ชาวบ้าน ชุมชน ที่พัก และความรักที่ส่งต่อ เรื่อง / ภาพ : TANAWUT R.
ชาวบ้านกำลังตกแต่งแปลงสตอเบอร์รี่เพื่อรอรับฤดูท่องเที่ยวที่กำลังมาเยือน
ร่องรอยของการเก็บเกี่ยวแปลงข้าวใกล้กับแปลงสตอเบอร์รี่ที่รอรับ
ถือว่าเป็นจุดเด่นการท่องเที่ยวอีกรูปแบบหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่
นักท่องเที่ยว ที่มาเยือนในฤดูหนาวที่อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
ที่ได้รับความนิยม ด้วยพื้นที่ที่เป็นธรรมชาติในหุบเขาและอากาศ
ในช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ ภาพความสะพรั่งของความงามใน
หนาวหมอกหนาในตอนเช้า ทำให้นักท่องเที่ยวที่อยากสัมผัสวิถี
ไร่สตอเบอร์รี่ที่พร้อมให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสลมหนาว และเก็บเกี่ยว
ชีวิต เลือกที่นี่เป็นจุดหมายปลายทาง
ผลสตอเบอร์รี่ได้ตามใจชอบ
ในบ่ายวันวันหนึ่งในปลายเดือนธันวาคม ชาวบ้านตกแต่งสวนเก็บใบแก่และถอนหญ้าในแปลงสตอเบอร์รี่ในรีสอร์ทแห่งหนึ่ง
โอกาสในการเข้าถึงปัจจัยการผลิต และสร้างรีสอร์ทดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่ห่างไกลความคุ้นชินของชาวบ้านๆในทุกๆที่ และที่นี่เองก็ไม่ ต่างกัน ชาวบ้านจำนวนหนึ่งเป็นลูกจ้างของรีสอร์ท ขณะที่บางส่วนทำสวนผลไม้ หอม กระเทียม องุ่น และสตอเบอร์รี่ ตามความคุ้น
เคยที่ได้เรียนรู้มาก การท่องเที่ยวหลายที่ในประเทศไทยพยามผลักดันเป็นพื้นที่เศษฐกิจพิเศษ เพื่อกระตุ้นการลงทุนให้กรรมสิทธิใน การจัดการพื้นที่แก่เอกชน แน่นอนว่าท้ายที่สุดนี่ไม่ใช่โอกาสที่แท้จริงของชาวบ้านในพื้นที่ แต่เป็นการถ่ายโอนกรรมสิทธิ์สู่มือนายทุน
และผลกำไรแทนที่จะเป็นของชุมชนกลับตกไปอยู่ในมือของนายทุน การตั้งคำถามว่าแล้วรูปแบบของการพัฒนาและการท่องเที่ยว ควรเป็นเช่นไร
ชาวบ้านที่ดูแลไร่สตอเบอร์รี่และนักท่องเที่ยวที่กำลังเก็บสตอเบอร์รี่
เมื่อชุมชนมีความเข้มแข็งและตระรู้ถึงสิ่งที่เป็นอยู่ นั่นคือการเห็น คุณค่าของตัวเองและชุมชน การรวมกลุ่มเพื่อหาแนวทางในการ
พั ฒ นาดู เ หมื อ นว่ า จะเป็ น อี ก ทางออกหนึ่ง ของชุ ม ชน การ พั ฒ น า ไ ม่ ไ ด้ ว่ า ด้ ว ย แ น ว คิ ด ข อ ง ก า ร พั ฒ น า เ ชิ ง ก ร ะ แ ส
หลัก(ทุนนิยม) ซึ่งแน่นอนว่าเป็นเรื่องของคนที่มีทุนในการผลิต สูง แต่อีกแนวทางที่น่าสนใจคือการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยเน้นไป ที่การมีส่วนร่วมของชุมชน และชุมชนสามารถวางแผน และหนด แนวทางได้เอง
ในอำเภอสะเมิงเองมีการทำการท่องเที่ยวจะแนกได้ 2 รูปแบบ ด้วยกัน
1. แบบสมัยนิยม เป็นการจัดสรรสิ่งปลูกสร้างเพื่ออำนวยความ สะดวกสบายให้นักท่องเที่ยว มีพื้นที่ในการทำกิจกรรมสัง
สรร ประชุม กางเต็นท์ ซึ่งเป็นไปในแบบสมัยนิยม การมี
บทบาทของชาวบ้านจะเป็นไปในลักษณะเชิงโครงสร้างคือชั้น ล่าง โดยตอบสนองปัจจัยการผลิตและเป็นแรงงาน
2. แบบทางเลือก เป็นการจัดสรรค์พื้นที่โดยรบกวนธรรมชาติ น้อยที่สุดและเป็นแบบโอมเสตย์ ซึ่งพบได้ประปรายในชุมชน ความน่าสนใจของรูปแบบนี้คือการได้สัมผัสวิถีชีวิตที่แท้จริง
ของชาวบ้าน ตั้งแต่การกินอยู่กับชาวบ้าน ซึ่งเป็นอีกหนึ่งใน โอกาสได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
กับชาวบ้าน อีกทั้งยังได้ส่งเสริมอาชีพสู่ชุมชนอย่างแท้จริง
แต่ทั้งนี้การท่องเที่ยวแบบ Eco tourist นี้จะมีข้อจำกัดบาง
อย่ า งคื อ ความสะดวกสบายในการใช้ ชี วิ ต บางประการเช่ น เครื่องทำน้ำอุ่น เครื่องปรับอากาศ มุมสันทนาการแบบที่พัก ในรูปแบบสมัยนิยม ซึ่งนี้เป็นความต่างบางประการ และมี
การพึ่งพิงจากชุมชนในแง่ปัจจัยการผลิตคือ อาหาร โดย บางแห่งจะมีการผูกปิ่นโตกับชุมชน โดยที่ให้ชุมชนเป็นคนทำ
อาหาร และวั ต ถุ ดิ บ ก็ ถู ก นำมาจากท้ อ งถิ่น ซึ่ง เป็ น การ กระจายรายได้อีกทางหนึ่ง
ที่พักแห่งหนึ่งที่ใช้แนวคิดทางเลือกในการสร้างที่พักโดยเลี่ยงการรบกวนธรรมชาติให้น้อยที่สุด
บรรยากาศยามค่ำคืนของนักท่องเที่ยวกลุ่มหนึ่งที่ร่วมแลกเปลี่ยนแนวคิด กำลังแบ่งบันอาหารและมิตรให้กับคนแปลกหน้า ซึ่งเป็นอีก บรรยากาศหนึ่งของการท่องเที่ยวที่หลายคนไม่ค่อยได้สัมผัสนัก โดยอาศัยพื้นที่ส่วนกลางของที่พักที่เอื้อต่อการสนทนา ซึ่งอาจแตก
ต่างกันไปตามรูปแบบของที่พัก แต่ท้ายที่สุดนักท่องเที่ยวเองจะเป็นคนเลือกรูปแบบการท่องเที่ยวที่ตอบสนองต่อรูปแบบการใ้ชีวิต และสิ่งที่เหมือนกันบางประการคือ การส่งต่อเรื่องเล่าจากสังคม ชนชุนที่ไปสัมผัสเพื่อรอผู้ที่ยังไม่เคยได้สัมผัสประสบการณ์เหล่านั้นไป ไปสัมผัสด้วยตัวเอง ไปปะทะกับลมหนาว ตื่นเช้าดูทะเลหมอก ทานอาหารซึ่งเป็นวัตถุดิบจากชุมชน และแบ่งปันภาพถ่ายไปด้วยกัน
แสงแรกที่ให้นักท่องเที่ยวได้สัมผัสความงามเบื้องหน้าจากการตื่นเช้า
เบื้องล่างม่านหมอกคือหมูบ้านแม่สาป อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
“เรานั่งมองแสงลอดผ่านใบไม้ จนแสงสุดท้ายหายไป มันเหมือนการทำสมาธิ เราไม่ได้คิดอะไรมากกว่ามองมันแล้วรู้สึกสงบไปเอง เราพูดในใจว่า "วันนี้ดีจังเลยเนอะ" เรายิ้มให้ตัวเองโดยไม่ต้องใช้กล้องหน้าของมือถือ ทุกอย่างรอบตัวมันดีไปหมด ;) แล้วก็หาฟืนก่อกองไฟคิดถึงวิชาลูกเสือ” –TANAWUT R.