
0
0
0
9
7
0
0
1
8
8
1
0
0
คะแนนเฉลีย่ รวม
น้อยที่สุด (1)
คะแนน เฉลีย่ 4.59 มากที่สดุ 4.65 มากที่สดุ 4.71 มากที่สดุ 4.56 มากที่สดุ 4.68 มากที่สดุ 4.59 มาก 4.38 มาก 4.41 มาก 4.57 มากที่สุด
14
รายงานผลการดาเนินงานฝึ กปฏิบตั งิ าน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
5.6 คุณภาพโดยรวมของสถานประกอบการสาหรับสหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ จากแบบประเมินความพึ งพอใจ “คุณภาพโดยรวมของสถานประกอบการสาหรับสหกิจศึกษา/ ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ” ของคณาจารย์ผ้ ูนิเทศการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาและการฝึ กประสบการณ์ วิชาชีพ พบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (4.62) แสดงให้ เห็นว่าในภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558 สถานประกอบการส่วนใหญ่ให้ การดูแล ให้ ความรู้และประสบการณ์การฝึ กปฏิบัติงานแก่นักศึกษาในระดับ ที่มีคุณภาพ ตารางที่ 21 คุณภาพโดยรวมของสถานประกอบการสาหรับสหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพ คุณภาพโดยรวม 1.คุณภาพโดยรวมของสถานประกอบการสาหรับ สหกิจศึกษา/ฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพ
มากที่สุด (5)
มาก (4)
10
7
ระดับความคิดเห็น ปานกลาง น้อย (3) (2) 0
0
น้อยที่สุด (1) 0
คะแนน เฉลีย่ 4.62 มากที่สดุ
15
ภาคผนวก 1. แบบประเมินนักศึกษาฝึ กปฏิบัติงาน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2. แบบประเมินผลหลังการฝึ กปฏิบัติงาน ภาคการศึกษาต้ น ปี การศึกษา 2558
ชื่อ-สกุล (Name-Surname)________________รหัสนักศึกษา (ID)___________
FM : Coop/ Pro-ex
สาขาวิชา (Major) ___________________ภาคการศึกษาที่ (Semester)___ /____ แบบประเมินนักศึกษาฝกปฏิบตั ิงาน มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง
ปรับปรุง 01/01/2014
03 - 5
Internship Course Evaluation Form, Mae Fah Luang University
(โดยสถานประกอบการ/ผูควบคุมปฏิบัติงาน)
คําชี้แจง 1. ผูใหขอมูลควรเปนพนักงานที่ปรึกษา (Job Supervisor) ของนักศึกษาฝกปฏิบัติงาน หรือบุคคลที่ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่แทน 2. แบบประเมินนี้มีทั้งหมด 20 ขอ โปรดใหขอมูลครบทุกขอ เพื่อความสมบูรณของการประเมินผล 3. โปรดทําเครื่องหมาย ในชอง ในแตละขอการประเมิน หากไมมีขอมูลใหใสเครื่องหมาย – และโปรดใหความคิดเห็น เพิ่มเติม (ถามี) 4. เมื่อประเมินเรียบรอยแลว โปรดนําเอกสารนี้ใสซองประทับตรา “ลับ” และใหนักศึกษานํากลับไปยังสวนจัดหางานและฝกงาน ของนักศึกษา ทันทีที่นักศึกษากลับมหาวิทยาลัย โดยขอความกรุณางดสงทางไปรษณียเพื่อปองกันการสูญหาย Description : Please fill in the Internship Course Evaluation Form and please seal off before return to student on the last day of the internship period.
ชื่อสถานประกอบการ (Organization Name) (ภาษาไทย) _________________________________________________________________________________________________ (English) ___________________________________________________________________________________________________ ชื่อ-สกุลผูประเมิน (Evaluator Name)________________________________________________________________________ ตําแหนง (Position)___________________________________แผนก (Department)______________________________________ ชื่อ-สกุลนักศึกษา (Student Name)_____________________________ รหัสประจําตัว (ID)____________________________ สาขาวิชา (Major)________________________________ สํานักวิชา (School)___________________________________________ จํานวนวันทีน่ ักศึกษามาสายเกินเวลาที่หนวยงานกําหนด (Late for work) _______________________________________ วัน (Days) จํานวนวันทีน่ ักศึกษาลาการฝกงาน (Sick Leave, Business Leave) __________________________________________ วัน (Days) 1. เหตุผลของการลา (Reason of Leave) ________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________________________ 2. หลักฐานการลาที่นักศึกษานํามาแสดง (Supporting document
of Leave) ___________________________________________
____________________________________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________________________________________ 3. จํานวนวันที่นักศึกษา ขาดการฝกงานโดยไมไดสงใบลา (Absence
without notice) ___________________________ วัน (Days)
Page 1/4
ระดับคะแนน/Evaluation Score ลําดับ/ No.
หัวขอประเมิน/Evaluation Items
5
4
3
2
1
ดีมาก
ดี
ปานกลาง
พอใช
ตองปรับปรุง
Excellent
Good
Fair
Poor
Unsatisfied
ลักษณะสวนบุคคล / Personality 1
บุคลิกภาพ มารยาท สัมมาคารวะ (Personality, Etiquette, Respect)
2
แตงกายสุภาพเหมาะสม (Appropriate Dressing)
5
มนุษยสัมพันธ สามารถรวมงาน และประสานงานกับผูอื่นไดดี (Interpersonal Skills) จิตอาสา และเอื้อเฟอชวยเหลือผูอื่น (Offer to do more work) ปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัยและวัฒนธรรมของหนวยงานหรือองคกร (Discipline and Adaptability to formal organization)
6
คุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตยสุจริต (Ethics and Morality)
3 4
ความรูความสามารถ / Knowledge and Ability 7 8 9 10 11 12 13 14
ความรูความสามารถทางวิชาการ (Academic Ability) ความสามารถในการเรียนรูและการนําความรูไปประยุกตใช (Learning Ability and Knowledge Application ) ความชํานาญในการปฏิบัติงาน (Practical Ability) ความสามารถในการตัดสินใจและแกปญหาเฉพาะหนา (Decision Making and Trouble Shooting) ความสามารถในการวางแผนและการจัดการในการทํางานอยางเปน ระบบ (Planning and Managing) ความสามารถในการติดตอสื่อสารและการนําเสนอ (Communication and Presentation Skill) ความสามารถในการใชภาษาตางประเทศ (Foreign Language Skill) ความสามารถในการพัฒนาตนเองใหปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมาย ไดอยางเหมาะสม (Self-development)
ความรับผิดชอบตอหนาที่ / Responsibility 15 16 17 18
ความรับผิดชอบและเปนผูที่ไววางใจได (Responsibility and Dependability) ความตั้งใจทํางาน และมีความกระตือรือรนในการปฏิบัติภารกิจที่ ไดรับมอบหมาย (Intention and Enthusiasm) ความสามารถเริ่มตนทํางานไดดวยตัวเอง และมีความคิดสรางสรรค (Self-Initiative and Creative) ตอบสนองตอการสั่งงาน และแกไขงานตามคําแนะนํา (Response to Supervision)
ผลสําเร็จของงาน / Work Achievement 19 20
ปริมาณงานที่สําเร็จ เมื่อเทียบกับงานที่ไดรับมอบหมาย (Quantity of Work) คุณภาพ ในการปฏิบัติงาน (Quality of Work)
หมายเหตุ : ไมมีขอมูล (No Data )/ไมสามารถประเมินได (Not evaluate) Page 2/4
ทานมีความคิดเห็นวานักศึกษาทานนี้สามารถปฏิบัติงานไดในระดับใด/What is your overall opinion on this intern? ดีมาก (Excellent) ดี (Good) ปานกลาง (Fair) พอใช (Poor)
ตองปรับปรุง (Unsatisfied)
โปรดใหขอคิดเห็นที่เปนประโยชนแกนักศึกษา/Please give comments on the student จุดเดนของนักศึกษา/Strength
ขอควรปรับปรุงของนักศึกษา/Area of Improvement
หากนักศึกษาทานนี้สาํ เร็จการศึกษาแลว ทานจะรับเขาทํางานในสถานประกอบการหรือไม If student graduate, will you be interested to offer him/her a job?
( ) รับ /
Yes
( ) ไมรับ / No
(
) ไมแนใจ / Not sure
เหตุผล/Please give a reason ________________________________________________________________________ __________________________________________________________________________________________________ __________________________________________________________________________________________________ ขอคิดเห็นเพิ่มเติมตอการปฏิบัติงานของนักศึกษา / Recommendations for Internship Course ระดับคะแนน Evaluation Score หัวขอประเมิน/Evaluation Items
5 ดีมาก Excellent
4 ดี Good
3 ปานกลาง Fair
2 พอใช Poor
1 ปรับปรุง
Unsatisfied
1. การปฏิบัติงานของนักศึกษามีประโยชนตอองคกรของทาน Benefits of Internship Course towards your organization
1.1 ไดประโยชนจากผลงานของนักศึกษาที่ไดปฏิบัติงาน Student output contribution to the organization
1.2 มีโอกาสคัดเลือกพนักงานจริง Opportunity to job recruitment
1.3 มีโอกาสสรางความรวมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยในอนาคต Academic collaboration with Mae Fah Luang Univesity
1.4 ไดแบงเบาภาระงานของพนักงานประจํา To reduce permanent officer workload
1.5 อื่นๆ (ระบุ) / Other (Specify)_______________ 2. ความพึงพอใจตอการใหบริการ/ประสานงานของสวนจัดหางานและ ฝกงานของนักศึกษา / Satisfaction towards the Division of Placement and Co-Operative Education service
Page 3/4
ขอคิดเห็นเพิ่มเติม/Recommendations ______________________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________________ ลงชื่อ/Evaluator’s Signature______________________________ (_______________________________) ตําแหนง/Position _______________________________ วันที่/Date _____________________________
สําหรับเจาหนาที่ (For Official) คะแนนการประเมิน (Evaluation Score)
คะแนนที่ได (Score) จํานวนขอที่ผูประเมินตอบ
*A =
*A =
(Evaluated Items)
หมายเหตุ
คะแนนการประเมินรายวิชาสหกิจศึกษา คะแนนการประเมินรายวิชาฝกประสบการณวิชาชีพ
A = 10 A = 6
Page 4/4
แบบประเมินผลหลังการฝึ กปฏิบตั ิงาน ภาคการศึกษาต้น ปี การศึกษา 2558 คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมำย ลงในช่ องแสดงระดับควำมพึงพอใจในด้ ำนต่ำงๆ โดยควำมหมำยของหมำยเลข แทนระดับควำมพึงพอใจ เป็ นดังนี้ 5 = มำกที่สดุ 4 = มำก 3 = ปำนกลำง 2 = น้ อย 1 = น้ อยที่สดุ 1. ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษา
ประโยชน์จากการปฏิบตั ิงาน สหกิจศึกษา
มาก ที่สุด (5)
ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก น้อย กลาง (4) (3) (2)
มาก ที่สุด (5)
ระดับความคิดเห็น ปาน มาก น้อย กลาง (4) (3) (2)
ความพึงพอใจ น้อย ที่สุด (1)
พอใจ
ไม่ พอใจ
1. ได้ ประสบกำรณ์วิชำชีพตรงตำมสำขำวิชำ 2. เกิดกำรพัฒนำตนเอง 3. มีควำมมั่นใจในตัวเองในกำรออกไปทำงำนเมื่อ สำเร็จกำรศึกษำ 4. ได้ พัฒนำทักษะกำรติดต่อสื่อสำร 5. เกิดทักษะกำรทำงำนเป็ นทีม 6. ได้ พัฒนำทักษะกำรนำเสนอ 7. ประสบกำรณ์จำกกำรปฏิบตั งิ ำนทำให้ สำมำรถ ตัดสินใจเลือกสำยอำชีพเมื่อสำเร็จกำรศึกษำ 8. ทำให้ ทรำบจุดแข็งและจุดที่ ควรพัฒนำของตนเอง 9. มีโอกำสได้ รับกำรเสนองำน ก่อนสำเร็จกำรศึกษำ
2. ปั จจัยที่ใช้พจิ ารณาเลือกสถานประกอบการ
ปั จจัยที่ใช้เลือกสถานประกอบการ
ความสาคัญ น้อย ที่สุด (1)
สาคัญ
1. งำนที่ปฏิบตั ติ รงกับสำขำที่เรียน 2. เป็ นสถำนประกอบกำรที่มชี ่ อื เสียง 3. มีท่ตี ้งั อยู่ในภูมลิ ำเนำของนักศึกษำ 4. มีสวัสดิกำรให้ ระหว่ำงฝึ กงำน 5. มีควำมปลอดภัยในกำรเดินทำงจำกที่พักไป ปฏิบตั งิ ำน 6. มีโอกำสได้ รับข้ อเสนอให้ เข้ ำทำงำนเมื่อเสร็จสิ้น กำรฝึ กงำน 7. เป็ นสถำนประกอบกำรที่ได้ รับคำแนะจำกอำจำรย์ รุ่นพี่ และ เจ้ ำหน้ ำที่
โปรดพลิกเพือ่ ประเมินต่อด้านหลัง>>>>>
ไม่ สาคัญ
3. ความพึงพอใจที่มีต่อการดาเนินงานสหกิจศึกษา
ความพึงพอใจต่อการดาเนินงาน
มาก ที่สุด (5)
ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก น้อย กลาง (4) (3) (2)
ความสาคัญ น้อย ที่สุด (1)
สาคัญ
ไม่ สาคัญ
1. ควำมพึงพอใจต่อกิจกรรมกำรอบรมเตรียมควำม พร้ อมก่อนเข้ ำรับกำรปฏิบตั งิ ำน 2. ควำมพึงพอใจต่อกำรให้ บริกำรของส่วนจัดหำงำน 3. ควำมพึงพอใจต่อกำรให้ คำปรึกษำของอำจำรย์ท่ี ปรึกษำสหกิจศึกษำ 4. ควำมพึงพอใจต่อระยะเวลำกำรปฏิบตั งิ ำน
4. การรับรูข้ ่าวสารต่อช่องทางการประชาสัมพันธ์ของส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา การรับรูข้ ่าวสาร ช่องทางการประชาสัมพันธ์ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย (5) (4) (3) (2)
น้อยที่สุด (1)
1. เวปไซด์มหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง 2. เวปไซด์สว่ นจัดหำงำนและฝึ กงำนของนักศึกษำ 3. E-mail จำกส่วนจัดหำงำนและฝึ กงำนของนักศึกษำ 4. ป้ ำยประชำสัมพันธ์ภำยในมหำวิทยำลัย 5. ประกำศใน REG 6. เพื่อน/รุ่นพี่ 7. Facebook
5. ความพึงพอใจที่มีต่อการประชาสัมพันธ์ของส่วนจัดหางานและฝึ กงานของนักศึกษา
ช่องทางการประชาสัมพันธ์ส่วนจัดหางาน
มาก ที่สุด (5)
ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก น้อย กลาง (4) (3) (2)
ความพึงพอใจ น้อย ที่สุด (1)
พอใจ
1. ข้ อมูลข่ำวสำรมีรำยละเอียดเนื้อหำครบถ้ วน 2. ข้ อมูลข่ำวสำรประชำสัมพันธ์เผยแพร่ตรงต่อเวลำ 3. ข้ อมูลข่ำวสำรประชำสัมพันธ์มคี วำมถูกต้ องชัดเจน ข้ อเสนอแนะ/ข้ อคิดเห็นเพิ่มเติม .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................
ไม่ พอใจ