MORGAN : Cultural products มอแกน เมื่อวัฒนธรรมถูกแปลงเป็นสินค้า

Page 1

MORGAN Cultural products เรื่อง/ภาพ : TANAWUT R.

มอแกน เมื่อวัฒนธรรมถูกแปลงเป็นสินค้า


ภายใต้ท้องฟ้าสีสดและทะเลสีครามของทะเลฝั่งอันดามัน มีนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศและคนไทยไม่น้อยที่เดินทางมาเยือน “สวรรค์ทะเลใต้” นักท่อง เที่ยว จํานวนนับร้อยคนต่อวันเดินทางมายังอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์ เพื่อชื่นชมความงามของท้องทะเลอันดามันและแหล่งดํานํ้า 1 ใน 10 ของ โลก จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกจะมาสัมผัสความงามใต้ท้องทะเลอันดามัน และเยี่ยมชมวิถีชนเผ่ามอแกนที่เป็นเสมือนของแถมจากการ ท่องเที่ยว


หลังภัยพิบัติ “สินามิ” ชาว มอแกนถูกจัดระเบียบโดยรัฐ เพื่อง่ายต่อการควบคุมและ จัดสรรทางทรัพยากร ชาว มอแกนถู ก ย้ า ยมาอยู ่ ณ อ่าวบอน เกาะสุรินทร์ใต้ซึ่ง ห่างจาก จุดรับนักท่องเที่ยว ที่เกาะสุรินทร์เหนือเพียง 15 นาที ชาวมอแกนผู้เ คยใช้ ชี วิ ต ในทะเล มี เ รื อ เป็ น บ้ า น เดิ น ทางตั้ง แต่ ต อนใต้ ข อง ปรเทศเมี ย นมาร์ หมู่เ กาะ มะริด ทวาย ไล่ลงมาถึงหมู่ เ ก า ะ ท า ง ต อ น ใ ต้ ข อ ง ประเทศไทย การเดิ น ทาง ตามฤดู ก าลไปยั ง หมู ่ เ กาะ ต่ า ง ๆ เ ป็ น ไ ป อ ย่ า ง เ ส รี ใ น ก่อนหน้านี้


ผลกระทบจากแนวคิดรัฐชาติและการขีดเส้นกันบันแดน น่านนํ้าที่เคยไปมา

อ.ดร.นฤมล สรุปจากวีดิโอว่าหมู่เกาะมะริดทอดยาวระหว่างประเทศไทยและ

หาสู่ญาติมิตรที่เป็นมาหลายร้อยปีถูกจํากัดด้วยกฏหมายอย่างไม่อาจปฏิเสธ

เมียนม่าร์/พม่า ในส่วน ของเมียนม่าร์/พม่านั้นมีเกาะมากมาย ชาวมอแกนอยู่

การลงหลักปักฐานเป็นสิ่งใหม่ที่ชาวมอแกนไม่คุ้นชินนัก วิถีชีวิตแบบเดิมถูก

มานับร้อยปีแล้ว ทะเลคือจักรวาลของมอแกน แต่ที่ผ่านมา ในช่วงเวลา 10 ปี

จํากัดด้วยกฏหมายที่ไม่ได้มองเชิงมิติวัฒนธรรม ชาวมอแกนไม่สามารถปลูก

ประชากรมอแกนลดลง เกิดการประมงที่ไม่ยั่งยืนโดยเรือมาจากภายนอก มี

ผัก เลี้ยงสัตว์ ต่อเรือ หรือแม้แต่หาปลา ซึ่งเป็นวิถีดั้งเดิมของชาวมอแกน

นักท่องเที่ยวเข้ามามากมาย ทําให้วิถีวัฒนธรรมของมอแกนเสื่อมถอยลง

หมู่บ้านชาวมอแกนถูกแปลงเป็นสินค้าทางวัฒนธรรมที่ไร้วิญญาณ เสมือน

ชาวมอแกนประสบปัญหาเรื่องสัญชาติ บัตรประชาชน แม้แต่เรื่องเรือ มีคนที่รู้

หนึ่งสวนสัตว์มนุษย์ที่ให้นักท่องเที่ยวไปเยี่ยมชม และถ่ายภาพโดยไม่ได้มีการ

เรื่องราวการทําเรือเพียงไม่กี่คน การจะทําให้วัฒนธรรมของมอแกนเกี่ยวกับ

ส่งเสริมความรู้แก่นักท่องเที่ยวและผู้มาเยือนในเชิงวิถีชีวิต และรากของ

เรืออยู่ต่อไป จะต้องมีการอนุญาตให้ตัดไม้มาทําเรือ (สรุปงานเสวนาวิชาการ

วัฒนธรรมที่กําลังจะเลือนหายไป เมื่อองค์ความรู้ไม่ได้ถูกส่งต่อ กระบวนการ

และฉายภาพยนตร์ “No word for worry” มอแกน...ชีวิตที่ไม่มีคําว่ํากังวล,

สืบทอดทางวัฒนธรรมอยู่ในสภาวะเปราะบางและริบหรี่ เมื่อเยาวชนรุ่นใหม่ไม่

2558)

สามารถดํารงชีพแบบเดิมได้ จําเป็นต้องฝันตัวไปเป็นลูกจ้างอุทยานและ มัคคุเทศน์นําเที่ยว ตามยุคสมัยและสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป


การปะทะกันระหว่างวัฒนธรรมจากโลกภายนอกเเป็นสิ่งที่ชาวมอแกนไม่อาจหลีเลี่ยง และไม่มีอํานาจใดในการต่อรอง


การแปลงชุมชนเป็นสินค้านี้ ในแง่มุมหนึ่ง สามารถสร้าง รายได้ให้รัฐ และบางหน่วย ง า น อ ย่ า ง ไ ม่ อ า จ ป ฏิ เ ส ธ กระนั ้ น การท่ อ งเที ่ ย วก็ น ํา รายได้ ม าสู่ช าวมอแกนเอง ถึ ง แม้ ว่ า การสื ่ อ สารภาษา อังกฤษ และภาษาไทยจะเป็น ไปอย่ า งยากลํา บาก แต่ ใ น ปั จ จุ บั น มี อ งค์ ก รและหลาย หน่วยงานพยามพัฒนาสุ ข ภาวะด้ า นความเป็ น อยู ่ และการศึกษาแก่เยาวชนรุ่น ใหม่ของชาวมอแกน แต่สิ่งที่ ค่อยๆเสื่อมสลายหายไปคือ ภูมิปัญญา และองค์ความรู้ ที่สืบทอดมาอย่างยาวนาน


บรรยากาศขณะนักท่องเที่ยวเดินเที่ยวชมหมู่บ้านชาวมอแกน


บริ เ วณหน้ า หาดถู ก แปลง เป็ น พื ้ น ที ่ ส ํา หรั บ จํา หน่ า ย งานฝีมือที่ผลิตโดยชาวมอแกนบางส่ ว น เป็ น เสมื อ น หน้ า ด่ า นที่เ กิ ด การปะทะกั น ทางด้ า นวั ฒ นธรรม และ ลั ก ษณะการมองโลกที่ต่ า ง กัน ด้วยพื้นเพของชาวมอแกนเป็นเสมือนแรกเริ่มของ ศ า ส น า ข อ ง โ ล ก ที ่ บู ช า วิ ญ ญ า ณ แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม เคารพต่ อ ธรรมชาติ โดย การสื บ ทอดผ่ า นเรื ่ อ งเล่ า อั น เป็ น กระ-บวนการหนึ ่ ง ทางการสืบทอดวัฒนธรรม ในรูปแบบ มุขปาฐะ


ถึงแม้ว่าชาวมอแกนไม่มีภาษาเขียนเป็นของตัวเอง แต่มีภาษาพูดเป็นของตัวเอง การถ่ายองค์ความรู้จึงเป็นเครื่องมือเพื่อยืนยันถึงการมีตัวตน รากเหง้า อัน เป็นเครื่องมือหนึ่งในการต่อสู่เพื่อผลักดันให้เกิดพื้นที่ทางวัฒนธรรม อันเป็นเขตหรือดินแดนที่ชาวมอแกนมีสิทธิในการใช้ชีวิตได้อย่างเสรีโดยมติของชุมชน เอง ภาพข้างบนนี้เป็นลานพิธีกรรมของชาวมอแกนเสาด้านหลังนี้เรียกว่า “เหนียะเอนหล่อโบง” หรือ “เสาวิญญาณบรรพบุรุษ”ของชาวมอแกนที่ให้ความ เคารพ เสมือนเป็นเครื่องหมายของการสื่อถึงบรรพบุรุษ(ทางจิตวิญญาณ)ในลักษณะเดียวกับเสา Totem pole ในยุคต้นของศาสนา ทว่าสิ่งเหล่านี้กลับหาได้ สําคัญสําหรับนักท่องเที่ยวแต่อย่างใด


หญิงชาวมอแกนกําลังมองนักท่องเที่ยวจากใต้ถุนบ้าน

บ้านของชาวมอแกนและการเข้ามาของนักท่องเที่ยว

มอแกนเป็นชาวเลกลุ่มที่ยังดํารงวิถีชีวิตดั้งเดิมอยู่ค่อนข้างมาก แม้ว่าจะ

มอแกนมีความผูกพันกับทะเลอย่างมาก แม้ว่ามอแกนจะใช้ทรัพยากรจาก

เริ่มตั้งหลักแหล่งมากขึ้น แต่ก็ยังมีการเดินทางไปมาระหว่างเกาะอยู่เป็น ประจํา คาดกันว่ามีมอแกนทั้งหมดประมาณ 2,000 คน อาศัยอยู่ตาม เกาะใหญ่ น้ อ ยในหมู ่ เ กาะมะริ ด ทั ้ ง ในเขตไทยและพม่ า ส่ ว นในเขต ประเทศไทยนั้น มีมอแกนประมาณ 190 คน อาศัยอยู่ที่อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา และอีกประมาณ 200 คนอาศัยอยู่ที่เกาะ เหลาในจังหวัดระนอง

ป่าและมีความคุ้นเคยกับป่าแถบหมู่เกาะมะริดนี้เป็นอย่างดี แต่มอแกนกลับ รู้สึกสบายใจที่จะอยู่ในทะเลมากกว่าในป่า เวลาส่วนใหญ่ของมอแกนนั้น อยู่ในทะเลหรือริมฝั่งทะเล เมื่อมอแกนตั้งหมู่บ้าน ก็จะสร้างกระท่อมบน หาดทรายชายฝั่ง โดยเฉพาะบริ เ วณหาดทรายที่นํ้า ขึ้น ถึ ง (ชาวมอ แกน,Andaman Pilot Project โครงการนําร่องอันดามัน)


ถึ ง อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ก า ร แปลงวิ ถี วั ฒ นธรรมเป็ น สินค้านี้ ย่อมส่งผลกระทบ ทั้ง ทางตรงและทางอ้ อ ม ต่อวิถีดั้งเดิมของชาวมอแกน และการปรับตัวของ ชาวมอแกนต่ อ กฏหมาย อี ก ทั ้ ง ยั ง มี บ ทบาทที ่ ถู ก กําหนด ซึ่งท้ายที่สุดชาว มอแกนควรมี สิ ท ธิ ใ นการ เลื อ กในการใช้ ชี วิ ต เอง หรื อ ไม่ การส่ ง เสริ ม เขต วั ฒ นธรรมพิ เ ศษจึ ง เป็ น วาระเร่ ง ด่ ว นที ่ ค วรพลั ก ดั น ถึ ง แม้ ว่ า จะผ่ า นมติ ครม.เเล้ ว เมื่อ ปี 2553 แล้ ว ก็ ต าม แต่ ยั ง ไม่ เ กิ ด เป็นรูปธรรม


ข้อมูลเพิ่มเติมอ่านได้ที่ เมื่อเรามีเขตเศรษฐกิจพิเศษได้ ทําไมถึงมี 'เขตวัฒนธรรมพิเศษ' ไม่ได้ ? ปัจจุบันมีการสนับสนุนเกี่ยวกับการสืบทอดทางวัฒนธรรม และ ให้การศึกษาจากหน่วยงานไม่แสวงผลกําไร และองค์กรของรัฐ บางส่วน เช่น ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), มูลนิธิชุมชนไท, สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุข

http://www.isranews.org/isranews-scoop/item/44813cul140259.html ชาวมอแกน,Andaman Pilot Project โครงการนําร่องอันดามัน

ภาพ (สสส.) เป็นต้น

http://www.andaman.cusri.chula.ac.th/th/moken-people

ขอบคุณ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ

สรุปงานเสวนาวิชาการ และฉายภาพยนตร์ “No word for

(สสส.) และโครงการ Creative Hero : Story of the sea , WHY NOT Social Enterprise ที่สนับสนุนให้เกิดงานชิ้นนี้

worry” มอแกน...ชีวิตที่ไม่มีคําว่ํากังวล http://www.andaman.cusri.chula.ac.th/wp-content/ uploads/2016/09/No-Word-for-Worry-16-4-58.pdf โครงการพิพิธภัณฑ์ชนเผ่าออนไลน์ www.hilltribe.org http://moken.hilltribe.org/thai/mokenhistory.php


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.